The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Beam Ronnarit, 2022-07-14 09:26:01

Photobook_watarun

วัดอรุณราชวราราม




WAT ARUNRATCHAWARARAM




Landmarks and monuments / Temple



“ภาษาคือกล้อง ส่องความคิด


ภาพน�้าจิตอาจเห็นให้เด่นใส



ถ้าพูดเขียนปูดเปื้อนเลอะเลือนไป


ก็น�้าใจหรือจะแจ่มแอร่มฤทธิ์



เงาพระปรางค์วัดอรุณอรุณส่อง


ย่อมผุดผ่องกว่าเงาแห่งเตาอิฐ



อันค�าพูดนั้นเล่า เงาความคิด


เปรียบเหมือนพิศพักตร์ชะโงกกระโหลกทึก”















อ้างอิง กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ (นามปากกา น.ม.ส.) พระนามเดิมของพระองค์เจ้ารัชนี

ประวัติวัดอรุณราชวราราม








วดอรณราชวรารามเป็นพระอารามหลวงชนเอกชนดราชวรมหาวหารของถนนอรุณอมรนทร์ระหว่าง







คลองนครบาลหรือคลองวัดแจ้งกับพระราชวังเดิม ต�าบลวัดอรุณ อ�าเภอบางกอกใหญ่จังหวัดธนบุรี เป็นวัด
โบราณสร้าง มาแต่ครั้งสมัยอยุธยาเดิมเรียกว่า “วัดมะกอก” ภายหลังเปลี่ยนเป็นวัดมะกอกนอกแล้วเปลี่ยน
เป็นวัดแจ้งวัดอรุณราชธารามและวัดอรุณราชวราราม โดยล�าดับ ปัจจุบันเรียกว่า “วัดอรุณราชวราราม”








มูลเหตุที่เรียกวัดนี้แต่เดิมว่า “วัดมะกอก” นั้นตามทางสันนิษฐานว่าเรียกคล้อยตามต�าบลที่ตั้งวัด ซึ่งสมัย


นั้นมีชื่อว่า “บางมะกอก” ตามคติเรียกชื่อวัดของไทยสมัยโบราณ เพราะชื่อวัดที่แท้จริงมักจะไม่มี จึกเรียกชื่อ


วัดตามต�าบลที่ตั้ง เช่น วัดบางล�าพู วัดปากน�้า เป็นต้น





พระปรางค์







พระปรางค์ตั้งอยู่หน้าวัดทางทิศใต้หลังโบสถ์และวิหารน้อยเดิมสูง 16 เมตรเป็นปูชนียสถานที่สร้างขึ้น


พร้อมกับโบสถ์และวิหารน้อยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศล้านภาลัยรัชกาลที่ 2 ทรงมีพระราชศรัทธาเสริม





สร้างให้สูงใหญ่เป็นพระมหาธาตุสาหรับพระนครแต่ทรงกระทาได้เพียงดเพียงขุดรากเตรียมไว้เท่าน้นยังค้างอยู่
เพราะสวรรคตเสียก่อนต่อมาพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 3 โปรดให้ปฏิสังขรณ์วัดเป็นการ




ใหญ่อีกคร้งเร่มแต่ทรงปฏิสังขรณ์และสร้างกุฏิเป็นตึกใหม่ท้งหมดและทรงมีพระราชดาริเพ่อสนองพระราช


ประสงค์ของสมเด็จพระบรมชนกนาถได้เสด็จพระราชด�าเนินไปก่อพระฤกษ์พระปรางค์

พระปรางค์วัดอรุณราชวรารามอันประกอบไปด้วยปรางค์ประธานห้ายอดล้อมรอบด้วยปรางบริเวณ


ทั้ง 4 มุมและมณฑปทั้ง 4 ทิศที่ฐานของปูชนียสถานเหล่านี้ล้วนละลานตาไปด้วย “พลแบก” ได้แก่ “ปรางค์

ประธาน” ประกอบด้วยฐาน “ยักษ์แบก” ฐาน “กระบี่แบก” และฐาน “เทวดาแบก” ซ้อนลดหลั่นกันขึ้นไป


ถึง 3 ชั้น “ปรางค์มุมบริวาร” มีรูปยักษ์แบกและกระบี่แบกสลับกันที่ฐาน และ “มณฑปทิศ” มีรูปเทวดาแบก


หรือยักษ์แบกสลับกัยในแต่ละครั้ง พลแบกเหล่านี้เมื่อดูผิวเผินก็อาจจะดูไม่มีความส�าคัญอะไร มากไปกว่า





เคร่องประดับเชิงช้นของสถาปัตยกรรมไทยประเพณีท่เป็นส่อสัญลักษณ์ตามคติจักรวาลแต่ถ้สลองพินิจดูให้
ดีแล้วจะเห็นความแต่งต่างของ “เครื่องแต่งกาย” อันได้แก่ ศิราภรณ์ เกราะ ระหว่างพลแบกที่ปรางค์บริเวร
และมณฑปอย่างชัดเจน





พลแบกฐานปรางค์ประธาน อันประกอบด้วย ยักษ์แบก กระบี่แบก และเทวดาแบก ล้วนสวมศิราภรณ์

มียอดเป็น “ยักษ์ยอด” และ “ลิงยอด” แบบหัวโขนทศกัณฐ์และหัวโขนพาลีหรือสุครีพโดยรูปยักษ์แบกสวม






เกราะเป็นสายคาดท่หน้าอกรัดเกราะเป็นแผ่นโค้งแนบลาตัวส่วนรูปเทวดาแบกสวมเกราะท่ดูเหมือนเส้อเสนา

กุฎมีรูปหน้าขบคาบสายรัดเพราะท่หน้าอกและแขนรูปเหราขณะท่กระบ่แบกจะสวยสังวาลและทับทรวงไม่


สวมเกราะ

“สัตตภัณฑศีรี ทั้ง 7 นี้ตั้งเสมอรอบๆกันแต่เขาพระสุเมรุเป็นล�าดับกันออกมาบุคคลทัศนาการเห็นเหมือน


ดังบันไดย่อมเป็นนิวาสถานที่อยู่แห่งหมู่เทวดาแลคนธรรพ์ ยักษ์กุมภัณฑ์ สุบรรณ ครุธาราช ปักษี อันมีฤทธานุ



รูปยักษ์ยืน







หน้าประตูชัยยอดมงกุฏมี 2 ตัวมือทั้ง 2 ข้างกุมกระบองยืนอยู่บนแท่นสูงประมาณ 3


วายักษ์ที่ยืนด้านเหนือ (ตัวขาว) คือ สหัสเดชะ สวนด้านใต้ (ตัวเขียว) ค่ือ ทศกัณฐ์ ปั้นด้วยปูน





ประดับกระเบ้องเคลือบสีเป็นลวดลายรูปลักษณะและเคร่องแต่งตัวยักษ์คู่น้เป็นของทาข้น

ใหม่งานศิลปะที่องค์พญายักษ์ทั้งสองสะท้อนถึง 9 เอกลักษณ์ของพญายักษ์ที่ไม่เหมือนใคร
และ ไม่มีใครเหมือน ศาสตร์และพระเวทย์ทั้ง 4 (ทศกัณฐ์) ยืนแบบเหลี่ยมยักษ์อย่างชัดเจน


คือ กางขาออก ย่อเข่า เป็นลักษณะที่แสดงถึงความแข็งแกร่งและพลังอ�านาจ พละก�าลังมหา


ศาลความน่่าเกรงขามพญายักษ์มีรากเหง้าจากรามเกรียต์วรรณกรรมของฮินด ู






ด้านหน้ายักษ์ทั้ง 2 ตน มีสิงโตโบราณแกะสลักจากหิน ตั้งอยู่ด้านละ 3 ตัวตามประวัติการสร้างยักษ์




วัดอรุณแต่เดิมสร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 โดยทรงโปรดให้หลวงเทพ

กัน ช่างปั้นฝีมือดีเป็นผู้ปั้น ต่อมาเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พุทธศักราช 2473 ในสมัยพระเดชพระคุณพระพิมล
ธรรมเป็นเจ้าอาวาส ได้เกิดฝนตกหนัก มีอสุนีบาตตกถูกยักษ์หน้าพระอุโบสถด้านทิศเหนือ คือ สหัสเดชะพังลง



มาจึงได้สร้างข้นใหม่เป็นยักษ์คู่ท่มีความสวยสง่างามด่งท่เราเห็นอยู่ในปัจจุบัน




สหัสเดชะ






สหสเดชะเป็นรากษสกายสีขาวเจ้าเมองปาง


ตาลมี 1000 หน้า 2000 มือ ร่างกายสูงใหญ่ดั่งเขา

อัศกรรม หน้ายักษ์สีขาวท�าเป็นหน้า 4 ชั้นหรือ 5


ชั้นชั้นแรกหน้าปกติ 1 หน้า หน้าเล็กๆ 3 หน้า เรียง


อยู่ตรงท้ายทอย ชั้นที่ 2 3 4 ท�าเป็นหน้าเล็ก 4 หน้า

ชั้นบนสุดท�าเป็น 2 แบบ แบบหน้ายักษ์ และแบบ


หน้าพรหม ปากแสยะตาโพล่ง สวมมงกุฎชัย

ทศกัณฐ์






ใบหน้าปกติมีสีเขียวแต่หากน่งเมืองจะใช้หน้า


สีทอง มี 10 พักตร์ 20 กร ใบหน้ามี 3 ชั้น ชั้นแรก

เป็นหน้าปกติ 1 หน้าและมีหน้าเล็กๆ ตรงท้ายทอย


อีก 3 หน้าชั้นที่ 2 เป็นหน้าเล็กๆ 4 หน้าเรียง 4 ด้าน


ชั้นที่ 3 เป็นหน้าพรหมด้านหน้าและหน้ายักษ์ด้าน

หลังทุกหน้าจะมีลักษณะปากแสยะตาโพลง





สวมมงกฎยอดชยเป็นโอรสของท้าวลสเตยน



เคร่องแต่งกายประกอบด้วยกระเบองเคลอบเป็น


ดอกดวงต่างๆ สวยงาม

พระอุโบสถ







พระอุโบสถสร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

เป็นอาคารยกสูงหลังคาลด 2 ชั้นมุงด้วยกระเบื้องขอบเป็นกระเบื้องสีเขียว


ใบไม้ ช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ ลงรักปิดทองประดับกระจกแผงหน้าและ


ด้านหลังเป็นไม้แกะลายลงรักปิดทองและประดับกระจกรูปเทวดายืนถือ



พระขรรค์อยู่ในปราสาทมีสังข์และคนโทนาวางอยู่ในพานข้างละพาน


ประดับลายกนกลงรักปิดทองพระอุโบสถมีมุขย่นท้งด้านหน้าและ
ด้านหลัง



พระพุทธนฤมิตร






เป็นพระพุทธรูปฉลองพระองค์พระบาท



สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดเกล้าให้



หล่อข้นจาลองจากพระพทธรปฉลองพระองค์ใน

รัชกาลที่ 2 ซึ่งประดิษฐานบนบุษบกยอดปรางค์หน้า
พระอุโบสถ

เสาพระอุโบสถ






เสาพระอุโบสถประดับลวดลายเคร่องเคลือบ


เป็นลายดอกไม้ร่วงประดับเป็นระยะเว้นจังหวะ


ได้สวยงามตลอดท้งเสาและลวดลายดอกไม้ร่วงน ี ้




ยงได้ถูกนามาประดับประดาตลอดทงผนงภายนอก


พระอุโบสถอีกด้วย



พระอุโบสถไม่มีก�าแพงแก้ว แต่มีพระระเบียงแทนสร้างขึ้นในสมัย สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จ


พระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีทรวดทรงงดงามกว่าพระระเบียงที่อื่น ที่ผนังระเบียงมีลายเขียนเป็นซุ้ม

เรือนแก้วลายดอกไม้ ใบไม้ มีนกยูงแบบจีนอยู่ตรงกลาง ด้านในพระระเบียงโดยรอบมีตุ๊กตารูปทหาร


เริอท�าจากหินแกรนิตสีเขียวตั้งเรียงเป็นแถวจ�านวน 144 แถว



ตุ๊กตาอับเฉา







ตุ๊กตาหิน ศิลปะจีนที่เรียงรายอยู่บริเวณวัดอรุณราชวราราม ย้อนกลับไปสมัยรัชกาลที่ 3



มีการค้าขายกับประเทศจีนโดยการขนส่งสินค้าโดยเรือสาเภาเวลาเดินทางไปส่งสินค้าเข้า



ประเทศไทยเรือจะมีนาหนักมากแต่เวลาเดินทางกลับจากการส่งสินค้าจึงมิสามารถเดินทาง

กลบโดยลาเรอเปล่าได้เนองจากเรือในสมัยโบราณใช้ไม้ท่มนาหนักเบาและเจอคล่นแรงจึง












ทาให้เรือโครงเครงจึงเป็นสาเหตุของเรืออับปางจาเป็นจะต้องถ่วงนาหนักโดยตุ๊กตาหินไปไว้

ในใต้ท้องเรือเมื่อกลับถึงประเทศไทยจึงน�ามาถวายวัด เพื่อใช้ตกแต่งสถานที่ของวัด ณ ปัจจุบัน





พระระเบียงคด







พระระเบียงคดของพระอุโบสถวัดอรุณราชวรารามเป็นโบราณสถาน





สาคัญของวัดอรุณราชวรารามอีกสถานท่หน่งกล่าวคือพระอุโบสถของวัดอรุณ
ราชวรารามนั้น ไม่มีก�าแพงแก้วเหมือนวัดอื่นๆแต่ได้สร้างเป็นพระระเบียงคดหรือ

พระวิหารคดขึ้นมาแทนก�าแพงแก้วรอบพระอุโบสถ ลักษณะเป็นระเบียงมีหลังคา










มงด้วยกระเบองเคลอบสเหลืองและสเขยวใบไม้มประตเข้าออกอย่ก่งกลาง



พระระเบียงทั้ง 4 ทิศ



“พระระเบียงมีอยู่ให้ดูได้สมบูรณ์


ทรวดทรงงามกว่าพระระเบียงที่ไหนหมด

เป็นศรีแห่งฝีมือในสมัยรัชกาลที่ 2 ควรชมอย่างยิ่ง”





พระบรมราชานุเสาวรีย์รัชกาลที่ 2







ซึ่งได้จัดสร้างเมื่อปีพุทธศักราช 2539 ในสมัยของพระเดชพระคุณหลวงพ่อพระธรรมสิริชัย (บุญเลิศ)


เป็นเจ้าอาวาสโดยการปรารถให้สร้างของราชสกุลในพระองค์ท่านเหตุเพราะพระบาทสมเด็จพระพุทธ





เลิศหล้านภาลัยทรงมีความผูกผันและศรัทธากับวัดอรุณราชวรารามเป็นอย่างย่งเม่อคร้งพระองค์ทรง
ด�ารงค์พระอริยยศเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอได้เสด็จมาประทับ ณ พระราชวังเดิมแห่งนี้พระองค์ทรง




บูรณะปฏิสังขรณ์โบราณสถานของวัดอรุณราชวรารามท้งหมดท้งพระอารามโดยเฉพาะอย่างย่งกับทรงม ี
พระราชอุตสาหะปั้นหุ่นพระพักตร์พระประธานในพระอุโบสถด้วย และทรงโปรดให้หล่อขึ้นประดิษฐาน

เป็นพระประธานทรงพระนามว่า พระพุทธธรรมมิศรราชโลกธาตุดิลก และใต้ฐานพระประธานองค์นี้ยัง


เป็นที่บรรจุพระบรมอัฐิของพระองค์ท่านอีกด้วย



สมุดภาพวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร












ผู้จัดท�า นายรณฤทธิ์ กิจประสงค์


นายอรรณพ แสงคุ้มภัย



อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ประภาภรณ์ แสงสุวรรณ


ผู้สอนวิชาโครงงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุ่งทิวา เสาร์สิงห์







ขอกราบขอบพระคุณคณาจารย์สาขาวิชาเทคโนโลยีการถ่ายภาพและภาพยนตร์


ทุกท่าน ที่ท�าให้เกิดความรู้และความสามารถที่ได้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในครั้งนี้



















ขอบคุณข้อมูลจากเว็บไซต์ Watarun1.com/th


Click to View FlipBook Version