The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการความรู้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yimna_36, 2021-09-21 11:22:06

แผนการจัดการความรู้

แผนการจัดการความรู้

แผนการจัดการความรู้

ประจาปีการศกึ ษา 2564

จัดทำโดย

คณะกรรมกำรงำนพัฒนำ &

กำรจัดกำรควำมร้อู งคก์ ร (งจค.)
โรงเรยี นชำนำญสำมัคควี ทิ ยำ
สำนกั งำนเขตพ้ืนท่มี ธั ยมศึกษำชลบุรี ระยอง
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พื้นฐำน

แผนการจัดการความรู้
ประจาปกี ารศกึ ษา 2564

จัดทาโดย
คณะกรรมการงานพัฒนา & การจดั การความร้อู งค์กร(งจค.)

โรงเรยี นชานาญสามคั คีวทิ ยา

สานักงานเขตพนื้ ทม่ี ัธยมศกึ ษาชลบรุ ี ระยอง
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน



คานา

แผนการจัดการความรู้ ประจาปกี ารศกึ ษา 2564 ของโรงเรยี นชานาญสามคั ควี ิทยา จดั ทาขน้ึ ภายใต้
การมีส่วนร่วมพจิ ารณาของคณะกรรมการงานพัฒนา & การจดั การความรู้องคก์ ร ปีการศึกษา 2564 โดยไดม้ ี
การดาเนินการใน 2 ประเด็น คือ การสง่ เสริมและสนับสนุนให้นกั เรยี นเรยี นรภู้ ายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่
ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) และสถานการณป์ กตไิ ดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ และ
พัฒนาครูผ้สู อนสคู่ รูมืออาชีพดา้ นเทคโนโลยีดิจทิ ลั ในศตวรรษที่ 21 โดยการจัดการความรู้ดงั กลา่ วมี
จุดมุ่งหมายเพื่อให้โรงเรียนชานาญสามคั ควี ิทยาเป็นองค์กรแหง่ การเรียนรู้ หลังจากที่ได้รบั ความเขา้ ใจใน
หลักการของการ จดั การความรู้ : จากทฤษฎีสกู่ ารปฏิบัติ ซึง่ เป็นรากฐานในการพัฒนาองค์กรส่คู วามยั่งยนื

คณะกรรมการงานพัฒนา & การจัดการความรู้องค์กร (งจค.)
โรงเรยี นชานาญสามัคคีวิทยา



สารบัญ

เรอ่ื ง หน้า
คานา…………………………………………………………………………………………………………………..……………. ก
สารบัญ……………………………………………………………………………………………………………………………… ข
นโยบายการจดั การความรู้ของโรงเรียนชานาญสามคั คีวิทยา ประจาปีการศึกษา 2564…….………. 1
ส่วนที่ 1 สว่ นนา……………………………………………………………………………………………………………….. 2
1
1.1 หลกั การและเหตผุ ล ………………………………………………………………………………………………. 3
1.2 วตั ถปุ ระสงค์ ………………….………………………………………………………………………………………. 3
1.3 นยิ ามศัพท์… ………………….………………………………………………………………………………………. 4
สว่ นที่ 2 โครงสรา้ งคณะกรรมการการจดั การความรู้ ฯ……………………………………………………………. 5
2.1 แผนผงั โครงสร้างคณะกรรมการการจัดการความรู้ฯ………………………………….………………… 6
สว่ นท่ี 3 ขัน้ ตอนการปฏิบัติงาน 7
สว่ นที่ 4 แผนการจัดการความรู้ ประจาปีการศกึ ษา 2564…………………………….………………………. 8
4.1 ตารางที่ 1 ขอบเขต KM (KM Focus Areas)…………………………………………...………………….. 9
4.2 ตารางท่ี 2 การตดั สินใจเลือกขอบเขต KM ……………………………………………..……………………. 10
4.3 ตารางท่ี 3 แผนจดั การความรู้ (KM Action Plan)…………………………………….………………….. 16
ภาคผนวก 17
ภาคผนวก ก คาส่ังแตง่ ตงั้ คณะกรรมการการจดั การความรู้ ประจาปีการศึกษา 2564……………….

1
นโยบายการจดั การความรู้ ของโรงเรียนชานาญสามัคคีวิทยา

ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
การจัดการความรู้( Knowledge Management) เป็นการรวบรวมองคค์ วามร้ทู ี่มีอยใู่ น
โรงเรียนชานาญสามคั ควี ิทยา ซึ่งกระจัดกระจายอย่ใู นตวั บุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้
บคุ คลในโรงเรยี นเสามารถเข้าถงึ ความรู้และพฒั นาตนเองใหเ้ ปน็ ผู้รู้ รวมทั้งปฏิบตั งิ านได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
อนั จะส่งผลให้องค์กรมคี วามสามารถในการดาเนนิ การได้อยา่ งมสี งู สุด ทาให้สามารถสนับสนนุ วสิ ัยทัศน์
พนั ธกจิ และเป้าหมายของโรงเรยี น ทเี่ ป็นหน่วยงานที่แสวงหาความรู้เพ่ือพัฒนาการบรหิ ารจัดการในทกุ ดา้ น
ของโรงเรยี นสู่การส่งเสริมและสนบั สนุนให้นักเรยี นสามารถเรยี นรู้ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค
ติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19) และสถานการณป์ กตไิ ดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ และพฒั นาครูผสู้ อน
สคู่ รมู ืออาชพี ดา้ นเทคโนโลยีดิจิทลั ในศตวรรษท่ี 21 ได้
โรงเรียนชานาญสามคั ควี ิทยา จึงได้กาหนดนโยบายการจัดการความร้เู พื่อเป็นทิศทางในการ
ดาเนินการจัดการความร้ขู ององค์กร อย่างมีประสิทธภิ าพ มกี ารรวบรวมความร้ทู ่มี อี ยู่อย่างเปน็ ระบบ ให้ทกุ คน
สามารถเข้าถึงความรู้ แลกเปล่ยี นความรู้ และพฒั นาตนเองให้ เปน็ ผ้มู คี วามสามารถในการ
ทางานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพตามภารกิจของโรงเรยี น อันจะส่งผลให้โรงเรยี น สามารถดาเนินงานได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพและพัฒนาองค์กรแหง่ การเรียนรอู้ ยา่ งต่อเน่ือง ดงั ต่อไปน้ี
1. โรงเรยี นมีหนา้ ที่สนบั สนุนให้ความรว่ มมอื การจดั การความรโู้ ดยจัดให้มีคณะกรรมการชุดหนงึ่ เป็น
ผู้รับผดิ ชอบในการวางแผนบรหิ ารจดั การความรู้ ส่งเสรมิ และดาเนนิ การตามแผนการจดั การความรู้ อย่าง
จริงจงั และต่อเน่ือง
2. ใหผ้ ู้บรหิ ารและครภู ายในโรงเรยี นชานาญสามคั ควี ทิ ยา มุ่งเน้นความสาคัญกับการจัดการความรู้
ของโรงเรียนในประเดน็ ความรู้ท่ีเกยี่ วขอ้ งกับรูปแบบการบรหิ ารการจัดการเรยี นการสอนภายใต้สถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) นวตั กรรมหรอื วิธกี ารจัดการเรยี นรู้ทปี่ ระสบ
ความสาเรจ็
3. โรงเรยี นชานาญสามัคควี ทิ ยา จะดาเนินการสร้างระบบการจัดเก็บความรู้ของโรงเรยี นไดอ้ ยา่ ง
เหมาะสม เพ่ือใหเ้ ปน็ คลังความรแู้ ละส่งเสริมบคุ ลากรได้เข้าถึงองค์ความรู้น้ัน และมหี น้าท่ีสร้างสภาวะ
แวดลอ้ มทจี่ ูงใจ เอ้อื ตอ่ การเรียนรูแ้ ลกเปลีย่ นเรียนรู้ และตอ่ ยอดองค์ความรใู้ ห้เกิดขึ้นอยา่ งเป็นรูปธรรม
4. โรงเรยี น สง่ เสรมิ พัฒนาองค์กรและบคุ ลากรให้มีสมรรถนะสูงและ เปน็ องคก์ รแห่งการเรียนรู้
ท้งั นี้ให้ประธานคณะกรรมการการดาเนินการจดั การความรเู้ ป็นผ้รู ับผิดชอบ กากับดแู ล และ
ดาเนินการให้เป็นไปตามนโยบายน้ี และให้คณะกรรมการจดั การความรู้ รายงานผลการดาเนินงานต่อ
ผอู้ านวยการโรงเรียน

ลงชือ่ …………………………………………………
(นายสนั ติ มกุ ดาสนิท)

ผู้อานวยการโรงเรยี นชานาญสามคั ควี ทิ ยา

2
สว่ นท่ี 1
คานา
หลกั การและเหตุผล
โรงเรียนเป็นหนว่ ยงานทางการศึกษาท่ีอยู่ภายใต้การกากับดูแลของสานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา
มธั ยมศึกษาชลบรุ ี ระยอง ท่ีมลี ักษณะเป็นองค์กรแหง่ การเรยี นรู้อย่างสมา่ เสมอ โดยต้องรับรขู้ ้อมูลขา่ วสาร
และสามารถประมวลผลความรู้ในด้านต่าง ๆ เพอื่ นามาประยุกต์ใชใ้ นการปฏบิ ัติราชการได้อยา่ งถกู ต้อง
รวดเร็ว เหมาะสมกบั สถานการณ์ รวมทั้งตอ้ งสง่ เสรมิ และพฒั นาความรู้ความสามารถ สร้างวิสยั ทศั น์ และ
ปรับเปล่ียนทัศนคติของข้าราชการในสงั กัดให้เป็นบคุ ลากรทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพและมีการเรยี นรรู้ ว่ มกัน และ
เพือ่ ใหเ้ กดิ ความมั่นใจได้วา่ โรงเรยี นและกลุ่มงานในสังกัดสานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี
ระยอง มกี ารจดั สภาพแวดล้อมภายในองค์กรได้อยา่ งเหมาะสมและมีการจดั วางระบบการจดั การทีเ่ อ้อื ใหก้ าร
จัดการความรู้ขององค์กรสามารถปฏบิ ัตไิ ด้อย่างเปน็ รูปธรรม เปน็ ระบบและตอ่ เนอ่ื งสง่ ผลให้การแลกเปล่ียน
เรียนรู้ สร้างวฒั นธรรมการเรียนรแู้ ละการเพม่ิ ศกั ยภาพของบุคลากรในการพฒั นางานและองคก์ รเป็นไปอยา่ งมี
ประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล จนทาใหโ้ รงเรียนชานาญสามัคคีวทิ ยาไปสู่องคก์ รแห่งการเรียนรู้ (LO :
Learning Organization)
ในปกี ารศึกษา 2564 สงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษาชลบุรี ระยอง จดั การประชุม
“การจัดการความรเู้ พ่ือขับเคลือ่ นสูก่ ารเป็นองค์กรแหง่ การเรียนรขู้ องสานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา
ชลบุรี ระยอง ” ในเดอื นมิถนุ ายน 2564 เพอ่ื สรา้ งความรู้ ความเข้าใจในหลักการของการจดั การความรู้ ท่เี ปน็
ส่วนหนึง่ ของกรอบทิศทางการพัฒนาระบบราชการดว้ ยหลักการของการพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจัดการ
ภาครฐั ( Public Sector Management Quality Award: PMQA) ประกอบด้วยหมวดที่ 1 - หมวดท่ี 7 ท้งั น้ี
การจัดการความรู้ เป็นส่วนหนง่ึ ของระบบโดยอยู่ในหมวดท่ี 4 ว่าดว้ ยการวัด การวเิ คราะหแ์ ละการจัดการ
ความรู้ ซึ่งเปน็ การประเมนิ การเลอื ก รวบรวม วิเคราะห์ จดั การ และปรบั ปรุงขอ้ มลู และสารสนเทศและการ
จัดการความรู้ เพอ่ื ให้เกดิ ประโยชน์ในการปรบั ปรุงผลการดาเนินการขององค์กรในด้านวิสยั ทัศน์ เป้าประสงค์
คา่ นยิ ม ความคาดหวังในผลการดาเนินการ การให้ความสาคญั กับผูร้ ับบริการและผ้มู ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี การ
กระจายอานาจการตัดสินใจ การสร้างนวัตกรรมและการเรียนรู้ในส่วนราชการ การกากบั ดแู ลตนเองท่ีดี และ
ดาเนินการเกย่ี วกับความรบั ผิดชอบต่อสังคมและชุมชนในขณะเดียวกันการจัดการความรู้ ต้องทาใหเ้ กิดการ
พัฒนาทรัพยากรบุคคลดว้ ยการทาใหเ้ กิดระบบการเรยี นรู้ สามารถสรา้ งความผาสกุ และแรงจงู ใจของบคุ ลากร
เพอื่ ให้บคุ ลากรพัฒนาตนเองและใชศ้ ักยภาพอยา่ งเต็มท่ตี ามทิศทางองค์กร
การจดั การความรูใ้ นโรงเรียนชานาญสามัคคีวิทยา ได้มีการดาเนินการใน 2 ประเด็น คอื การสง่ เสรมิ
และสนบั สนนุ ให้นักเรยี นเรียนรู้ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID
– 19) และสถานการณ์ปกติได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ และพัฒนาครผู สู้ อนสู่ครมู ืออาชพี ด้านเทคโนโลยดี ิจิทลั ใน
ศตวรรษที่ 21 ด้วยเหตุผลดงั กลา่ ว โรงเรยี นชานาญสามัคคีวิทยาได้จดั ทาคูม่ ือการจัดทาแผนการจัดการความรู้
( KM Action Plan Template) เพ่อื ใหง้ า่ ยและสะดวก เป็นมาตรฐานเดียวกันในการจัดทาแผนการจัดการ
ความรู้ (KM Action Plan) ท่ีจะเกดิ ประโยชน์ตอ่ การดาเนินงาน โดยในปี2564 เน้นท่ีนโยบายทสี่ อดคลอ้ งกับ
นโยบายสพฐ. ใน 4 ดา้ น ได้แก่ ด้านมุ่งเน้นความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา ด้านสง่ เสริมโอกาสทางการศกึ ษาท่มี ี
คุณภาพเทา่ เทยี ม ด้านคุณภาพหลักสูตรสถานศกึ ษา ครู/บุคลากรทางการศกึ ษาและนักเรียน และด้านการ
บรหิ ารจดั การศึกษาอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

3

วตั ถุประสงค์
1. เพอ่ื เปน็ แนวทางในการดาเนินการจัดการความรู้
2. เพ่ือรวบรวมขอ้ มลู และความรทู้ ่มี ีอยใู่ นองคก์ รให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น

เป้าหมาย
เพ่อื ให้บคุ ลากรของโรงเรียนชานาญสามคั คีวทิ ยา ใช้เปน็ แนวทางในการดาเนินการจัดการความรู้ทั้งใน

ระดับบคุ คล ระดบั กลมุ่ งาน และระดับองคก์ ร
ผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับ

บุคลากรในโรงเรียนชานาญสามัคคีวทิ ยา สามารถเขา้ ถงึ ความรูแ้ ละพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ปฏิบัติงาน
ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
นิยามศัพท์

1. การจดั การความร้ใู นองคก์ ร หมายถงึ การรวบรวมองคค์ วามรู้ท่มี อี ยู่ในองคก์ ร ซ่งึ กระจัด กระจาย
อยู่ในตวั บคุ คลกระจายอยใู่ นตวั บุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพอื่ ให้ทกุ คนในองค์กรสามารถ
เขา้ ถงึ ความรู้และพฒั นาตนเองให้เป็นผูร้ ู้ รวมทงั้ ปฏิบตั ิงานไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ อนั จะล่งผลให้องค์กรมี
ความสามารถในเชงิ แขง่ ขันสูงสดุ โดยที่ความรมู้ ี 2 ประเภท คอื

1.1 ความรทู้ ีฝ่ ังอยใู่ นคน (Tacit Knowledge) เป็นความรูท้ ่ีได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์
หรอื สญั ชาตญาณของแต่ละบุคคลในการทาความเขา้ ใจในสง่ิ ต่างๆ เปน็ ความรู้ท่ไี ม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็น
คาพดู หรือลายลักษณ์อักษรไดโดยง่าย เช่น ทกั ษะในการทางาน งานนืมอื หรอื การคิดเชงิ วิเคราะห์ บางครง้ั
จงึ เรียกว่าเป็นความรู้แบบนามธรรม

1.2 ความรู้ท่ชี ดั แจง้ (Explicit Knowledge) เป็นความร้ทู สี่ ามารถรวบรวม ถา่ ยทอดไดโ้ ดย
ผา่ นวิธีตา่ งๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อกั ษร ทฤษฏี คมู่ อื ตา่ งๆ และบางครั้งเรยี กว่าเปน็ ความรู้ แบบ
รูปธรรม

4

ส่วนท่ี 2
โครงสร้างคณะกรรมการการจัดการความร้เู พอื่ ขับเคลอ่ื นสกู่ ารเปน็ องคก์ รแห่งการเรียนรู้

ของโรงเรียนชานาญสามคั คีวทิ ยา

รปู ภาพที่ 1 โครงสรา้ งทีม KM

5
หนา้ ท่ีของคณะกรรมการอานวยการ

1. ทบทวน กาหนดนโยบาย แนวทาง ใหค้ าปรกึ ษา และแก้ปัญหาต่างๆที่เกิดขึน้ ในระหว่าง การ
ดาเนินงานการจัดการความรขู้ องโรงเรียน

2. ส่งเสริมสนบั สนุนให้ทกุ กลมุ่ งานดาเนินการจัดการความรู้ภายในโรงเรียนให้เกดิ ผลสัมฤทธต์ิ าม
ระบบ

3. กาหนดประเดน็ ความรู้และเป้าหมายของการจดั การความร้ใู หค้ รอบคลมุ และสอดคลอ้ งกับ
วิสัยทศั น์ พันธกิจและเป้าหมายโรงเรียน

4. จดั ทาแผนการจัดการความรแู้ ละดาเนินงานตามแผน รวมทง้ั สง่ เสรมิ สนบั สนุน
5. ปฏิบตั ิหนา้ ที่อ่ืนท่เี กย่ี วขอ้ งตามท่ีผู้อานวยการโรงเรยี นได้มอบหมาย
หน้าท่ีของคณะกรรมการดาเนินงานการจดั การความรู้
1. ดาเนินงานและกิจกรรมตามแผนการจัดการความร้ขู องโรงเรียน
2. กากบั ติดตามและรายงานผลการดาเนินงานตามแผนการจดั การความรู้ และประเมินผลการ
ดาเนินงานตามแผนจัดการความรู้ของโรงเรียน
3. นาความรทู้ ่ไี ด้จากการจัดการความรมู้ าค้นหาแนวปฏบิ ัติทดี่ ี รวมทั้งจัดเกบ็ และเผยแพร่เป็นลาย
ลกั ษณอ์ ักษร
4. จดั ทา Platform เพอ่ื รองรับงานตามโครงการ KM ของโรงเรียน
5. งานอ่ืนๆ ตามทีไ่ ดร้ ับมอบหมายจากคณะกรรมการอานวยการการจัดการความรู้

6

ส่วนที่ 3

ขัน้ ตอนในการปฏบิ ตั ิงาน
กระบวนการปฏิบัติและวิธปี ฏบิ ตั ิ

- ผังกระบวนการปฏิบตั งิ านทมี่ ีคณุ ภาพ (Quality Work Procedure : QWP)

รูปภาพท่ี 2 ผงั กระบวนการปฏิบตั งิ านทีม่ คี ุณภาพ (Quality Work Procedure : QWP)

7

สว่ นที่ 4
แผนการจดั การความรู้ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตารางที่ 1 ขอบเขต KM (KM Focus Areas)

ขอบเขตของ KM ขอบเขต KM (KM Focus Areas) กลยทุ ธ์ของโรงเรยี น นโยบายของ
(KM Focus Areas) ประโยชนท์ ีจ่ ะได้รับจากขอบเขตของ KM ในแต่ละระดบั (ข้อ) โรงเรียนสอดคล้อง
1. การบรหิ ารจัดการ
เรยี นการสอน ภายใต้ นกั เรียน ครู โรงเรยี น กลยุทธข์ อ้ ท่ี 1 พัฒนาผเู้ รยี น นโยบายสพฐ.
สถานการณ์ กลยทุ ธข์ ้อท่ี 3 พัฒนาครแู ละ (ขอ้ )
COVID - 19 และ 1.1 นกั เรยี นสามารถเข้า 1.1 ครูมีรปู แบบการจัดการ 1.1 โรงเรยี นมีรูปแบบการจัดการ บคุ ลากรทางการศึกษาให้บรรลุ
สถานการณป์ กติ เรยี นในระบบออนไลน์ได้ เรียนการสอน/เทคนิคการสอน เรยี นการสอนระบบออนไลน์ ท่ี ตามมาตรฐานการศกึ ษาขั้น นโยบายที่ 1
2. การพัฒนาสมรรถนะ 1.2 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ ที่ท่เี น้นผลลัพธ์การเรยี นรู้ เหมาะสมกบั บรบิ ทของโรงเรียน พ้ืนฐานและมาตรฐานสากล ด้านโอกาส
ครดู ้านเทคโนโลยีดจิ ิทัล ทางการเรยี นเป็นไปตามท่ี 1.2 ครูมคี วามรู้ความสามารถ 1.2 บรรลนุ โยบาย/พันธกิจกลยทุ ธ์ กลยุทธ์ข้อที่ 3 นโยบายที่ 3
ส่คู รมู อื อาชีพในศตวรรษ สถานศกึ ษากาหนด ในการจัดการเรียนรู้ ของโรงเรียนท่ไี ดว้ างแผนไว้ พัฒนาครูและบุคลากรทางการ ดา้ นคุณภาพ
ท่ี 21 2.1 นกั เรยี นเกดิ ทักษะของ 2.1 ครมู ีทกั ษะในการใช้ 2.1 ได้บุคลากรต้นแบบการปฏิรูป ศึกษาให้บรรลุตามมาตรฐาน นโยบายที่ 3
ผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 เทคโนโลยใี นการชว่ ยในการ การเรยี นรใู้ นยคุ ดิจิทัล การศึกษาขนั้ พ้ืนฐานและ ด้านคณุ ภาพ
2.2 นักเรยี นมีความรู้ จัดการเรียนการสอนสามารถ 2.2 ได้รูปแบบและวธิ กี ารสอนโดย มาตรฐานสากล
เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยี ออกแบบกจิ กรรมการเรียนการ ใชเ้ ทคโนโลยีในการจดั การเรียน
เพือ่ การค้นคว้า การเรยี นรู้ สอนได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ การสอนทส่ี ามารถเผยแพรแ่ ละเป็น
การแลกเปลย่ี น สอดคลอ้ งกับทักษะแห่ง แบบอยา่ งใหก้ ับโรงเรียนอ่ืน ๆ ได้
และการแบ่งปันความรู้ ศตวรรษท่ี 21
รว่ มกบั ผู้อื่นไดอ้ ย่างถูกต้อง
เหมาะสม

8

ขอบเขตของ KM ขอบเขต KM (KM Focus Areas) กลยทุ ธข์ องโรงเรียน นโยบายของ
(KM Focus Areas) ประโยชนท์ ี่จะได้รบั จากขอบเขตของ KM ในแตล่ ะระดับ (ขอ้ ) โรงเรยี นสอดคล้อง
2. การพฒั นาสมรรถนะ
ครดู ้านเทคโนโลยดี จิ ิทลั นักเรียน ครู โรงเรยี น นโยบายสพฐ.
สู่ครมู ืออาชพี ในศตวรรษ (ข้อ)
ท่ี 21 (ต่อ) 2.2 ครูสามารถสร้างสรรค์
กิจกรรมการเรยี นการสอนท่ี
หลากหลายแปลกใหม่ มี
นวตั กรรมการเรียนการสอน
เพ่อื ให้นกั เรียนบรรลุผลการ
เรียนรทู้ ี่ต้องการ

9

ตารางท่ี 2 การตดั สินใจเลือกขอบเขต KM ของโรงเรียนชานาญสามัคคีวิทยา

การตัดสินใจเลือกขอบเขต KM ของโรงเรยี นชานาญสามคั ควี ิทยา ขอบเขต KM ท่ี ..2…
เกณฑ์การกาหนดขอบเขต KM ขอบเขต KM ที่ ..1… 12
1. สอดคล้องกับทิศทางนโยบายและยุทธศาสตรข์ องแผนพัฒนา 12
12
การศึกษาของโรงเรียนชานาญสามคั ควี ิทยา ปี 2564 - 2566
2. ปรบั ปรงุ แล้วเห็นไดช้ ดั เจน 12 11
11
(เป็นรูปธรรม) 12
3. มโี อกาสทาได้สาเร็จสูง 11 10
68
4. ต้องทาส่ิงท่คี นสว่ นใหญใ่ นองคก์ รตอ้ งการ 12

5. ผ้บู ริหารใหก้ ารสนบั สนุน 12

6. เปน็ ความรูท้ ี่ตอ้ งจัดการอย่างเรง่ ด่วน 12

รวมคะแนน 71

หมายเหตุ : ผลรวมคะแนนขอบเขต KM ท่ไี ด้คะแนนเรียงจากมากสุดไปหานอ้ ยสุด
การตัดสินใจผปู้ ระเมินขอบเขต KM

 อนุมัติ  ไมอ่ นุมตั ิ

ลงช่ือ .....................................................
(นายสันติ มกุ ดาสนทิ )

ผูอ้ านวยการโรงเรยี นชานาญสามัคคีวิทยา
หมายเหตุ : คณะกรรมการประกอบด้วย คณะกรรมการอานวยการการจดั การความรู้ ตามคาสง่ั การแตง่ ตง้ั ของโรงเรยี น

10

ตารางที่ 3 การเขียนแผนการจดั การความรู้ของโรงเรยี นชานาญสามัคคีวทิ ยา

นโยบายท่ี 4 ดา้ นประสิทธภิ าพ การเขยี นแผนการจัดการความรู้ของโรงเรียนชานาญสามคั คีวทิ ยา

กลยุทธท์ ่ี 1 การพฒั นาผเู้ รียน และกลยุทธ์ท่ี 3 การสง่ เสรมิ และสนับสนนุ การพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
โครงการ/กิจกรรม กจิ กรรม วธิ กี ารสคู่ วามสาเร็จ ตัวชวี้ ดั เป้าหมาย ระยะเวลา เครื่องมือ/ งบประมาณ กล่มุ งานที่ ผู้รบั ผดิ ชอบ
(ขอบเขต KM) อุปกรณ์ รับผิดชอบ
1. การบรหิ ารจัดการ 1. การบง่ ชค้ี วามรู้ - จดั ประชุมผบู้ รหิ ารในการหาแนวคิดทฤษฎี ประเดน็ ความร/ู้ 2 ประเดน็ มิ.ย. 2564 - แบบสอบถาม - - ทีมงาน KM ร.ร.
- กลมุ่ งานพฒั นา - หน.หลักสูตรและการ
การเรยี นการสอน - ทฤษฎกี ารบรหิ ารเชิง และการปฏบิ ตั ิในสภาวะสถานการณ์ ข้อสรปุ รปู แบบ ผบู้ ริหารและครู หลักสูตรและการ จัดการเรียนรู้
ภายใตส้ ถานการณ์ สถานการณ์ (The COVID - 19 และสถานการณป์ กติเพอื่ วาง การ - แบบสอบถาม จัดการเรียนรู้ - หน.แผนพัฒนาฯ
COVID - 19 และ contingency รปู แบบโรงเรยี นเป็น“Agile Organization” นกั เรยี น - กลุม่ สาระ - หน.งานประกันฯ
สถานการณ์ปกติ approach) ตามแนวของ - กาหนดองค์ความรู้ทีส่ าคญั สาหรับการ บรหิ ารการ - แบบสอบถาม การเรียนรู้ 8 - หน.กลุ่มวิชาการ
Fiedler ดาเนินการประจาปี 2564 จัดการเรียนการ ผู้ปกครอง กลุม่ สาระ - หน.งานวิจยั ร.ร.
- หน.กลุ่มสาระท้ัง
สอนภายใต้ - แบบสอบถาม 8 กลุ่มสาระ
-การจดั การศึกษาในยุค - หวั หนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้กาหนดความรู้ สถานการณ์
Digital Transformation หลักท่ีจาเป็นในการจัดการ COVID - 19 คณะกรรมการ
- ความรูด้ ้าน จดั การเรยี น ความรู้ และสถานการณ์ สถานศกึ ษา
การสอนแบบ On Site - กาหนดขนั้ ตอนวิธีการการดาเนนิ งาน ดงั นี้ ปกติ
- ความรดู้ า้ น จัดการเรยี น 1. กาหนดรูปแบบการสอนออนไลน์ท่ีใช้
การสอนแบบ Online/On- เหตผุ ลในการเลอื กใช้
hand 2. การวางแผนการเตรยี มการสอนออนไลน์
- ความรดู้ า้ นจดั การเรยี น การออกแบบวิธีการสอนและกลยทุ ธก์ าร
การสอนแบบผสมผสาน สอนซง่ึ แบ่งเป็น 3 ระยะดังนี้
(Blended Learning- - ระยะเตรยี ม
- การเรียนร้ตู ลอดชีวติ - ขณะสอน
- โรงเรียนแหง่ อนาคต - ระยะประเมนิ ผล
- วิจัยเชงิ คณุ ภาพ 3. การวัดและประเมนิ ผล (ประสิทธภิ าพ
- การสารวจความพรอ้ มของ การสอน, การมสี ว่ นร่วมของนกั เรยี น
นกั เรยี นกอ่ นเปดิ เรยี น On 4. การตดิ ตามและประเมนิ ผล
site 5. สรุปผลการดาเนนิ งาน

11

นโยบายท่ี 4 ดา้ นประสทิ ธิภาพ การเขียนแผนการจัดการความรู้ของโรงเรยี นชานาญสามัคควี ทิ ยา

กลยทุ ธ์ท่ี 1 การพฒั นาผู้เรียน และกลยทุ ธ์ท่ี 3 การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
โครงการ/กจิ กรรม กจิ กรรม วิธกี ารสู่ความสาเร็จ ตัวชีว้ ดั เปา้ หมาย ระยะเวลา เครอื่ งมือ/ งบประมาณ กลุ่มงานท่ี ผูร้ บั ผิดชอบ
(ขอบเขต KM) อปุ กรณ์ รบั ผดิ ชอบ
1. การบรหิ ารจัดการ 2. การสรา้ งและแสวงหา ประชุมและแลกเปลยี่ นความรูร้ ะหวา่ ง จานวนครง้ั ใน 4 คร้ัง ม.ิ ย. 2564 - กระดาษ - - ทมี งาน KM ร.ร.
การเรียนการสอน ความรู้ คณะกรรมการ KM ดา้ นการเรยี นการสอน กระบวนการ - ก.ย. 2564 - คอมพิวเตอร์ - กลุ่มงานพัฒนา - หน.หลักสตู รและการ
ภายใตส้ ถานการณ์ - ภายใน และครูผสู้ อนท่ีมีแนวทางการจดั การเรียน แลกเปลย่ี น - อื่นๆ - หลกั สตู รและการ จัดการเรยี นรู้
COVID - 19 และ - ภายนอก การสอนหรือเทคนิคทด่ี ี หรอื Case Study จัดการเรียนรู้ - หน.แผนพฒั นาฯ
สถานการณ์ปกติ (ต่อ) ท่ีเกิดข้ึนจรงิ มาแลกเปล่ยี นประสบการณ์ เรียนรู้ - - กลมุ่ สาระ - หน.งานประกันฯ
แลกเปลยี่ นเรียนรู้รว่ มกนั และมผี ูจ้ ดบันทกึ การเรียนรู้ 8 - หน.กลมุ่ วชิ าการ
และผคู้ วบคุมเวลาตลอดระยะเวลาท่ีมกี าร กลุ่มสาระ - หน.งานวิจยั ร.ร.
ประชุม และมกี ารประชุมเดอื นละ 2 คร้ัง - กลมุ่ งาน - หน.กลุ่มสาระทง้ั
นโยบายและแผน 8 กล่มุ สาระ
3. การจดั การความร้ใู ห้ - คณะกรรมการจดั เกบ็ ความรใู้ ห้เป็นระบบ ประเดน็ ความรู้ที่ จานวน มิ.ย. 2564 - กระดาษ - กล่มุ งานพฒั นา - ทีมงาน KM ร.ร.
เปน็ ระบบ เพอ่ื สะดวกใน การค้นหาความรู้ ทส่ี ังเคราะหไ์ ด้ ข้อมูล - ก.ย. 2564 - คอมพิวเตอร์ หลกั สตู รและการ - หน.หลกั สูตรและการ
- การจัดการความรู้ ใหแ้ บ่งตามประเดน็ ใน 4 สว่ น - อื่นๆ จัดการเรียนรู้ จดั การเรียนรู้
ความรู้ ไดแ้ ก่ - กลมุ่ สาระ - หน.แผนพฒั นาฯ
การเรยี นรู้ 8 - หน.งานประกันฯ
วธิ กี ารสอน/เทคนคิ การสอน กลุม่ สาระ - หน.กลมุ่ วชิ าการ
การวดั และประเมนิ ผล - หน.งานวิจัย ร.ร.
การบริหารจดั การชน้ั เรยี น - กลุ่มงานพฒั นา - หน.กลุม่ สาระท้ัง
เทคนิคการสรา้ งแรงจูงใจใฝเ่ รยี นรู้ หลักสตู รและการ 8 กล่มุ สาระ
จัดการเรยี นรู้ - ทีมงาน KM ร.ร.
4. การประมวลและ - คณะกรรมการฯ เรียบเรยี ง ตัดต่อ และ ประเด็นความรู้ที่ จานวน ม.ิ ย. 2564 - กระดาษ - กล่มุ สาระ - หน.หลกั สตู รและการ
กลนั่ กรองความรู้ ปรับปรงุ เนือ้ หา ให้มีคุณภาพดี รวมท้ังสรุป ทส่ี งั เคราะหไ์ ด้ ขอ้ มูล - ก.ย. 2564 - คอมพวิ เตอร์ การเรยี นรู้ 8 จดั การเรยี นรู้
ประเดน็ และกลัน่ กรองความรู้ จากการ ใน 4 ส่วน - อื่นๆ กลมุ่ สาระ - หน.แผนพัฒนาฯ
แลกเปลยี่ นเรียนรูใ้ หเ้ ป็นรปู แบบเอกสาร - หน.งานประกนั ฯ
มาตรฐาน เดียวกัน โดยคณะกรรมการ KM - หน.กลุ่มวิชาการ
งานวิชาการ - หน.งานวิจยั ร.ร.
- หน.กลมุ่ สาระทง้ั
8 กลมุ่ สาระ

12

นโยบายท่ี 4 ด้านประสทิ ธิภาพ การเขียนแผนการจดั การความรู้ของโรงเรยี นชานาญสามคั คีวิทยา

กลยทุ ธ์ที่ 1 การพฒั นาผเู้ รียน และกลยุทธ์ท่ี 3 การสง่ เสรมิ และสนับสนุนการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
โครงการ/กิจกรรม กิจกรรม วธิ ีการสคู่ วามสาเรจ็ ตวั ช้ีวัด เป้าหมาย ระยะเวลา เครือ่ งมือ/ งบประมาณ กลมุ่ งานที่ ผู้รับผดิ ชอบ
(ขอบเขต KM) อปุ กรณ์ รับผิดชอบ
1. การบรหิ ารจดั การ 5. การเขา้ ถึงความรู้ - เสนอองคค์ วามรทู้ ไ่ี ด้สงั เคราะหเ์ รียบรอ้ ย - เอกสารหรอื 2 ชอ่ งทาง มิ.ย. 2564 - กระดาษ 2,000 - ทมี งาน KM ร.ร.
การเรียนการสอน แลว้ แกฝ่ า่ ยคอมพวิ เตอร์ หรอื เอกสาร - ก.ย. 2564 - คอมพวิ เตอร์ - กล่มุ สาระ - หน.หลักสตู รและการ
ภายใต้สถานการณ์ - Push จัดทาเอกสารหรอื คมู่ อื เพื่อให้ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ - การเรยี นรู้ 8 จดั การเรยี นรู้
COVID - 19 และ อาจารยใ์ นสาขาฯ ไดใ้ ช้เป็นแนวทางปฏิบัติ กลุ่มสาระ - หน.แผนพัฒนาฯ
สถานการณ์ปกติ (ต่อ) - Pull แชรเ์ อกสารหรอื คูม่ ือ ในรปู แบบ 2,000 - กลุ่มงาน - หน.งานประกันฯ
เอกสารอเิ ลก็ ทรอนิกส์ และนาเสนอในเวที คอมพิวเตอร์ - หน.กล่มุ วชิ าการ
แลกเปลย่ี นตา่ งๆ - กลมุ่ งาน - หน.งานวจิ ัย ร.ร.
คอมพวิ เตอร์- - หน.กลมุ่ สาระทง้ั
6. การแบง่ ปนั แลกเปลยี่ น เผยแพรร่ ายงานผลการดาเนนิ งาน ร้อยละของ รอ้ ยละ 60 ม.ิ ย. 2564 - แบบประเมนิ กลุ่มสาระ 8 กลุ่มสาระ
เรยี นรู้ ในเพจ Facebook, Platform KM ใน ผใู้ ชง้ านขอ้ มลู ของผใู้ ช้งาน - ก.ย. 2564 ความพงึ พอใจ การเรยี นรู้ 8 - ทมี งาน KM ร.ร.
เว็บไซตข์ องโรงเรยี น : www.csw.ac.th - คอมพวิ เตอร์ กลมุ่ สาระ - หน.หลักสตู รและการ
ขอ้ มลู มี - กลุม่ งานพฒั นา จัดการเรียนรู้
ความพงึ หลักสูตรและการ - หน.แผนพฒั นาฯ
พอใจใน จดั การเรยี นรู้ - หน.งานประกนั ฯ
ระดับดี - กล่มุ สาระ - หน.กลมุ่ วชิ าการ
การเรยี นรู้ 8 - หน.งานวจิ ยั ร.ร.
7. การเรียนรู้ - คณะกรรมการ KM งาน วชิ าการ ติดตาม จานวนเลม่ คู่มือ 5 เล่ม 30 ก.ย. 64 - กระดาษ กลุ่มสาระ - หน.กลุ่มสาระท้ัง
และเสนอ ผลจากการใช้ค่มู ือเรื่อง วธิ ี สอน - คอมพิวเตอร์ - กล่มุ งานวิจัย 8 กลมุ่ สาระ
/ เทคนคิ การสอนท่ี เนน้ ผลลัพธ์การเรยี นรู้ - ทีมงาน KM ร.ร.
ของผเู้ รยี นเปน็ สาคัญอยา่ งตอ่ เน่ือง - หน.หลักสตู รและการ
จัดการเรยี นรู้
- หน.แผนพัฒนาฯ
- หน.งานประกันฯ
- หน.กลมุ่ วชิ าการ
- หน.งานวิจยั ร.ร.
- หน.กล่มุ สาระทง้ั
8 กลุ่มสาระ

13

 อนุมัติ  ไม่อนุมตั ิ

ลงช่ือ .....................................................
(นายสนั ติ มุกดาสนิท)

ผ้อู านวยการโรงเรยี นชานาญสามคั ควี ิทยา

14

นโยบายที่ 4 ดา้ นประสิทธิภาพ การเขียนแผนการจัดการความรู้ของโรงเรียนชานาญสามคั ควี ทิ ยา

กลยุทธ์ที่ 3 การสง่ เสริมและสนับสนนุ การพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
โครงการ/กิจกรรม กจิ กรรม วิธีการส่คู วามสาเรจ็ ตัวชี้วดั เปา้ หมาย ระยะเวลา เครื่องมือ/ งบประมาณ กลมุ่ งานที่ ผ้รู ับผิดชอบ
(ขอบเขต KM) อปุ กรณ์ รับผดิ ชอบ
2. โครงการพฒั นา 1.การบง่ ชค้ี วามรู้ - กาหนดองค์ความร้ทู ส่ี าคญั สาหรบั การ - ครูและ - ผู้บรหิ าร ก.ค. 2564 - แบบสอบถาม - - ทีมงาน KM ร.ร.
สมรรถนะครูดา้ น - ความรดู้ า้ นสมรรถนะของ พฒั นาครดู า้ นเทคโนโลยดี ิจิทัลส่คู รมู ืออาชีพ บคุ ลากรใน - ครู ครูเกี่ยวกบั ความรู้ - กลุ่มบริหารงาน - หวั หนา้ งานพฒั นา
เทคโนโลยีดจิ ิทลั สู่ครู ครูผู้สอนในศตวรรษท่ี 21 ในศตวรรษที่ 21 โรงเรยี นมีความรู้ - บุคลากร เบอื้ งตน้ ในการ 20,000 บาท บคุ คล
มืออาชพี ในศตวรรษท่ี - ความรูด้ ้านทักษะของ ในเรอ่ื ง ทางการศกึ ษา ออกแบบการ บคุ ลากร
21 ผ้เู รียนในศตวรรษที่ 21 การออกแบบ เรยี นรู้ในยุคดิจทิ ลั - - กล่มุ บรหิ ารงาน
- ความรดู้ า้ นสมรรถนะทาง การเรียนรู้ในยคุ - บุคคล - ทีมงาน KM ร.ร.
ดิจิทัลของครูและนักเรยี น ดิจิทลั - กลุ่มบรหิ ารงาน - หวั หนา้ งานพัฒนา
- ความรู้ด้านการออกแบบ วชิ าการ
การเรยี นรู้ในยคุ ดิจิทัล - กลมุ่ บรหิ ารงาน บุคลากร
- ความรดู้ า้ นจดั การเรียน บคุ คล - ทมี งาน KM ร.ร.
การสอนแบบผสมผสาน - กลุ่มบริหารงาน - หัวหน้างานพฒั นา
2.การสร้างและแสวงหา - แสวงหาความรใู้ หมโ่ ดยจดั อบรมเพ่อื - ครสู ามารถ - ผูบ้ รหิ าร ส.ค. 2564 - เครื่องมอื บคุ คล
ความรู้ พัฒนายกระดับความร้แู ละทกั ษะความ ออกแบบ - ครู เทคโนโลยที ี่ใชใ้ น บุคลากร
- ภายใน เขา้ ใจด้านการใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัลให้กับ กจิ กรรมการ - บุคลากร การจัดการเรยี น - ทีมงาน KM ร.ร.
- ภายนอก ครูผู้สอน เรยี นการสอน ทางการศึกษา การสอน - หวั หนา้ งานพฒั นา
- บุคลากรมกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ซ่งึ กนั และ โดยใช้เทคโนโลยี
กันเพ่อื ใช้ในการสร้างความรใู้ หมๆ่ เกี่ยวกับ ได้อยา่ งมี บุคลากร
การออกแบบการเรยี นรู้ ประสิทธภิ าพ
3.การจดั การความรใู้ ห้ - จดั เกบ็ ความรเู้ ก่ยี วกับการออกแบบการ - การเขา้ ถงึ - รูปแบบการ มิ.ย.2564 -คอมพวิ เตอร์
เป็นระบบ จัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยี โดย แหล่งข้อมลู ของ สอนโดยใช้ - ก.ย.2564 -อื่นๆ
แบ่งเป็นประเภทของการจดั การเรยี นการ ครแู ละบุคลากร เครอื่ งมือที่
สอนโดยใชร้ ปู แบบ หรอื แอพพลิเคชน่ั ท่ี แต่ละคน แตกต่างกนั
แตกต่างกนั
4.การประมวลและ - เรยี บเรยี ง ตัดตอ่ และปรับปรุงเน้อื หา - ปรมิ าณของ - ผูบ้ รหิ าร มิ.ย.64- ก.ย. - แบบคัดกรอง
กลนั่ กรองความรู้ ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบการจดั การ ความร้ทู เี่ ปน็ - ครู 64 ประเภทความรใู้ น
เรยี นการสอนโดยใช้เทคโนโลยี ให้มี ประโยชน์ตอ่ การ - บุคลากร การออกแบบการ
คุณภาพดี ออกแบบการ ทางการศึกษา จดั การเรียนการ
เรยี นการสอน สอนโดยใช้
ของครู เครอ่ื งมอื ต่าง ๆ

15

นโยบายที่ 4 ดา้ นประสิทธภิ าพ การเขียนแผนการจัดการความรู้ของโรงเรียนชานาญสามคั ควี ิทยา

กลยุทธท์ ่ี 3 การสง่ เสรมิ และสนบั สนุนการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
โครงการ/กิจกรรม กจิ กรรม วิธกี ารสคู่ วามสาเรจ็ ตัวชว้ี ัด เป้าหมาย ระยะเวลา เครือ่ งมือ/ งบประมาณ กลุ่มงานท่ี ผรู้ บั ผดิ ชอบ
(ขอบเขต KM) อปุ กรณ์ รบั ผดิ ชอบ
2. โครงการพัฒนา 5. การเข้าถึงความรู้ - จดั เก็บผลการดาเนนิ งานในรปู แบบ - เอกสารหรือ 2 ชอ่ งทาง ม.ิ ย.2564 - กระดาษ - - ทมี งาน KM ร.ร.
สมรรถนะครูดา้ น เอกสารหรือรปู แบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เอกสาร - ก.ย.2564 - คอมพวิ เตอร์ - - กลุ่มบริหารงาน - หวั หนา้ งานพัฒนา
เทคโนโลยีดิจทิ ลั สู่ครู 6. การแบง่ ปนั แลกเปลีย่ น - เผยแพรร่ ายงานผลการดาเนินงาน อเิ ล็กทรอนิกส์ - ผู้บรหิ าร ต.ค. 2564 - กระดาษ บุคคล
มอื อาชีพในศตวรรษที่ เรียนรู้ ใน Facebook,Platform KM ร.ร., - เผยแพร่ - ครู - กลุ่มบริหารงาน บคุ ลากร
21 (ต่อ) Website ของ ร.ร.ฯ ภายในร.ร.และ - บคุ ลากร - คอมพิวเตอร์ บุคคล - ทมี งาน KM ร.ร.
ภายนอก - หวั หนา้ งานพัฒนา
หน่วยงาน ทางการศึกษา
บุคลากร

ร.ร.ผ่าน - นักเรียน
Platform KM

7. การเรียนรู้ ร.ร. - 1 แนวทาง 30 ก.ย. - - กลมุ่ บริหารงาน - ทมี งาน KM ร.ร.
- การประยุกต์ใชค้ วามร้/ู แนวทางปฏิบัติ - กระบวน -
บคุ คล - หวั หนา้ งานพฒั นา
ในงาน การความรู้ทเี่ กดิ 2564 บุคลากร
ใหมแ่ ละนาไปใช้
ในการปฏิบัตงิ าน

 อนมุ ตั ิ  ไมอ่ นุมตั ิ

ลงชอ่ื .....................................................
(นายสันติ มกุ ดาสนิท)

ผ้อู านวยการโรงเรยี นชานาญสามัคควี ทิ ยา

16

ภาคผนวก

17

ภาคผนวก ก

คาสัง่ แตง่ ตัง้ คณะกรรมการการจัดการความรู้ ประจาปีการศกึ ษา 2564

18

19

20

21


Click to View FlipBook Version