The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 10 การค้าระหว่างประเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kotchamon191, 2022-09-04 07:24:04

หน่วยที่ 10 การค้าระหว่างประเทศ

หน่วยที่ 10 การค้าระหว่างประเทศ

1. สาเหตุท่ีทาใหม้ ีการคา้ ระหวา่ งประเทศ
2. ความแตกต่างระหวา่ งการคา้ ภายในประเทศและ
การคา้ ระหวา่ งประเทศ
3. ทฤษฎีการคา้ ระหวา่ งประเทศ
4. ผลดีของการคา้ ระหวา่ งประเทศ
5. นโยบายการคา้ ระหวา่ งประเทศ
6. การชาระเงินระหวา่ งประเทศ
7. ดุลการคา้ และดุลการชาระเงินระหวา่ งประเทศ
8. การแกไ้ ขดุลการคา้ ขาดดุลและการชาระเงินขาดดุล
9. เศรษฐกิจระหวา่ งประเทศของประเทศไทย

1. บอกสาเหตุท่ีทาใหม้ ีการคา้ ระหวา่ งประเทศได้
2. อธิบายความแตกต่างระหวา่ งการคา้ ภายในประเทศและการคา้
ระหวา่ งประเทศได้
3. อธิบายทฤษฎีการคา้ ระหวา่ งประเทศได้
4. บอกผลดีของการคา้ ระหวา่ งประเทศได้
5. อธิบายลกั ษณะของนโยบายการคา้ ระหวา่ งประเทศได้
6. อธิบายวธิ ีการชาระเงินระหวา่ งประเทศได้
7. อธิบายความแตกต่างระหวา่ งดุลการคา้ และดุลการชาระเงิน
ระหวา่ งประเทศได้
8. อธิบายการแกไ้ ขดุลการคา้ ขาดดุลและการชาระเงินขาดดุลได้
9. อธิบายเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศของประเทศไทยได้



การที่ประเทศแต่ละประเทศต้งั อยใู่ นทาเลท่ี
แตกต่างกนั ทาใหม้ ีทรัพยากร สภาพภมู ิประเทศและ

สภาพภมู ิอากาศ ความชานาญในการผลิตแตกต่าง

กนั ประเทศต่าง ๆ เหล่าน้ีจะผลิตสินคา้ ท่ีมีคุณภาพ
ทดั เทียมกนั โดยใชต้ น้ ทุนไมเ่ ท่ากนั ประเทศเหลา่ น้ี
จึงตอ้ งทาการติดต่อคา้ ขายระหวา่ งกนั

10.2.1 การเคลื่อนยา้ ยปัจจยั การผลิต (factor mobility)
การเคล่ือนยา้ ย ปัจจยั การผลิต เช่น เคร่ืองจกั ร เคร่ืองมือ
การผลิต แรงงานระหวา่ งประเทศ ไม่สะดวกเท่ากบั การ
เคลื่อนยา้ ยภายในประเทศเดียวกนั

10.2.2 ใชเ้ งินตราต่างชนิดกนั (monetary difference) การคา้
ระหวา่ ง ประเทศจะมีการชาระค่าสินคา้ เป็นเงินตราของ
ประเทศเจา้ หน้ี หรือเงินตราสกลุ อ่ืนตามท่ีตกลงกนั เช่น
ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เยน ยโู ร เป็นตน้ ส่วนการคา้ ใน
ประเทศใชเ้ งินตราชนิดเดียวกนั

10.2.3 นโยบายเศรษฐกิจของประเทศคู่คา้ ต่างกนั ประเทศต่าง ๆ
มีการใชน้ โยบายในการคา้ แตกต่างกนั เช่น ใชโ้ ควตา้ ทางการคา้
ในการนาเขา้ สินคา้ ต้งั กาแพงภาษีขาเขา้ เพ่อื ป้องกนั สินคา้
ภายในประเทศ เป็นตน้ ซ่ึงการคา้ ในประเทศเดียวกนั จะไม่มี
นโยบายดงั กลา่ ว

10.2.4 ความแตกต่างดา้ นอ่ืน ๆ เช่น ความแตกต่าง
ทางดา้ นภาษา ดา้ นสงั คม ดา้ นการเมือง และดา้ น
กฎหมาย ซ่ึงการคา้ ในประเทศจะไมม่ ีความแตกต่างใน
เร่ืองดงั กล่าว

10.3.1 ทฤษฎีการไดเ้ ปรียบโดยเดด็ ขาด
แนวความคิดวา่ ประเทศหน่ึงประเทศใดจะไดเ้ ปรียบ

โดยเดด็ ขาดถา้ ประเทศน้นั สามารถผลิตสินคา้ ชนิดหน่ึงได้
มากกวา่ อีกชนิดหน่ึง ดว้ ยปัจจยั การผลิตจานวนที่เท่ากนั

10.3.2 ทฤษฎีการไดเ้ ปรียบโดยเปรียบเทียบ
การคา้ ระหวา่ งประเทศจึงเกิดข้ึนโดยท่ีแต่ละ

ประเทศจะทาการผลิตสินคา้ ท่ีตนสามารถผลิตไดด้ ว้ ยตน้ ทุนที่
ต่ากวา่ โดย เปรียบเทียบแลว้ จึงส่งออก ในขณะเดียวกนั กจ็ ะ
นาเขา้ สินคา้ ตน้ ทุนที่ต่ากวา่ โดยเปรียบเทียบแลว้ จึงนาเขา้

10.3.3 ทฤษฎตี ้นทุนค่าเสียโอกาส

ทฤษฎีตน้ ทุนค่าเสียโอกาส (the opportunity cost theory)
ไดน้ ามาปรับปรุงและอธิบายทฤษฎีการคา้ ระหว่างประเทศ โดย
สามารถยกเลิกขอ้ สมมติของทฤษฎีการคา้ เดิมที่กาหนดใหแ้ รงงาน
เป็ นปัจจยั การผลิตเพียงอยา่ งเดียว เพราะตน้ ทุนของสินคา้ เกิดข้ึน
จากจานวนปัจจยั การผลิตท้งั หมดที่ใชใ้ นการผลิตสินคา้ น้ัน ขอ้
สมมติใหม่น้ีจึงใกลเ้ คียงกบั ความเป็นจริงมากข้ึน

10.3.4 ทฤษฎีวฏั จกั รสินคา้
แนวความคิดของทฤษฎีน้ีจึงเร่ิมตน้ จากการท่ีหน่วยบริการหรือองคก์ ารท่ีทาการผลิตสินคา้

ใหม่ ซ่ึงไมเ่ พียงแต่ใชต้ อบสนองความตอ้ งการภายในประเทศเท่าน้นั ส่วนที่เหลือจะทาการส่งออก
เพ่ือใหก้ ารผลิตเกิดการประหยดั ต่อขนาด และเมื่อการผลิตผา่ นเขา้ สู่จุดอิ่มตวั เทคโนโลยกี ารผลิต
และการจดั การในการผลิตสินคา้ ดงั กล่าวกจ็ ะถกู ถ่ายเทไปสู่ประเทศที่เคยทาการนาเขา้ ดงั น้นั
ประเทศนาเขา้ กจ็ ะเริ่มมีการผลิตเป็นลกั ษณะของการผลิตเพอ่ื ทดแทนการนาเขา้ (import
substitution) จนถึงจุดหน่ึงที่การผลิตจากประเทศที่เคยนาเขา้ เกิดการเรียนรู้และมีประสบการณ์ใน
การผลิตมากข้ึน กจ็ ะทาการส่งออกสินคา้ ดงั กลา่ ว และเปลี่ยนนโยบายจากการผลิตจากเพ่ือทดแทน
การนาเขา้ มาเป็นการส่งเสริมเพือ่ การส่งออก (export promotion)

1. ช่วยใหป้ ระชาชนมีสินคา้ บริโภคมากข้ึน
2. ช่วยใหร้ ัฐบาลไดร้ ับรายไดใ้ นรูปภาษี และค่าธรรมเนียมจาก

การส่งออกและนาเขา้

3. ช่วยใหก้ ารผลิตและการคา้ ท้งั ภาคเกษตรกรรม และ
อตุ สาหกรรมภายในประเทศขยายตวั ข้ึน

4. ทาใหไ้ ดร้ ับการถา่ ยทอดเทคโนโลยแี ละสามารถนามาพฒั นา

ระบบการผลิตและพฒั นาการคา้ ภายในประเทศใหม้ ีประสิทธิภาพมาก

ข้ึน
5. ทาใหเ้ กิดช่องทางการลงทุนในธุรกิจใหม่ ๆ

10.5.1 นโยบายการคา้ เสรี (free trade policy)
เป็ นนโยบายที่มุ่งส่งเสริมในการสั่งสินค้าเข้าและ
การส่งออกใหด้ าเนินไปอยา่ งอิสระปราศจากการกีด
ขวางใด ๆ ท้งั สิ้น นน่ั คือ รัฐบาลจะไม่แทรกแซงใน
กิจการคา้ ระหว่างประเทศ หากมีการเก็บภาษีก็จะ
เกบ็ ในอตั ราท่ีต่าท่ีสุด

วิธีปฏิบตั ิของประเทศท่ีใชน้ โยบายการคา้ เสรี มี 5 ประการ
ดงั ต่อไปน้ี

1) ดาเนินการผลิตตามหลกั การแบ่งงานกนั ทา
2) ไมม่ ีการเกบ็ ภาษีคุม้ กนั (protective duty)
3) ใหส้ ิทธิแก่ทุกประเทศท่ีตอ้ งการคา้ ขายดว้ ย
4) ไม่มีขอ้ จากดั ทางการคา้ (trade restrictions)
5) ปลอ่ ยใหเ้ อกชนดาเนินการคา้ ระหวา่ งประเทศเอง

10.1.2 นโยบายการคา้ ไมเ่ สรี หมายถึง การท่ีรัฐบาลใช้
นโยบาย คุม้ กนั (protective trade policy) เพอ่ื ให้

ความช่วยเหลือหรือคุม้ กนั อตุ สาหกรรมหรือการผลิต
ภายในประเทศบางชนิด ซ่ึงยงั ไม่สามารถแข่งขนั สินคา้ ของ
ต่างประเทศได้ เคร่ืองมือของนโยบายคุม้ กนั คือ การต้งั
กาแพงภาษีและ การควบคุมการนาสินคา้ เขา้

โดยทว่ั ไปแลว้ การชาระเงินระหว่างประเทศมกั จะใช้
เ งิ น ต ร า ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ส กุ ล ห ลัก เ ช่ น ด อ ล ล า ร์
สหรัฐอเมริกา ยูโร ปอนด์ เป็ นตน้ และมกั ชาระผ่าน
ธนาคารโดยใช้เคร่ื องมือเครดิต ได้แก่ ตั๋วแลกเงิน
ดราฟตธ์ นาคาร เป็นตน้

ดว้ ยเหตุที่แต่ละประเทศมีหน่วยเงินตราแตกต่างกนั เม่ือ
ทาการติดต่อคา้ ขายกนั จะตอ้ งมีการกาหนดอตั รา
แลกเปลี่ยนระหวา่ งมูลค่าเงินของประเทศต่าง ๆ กบั
มูลค่าของเงินตราสกลุ หลกั ไว้ เช่น 1 ดอลลาร์เท่ากบั 43
บาท 1 ปอนด์ เท่ากบั 65 บาท

ดุลการคา้ ระหวา่ งประเทศ (Balance of International
Trade) หมายถึง จานวนแตกต่างระหวา่ งมูลค่าของสินคา้ ออกมลู
กบั มลู ค่าสินคา้ เขา้ ของประเทศ ในระยะเวลาหน่ึง ซ่ึงตามปกตินิยม
คิดกนั คราวละ 1 ปี ถา้ มลู ค่าสินคา้ ออกนอ้ ยกวา่ มลู ค่าเขา้ กเ็ รียกวา่
“ดุลการคา้ ขาดดุล” (dificit) ถา้ มลู ค่าสินคา้ ออกมากกวา่ สินคา้ เขา้
เรียกวา่ “ดุลการคา้ เกินดุล” (surplus) และถา้ มลู ค่าสินคา้ ออก
เท่ากบั มูลค่าสินคา้ เขา้ เรียกวา่ “ดุลการคา้ สมดุล” (balance)

ดุลการชาระเงินระหวา่ งประเทศ (Balance
of International Payment) หมายถึง บญั ชีท่ีบนั ทึก
รายการแลกเปล่ียนทางเศรษฐกิจระหวา่ งประชากร
หรือผพู้ านกั อาศยั (residents)ของประเทศหน่ึง ๆ
กบั ประชากรหรือผพู้ านกั อาศยั ในต่างประเทศ ใน
ระยะเวลาหน่ึง โดยปกติคิดเป็นคราวละ 1 ปี
ดุลการชาระเงินจะบนั ทึกรายการแลกเปล่ียนท้งั ของ
เอกชน บริษทั และรัฐบาลรวมกนั ท้งั หมดซ่ึง เป็น
การรวมรายการแลกเปลี่ยนที่มีการชาระเงินในการ
ซ้ือขาย แลกเปลี่ยนระหวา่ งสินคา้ โดยตรงตลอด
จนถึงการใหเ้ ปลา่ กถ็ ือเป็นการแลกเปล่ียนทาง
เศรษฐกิจที่จะตอ้ งบนั ทึกในดุลการชาระเงิน ท้งั สิ้น

ดุลการคา้ เป็นเพียงรายการหน่ึงในบญั ชี
ดุลการชาระเงินท่ีประกอบดว้ ยรายรับ รายจ่ายจากการส่ง
สินคา้ ออกและสง่ั สินคา้ เขา้ ซ่ึงเป็นสินคา้ จริง ๆ ใน
ระยะเวลาท่ีกาหนดโดยไม่รวมรายการ นาเขา้ หรือส่งออก
อ่ืน ๆ โดยเฉพาะรายการท่ีมองไมเ่ ห็น (invisible items)
เช่น บริการและการเคล่ือนยา้ ยเงินทุน ดุลการคา้ จึงแสดง
เฉพาะรายการที่เก่ียวกบั สินคา้ (visible items) เท่าน้นั

10.10.1 บญั ชีเดินสะพดั (current account) ตามปกติ
บญั ชีเดินสะพดั แบ่งออกเป็น
2 รายการ คือ

1) ส่วนของสินคา้ ซ่ึงเป็นรายการที่ 2) ส่วนของบริการ รวมส่วนของ
สาคญั ที่สุด เพราะบนั ทึกรายการมลู ค่า สินคา้ เขา้ กบั ส่วนบริการ เราเรียกวา่
สินคา้ ออกและสินคา้ เขา้ ผลต่างระหวา่ ง “ดุลสินคา้ และบริการ” (balance of
มูลค่าสินคา้ ออกและมลู ค่าสินคา้ เขา้
เรียกวา่ “ดุลการคา้ ” (balance of trade) trade and service)

บญั ชีทุนสารองระหวา่ งประเทศต่างกบั บญั ชีอื่น ๆ ในบญั ชีดุลการชาระเงิน เพราะบญั ชีส่วน
อ่ืน ๆ เป็นรายการแลกเปล่ียนโดยอิสระ การพิจารณาดุลการชาระเงินขาดดุล (deficit) หรือ
เกินดุล (surplus) จะพิจารณาจากผลรวมทางดา้ น debit (-) และ credit (+) ใน 3 บญั ชีแรก
เท่าน้นั ถา้ ผลรวมทางดา้ นเครดิตมากกวา่ เดบิต แสดงวา่ ประเทศน้นั มีดุลการชาระเงินเกินดุล
(surplus) ถา้ ผลรวมทางดา้ นเดบิตมากกวา่ ผลรวมทางดา้ นเครดิต แสดงวา่ ประเทศมี
ดุลการชาระเงินขาดดุล (deficit) ผลรวมทางดา้ นเครดิตเท่ากบั เดบิต แสดงวา่ ดุลการชาระเงิน
สมดุล ซ่ึงในกรณีสมดุลจะเป็นไปไดย้ าก

10.11.1 การแกไ้ ขการขาดดุลการคา้ รายการสินคา้ เป็นรายการท่ีสาคญั
ที่สุดในบญั ชีดุลการชาระเงิน เพราะมีมลู ค่ามากกวา่ รายการอื่น ๆ
ดงั น้นั การขาดดุลการคา้ มกั เป็นสาเหตุสาคญั ท่ีทาใหข้ าดดุลชาระเงิน

วิธีการแกไ้ ขดุลการคา้ ใหข้ าดดุล
นอ้ ยลง กระทาได้ 2 ทาง คือ

1) ลดปริมาณการสงั่ เขา้
โดยเฉพาะสินคา้ ท่ีไม่จาเป็นและ
ฟ่ ุมเฟื อย ซ่ึงทาไดด้ งั น้ี

(1) ใชน้ โยบายภาษีศลุ กากร โดยเกบ็ ภาษีศลุ กากรในอตั ราสูง ๆ

(2) ใชน้ โยบายท่ีไมใ่ ช่ภาษีศลุ กากร อาจใชม้ าตรการอื่น ๆ ดงั น้ี

ก. กาหนดโควตาการนาเขา้ สาหรับสินคา้ บางชนิด
ข. กาหนดมาตรฐานของสินคา้ นาเขา้
ค. กาหนดใหธ้ นาคารพาณิชยเ์ ขม้ งวดในการปล่อย
สินเช่ือ
ง. ส่งเสริมการผลิตสินคา้ ประเภทท่ีใชท้ ดแทนการ
นาเขา้ บางประเภท
จ. ส่งเสริมใหบ้ ริโภคสินคา้ ท่ีผลิตในประเทศ
ฉ.ส่งเสริมอตุ สาหกรรม ขนาดยอ่ มหรือขนาดกลาง
(SME) ที่ผลิตโดยคนไทย

2) การส่งเสริมการส่งสินคา้ ออกทาไดด้ งั น้ี
(1) ใชน้ โยบายภาษีศลุ กากร ลดหรือยกเลิกอตั ราภาษีสินคา้ บางประเภท
(2) ใชน้ โยบายท่ีไมใ่ ช่ภาษีศลุ กากร ใชม้ าตรการต่าง ๆ ดงั น้ี
ก. ส่งเสริมการผลิตสินคา้ ท่ีตลาดต่างประเทศมีความตอ้ งการ
ข. ปรับปรุงคุณภาพของสินคา้ ท่ีจะส่งออกใหไ้ ดม้ าตรฐาน
ค. ขยายตลาดต่างประเทศใหก้ วา้ งขวางยง่ิ ข้ึน
ง. ปรับปรุงระเบียบและวธิ ีการในการส่งสินคา้ ออกใหร้ ัดกมุ ยงิ่ ข้ึน
จ. ส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรม เพื่อผลิตสินคา้ ส่งออก
ฉ. การทุ่มตลาด (dumping) โดยการส่งสินคา้ ไปขายต่างประเทศใน
ระดบั ราคาท่ีต่ากวา่ ราคาภายในประเทศ

10.11.2 การแก้ไขการขาดดุลการชาระเงนิ การแกไ้ ขดุลการชาระเงินขาดดุลทาได้
หลายวิธี แลว้ แต่สภาพและสาเหตุของการขาด
ดุล

1) ถ้าเป็ นการขาดดุลท่ีรากฐาน ซ่ึง
หมายถึง การขาดดุลจานวนมากและติดต่อกัน
เป็ นระยะเวลานาน

2) ถ้าเป็ นการขาดดุลอันเน่ืองจาก
ปริมาณเงินมากเกินไปจน ผลผลิตเพิ่มไม่ทนั เกิด
ภาวะเงินเฟ้อซ่ึ งมีผลทาให้สิ นค้าและบ ริ การท่ี
ส่ ง อ อ ก มี ร า ค า สู ง ข้ึ น ใ น ส า ย ต า ข อ ง ผู้ซ้ื อ ใ น
ต่างประเทศทาใหส้ ่งสินคา้ ออกไดน้ อ้ ยลง

ในขณะเดียวกนั ผซู้ ้ือในประเทศจะมีความรู้สึกว่า
สินคา้ และบริการที่สั่งเขา้ มีราคาถูก ทาให้ซ้ือมากข้ึน
การแกไ้ ขการขาดดุลลกั ษณะน้ีจะตอ้ งใชว้ ิธีลดค่าเงิน
(devaluation)

การลดค่าเงินอาจก่อใหเ้ กิดความปั่นป่ วนทาง
เศรษฐกิจของโลกอยา่ งรุนแรง ประเทศต่าง ๆ พากนั ลด
ค่าเงินของประเทศตามกนั ดว้ ยเหตุน้ี กองทุนการเงิน
ระหวา่ งประเทศจึงไดว้ างระเบียบในเร่ืองการลดค่าเงิน
ไวเ้ พ่ือมิใหป้ ระเทศต่าง ๆ เอาเปรียบซ่ึงกนั และกนั

3) ถา้ เป็นการขาดดุลที่เกิดจากอปุ สงคม์ วลรวม
(aggregate demand)มีมากกวา่ อปุ ทานมวล
รวม (aggregate supply) ซ่ึงมีผลทาให้
สินคา้ เขา้ เพ่มิ ข้ึน สินคา้ ออกลดลง การ
แกป้ ัญหาการขาดดุลจะตอ้ งลดอปุ สงคม์ วล
รวมลง โดยใชน้ โยบายการเงินและการคลงั
เพอ่ื ลดระดบั รายไดข้ องประชาชน ประชาชน
จะมีเงินเพอ่ื ไปซ้ือสินคา้ นอ้ ยลง ทาให้
สินคา้ เขา้ จากต่างประเทศนอ้ ยลงและส่งออก
ไดม้ ากข้ึน

4) ถา้ เป็นการขาดดุลท่ีเกิดข้ึนชว่ั คราว โดยมีสาเหตุจาก
การเปลี่ยนแปลงของปัจจยั ทางเศรษฐกิจอยา่ งกะทนั หนั
เกี่ยวกบั ภยั ธรรมชาติ ภาวะสงคราม การจลาจล เป็นตน้
การแกไ้ ขกท็ าโดยนาทุนสารองระหวา่ งประเทศท่ีมีอยมู่ า
ใชก้ ่อนได้ เพราะเม่ือเหตุการณ์กลบั สู่ภาวะปกติ
ดุลการชาระเงินอาจกลบั อยใู่ นภาวะปกติได้

10.12.1 ขนาดการเปิ ดของประเทศ
การคา้ ระหวา่ งประเทศยอ่ มตอ้ งส่งผลต่อเศรษฐกิจภายในประเทศอยา่ งหลีกเลี่ยงไมไ่ ด้ หาก
สงั เกต การเคลื่อนไหวของการส่งออกจะมีความสมั พนั ธ์ใกลช้ ิดกบั การขยายตวั ของเศรษฐกิจ
ของประเทศ เมื่อใดที่มีแนวโนม้ การส่งออกมาก กจ็ ะทาใหร้ ะบบเศรษฐกิจมีแนวโนม้ ขยายตวั ใน
อตั ราท่ีสูงตามไปดว้ ย ในทางตรงกนั ขา้ ม เม่ือใดที่การส่งออกซบเซาแนวโนม้ การขยายตวั ทาง
เศรษฐกิจจะชะลอตวั ลงดว้ ย

10.12.2 การคา้ ต่างประเทศ ประเทศไทยเป็ นประเทศท่ีมี
ระบบเศรษฐกิจเปิ ด การคา้ ระหว่างประเทศจึงมีบทบาท
สาคัญ ในฐานะกลไกในการพัฒนาและนาความ
เจริญรุ่งเรืองมาสู่ประเทศ

10.12.3 โครงสร้างการส่งออก การส่งออกของประเทศ
ท่ีมีบทบาทมาก ข้ึนในการสร้างรายไดใ้ ห้แก่ประเทศ
การเปลี่ยนแปลงความสาคัญของสิ นค้าจากการ
เกษตรกรรมมาเป็นอตุ สาหกรรมมากข้ึน

10.12.4 โครงสร้างการนาเขา้ ในดา้ นการนาเขา้ สินคา้ เขา้ ส่วนใหญ่ยงั คง
เป็นสินคา้ ทุน วตั ถดุ ิบและสินคา้ ก่ึงสาเร็จรูป ท้งั น้ีส่วนหน่ึงเป็นผลจาก
สินคา้ ออกของไทย ส่วนใหญ่ผลิตจากวตั ถดุ ิบท่ีตอ้ งนาเขา้ สูง ในแง่ของ
แหลง่ สินคา้ เขา้ ญ่ีป่ ุนยงั คงเป็นแหล่งนาเขา้ ท่ีสาคญั ท่ีสุด

ใหผ้ เู้ รียนแบ่งเป็นกลมุ่ กล่มุ ละ 5-6 คน ทารายงานโดยศึกษาข่าวเร่ือง
“ส่งออก 62” ต่าสุดรอบ 4 ปี ปัจจยั ลบเพียบ ตลาดร่วงยกแผง และ
สงั เคราะห์ความรู้ท่ีได้




Click to View FlipBook Version