การวิจัยในช้ันเรยี น
Classroom Action
Research
นางสาวภาณมุ าศ สอนบาลี 631171032 AS
คำนำ ก
หนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์เล่มน้ี เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา
การวจิ ยั เพ่ือพฒั นาการเรยี นการสอน (Research For Teaching
Development) โดยภายในหนังสืออเิ ล็กทรอนกิ สเ์ ล่มนป้ี ระกอบด้วย
เน้ือหาเกี่ยวกบั การวิจยั ในชนั้ เรยี น (Classroom Action
Research) ไดแ้ ก่... การวิจยั ในชัน้ เรียนคืออะไร ความหมาย
พื้นฐานความเปน็ มา ความสำคญั แนวคิดมโนทศั น์ ขอบเขต
หลักการ ขน้ั ตอน แนวคิดและกรอบการวิจัยในชน้ั เรยี น
ทางผ้จู ดั ทำหวงั เปน็ อย่างยง่ิ ว่า หนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เรื่องการ
วิจยั ในชน้ั เรียนเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรไู้ ด้อย่างเหมาะสม
และทางผจู้ ดั ทำหวังเปน็ อย่างยงิ่ ว่า ผู้ศกึ ษาทกุ ท่านจะไดร้ บั ประโยชน์
และความรู้จากการศึกษาหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์เล่มน้ีไม่มากกน็ ้อย
หากมีข้อผิดพลาดประการใด ทางผจู้ ัดทำตอ้ งขออภัยมา ณ ที่นี้
ภาณุมาศ สอนบาลี
สารบัญ ข
คำนำ ก
สารบัญ ข
การวิจยั ในชน้ั เรยี นคอื อะไร 1
ความหมายของการวจิ ัยในชน้ั เรยี น 2
พื้นฐานความเปน็ มาของการวิจัยในชัน้ เรยี น 3
ความสำคัญของการวจิ ัยในช้นั เรียน 4
แนวคิดมโนทัศน์การวจิ ยั ชั้นเรียน 6
ขอบเขตการทำวิจยั ในชน้ั เรยี น 8
หลักการของการวิจัยในชั้นเรยี น 12
ขัน้ ตอนการวจิ ยั ในช้ันเรียน 21
แนวคดิ การวิจยั ในชั้นเรยี น 23
กรอบการวิจัยในชัน้ เรยี น 24
สรปุ เน้ือหา 28
บรรณานุกรม ค
1
การวิจัยในชนั้ เรียน เปน็ กระบวนการศกึ ษาขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื แสวงหาวิธีการ/แนวทางในการ
แก้ไขปัญหา เพ่ือพัฒนาการเรียนอย่างเป็นระบบด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่เช่ือถือได้ภายใต้
กระบวนการ PAOR คือ การวางแผน (Planning) ลงมือปฏิบัติการ (Acting) สังเกตผล
observing) โดยการเกบ็ รวบรวมข้อมูลและวิเคราะหข์ ้อมลู ท่ีไดจ้ ากการทดลอง/การศึกษาและการ
สะท้อนผลท่ีได้รับ (Reflecting) กลับไปยังตัวครูหรือผู้ท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือการปรับปรุงและพัฒนา
คณุ ภาพการจัดการเรียนร้ขู องผสู้ อนต่อไปอย่างทนั ท่วงที
การวิจัยในช้ันเรียน เป็นการทำการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาอันเกิดข้ึนจากการจัดการเรียนรู้ของ
ครูผู้สอนเอง งานวิจัยลักษณะน้ีจึงเป็นงานวิจัยขนาดเล็กท่ีมุ่งแสวงหาคำตอบที่เก่ียวข้องกับการ
แก้ปญั หาท่ีเกดิ ขนึ้ ในหอ้ งเรียนเปน็ สำคญั
การวจิ ัยในชนั้ เรยี น คืออะไร?
2
ความหมายของการวิจัยในชน้ั เรยี น
08:00-09:00 08:00-09:00 08:00-09:00 Home Room
Home Room Home Room Home Room
TH0A9ขI:0E้อ0D-Uเ1C0ทกA:T0I็จO0าNจรรวิงิTจแH0Aั9ยIล:0Eใ0ะD-Uนก1C0A:าTช0IOร0N้ั นหาเรคTHี 0ยำA9I:ตน0E0Dอ-U1C0บAห:T0IขO0มNอางยขถT้อH0ึ งAส9I:0Eง0Dก-Uส1C0าAัย:T0รIO0ทNส่ีพื บบคTใH0นA้ 9นI:ก0Eห0Dา-U1C0ราA:T0IO0N
10จจS:C0ััดดI0E-Nกก1C1:Eาิจ00รกกริจรกม1ร0กS:รC0I0ามE-N1รCก1:Eเ0าร0รียเรนียกน1า0Sก:รC0I0าEส-N1รC1อ:Eส00นอนเพที่เื่อก10แิดS:C0กIข0E-N้ไ1น้ึC1ข:E0ใ0ปนัหญ้อหงา1เ0รSก:C0ียI0Eา-Nน1Cร1:E00
หรือส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนท่ี ตน
รับผิดชอบและพัฒนาการเรียนการสอนของตนให้มี
ประสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ข้นึ
พื้นฐานความเปน็ มาของการวจิ ยั ในชนั้ เรยี น 3
John Dewey นักปราชญ์ผู้นำแนวคิดเชิงพัฒนาการ ได้กล่าวถึง “การคิดเชิงสะท้อน (Reflective Thinking)” ของครู ซ่ึงเป็นรากฐานสำคัญของ
แนวคดิ ครกู บั การวจิ ยั ในปจั จุบนั โดยมพี ฒั นาการดงั นี้
ช่วงปี 1910 - 1938 John Dewey ส่งเสรมิ กระบวนการคิดเชิงสะทอ้ นสำหรับครู และรเิ ร่ิมใหป้ ระยกุ ตใ์ ชว้ ิธีการทางวทิ ยาศาสตร์เพื่อแกไ้ ขปญั หา
ช่วงปี 1940s คำว่า “การวจิ ยั เชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Research)” ถูกใช้เปน็ ครง้ั แรกโดย Kurt Lewin
ช่วงปี 1950s Stephen Corey เสนอแนวคดิ เรื่องการวจิ ยั เชิงปฏบิ ตั กิ ารในโรงเรยี น โดยสนบั สนุนให้ครูเป็นนกั วิจยั ในชนั้ เรยี นของตน ควบคู่กับ
การเปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ิการสอน แต่แนวคดิ ดงั กล่าวนยี้ งั ไม่แพร่หลายในวงการศกึ ษาในขณะน้ัน
ช่วงปี 1960s เป็นจุดเร่ิมต้นที่ทำให้แนวคิดเป็นรูปธรรม L. Stenhouse (1975) และ J. Elliot (1977) ได้สนับสนุนแนวคิดว่า ครูควรมีบทบาทใน
การพัฒนาหลักสตู รของตน โดยมกี ารวจิ ยั ในโรงเรียนและดำเนินการเป็นคณะวิจัยร่วมระหว่างครูและนักการศึกษา (Collaborative Research) แม้จะยัง
ไม่ใช่การวจิ ยั ที่ริเร่ิมโดยครูและยังไม่ปฏบิ ัติการแพร่หลายในวงกว้างแตถ่ อื ว่าเป็นจดุ กำเนิดของแนวคดิ “คร-ู นกั วิจัย” ของ Stenhouse
ตน้ ปี 1980s Carr และ Kemmis เป็นผรู้ ิเร่ิมแนวคิดการวจิ ยั เชงิ ปฏบิ ัติการไปใชอ้ ย่างจรงิ จงั ในโรงเรยี นท่ีประเทศออสเตรเลีย
ปลายปี 1980s แนวคิดการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน แพร่หลายจากประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย สู่ประเทศสหรัฐอเมริกา และ
เป็นแนวโนม้ สำคญั ในประเทศตา่ งๆ
สำหรับวงการการศึกษาในประเทศไทย รับแนวคิดการวิจัยเชิงปฏิบัติการในช้ันเรียนมาใช้อย่างสอดคล้องกับความเคล่ือนไหวในก ารพัฒนาทาง
วิชาชีพครู โดยส่งเสริมให้ครูทำการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาการเรียนการสอน ในขณะเดียวกันก็เพ่ือเป็นวิถีทางหนงึ่ ในการพัฒนาคุณภาพเชิง
วชิ าการและความกา้ วหนา้ ในอาชพี ของครูอีกดว้ ย
4
ความสำคญั ของการวจิ ัยในชนั้ เรียน
การทค่ี รูสามารถทำวิจัยในชนั้ เรียนได้ เป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีกับวงการ
การศึกษาเพราะคุณค่าหรือผลงานจากการคิดค้นคว้านวัตกรรมการศึกษาข้ึนมา
ใช้ไดผ้ ลนั้น จะก่อประโยชนต์ ่อบคุ ลากรและหน่วยงานการศึกษา ดงั นี้
1. นักเรยี น
การที่ครูไม่วางเฉยแต่ได้ใช้ความพยายามวิเคราะห์
สาเหตุของปัญหา อย่างมีหลักการแล้วคิดหาทางแก้ไข
ปัญหาจนสามารถเปล่ียนแปลงพฤติกรรมนักเรียนให้ดีขึ้น
นักเรียนเกิดการใฝ่รู้ใฝ่เรียน จนในท่ีสุดมีผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนอยู่ในระดับเป็นท่ีน่าพอใจและไม่มีปัญหาการ
เรียนอีกต่อไป
5
2. ครู 3. โรงเรียน 4. วงการการศกึ ษา
การทำวิจัยในช้ันเรียน ช่วยให้ครูได้ ช่วยให้การบริหารงานวิชาการ ผลการวิจัยในช้ันเรียน สามารถ
เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพ่ื อ ในโรงเรียนเป็นไปอย่างมีระบบ ส่งไปยังสำนักงาน ก.ค. เพื่อขอเลื่อน
หาทางแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมใน แ ล ะ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ส า ม า ร ถ ระดับตำแหน่งทางวิชาการ งานวิจัยท่ีดี
การคิดแก้ปัญหา บางคร้ังนวัตกรรม กำหนดสาเหตุ และช้ีประเด็น นอกจากจะได้รับการเผยแพร่โดยทั่วไป
ชิ้นแรกอาจมีข้อบกพร่อง แต่เม่ือมีการ ป ั ญ ห า ไ ด ้ ชั ด เ จ น คื อ ก า ร แล้ว จะเป็นการกระตุ้นให้มีการพัฒนา
ปรับปรุงอยู่เสมอก็สามารถพัฒนาเป็น แก้ปัญหาได้ตรงจุด ยกระดับ ผลงานทางวิชาการอย่างไม่หยุดยง้ั
ผลงานที่มปี ระโยชน์เปน็ ที่ยอมรับได้ ม า ต ร ฐ า น วิ ช า ก า ร โร ง เรี ย น ให้
สูงข้ึน เช่น นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิ
. สงู ขึ้นไม่มีปัญหาในการเรียน
.
6
แนวคิดมโนทศั นก์ ารวจิ ัยชนั้ เรยี น
ราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 กำหนดท่ีครูต้องทำวิจัยเพ่ือ
พฒั นาการเรียนการสอน (มาตราท่ี 30) และใหค้ รูใช้การวจิ ยั เป็นกจิ กรรมการเรยี นรูข้ องนักเรียนและครู (มาตราท่ี 24 )
ครุสภา กำหนดให้ผู้ท่ีจะเป็นแบบงานนี้วิชาชีพครูต้องมีมาตรฐานความรู้ ด้านการวิจัยทางการศึกษา เป็น 1 ใน 9
มาตรฐานความรู้ของครู (มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา : 6) สาระความรู้และในมาตรฐานความรู้ทางการวิจัยทางการ
ศึกษานคี้ รอบคลุมการวิจยั ช้นั เรยี น การฝึกปฏิบตั กิ ารวิจัย และ “สามารถทำวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนและพัฒนา
ผเู้ รียน” (มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา : 10)
ครุสภากำหนดมาตรฐานของหลกั สตู รปรญิ ญาทางการศกึ ษาวา่ ตอ้ งให้บัณฑิต (ครูน้องใหม่ที่จะได้รับใบประกอบ
วิชาชีพครู) ผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาไม่น้อยกว่า 1 ปี และผ่านการประเมินปฏิบัติการสอนดังท่ี
คณะกรรมการครสุ ภากำหนดไว้ทั้ง (1) การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน และ (2) การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาใน
สาขาวิชาเฉพาะ ซึ่งการปฏิบัติการสอน ดังกล่าว กำหนดให้ต้องฝึกทักษะและมีสมรรถนะในด้านการทำวิจัยในโรงเรียน
เพ่ือพัฒนาผูเ้ รียน (มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา : 12-13)
แนวคดิ มโนทัศนก์ ารวจิ ัยชน้ั เรียน 7
สมศ. หรอื สำนกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) กำหนดมาตรฐานในด้าน
การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอย่างมีประสิทธิภาพไว้ว่าในการปฏิบัติงานสอนนั้น ครูจะต้องทำกิจกรรม 7
กิจกรรม คอื
1. การวิเคราะห์หลักสตู ร
2. การวเิ คราะหผ์ เู้ รยี นเป็นรายบคุ คล
3. การจัดกจิ กรรมการเรียนรูท้ ่ีหลากหลาย
4. การใช้เทคโนโลยเี ป็นแหล่งและสื่อการเรียนรขู้ องตนเองและนกั เรยี น
5. การวดั และประเมินผลตามสภาพจริงอย่างจรงิ จงั รอบด้านเนน้ องคร์ วมและเนน้ พัฒนาการ
6. การใชผ้ ลการประเมนิ ผลเพ่ือแกไ้ ขปรับปรงุ ปฏิบัตแิ ละพฒั นาการเรยี นการสอนเพ่ือพฒั นาผู้เรยี นใหเ้ ต็ม
ศกั ยภาพ
7. การใชก้ ารวิจัยในการพฒั นานวตั กรรมเพื่อพัฒนาการเรยี นรขู้ องนกั เรยี น และการสอนของตนเอง
ขอบเขตการทำวจิ ยั ในชนั้ เรียน 8
ขอบเขตในการวิจัยในชั้นเรียนน้ัน จะให้ความสำคัญกับการคิดค้นพัฒนานวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียน
การสอนอยา่ งเหมาะสมแบ่งเปน็ 2 ประเภท คอื
1. สื่อการเรียนการสอนทเี่ ป็นส่ิงประดิษฐ์ (Invention)
2. กิจกรรมการพัฒนา หรือเทคนิควธิ ีสอน (Instruction)
การวิเคราะห์ปัญหาในชั้นเรียนเพื่อนำไปสู่การวิจัยน้ัน ควรมีการวางแผนอย่างเป็นระบบ กล่าวคือ คำนึงถึงปัญหา 3
ข้นั ตอน ได้แก่
1. ปญั หาในข้นั ผลสัมฤทธแิ์ ละคณุ ลักษณะของผเู้ รยี นที่พึงประสงค์
2. ปญั หาในขนั้ การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน
3. ปญั หาในขน้ั การเตรยี มการสอน
สาระโดยสรุปของปัญหาในแต่ละข้นั ตอน มีดังนี้
ขอบเขตการทำวจิ ัยในชน้ั เรยี น 9
1. ปัญหาในขัน้ ผลสมั ฤทธ์ิและคุณลกั ษณะของผ้เู รยี นทพี่ งึ ประสงค์
ปัญหาในขั้นผลสัมฤทธ์ิและคุณลักษณะของผ้เู รียนที่พงึ ประสงค์ หมายถงึ ความสามารถและคณุ ลกั ษณะของ
นกั เรยี นท่ีเกดิ ขนึ้ ตวั อย่างท่ีคาดหวงั ไว้ 3 ดา้ นใหญ่ ๆ คอื ความรู้ (Cognitive) ทกั ษะ (Psychomotor) และเจตคติ
(Affective)
ตวั อย่างปัญหาในข้นั ผลสัมฤทธิจ์ ากการเรียนการสอน ไดแ้ ก่
1. นกั เรียนมคี วามสามารถในการทำโจทย์ปัญหาต่า (ความรู้)
2. นกั เรียนส่วนใหญ่ในชน้ั มอี ตั ราเรว็ ในการอ่านต่า (ทกั ษะ)
3. นักเรียนยังไม่ได้ปฏิบตั ิตนเกี่ยวกับการรกั ษาความสะอาดใหเ้ ปน็ นิสยั (เจตคติ)
4. นักเรียนไม่ชอบวชิ าคณติ ศาสตร์ (เจตคติ)
ขอบเขตการทำวิจยั ในชนั้ เรยี น 10
2. ปัญหาในข้ันการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน
ปัญหาในข้ันการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน หมายถึง การที่กิจกรรมการเรียนการสอนของครูท่ีใช้จิตวิทยาการเรียนรู้ มีเทคนิคการ
สอนที่หลากหลาย ใชส้ อ่ื การสอนและมีการวัด-ประเมินผลอย่างต่อเนื่อง นำผลการวิเคราะห์ปรับปรุงการสอนให้ดีข้ึนหรือวิเคราะห์หาสาเหตุ
ที่ทำให้เกิดปัญหา ก็จะพบปัญหาที่จะนำไปวิจัยในชั้นเรียนได้ เช่น การที่นักเรียนไม่ชอบเรียนคณิตศาสตร์น้ัน แอบมีสาเหตุในข้ัน “กิจกรรม
การเรยี นการสอน” ดงั นี้
1. วชิ ายาก ครูจงึ สอนอย่างเช่นเครียด จริงจัง นกั เรียนไมส่ นกุ
2. ครใู ช้สอื่ นอ้ ย ไม่เหมาะสมกบั วยั วฒุ ภิ าวะ และความสามารถของนกั เรียน
3. ครูไม่เปิดโอกาสใหน้ กั เรยี น เรยี นด้วยการสัมผสั อุปกรณ์ดว้ ยตนเอง เพราะอปุ กรณ์นอ้ ย ทำให้นกั เรยี นได้เพยี งแต่ดคู รูทำ
4. ครทู ำโทษทกุ คร้ังที่นกั เรียนตอบผิด นอ้ ยครง้ั ที่จะชมเชยเมื่อนักเรยี นตอบถูก
5. ครใู หก้ ารบ้านนกั เรียนมากเปน็ ประจำทำใหน้ ักเรยี นเบอื่
6. ครูไม่ได้ตรวจสอบความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี นก่อนสอน ทำให้ส่ิงที่สอนไม่เช่ือมกับพ้ืนฐานของเด็ก
7. ครไู ม่ไดจ้ ดั โอกาสให้เด็กเรียนร้จู ากการปฏบิ ตั จิ รงิ เรียนรดู้ ้วยตนเอง แต่เน้นใหเ้ ดก็ รบั หรอื จำสง่ิ ท่ีครูเสนอใหฝ้ ่ายเดยี ว
ขอบเขตการทำวิจยั ในชนั้ เรยี น 11
3. ปัญหาในขนั้ การเตรียมการสอน
ปัญหาในขั้นการเตรียมการสอน หมายถึง การเตรียมความพร้อมของครูก่อนจะเข้าสอน การเตรียมแผนการสอน
อุปกรณ์ สื่อการสอนทเ่ี พียบพรอ้ มทั้งปรมิ าณและคุณภาพ ปญั หาในขน้ั เตรยี มส่งผลต่อปญั หาในขั้นการสอน
หลกั การของการวิจยั ในชน้ั เรยี น 12
1. ระบุปัญหาทจี่ ะทำการวิจยั
การวิจัยในชั้นเรียนควรเริ่มต้นด้วยการระบุปัญหาที่สำคัญ และจำเป็น
สำหรับการทำวิจัยด้วยการรวบรวมปัญหา การเรียนการสอนท่ีเกิดข้ึน ซ่ึง
ปัญหาการเรียนการสอนท่ีเกิดขึ้นภายในห้องเรียน อาจจะเหมือนหรือแตกต่าง
กันได้ นักวิจัยหรือครูผู้สอนควรทำการเก็บรวบรวมปัญหาที่เกิดขึ้น แนว
ทางการกำหนดปัญหาท่ีทำการวิจัย
ปัญหาการวิจัยในชั้นเรียน หมายถึง สภาพของสำนักจัดการเรียนการ
สอนทเ่ี กิดขึน้ จรงิ ที่ไม่เป็นไปตามสภาพทก่ี ำหนดหรือคาดหวงั เช่น
1. ผู้เรียนมผี ลการเรียนรู้ต่ากว่าเกณฑ์
2.ผู้เรียนบางคนขาดลักษณะการเรยี นรู้ที่ดี
3.ผู้เรียนกลุ่มนนั้ ไม่สามารถอ่านคำควบกล้าได้
หลักการของการวจิ ัยในชนั้ เรยี น 13
2. วเิ คราะห์ปัญหา
การวเิ คราะหป์ ัญหาในชนั้ เรยี นมีหลกั การพจิ ารณาท่ีสำคญั ๆ ดังน้ี
2.1 ปัญหาจากครผู ู้สอน เปน็ ปญั หาท่ีเกดิ ขนึ้ จากตวั ของครูผสู้ อนเอง มีปญั หาสำคัญ ๆ ดงั นี้
- ความไม่รอบร้หู รือชำนาญการของผูส้ อน
- ภาระการสอนมมี ากเกนิ ไป
- บคุ ลกิ ภาพของผสู้ อน
2.2 ปัญหาจากผู้เรียน เป็นปัญหาท่ีเกิดขึ้นเน่ืองจากความไม่รู้ไม่เข้าใจในการเรียนของผู้เรียน เป็น
ข้อบกพร่องของการเรียนท่ีบรรลุผลตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ครูผู้สอนกำหนดค้นหาจากผู้เรียนน้ีเป็นปัญหา
สำคัญและเป็นปญั หาท่ีสมควรนำมาดำเนนิ การวิจัยในช้ันเรียน
2.3 ปญั หาสภาพแวดล้อม เป็นปัญหาข้างเคียงท่ีแวดล้อมครูผู้สอนและผู้เรียนแต่ไม่ใช่ปัญหาท่ีเกิด
จากตวั ครูผู้สอนหรือตัวผู้สอน เช่น สภาพพ้ืนฐานครอบครัวของผู้สอนของผู้เรียน ระดับสติปัญญาของผู้เรียน
การเจ็บป่วยของผู้เรียน เป็นต้น ปัญหาสภาพแวดล้อมดังกล่าวเป็นปัญหาท่ีนักวิจัยต้องทำการวิเคราะห์และ
พจิ ารณาให้ดกี ่อนดำเนนิ การวิจยั
หลกั การของการวจิ ยั ในชน้ั เรยี น 14
3. การจัดลำดบั ความสำคญั ของปัญหา
เกณฑ์ในการพิจารณาลำดบั ความสำคญั ของปัญหาในช้นั เรยี นท่ีเหมาะสม ดังนี้
3.1 ความรุนแรงของปัญหา ปัญหาท่ีเกิดข้ึนในช้ันเรียน มีความรุนแรงของปัญหามากน้อยเพียงใด มีผลกระทบต่อ
ผู้เรียนจำนวนเท่าใด ถ้าผู้เรียนได้รับผลกระทบจากปัญหาในชั้นเรียนจำนวนมาก แสดงว่าความรุนแรงของปัญหาอ ยู่ในวงกว้าง
มากกว่าจำนวนผเู้ รยี นท่ีได้รับผลกระทบน้อย ซึ่งเป็นเกณฑห์ นงึ่ ในการคดั เลือกเปน็ ปญั หาในชน้ั เรยี นที่เหมาะสมจะทำการวิจยั ได้
3.2 ความจำเป็นเร่งด่วนของปัญหาที่จะทำการวิจัย ปัญหาในชั้นเรียนท่ีจะทำการวิจัยมีความจำเป็นเร่งด่วนมากน้อย
เพยี งใด ถ้ามีความจำเปน็ เร่งดว่ นไม่สามารถรอได้เพราะถ้าปล่อยไว้จะส่งผลเสียต่อการเรียนรู้เพลงเนื้อหาต่อไปหรือมีผลต่อการเรียน
ในกลุ่มสาระการเรยี นรอู้ ื่น ๆ ดว้ ย จึงจะถือว่าเป็นปญั หาในชั้นเรียนท่ีมคี วามเหมาะสม
3.3 ประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ปัญหาในชั้นเรียนนั้นผู้เรียนได้รับประโยชน์โดยตรงหรือไม่หรือว่าครูผู้สอนได้รับ
ประโยชน์มากกว่า การวิเคราะห์ปัญหาในชั้นเรียนประเด็นน้ีควรพิจารณาถึงประโยชน์ของผู้เรียนเป็นสำคัญ เพราะผู้เรียนเป็นหัวใจ
สำคัญของวิจยั ในชัน้ เรยี น การยดึ ถอื ประโยชน์ของผเู้ รยี นจึงจะถือว่าเป็นปัญหาในชน้ั เรียนท่ีเหมาะสม
3.4 นโยบายของสถานศกึ ษา ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาแต่ละคน แต่ละพื้นท่ีมีคุณลักษณะที่แตกต่างกัน ดังนั้นนโยบายของ
สถานศกึ ษาจงึ เปน็ อกี ประเดน็ หนึ่งท่ีควรนำมาพจิ ารณา ว่าผู้บรหิ ารสถานศึกษาใหก้ ารสนบั สนุน ส่งเสรมิ การทำวจิ ยั ของครูเพียงใด
หลกั การของการวิจัยในชนั้ เรยี น 15
4. วธิ ีการแกป้ ัญหา
4.1 ศึกษาเอกสารท่ีเก่ียวข้อง (Review literature) นักวิจัยควรทำการศึกษาเอกสารที่เก่ียวข้อง
กับปัญหาท่ีจะดำเนินการวิจัย ว่ามีใครทำวิจัยประเด็นดังกล่าวไปแล้วหรือไม่ และได้ผลอย่างไร ถ้า
เป็นปัญหาการวิจัยท่ีมีคนทำวิจัยเอาไว้แล้ว และสามารถตอบข้อสงสัยของเราได้ก็ไม่จำเป็นต้องทำ
วิจัยเรื่องดังกล่าวอีก แต่เม่ือศึกษาเอกสารท่ีเกี่ยวข้องแล้วได้เพียงแนวความคิด หรือเป็นรากฐาน
ความคดิ ของนักวจิ ยั จะเป็นแนวทางหน่ึงของนกั วิจยั ทที่ ำการวิจยั ในช้ันเรียนต่อไป
4.2 ประสบการณ์ของครู (Experience) ความชำนาญการหรือความเช่ียวชาญหรือการสั่งสม
ความรู้จากการสอนมานานของตนเอง จะเป็นส่ิงที่ช่วยให้ครูผู้สอนที่เป็นนักวิจัยได้รู้จักหาแนวทาง
วิธกี ารแกป้ ญั หาที่เหมาะสมกับสภาพของผเู้ รียนมากท่ีสดุ
4.3 นวัตกรรมการศึกษา (Innovation) เป็นส่ิงที่นักวิจัยท่ัวไปในปัจจุบันนิยมนำมาใช้มากที่สุด
โดยการคัดลอกนวัตกรรมการศึกษาของคนอ่ืนท่ีทำการวิจัยเสร็จส้ินแล้ว นำมาใช้ในช้ันเรียนของ
ตนเองทันที ซ่ึงเป็นส่ิงท่ีไม่เหมาะสมอย่างย่ิง นักวิจัยควรเรียนรู้และทดลองปรับใช้ในการวิจัยในชั้น
เรียนของตนเอง จึงจะเหมาะสมกว่าและเป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยนักวิจัยที่ไม่เช่ียวชาญในการสร้าง
นวตั กรรมการศกึ ษาของตนเอง
หลักการของการวจิ ัยในชนั้ เรยี น 16
4.4 การปรึกษาผู้รู้ผู้เชี่ยวชาญ (Expert) การหาแนวทางวธิ กี ารแกป้ ญั หาในชั้นเรยี นบางครั้งครผู สู้ อน
วิเคราะห์ปญั หาในชั้นเรียนไม่ได้ หรอื ไม่มปี ระสบการณ์มากพอในการจดั การศกึ ษา การใชว้ ิธกี ารนเี้ ป็นอีก
ทางเลือกหนึ่งที่สามารถใช้ได้ ด้วยการปรึกษาสอบถามผู้รู้ผู้เช่ียวชาญในปัญหาชั้นเรียน ผู้รู้/ผู้เชี่ยวชาญ
คือบุคคลท่ีมีความชำนาญในกลุ่มสาระการเรียนรู้หรือวิชาน้ัน ๆ อย่างดียิ่งจนเป็นท่ียอมรับของสังคมที่
เกี่ยวข้อง ผรู้ ผู้ ้เู ช่ียวชาญไม่จำเป็นต้องเป็นบุคคลที่มีการศึกษาระดับสูงมาก ๆ เสมอไป อาจเป็นเพ่ือนครู
ที่มคี วามเช่ียวชาญในการสอนเรื่องนนั้ มานาน หรืออาจเป็นครตู ้นแบบหรอื ครูดเี ด่นที่สังคมยกย่องในเขต
พืน้ ท่ีการศกึ ษาของตนเอง และสามารถให้ขอ้ เสนอแนะที่สรา้ งสรรค์และเป็นประโยชน์ต่อนักวิจัยได้ การ
วิจัยปฏิบัติการในช้ันเรียน 1 เรื่อง ควรใช้ผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญไม่น้อยกว่า 3 คน จึงจะเพียงพอต่อความ
น่าเช่ือถือของปัญหาท่ีทำการวจิ ัย
4.5 ผลจากการร่วมประชมุ อบรม สมั มนา (Seminar) การหาแนวทางวิธีการแก้ปัญหาในชั้นเรียนอีก
วิธหี น่ึง คือการเข้าร่วมประชุม อบรม สมั มนาทางวชิ าการที่เก่ียวข้องกับการเรียนการสอนหรอื การจดั การ
เรียนรู้ ครูผู้สอนท่ีเข้าร่วมประชุม อบรมสัมมนาทางวิชาการความรู้จักสิ่งท่ีสงสัย การแข่งขันผู้รู้ท่ีเป็น
วิทยากรถึงแนวทางการแกป้ ญั หา รวมท้ังควรรู้จักสรุปประเด็นที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรมสัมมนา
ทางวิชาการจะทำใหเ้ กิดเปน็ ความรู้หรือแนวทางการแก้ปญั หาในชนั้ เรียนได้
หลักการของการวจิ ยั ในชนั้ เรยี น 17
4.6 ข้อควรพิจารณาการเลือกปัญหาในช้ันเรียนท่ีสมควรเลือกเป็นวิธีการแก้ปัญหาในชั้นเรียน มี
หลกั เกณฑ์พิจารณา ดงั น้ี
4.6.1 เป็นปัญหาท่ีเกิดขึ้นจริงอยู่ชั้นเรียนของตนเอง ไม่ควรใช้ปัญหาในช้ันเรียนของบุคคลอ่ืนจะทำ
ใหไ้ ม่สามารถดำเนนิ การวจิ ยั ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ
4.6.2 เป็นปญั หาที่ได้รบั ความรใู้ หม่ เกิดความร้ใู หม่ท่ีเป็นของนกั วิจัยเอง
4.6.3 มคี วามสนใจของนกั วิจัยจริง ๆ จะทำให้นักวิจัยมีความมุ่งม่ันและตั้งใจในการดำเนินการวิจัยจน
สำเร็จลุล่วงได้
4.6.4 เป็นประสบการณก์ ารสอนของตนเองจรงิ ๆ
4.6.5 เหมาะสมกับความรู้ความสามารถของนักวิจัย ขนลุกปัญหาในช้ันเรียนที่ตนเองมีความถนัด
หรือชำนาญมากพอ
4.6.7 เหมาะสมกับเวลารายงานและความจำเปน็ เร่งด่วน
หลกั การของการวิจัยในชน้ั เรยี น 18
5. การแลกเปลยี่ นประสบการณ์การเรยี นรู้กับผูอ้ ่นื
นักวิจัยในช้ันเรียนควรเป็นบุคคลท่ีชอบสงสัย ชอบศึกษาหาความรู้ และรู้จักพูดคุย
แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับบุคคลอ่ืน การเป็นคนท่ีมีโลกทัศน์กว้างคิดไกล เป็นหลักการสำคัญอีก
ประการหน่ึงของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน เพราะการวิจัยในชั้นเรียน เป็นก ารวิจัยท่ี
จำเป็นต้องใชล้ ายสกั แบบสหวทิ ยาการ (Interdisciplinary) และมีลักษณะสมั พันธ์ (Related)
6. การใช้หลักวงจรการวจิ ยั ปฏบิ ตั ิการ (Action Research)
6.1 ข้ันวางแผน (Plan) เป็นการเตรียมแผนการท่ีจะปฏิบัติการวิจัย ด้วยการกำหนดปัญหาที่
จะใช้ในการวิจัยท่ีผ่านการวิเคราะห์ปัญหามาแล้ว จากน้ันทำการวางแผนกำหนดจุดประสงค์การ
วิจัย ทำการออกแบบการวิจัยในชั้นเรียน กำหนดวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล กำหนดวิธีการแปลผล
กำหนดแนวทางสรุปผล และแนวทางการเขยี นรายงานการวจิ ัยในช้นั เรยี น
หลกั การของการวจิ ยั ในชนั้ เรยี น 19
6.2 การปฏิบัตกิ าร (Act) เปน็ ข้ันตอนที่ลงมอื กระทำการวจิ ยั ด้วยการดำเนนิ การ
ตามกิจกรรมที่ได้ออกแบบการวจิ ัยไว้ รวมทัง้ การใชน้ วตั กรรมการศกึ ษาตามการ
ออกแบบการวจิ ัย มีการพฒั นาเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ปฏิบัตกิ ารด้วยการทดลอง
ใช้ (Try out) และเกบ็ ข้อมูลที่ใชใ้ นการปฏบิ ัติการวจิ ยั จริง และการลงมือเขียน
รายงานการวจิ ัย ตามหัวข้อที่วางแผนไว้
6.3 การสงั เกต (Observe) เปน็ ขน้ั ตอนทไี่ ด้จากการเก็บขอ้ มลู จริง ตามท่ีได้
ออกแบบการวิจัยไว้ พิจารณาสังเกตทัง้ ตวั นกั วิจยั เอง ผเู้ รยี นที่เป็นกลุ่มเปา้ หมายใน
การวจิ ัยและนวตั กรรมทางการศึกษาท่ีใช้ในการวิจยั ซ่ึงใชท้ ัง้ เทคนิคการวิจยั เชงิ
คณุ ภาพและการวิจยั เชงิ ปริมาณ เพื่อใหไ้ ดผ้ ลของข้อมูลที่มที ั้งความลมุ่ ลึก
(Qualitative) และภาพกวา้ ง (Quantitative)
หลักการของการวิจยั ในชนั้ เรยี น 20
6.4 การสะทอ้ นกลบั (Reflect) เป็นข้นั ตอนสุดท้ายของวงจรการปฏิบัตกิ าร เป็นการ
สะทอ้ นขอ้ มูลกลับเก่ียวกบั ความรทู้ ่ีใหก้ ับผเู้ รียนกลุ่มเป้าหมายในการวิจัย การสะทอ้ นขอ้ มลู
กลับเกี่ยวกบั ความรสู้ กึ ของผูเ้ รยี นที่เปน็ กลุ่มเปา้ หมายในการวิจยั การสะท้อนข้อมูลกลบั
เกี่ยวกับผลท่ีไดร้ ับจากการปฏบิ ัตกิ ารและการสะทอ้ นข้อมูลกลับเก่ียวกบั ข้อคน้ พบทไี่ ด้จาก
การวจิ ยั ซ่ึงการสะทอ้ นกลับนีม้ ี 2 ลักษณะ ดงั นี้
6.4.1 ถา้ ผลการสะท้อนกลับบรรลผุ ล ตามจุดประสงคข์ องวงจรน้ันกำหนดไว้
สามารถดำเนนิ การปฏบิ ัติการวงจรต่อไปได้ หรอื ควรจะทำซ้าอกี ครั้งด้วยการปรับเปลี่ยน
กจิ กรรมใหม่ แต่ยงั คงใช้แผนปฏบิ ตั กิ ารเดมิ เพอ่ื ศึกษาความคงทห่ี รอื ความย่ังยืนของผลการ
ปฏบิ ตั ทิ ่ีไดใ้ นวงจรนัน้
6.4.2 ถา้ ผลการสะทอ้ นกลับไม่บรรลผุ ล ตามจุดประสงคข์ องวงจรนน้ั กำหนดไว้
จะต้องทำการทำซ้าแผนใหม่ (Replan) เพ่ือแกไ้ ขสิ่งท่ียังไม่บรรลผุ ลของกลุ่มเป้าหมายในการ
วจิ ยั โดยสามารถทำซ้าด้วยการซ่อมเสรมิ ในส่ิงที่เป็นขอ้ บกพร่องกับกลุ่มเปา้ หมายในการวจิ ัย
บางคนท่ียังไม่บรรลุผลในช่วงเวลานอกเหนือจากท่ีไดก้ ำหนดไว้
ข้ันตอนการวิจยั ในชน้ั เรียน 21
การวจิ ยั ในชั้นเรยี นมขี นั้ ตอนการวิจยั ที่สำคัญ ดงั น้ี
1. การวเิ คราะหป์ ัญหาในชน้ั เรียน
การวิจัยในช้ันเรียน ควรเริ่มต้นด้วยการวิเคราะห์สภาพปัญหาที่เกิดข้ึนจริงในช้ันเรียน เพ่ือให้ครูผู้สอนได้ทำการ
ตรวจสอบว่าประเด็นใดทม่ี คี วามสำคัญจำเป็นเร่งดว่ นท่ีจะตอ้ งทำการแก้ไขให้กับผู้เรียนของตนเอง
2. การออกแบบการวิจัยในชัน้ เรียน
เมื่อไดป้ ัญหาท่ีจะทำการวิจัยแล้ว ครทู ่ีเป็นนกั วิจัยควรทำการออกแบบการวิจัยในช้ันเรียน ว่าจะเลือกรูปแบบการวิจัย
ปฏิบัติการใดจงึ จะเหมาะสมกับปัญหาท่ีจะทำการวจิ ัย
3. การค้นหาและพฒั นานวตั กรรมการศกึ ษา
การเลือกใช้และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา เป็นอีกข้ันตอนหน่ึงท่ีสำคัญของการวิจัยในช้ันเรียน ครูที่เป็น
นักวิจัยต้องพิจารณาการใช้นวัตกรรมการศึกษาที่นำมาแก้ไขปัญหาท่ีต้องการวิจัย ซ่ึงควรเป็นนวัตกรรมการศึกษาที่มีความ
เหมาะสมกับสภาพและบริบทของผู้เรียนที่ทำการวิจัยให้มากท่ีสุด และควรเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาที่มีค่าประสิทธิภาพ
อย่างแทจ้ รงิ
ข้ันตอนการวิจยั ในชน้ั เรยี น 22
4. การเขียนโครงรา่ งการวิจยั ในชั้นเรยี น
เม่ือครูท่ีเป็นนักวิจัยได้เตรียมการขั้นตอนต่าง ๆ ข้างต้นเสร็จเรียบร้อยแล้ว ควรทำการเขียนโครงร่างการวิจัยในชั้น
เรียนใหเ้ รียบร้อยก่อนเริ่มวิธีการวจิ ัย เพื่อเปน็ กรอบแนวคิดหรอื พิมพเ์ ขียวให้กับครทู ่ีเป็นนักวิจัยได้ดำเนินการต่อไป
5. การสรา้ งเครอื่ งมือการวิจัยในชั้นเรียน
เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวจิ ัยในชน้ั เรยี น เป็นอีกข้นั ตอนหน่ึงท่ีครูท่ีเป็นนักวิจัยควรดำเนินการเอง เพื่อเป็นส่ิงประกอบท่ีใช้ใน
การเก็บรวบรวมข้อมูลของงานวิจัย ซึ่งควรดำเนินการหาค่าคุณภาพของเคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย และควรมีคุ ณภาพของ
เคร่ืองมือท่ีน่าเช่ือถอื จรงิ
6. การประมวลผลการวิจัยในชัน้ เรยี น
เพ่ือดำเนินการเกบ็ รวบรวมข้อมูลเสรจ็ เรียบร้อยแล้ว ขน้ั ตอนต่อไปเป็นการประมวลผลขอ้ มูลท่ีได้ การใช้วิธีการใดในการ
วเิ คราะห์ขอ้ มลู ต้องใหส้ อดคล้องกบั วัตถุประสงคก์ ารวจิ ยั และเหมาะสมกับขอ้ มูลที่ทำการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
7. การเขียนรายงานการวิจยั ปฏบิ ัตกิ ารในช้ันเรยี น
ดำเนนิ การวจิ ยั เสรจ็ เรียบร้อยครบทุกขั้นตอนแล้ว ขั้นตอนสุดท้ายของการวิจัยในชั้นเรียนคือการเขียนรายงานการวิจัย
ซ่ึงครูท่ีเปน็ นักวจิ ยั ควรใช้รูปแบบการเขยี นรายงานการวจิ ัยแบบใดแบบหนึ่งใหค้ งท่ีตลอดท้ังเล่ม
23
แนวคิดการวจิ ัยในชน้ั เรยี น
การวจิ ัยในชน้ั เรยี น (Classroom Action Research) เป็นการวจิ ยั เชงิ ปฏิบัติการ
และเปน็ เคร่ืองมอื ในการเรียนรแู้ ละสร้างความรใู้ นการปฏบิ ตั งิ าน ส่งผลให้ครเู กิดความ
เขา้ ใจอยา่ งลึกซ้งึ และสรา้ งสรรคใ์ นสภาพสำเรจ็ และปญั หาของการปฏิบัตงิ านการจดั การ
เรียนการสอนของตนเองและนำไปสกู่ ารพฒั นาความสามารถในการรับรู้ ไตร่ตรอง
ตัดสนิ ใจ ปฏิบัตกิ าร ปรับปรงุ พฒั นาและแปรเปล่ียนตนเองอย่างถูกต้องและสรา้ งสรรค์
ในการปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ และเมื่อครูเผชญิ กบั ปัญหาในการจดั การเรียนการสอน
ครสู ามารถแปรเปลี่ยน “ปัญหา” ใหเ้ ป็น “ปญั ญา” และ “การสร้างสรรค์” ได้ด้วยการวจิ ัย
ปฏบิ ตั ิการในชน้ั เรียน การวจิ ัยในช้ันเรียนเปน็ ยุทธวธิ ีแห่งวิชาชพี ครใู นการเพ่ิมพลัง
อำนาจใหค้ รสู ามารถพึ่งพาตนเองในการพฒั นาทักษะ กระบวนการความคิดและ
กระบวนการทำงานของตนเองใหเ้ กิดผลสำเรจ็ ตามมาตรฐานวชิ าชีพครู ทงั้ ช่วยใหค้ รู
ทันสมัย รเู้ ท่าทันและนำตนเองใหเ้ รียนรเู้ พื่อพัฒนาการปฏิบัติงานของตนเอง
กรอบการวิจัยในชนั้ เรียน 24
การวิจัยในช้ันเรยี น เปน็ การวจิ ัยท่ีลงมอื ปฏบิ ัตใิ นชั้นเรียนของตนเองที่รบั ผิดชอบเพื่อให้สอดคล้องกบั
ภารกจิ หนา้ ท่ีของครูผู้สอน ขนาดเท่ากับการปฏิบัติการจริงของผสู้ อน ตามแนวคิดของ สวุ ิมล ว่องวาณชิ แบง่
ออกได้เป็น 4 อย่าง คือ
CAR 1 การวเิ คราะหผ์ ูเ้ รียนเป็นรายบุคคล
ผู้สอนตอ้ งการร้จู กั ผูเ้ รยี นเป็นรายบคุ คลเพื่อวางแผนการจดั การเรียนรู้ท่ีเน้นผูเ้ รียนเปน็ สำคญั
ซึ่งมีคำถามการวิจยั ดังน้ี
1. นกั เรียนมลี ักษณะอย่างไร
2. ควรปรบั ปรุงและพัฒนานกั เรยี นคนใดในเรื่องอะไรบา้ ง
3. ควรออกแบบแผนกิจกรรมการเรียนรูอ้ ย่างไร
การเก็บรวบรวมข้อมลู ในระยะนี้ วเิ คราะห์จากภมู หิ ลงั และการพฒั นาการทุกด้าน ความสนใจ ความถนัด
ศักยภาพและความตอ้ งการของผู้เรยี น
กรอบการวจิ ยั ในชน้ั เรียน 25
CAR 2 การประเมินเพอื่ พัฒนาแผนการจดั การเรียนรแู้ ละการสอนของตน
ประเมินแผนการจดั การเรยี นรู้เป็นกระบวนการตรวจสอบของแผนการจดั การเรยี นรู้ที่ผู้สอน
จัดทำขนึ้ โดยการตรวจสอบโดยผทู้ รงคุณวฒุ ิหรือผ้เู ช่ียวชาญ 3-5 ท่าน ในการตรวจว่าเน้ือหาการสอน ส่ือ
นวัตกรรมการเรยี นรู้ และข้อสอบก่อนเรยี น-หลงั เรียนตรงกบั ตวั ชี้วดั หรือไม่ ผูส้ อนตอ้ งการประเมนิ การ 2 คน
เองเพ่ือพัฒนาแนวคิดและแนวปฏบิ ัตใิ นการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ และพฤติกรรมการสอนของตนเอง
ซึ่งมีคำถามการวิจยั ดังน้ี
1. ความสำเรจ็ ของการสอนมีอะไรบ้าง มีสาเหตแุ ละปัจจยั จากอะไร
2. ปัญหาของการสอนมอี ะไรบา้ งและมสี าเหตจุ ากปัจจัยอะไร
3. แนวทางแก้ไขปรับปรุงพัฒนาแนวคดิ และแนวปฏบิ ตั ใิ นการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้และ
พฤตกิ รรมการสอนของตนเองมอี ะไรบา้ ง
การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ในระยะนว้ี เิ คราะหจ์ าก บนั ทึกระหวา่ งสอนและหลังสอน การสังเกตพฤติกรรม
นกั เรยี นทงั้ ในและนอกห้องเรยี น ครั้งก่อน/ขณะและหลงั การสมั ภาษณ์ผทู้ ่ีเกี่ยวขอ้ ง ผลงานนกั เรียน การประชมุ
ระดับช้ันและประชุมกลุ่มสาระ วเิ คราะหป์ ระสิทธิผลและประสิทธิภาพ
กรอบการวิจยั ในชนั้ เรียน 26
CAR 3 กรณีศึกษาผเู้ รียนเป็นรายกลุ่มหรือรายบคุ คล
ผสู้ อนสงั เกตเหน็ วา่ ผู้เรยี นบางคนมีปัญหาท่ีผสู้ อนตอ้ งเข้าใจนะช่วยคล่ีคลายและแก้ไข ซ่ึงมี
คำถามการวิจัย ดังน้ี
1. ผู้เรียนมีลักษณะและมีปญั หาอะไรบ้าง
2. สาเหตแุ ละปัจจัยของปญั หามอี ะไรบา้ ง
3. แนวทางแก้ไขคนมเี ป้าหมายและขั้นตอนอย่างไรและตวั ชี้วดั ความสำเร็จควรมีอะไรบ้าง
4. ผลการแก้ไขมสี ภาพความสำเรจ็ อย่างไร ปญั หาได้แปรเปล่ียนไปอย่างไรและควรพัฒนา
ต่อไปอย่างไร
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลในระยะนี้สามารถวิเคราะห์ได้จาก การสังเกตในบริบทต่าง ๆ ทง้ั ใน
หอ้ งเรียนและนอกหอ้ งเรียน การสัมภาษณ์ผู้เรียนและผทู้ ่ีเก่ียวขอ้ ง วิเคราะห์ผลงานนักเรียนและเอกสารต่าง ๆ
กรอบการวิจยั ในชนั้ เรียน 27
CAR 4 การพัฒนานวตั กรรมในการจดั การเรียนรู้
ผสู้ อนต้องการปรับปรุงประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลของการจดั กิจกรรมการเรียนรู้จึงสรา้ ง
นวัตกรรมเพ่ือพฒั นาการจัดการเรียนรู้ ซ่ึงมีคำถามการ ดังน้ี
1. ผลลพั ธท์ ่ีต้องการพัฒนาและแนวคิดหลักการในการพฒั นามีอะไรบา้ ง
2. การสร้างนวตั กรรม ควรออกแบบและดำเนินการอย่างไร
3. ผลการทดลองใช้นวตั กรรม ช่วยเพ่ิมประสิทธิผลและประสทิ ธิภาพในการเรยี นรแู้ ละการ
เรยี นการสอนหรอื ไมอ่ ย่างไร
4. นวัตกรรมควรไดร้ ับการปรบั ปรุงหรอื ขยายผลต่อไปอย่างไร
การเก็บรวบรวมข้อมลู ในระยะนส้ี ามารถวิเคราะหไ์ ดจ้ าก ขอ้ มูลสภาวะเร่ิมต้น พฒั นาทาง
พฤตกิ รรมและผลการเรียนรู้ของผู้เรยี น ขอ้ มูลการเปลี่ยนแปลงผลสัมฤทธแ์ิ ละคุณลกั ษณะของผู้เรยี น
สรุปเนอ้ื หา 28
การเป็นครูมืออาชีพ คือ การเป็นครูนักวิจัยในขณะเดียวกัน ตราบใดที่วิชาชีพครู
ได้รับการยกย่องให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง ตราบน้ันครูผู้สอนจะต้องใช้การวิจัยปฏิบัติการใน
ชน้ั เรียนเปน็ เคร่ืองมือในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรทู้ ี่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ
ด้วยเหตุผลนี้ การวิจัยในชั้นเรียนจึงเปรียบเสมือนภาระงานปกติของครู ท่ีใช้
ประโยชน์ในการจัดการเรียนรู้ให้ตอบสนองความถนัด ความสนใจ ความต้องการและ
ความแตกต่างของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ในลักษณะของการทำวิจัยอย่างต่อเน่ือง 4
ขั้นตอน คอื
1. ขน้ั การวิเคราะหผ์ ู้เรียนเป็นรายบคุ คล (CAR 1)
2. เรียนรู้ในรูปแบบของรายงานผลการสอนและพัฒนาผเู้ รยี น (CAR 2)
3. การศึกษาผเู้ รียนที่มีปญั หาด้านการเรียนรู้หรือรูปกรณศี กึ ษาผ้เู รยี นเปน็ ราย
กลุ่มหรือรายบุคคล (CAR 3)
4. การวจิ ยั และพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรยี นรูแ้ ละรายงานผลการใชส้ ่ือ
นวตั กรรม (CAR 4)
สรปุ เนอื้ หา 29
การดำเนินกิจกรรม 4 ขั้นตอนของการวิจัยในชั้นเรียนนี้ จะช่วยให้ครูได้สะท้อน
ภาพของการปฏิบตั งิ านในลักษณะครมู อื อาชีพอย่างต่อเนอื่ ง ดังนี้
1. เป็นการรายงานผลและให้ข้อมูลย้อนกลับท่ีเก่ียวข้องกับการ
ปฏิบัติงานของตัวครูเองและสะท้อนผลที่เกิดข้ึนกับตัวผู้เรียนอย่างต่อเน่ืองเป็น
ระบบเชื่อถือได้
2. เปิดโอกาสให้ผู้ที่มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เช่น
ผู้บริหาร ครู เพื่อนร่วมงาน นักเรียนและผู้ปกครอง ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการ
วพิ ากษว์ จิ ารณ์การปฏบิ ตั งิ าน และรบั ทราบผลของการจัดการเรียนรู้ทำให้เกิดการ
พฒั นา
3. เป็นการพัฒนากระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและทำให้การวิจัย
ในช้นั เรียนเปน็ สว่ นหนงึ่ ในการปฏบิ ัตงิ านในภาระงานปกติของครูผู้สอน
สรปุ เนอื้ หา 30
4. ผลท่ีได้จากการศึกษาวิจัยคือส่วนสำคัญต่อการพัฒนาตัวครู และทำให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงวิธกี ารปฏิบัติงานในทางที่ดีข้ึน นั่นหมายถงึ ครูสามารถแสวงหา
คำตอบเพ่ือการพัฒนาหลักสูตรและวางแผนพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอ งได้
อย่างเป็นระบบ ครูสามารถแสวงหาคำตอบเพื่อการพัฒนาหลักสูตรและวางแผน
พัฒนาการเรียนรู้ของตนเองได้อย่างเป็นระบบ รู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล ทำให้
สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ตอบสนองแตกต่างของผู้เรียนได้อย่ าง
หลากหลาย มองเห็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา รวมท้ังการพัฒนาตนเองและ
ผู้เรียน ตลอดจนสามารถจัดประเมินผลผู้เรียนได้ตรงตามสภาพจริง และใช้ผล
ของการประเมินดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนา ปรับปรุงการจัดการเรียน
การสอนโดยเนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคญั ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพและต่อเนอื่ ง
บรรณานุกรม ค
ประเวศ เวชชะ. การวจิ ยั เพ่ือพฒั นาการเรยี นการสอน. (พมิ พ์ครั้งท่ี 7).
เชียงราย: ร้านปี้แอนด์นอ้ ง, 2563.
THANK YOU
การวจิ ยั ในช้ันเรยี น
Classroom Action
Research