The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค21002

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by c_y_ot, 2021-03-22 03:51:00

https://drive.google.com/file/d/1RyYdR7WKH3O2PgxXutaZ2EEkY-MoH9E8/view?usp=sharing

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค21002

สรปุ สาระการเรยี นรู้
รายวชิ า ศาสนาและหน้าที่พลเมือง

รหสั วิชา สค21002
ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

สำนักงำนส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยจังหวดั ชัยภูมิ
สำนักงำนส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัย
สำนักงำนปลดั กระทรวงศึกษำธิกำร กระทรวงศึกษำธิกำร



คำนำ

เอกสารเล่มนเี้ ป็นการสรปุ เนอ้ื หาสาระสำคญั รายวิชาศาสนาและหนา้ ที่พลเมือง
(รหัสรายวิชา สค ๒๑๐๐๒ ) ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้
พื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ทั้งนใี้ นเอกสารเลม่ นปี้ ระกอบด้วย ใบความรู้ ใบงาน และแบบทดสอบพ้อมเฉลย
ซง่ึ ตรงกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ เน้ือหา และตัวชวี้ ัดทส่ี อดคล้องกับผงั การออกข้อสอบ วดั ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน

คณะผจู้ ัดทำหวงั เปน็ อย่างย่งิ ว่าเอกสารเลม่ นจี้ ะเปน็ ประโยชนส์ ำหรับผเู้ รียน ครู และผเู้ ก่ยี วข้องใน
การพฒั นาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นใหม้ ีประสิทธภิ าพยิ่งขึน้

สำนักงาน กศน.จงั หวัดชยั ภูมิ
มกราคม ๒๕๖๔

สารบัญ ๓

เรอ่ื ง หน้า

ใบความรู้ท่ี ๑ ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี ๑
ใบงาน ศาสนาพุทธ คริสต์ อิสลาม ฮนิ ดู ๘

ใบความรูท้ ี่ ๒ หนา้ ทช่ี าวพทุ ธ ๙
ใบงาน หน้าทีช่ าวพุทธ ๑๑

ใบความรทู้ ่ี ๓ ศาสนพิธี ๑๒
ใบงาน ศาสนพธิ ี ๑๖

ใบความรู้ท่ี ๔ หลกั ธรรม คำสอนของศาสนาชว่ ยสร้างคนให้เป็นคนดี ๑๗
ใบความรทู้ ่ี ๕ วฒั นธรรมประเพณใี นประเทศและต่างประเทศ ๒๐

ใบความรทู้ ่ี ๖ วัฒนธรรมและประเพณีไทย ๓๒
ใบงาน วฒั นธรรมและประเพณีไทย ๓๖

ใบความร้ทู ี่ ๗ พลเมืองดีในวถิ ีประชาธิปไตย ๓๗
ใบงาน การปฏิบัติตนเป็นพลเมอื งดีในวิถีประชาธิปไตย ๔๐
ใบงาน บทบาท สทิ ธิ เสรภี าพ และหนา้ ที่ของประชาชนชาวไทย ๔๒
๔๓
ใบงาน หลกั สิทธิมนุษยชน
๔๔
ข้อสอบ ๕๑
เฉลย



ใบความรู้ เรือ่ ง ศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี

ศาสนา มีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตของบุคคลในสังคมเพราะศาสนาทุกศาสนามีจุดมุ่งหมาย
เพอื่ ให้ทำความดลี ะเว้นความชวั่ ศาสนาจงึ มีอิทธพิ ลตอ่ คนในสังคม
องค์ประกอบของศาสนา

1. ศาสดา คอื ผกู้ อ่ ต้ังศาสนา
2. คมั ภรี ์ คือ หลกั คำสอนเก่ียวกบั ศลี ธรรมจรรยา
3. นกั บวช คือ ผ้สู บื ทอดคำสอน
4. พธิ กี รรม คอื การปฏบิ ตั ใิ นการทำพธิ ที างศาสนา
5. ศาสนสถาน คอื สถานทคี่ วรเคารพบชู าและใชป้ ระกอบพธิ ที างศาสนา
ศาสนาอิสลามไมม่ ีนกั บวช แต่มีศาสดา มีคัมภรี ์มีศาสนสถาน และพิธีกรรม นับเปน็ ศาสนาเช่นกนั
ความสำคญั ของศาสนา
1. เปน็ พน้ื ฐานของกฎศลี ธรรมของสงั คม
2. เป็นแหลง่ กำเนดิ จรยิ ธรรม
3. เปน็ แหล่งท่ีทำให้เกิดศลิ ปวัฒนธรรม และประเพณี
4. เป็นกลไกของรัฐในการควบคมุ สังคม
5. เป็นบรรทัดฐานของสังคมที่ใช้ในการปฏิบตั ิเพือ่ ให้เป็นไปในแนวเดยี วกัน
ประโยชนข์ องศาสนา
1. ชว่ ยให้สมาชกิ ของสงั คมสงบสขุ
2. ทำให้ผนู้ บั ถอื เปน็ คนดี มศี ีลธรรม
3. เป็นบ่อเกดิ ของศิลปวัฒนธรรม
4. เปน็ ทีพ่ ึ่งทางจติ ใจของสมาชกิ ในสงั คม
5. เปน็ แนวทางในการดำเนินชีวิตเพอ่ื ให้เกดิ ความสขุ

ศาสนาที่สำคัญในทวีปเอเชยี
1. ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์
แหล่งกำเนิดในประเทศอินเดียเป็นศาสนาดั้งเดิมของชนเผ่าอารยัน มีความเชื่อเรื่องพระเจ้าหลาย

องคโ์ ดยเฉพาะตรีมรู ติ (พระพรหม พระวษิ ณุ พระศิวะ) ต่อมาววิ ัฒนาการเป็นศาสนาฮินดู
เทพเจ้าสงู สุด คือ พระปรมาตมัน
ความเช่ือเก่ียวกับตรีมูรติ คอื พระพรหม คือ ผู้สรา้ งพระวิษณุ (พระนารายณ์) คือ ผู้คุ้มครองและ

พระอศิ วร (พระศิวะ) คือ ผู้ทำลาย
คัมภีร์พระเวทมีอยู่ 3 คัมภีร์ ถือว่าเป็นคัมภีร์ที่เก่าแก่ที่สุดในโลกต่อมาเพิ่มอาถรรพเวทเข้าไป

ได้แก่ ฤคเวท (บทสวดสรรเสริญเทพเจ้า) ยชุรเวท (คู่มือพราหมณ์ในการทำพิธีบูชายัญ)สามเวท (ใช้สวดขบั
กลอ่ มเทพเจ้า)อาถรรพเวท (เปน็ มนตค์ าถาทางไสยศาสตร)์



ศาสนาฮนิ ดู
ความเชื่อศาสนาฮินดูที่แตกต่างไปจากศาสนาพราหมณ์ ได้แก่ เชื่อเรื่องวิญญาณเป็นอนันตะคือ
เวียนว่ายตายเกิดไม่สิน้ สุดจนกว่าจะหลุดพ้นโมกษะ ให้คนที่เกิดในตระกูลพราหมณ์ กษัตริย์ ไวศยะ ปฏิบัติ
ตามหลักอาศรม 4 อย่างเคร่งครัด สันติสุขจะเกิดขึ้นได้ต้องมีพราหมณ์ คัมภีร์พระเวทวรรณะ 4 ได้แก่
วรรณะพราหมณ์
นิกายในศาสนาฮนิ ดู
1. นิกายพรหมนบั ถือพระพรหมเปน็ เทพเจา้ สูงสดุ
2. นิกายไวษณพ (ลัทธิอวตาร) นับถือพระวิษณุ
3. นกิ ายไศวะ นับถอื พระศวิ ะมศี วิ ลึงค์เปน็ สญั ลกั ษณ์
4. นกิ ายศากตนิ ับถือเทพเจา้ ท่ีเป็นสตรี
หลกั ธรรมของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
1. หลกั ธรรม 10 ประการ ไดแ้ ก่

1. ธฤติ คอื ความพอใจ
2. กษมา คอื ความอดทน
3. ทมะ คือความข่มใจ
4. อัสเตยะ คือ การไม่กระทำเย่ียงโจร
5. เศาจะ คอื ความบรสิ ทุ ธ์ิ
6. อนิ ทรียนคิ รหะ คือ การสำรวมอนิ ทรีย์ (ร่างกาย)
7. ธี คอื ความรู้ (ปญั ญา)
8. วทิ ยา คอื ความรู้ (ปรชั ญา)
9. สัตยะ คือความซอ่ื สตั ย์
10. อโกธะ คือ ความไมโ่ กรธ
2. หลกั อาศรม 4 ได้แก่
1. พรหมจารี คือ เป็นวยั ศึกษาเล่าเรียน
2. คฤหัสถ์ คือ เปน็ วยั ครองเรือน
3. วานปรสั ถ์ คอื เปน็ วัยออกไปอยูป่ า่
4. สนั ยาสี คือ เปน็ วัยสดุ ท้ายของชีวิตออกบวชเปน็ สนั ยาสี บำเพญ็ เพยี รเพอ่ื ความหลุดพ้น
3. หลักปรมาตมันและโมกษะ ได้แก่
1. หลักปรมาตมัน มีความเชื่อว่า ปรมาตมันหมายถึง พลังธรรมชาติ เป็นอมตะไม่มีเบื้องต้น
และสน้ิ สุดส่วนวญิ ญาณยอ่ ยเรยี กวา่ อาตมนั สามารถไปรวมกับปรมาตมันได้เม่ือบรรลุโมกษะ
2. หลกั โมกษะเป็นหลักปฏิบตั ิเพ่ือหลุดพ้นจากวัฏจักรแห่งชีวติ ดว้ ยการนำอาตมันของตนเข้าสู่
ปรมาตมัน
4. หลกั ปรัชญาภควัทคตี า ได้แก่
1. กรรมโยคะ การทำความดโี ดยไมห่ วังผลตอบแทน
2. ชยานโยคะ การปฏบิ ัติเพ่อื ให้เกิดปัญหา ความร้แู จ้ง
3. ภักติโยคะ ความรกั ความภกั ดีอุทิศตนตอ่ พระเจา้ เพอื่ นำไปส่กู ารหลุดพ้น



5. หลักทรรศนะหก ไดแ้ ก่
1. สางขยะ ทรรศนะเกี่ยวกับชวี ติ
2. โยคะ ทรรศนะเกีย่ วกับการปฏิบัตโิ ดยสำรวมอินทรีย์ทำจติ ใจใหบ้ รสิ ุทธิ์
3. นยายะ ทรรศนะเกย่ี วกับความรู้
4. ไวเศษิกะทรรศนะเกี่ยวกับสิ่งที่มีอยู่จริงชั่วนิรันดร 9 อย่าง คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ อากาศ

กาลเทศะ อาตมัน มนะ
5. มางสาทรรศนะเกี่ยวกบั ปรชั ญาน่าเชื่อถอื
6. เวทานตะทรรศนะเกี่ยวกับอุปนิษัท (อุปนิษัท คือคัมภีร์ในส่วนสุดท้ายของพระเวท เป็น

คัมภรี ์ที่เป็นหลักปรชั ญาลึกซง้ึ )
พธิ ีกรรมทส่ี ำคัญของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
1. พิธศี ราทธ์ คอื พิธีทำบญุ ใหแ้ ก่ญาติผ้ลู ่วงลับไปแล้ว
2. พธิ ีประจำบ้าน ได้แก่
พธิ ีอปุ นยัน คือ พธิ ีเร่ิมการศึกษา ถา้ เปน็ หญงิ ยกเวน้
พธิ วี วิ าหะ คอื พธิ ีแต่งงาน
3. ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับวรรณะ คือ พราหมณ์ กษัตริย์ แพทศย์ศูทรแต่ละวรรณะมีการดำเนินชีวิตที่

ตา่ งกนั จึงตอ้ งปฏิบัตติ ามวรรณะของตนเช่น การแต่งงาน การแตง่ กาย เปน็ ตน้
4. พิธีบูชาเทพเจ้าแต่ละวรรณะจะมีการปฏิบัติต่างกันในเทศกาลต่าง ๆ เช่น งานศิวะราตรี (พิธี

ลอยบาป) งานบูชาเจ้าแม่ลักษมี (เทวีแห่งสมบัตแิ ละความงาม) เป็นตน้
2. ศาสนาพทุ ธ

ศาสนาพทุ ธมถี นิ่ กำเนดิ ในประเทศอินเดยี ประเภทอเทวนยิ ม (ไมน่ บั ถือพระเจ้า) มีพระพุทธเจา้ เป็น
ศาสดา คัมภีร์ของศาสนาพุทธ คือ พระไตรปิฎกหมายถึงตำราที่บันทึกคำสอนของพระพุทธเจ้า แบ่ง
ออกเป็น 3 คัมภรี ์ คอื

1. พระวนิ ัยปิฎก วา่ ดว้ ยศีลหรอื วนิ ยั ของภิกษุ ภิกษณุ ี อบุ าสกอุบาสกิ า
2. พระสตุ ตนั ตปิฎก (พระสูตร) ว่าดว้ ยคำสอนของพระพทุ ธเจ้าและสาวก รวมท้ังชาดกตา่ ง ๆ
3. พระอภธิ รรมปฎิ ก ว่าด้วยหลกั ธรรมลว้ น ๆ
นกิ ายสำคัญของศาสนาพทุ ธ
1. นิกายเถรวาทหรือหีนยาน ปฏิบัติตามคำสอนของพระพุทธเจ้าอย่างเคร่งครัดไม่มีการ
เปล่ียนแปลงพระธรรมวนิ ัยประเทศที่นับถอื ได้แก่ไทย พมา่ ศรีลังกา ลาว กัมพูชา
2. นิกายอาจริยวาทหรือมหายาน ดัดแปลงพระธรรมวินัยได้ ประเทศที่นับถือได้แก่ จีน ทิเบต
ญีป่ ุน่ เวียดนาม เกาหลี
หลักคำสอนของศาสนาพทุ ธ
1. อรยิ สัจ 4 คอื ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ คือ

 ทุกข์ คือความไมส่ บายกายไมส่ บายใจ
 สมทุ ยั คือ เหตขุ องความเปน็ ทุกข์ได้แก่ ตัณหา
 นโิ รธ คอื ความดับทกุ ข์ หรอื นิพพาน
 มรรค คือ ขอ้ ปฏิบตั เิ พอ่ื นำไปสคู่ วามดบั ทุกข์ หมายถงึ อริยมรรค 8 ประกอบดว้ ย

1. สมั มาทิฐิ คอื ความเห็นชอบ
2. สัมมาสงั กัปปะ คอื ความดำริชอบ



3. สัมมาวาจา คือ การเจรจาชอบ
4. สัมมากัมมนั ตะ คอื การกระทำชอบ
5. สมั มาอาชวี ะ คอื การเลี้ยงชีพชอบ
6. สัมมาวายามะ คอื ความพยายามชอบ
7. สัมมาสติ คือการต้ังสติชอบ
8. สัมมาสมาธิ คอื การตงั้ ใจชอบ
อรยิ มรรค 8 เม่ือสรุปรวมแลว้ เรียกว่า ไตรสิกขา อนั ได้แก่ ศีล สมาธิ ปัญญา
2. ขันธ์ 5 หรอื เบญจขันธ์ หมายถงึ องค์ประกอบของชวี ติ มนุษย์ คือ ส่วนทเ่ี ปน็ รา่ งกาย และส่วน
ที่เป็นจิตใจ ไดแ้ ก่
1. รปู ขนั ธ์ คือ ร่างกายและพฤตกิ รรมตา่ ง ๆ ประกอบด้วยธาตุ 4 คอื ดิน นำ้ ลม ไฟ
2. วญิ ญาณขันธ์ คอื ความรู้อารมณ์ที่ผ่านมาทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
3. เวทนาขนั ธ์ คอื ความรู้สกึ ซึ่งเปน็ ผลมาจากสขุ เวทนา ความสขุ ทางกายและใจ ,
ทกุ ขเวทนา คอื ทกุ ขท์ างกายและใจ, อเุ บกขาเวทนา คอื ความไม่ทุกข์ไม่สขุ ทางกายและใจ
4. สญั ญาขนั ธ์ คอื การกำหนดได้ 6อยา่ งจากวญิ ญาณและเวทนา คือ รูป รส กล่ิน เสยี ง
5. สังขารขันธ์ คือ ความคิด แรงจูงใจสภาพที่ปรุงแต่งจิตใจให้คิดดี คิดชั่ว เป็นผลมาจาก
วิญญาณและเวทนา
3. ไตรลักษณ์ หมายถึง ลักษณะทว่ั ไปของส่งิ ทั้งหลายทงั้ ปวงในโลก ได้แก่
1. อนจิ จตา คือ ความไม่เท่ียง
2. ทกุ ขตา คือ ความเป็นทกุ ข์
3. อนตั ตา คอื ความไม่ใชต่ ัวตน

3. ศาสนาครสิ ต์
ศาสนาคริสต์กำเนิดในดินแดนปาเลสไตน์หรืออิสราเอลในปัจจุบัน ศาสดาคือพระเยซู ซึ่งเป็นบุตร

ของโยเซพและมาเรียเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากที่สุดวิวัฒนาการมาจากศาสนายูดายจึงมีพระเจ้าหรือที่
เรียกว่า พระยะโฮวาห์ คัมภรี ข์ องศาสนาครสิ ต์ คือ คัมภีร์ไบเบลิ ซ่ึงแบ่งออกเปน็ 2ส่วน คือ พระคัมภีร์เก่า
มีสาระเก่ยี วกับพระเจ้าสร้างโลกซ่ึงประกอบดว้ ย บทเพลง บทสวด และสุภาษิต พระคัมภีร์ใหม่ เป็นคัมภีร์
ที่มีสาระเกี่ยวกับประวัติและคำสอนของพระเยซูการเผยแผ่ศาสนาของสาวกจดหมายเหตุและวิวรณ์ บั้น
ปลายชีวิตของมนษุ ยชาติ

นกิ ายที่สำคัญของศาสนาคริสต์
1. นิกายโรมันคาทอลิก เป็นนิกายที่นับถือและปฏิบัติตามคำสอนของพระเยซูมีพิธีกรรมที่
เคร่งครัด มีสันตะปาปาเป็นผู้นำศาสนาสูงสุด ประเทศที่นับถือ ได้แก่ ฝรั่งเศส อิตาลี เยอรมนีสเปน
โปรตุเกส ฟลิ ิปปินส์ ผทู้ ี่นับถอื เรียกตนเองวา่ คริสตงั
2. นิกายออร์โธดอกซ์ เป็นนิกายที่แยกจากนิกายโรมันคาทอลิก ด้วยเหตุผลทางการเมืองและ
วัฒนธรรมประเทศที่นับถือ ได้แก่ กรีซ โรมาเนีย บัลแกเรีย สหภาพโซเวียตและประเทศในยุโรปตะวันออก
บางประเทศ
3. นิกายโปรแตสแตนต์ เป็นนิกายที่แยกมาจากนิกายโรมันคาทอลิก ผุ้ก่อตั้งคือ มาติน ลูเธอร์
พิธกี รรมท่สี ำคัญคอื ศลี ลา้ งบาป และศลี มหาสนิทผทู้ นี่ ับถอื นิกายนเ้ี รยี กว่า ครสิ เตยี น



หลักคำสอนของศาสนาคริสต์
1. หลักคำสอน เรือ่ งตรีเอกานภุ าพ คอื การนับถอื พระเจา้ องคเ์ ดยี ว แบ่งเปน็ 3 ภาค คือ

พระบดิ า หมายถงึ พระเจ้า
พระบุตร หมายถึง พระเยซู
พระจิต หมายถึง วญิ ญาณบริสทุ ธ์ใิ นจติ ใจของชาวคริสต์ทม่ี ศี รทั ธา
2. หลักคำสอนเรือ่ งความรักศาสนาคริสต์เป็นศาสนาท่ีไดช้ ื่อว่าเป็นศาสนาแห่งความรกั สอนให้รัก
พระเจา้ รักเพอ่ื นมนุษยเ์ หมือนรกั ตวั เอง
3. คำสอนเรื่องบัญญัติ 10 ประการ ได้แก่
จงนบั ถือพระเจา้ องคเ์ ดียว คือ พระยะโฮวาห์
อยา่ ออกนามพระเจา้ โดยไม่สมเหตุ
ถือวันพระเจา้ เปน็ วันศักดส์ิ ทิ ธ์ิ
จงนับถือบิดามารดา
อย่าฆา่ คน
อย่าผดิ ประเวณี
อยา่ ลกั ทรพั ย์
อย่าใส่ความนนิ ทาว่ารา้ ยผู้อนื่
อย่าคดิ มิชอบ
อย่าโลภในสิง่ ของผู้อนื่
4. อาณาจกั รพระเจ้า หมายถึง อาณาจักรแห่งจิตใจทม่ี พี ระเจ้าเป็นเปา้ หมาย
พิธกี รรมท่สี ำคัญของครสิ ตศ์ าสนา
1. พิธศี ีลจุม่ กระทำแก่ทารกเมือ่ เรม่ิ เขา้ เปน็ คริสต์ศาสนิกชนโดยใชน้ ำ้ ศักดิส์ ทิ ธเิ์ ทลงบนศรี ษะเพ่ือ
ลา้ งบาป
2. พิธีศลี ลา้ งบาปเป็นการยนื ยนั วา่ ตนยอมรบั นับถอื ศาสนาครสิ ตจ์ ริง
3. พิธีศลี มหาสนิทเป็นการรับประทานขนมปงั และดื่มเหลา้ องนุ่ เพื่อระลึกถึงพระเจา้ ที่ทรงสละพระ
วรกายเพอ่ื มนุษย์จะไดห้ ลุดพ้นจากบาป
4. พิธศี ลี สมรส กระทำแกค่ ่บู ่าวสาวกอ่ นการจดทะเบียนสมรส
5. พิธสี ารภาพบาป ต้องไปกระทำต่อหน้าบาทหลวงเพอื่ สารภาพบาป
6. พิธเี จิมครง้ั สดุ ท้าย กระทำแกผ่ ปู้ ว่ ย
7. พธิ เี ข้าบวช เปน็ การบวชบคุ คลเปน็ บาทหลวงในคริสต์ศาสนา
4. ศาสนาอสิ ลาม
ศาสนาอิสลามกำเนิดที่นครมักกะห์ ประเทศซาอุดิอาระเบียนับถือพระเจ้าองค์เดียว คือ พระอัล
เลาะห์ศาสดาของศาสนาคอื พระนบีมุฮมั หมดั ผทู้ ี่นบั ถอื ศาสนาอิสลามเรียกตนเองวา่ มุสลมิ
ศาสนาอิสลาม มคี มั ภีรอ์ ัลกรุ อาน เปน็ คมั ภรี ท์ ่ีพระผเู้ ปน็ เจา้ ประทานใหแ้ ก่มนษุ ย์
นกิ ายท่ีสำคัญของศาสนาอิสลาม
1. นกิ ายซนุ นี จะปฏิบตั ิเครง่ ครดั ในคมั ภีร์อลั กุรอานและคำสอนของศาสดาท่ีสุดใช้หมวกสีขาวเป็น
เคร่อื งหมาย
2. นกิ ายชีอะห์ ยกยอ่ งอาลใี ชห้ มวกสีแดงเป็นเคร่อื งหมาย
3. นิกายวาฮะบีห์นบั ถอื พระอัลเลาะหเ์ พยี งองคเ์ ดียว ไม่มีพิธีกรรมใด ๆ นอกเหนือจากพระคมั ภรี ์



หลักคำสอนของศาสนาอสิ ลาม
1. หลักศรัทธา 6 ประการ

ศรัทธาในพระอัลเลาะหเ์ พียงองค์เดยี ว
ศรัทธาในบรรดามลาอีกะหค์ ือ เทวทูต
ศรัทธาในพระคัมภรี ์
ศรทั ธาในบรรดาศาสนทูต
ศรัทธาในวนั พิพากษา
ศรัทธาในกฎกำหนดสภาวการณ์
2. หลักปฏบิ ตั ิ 5 ประการ
1. การปฏญิ าณตนยอมรับวา่ พระอลั เลาะหเ์ ป็นพระเจา้ องค์เดยี ว
2. การละหมาดหรอื นมาซ วันละ 5 ครั้ง
3. การถือศลี อด หรอื อศั ศิยาม หมายถงึ การละหรอื งดเวน้ บรโิ ภคอาหาร
4. การบรจิ าคซะกาต หมายถงึ การบริจาคทานหรอื บรจิ าคทรัพยท์ ี่ได้มาด้วยความสุจริตแก่ผู้ท่ี
ควรรับซะกาต
5. การประกอบพิธีฮัจญ์ ณ วิหารกะบะห์ ท่เี มืองเมกกะประเทศซาอุดิอาระเบยี

ความสอดคลอ้ งของหลักคำสอนท้ัง 4 ศาสนา ได้แก่
1. การทำความดีละเวน้ ความช่ัว
2. การแสดงความรักความเมตตา และเสียสละ
3. การเสียสละเพ่ือเพื่อนมนษุ ย์
4. การพัฒนาตนเองใหด้ ีขน้ึ ขยันหมัน่ เพียร
5. สอนใหอ้ ยูร่ ว่ มกนั อย่างสงบสุข ไม่เบียดเบียนกนั



ใบงานที่ 1 เร่อื ง ศาสนาพทุ ธ ครสิ ต์ อสิ ลาม ฮินดู

คำชีแ้ จง ให้ผ้เู รียนตอบคำถามตอ่ ไปน้ี
1. ใหผ้ ูเ้ รียนบอกความเปน็ มาและหลกั คำสอนของแตล่ ะศาสนาพอสงั เขปดังน้ี
ศาสนาพุทธ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ศาสนาครสิ ต์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ศาสนาอิสลาม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ศาสนาฮินดู
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………



ใบความรู้ เรอ่ื งหนา้ ทช่ี าวพุทธ

ชาวพุทธ คือ ผู้ที่เคารพเล่ือมใสและศรัทธาในพระรัตนตรัย มีหน้าที่ในการศึกษาและปฏิบัติตาม
หลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา ในความเคารพนับถือต่อพระรัตนตรัย เอาใจใส่ทำนุบำรุง และ
บำเพ็ญประโยชน์ต่อวัดและพระสงฆ์ นอกจากนี้ยังต้องปฏิบัติตนอย่างมีมารยาท ที่ถูกต้องและเหมาะสม
ต่อพระสงฆ์ และนำแนวทางการปฏิบตั ิตนของพระสงฆม์ าเป็นแบบอย่างท่ดี ีงามในการดำเนินชวี ติ
หนา้ ท่ชี าวพุทธโดยท่วั ไป

1. ด้านการศกึ ษาและปฏิบัตธิ รรม ชาวพุทธท่ีดีควรใหค้ วามสนใจศกึ ษาคน้ ควา้ หลกั ธรรมทาง
พระพุทธศาสนา และนอ้ มนำหลกั ธรรมทไ่ี ด้ศึกษาแลว้ มาประยุกตใ์ ช้ให้เหมาะสมแกฐ่ านะของตน รวมทั้ง
การแสดงความเป็นชาวพทุ ธที่ดดี ว้ ยการทำบุญบำเพ็ญกศุ ล เขา้ ร่วมพธิ กี รรมทางพระพทุ ธศาสนาในโอกาส
สำคัญ

2. ดา้ นการอุปถัมภพ์ ระพุทธศาสนา
2.1 การอุปถัมภ์พระภิกษุสามเณร พระภิกษุสามเณรนอกจากมีหน้าท่ีในการศกึ ษาธรรม ปฏิบัติ
ธรรม และสั่งสอนธรรมแล้ว ยังต้องปฏิบัติศาสนกิจอื่นๆ เพื่อความดีงามและความสงบสุขของ
ประชาชน ดว้ ยการแนะนำส่งั สอนประชาชนให้เป็นคนดมี ีคุณธรรม ดงั นน้ั เพือ่ แสดงออกถงึ ความกตัญญูต่อ
คุณูปการของพระภิกษุสามเณร ชาวพุทธที่ดีจึงควรช่วยอุปถัมภ์ บำรุงและส่งเสริมพระภิกษุ
สามเณร เพ่ือให้มกี ำลังในการปฏิบตั ศิ าสนกจิ สบื ต่ออายพุ ระพุทธศาสนาให้มั่นคงสืบไป
2.2 การทำนุบำรุงวัดและพุทธศาสนสถาน พระพุทธศาสนามีวัดเป็นศูนย์กลางสำหรับการบำเพ็ญ
กศุ ล การฝึกอบรม และการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตให้กบั ประชาชน โดยมพี ระสงฆ์ในฐานะศาสนบุคคลเป็นผู้
ชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิต วัดจึงเป็นอุทยานการศึกษาเพราะเป็นแหล่งการเรียนรูสำคัญทาง
ศิลปวฒั นธรรมของชาติ วัดบางแหง่ ยังไดร้ ับการข้ึนทะเบยี นเป็นโบราณสถานของชาตแิ ละมรดกโลก
2.3 ด้านการปฏิบัติตนเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีของสังคมชาวพุทธที่ดี คือผู้ปฏิบัติตนในฐานะที่เป็น
พลเมืองดีของชาติด้วยการดำรงตนอยู่ในกรอบของกฎหมาย ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่อย่าง
เหมาะสม ไม่ละเมิดกฎระเบียบและกตกิ าของสังคม
2.4 ด้านการปกป้องคุ้มครองพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาถือเป็นมรดกของชาติไทยที่บรรพ
บุรุษได้ปกป้องคุ้มครองมาด้วยชีวิต เมื่อวิกฤตการณ์เกิดขึ้นกับพระพุทธศาสนา ชาวพุทธไม่ควรนิ่งดูดาย
และปล่อยให้เป็นหน้าที่ของพระสงฆ์เพียงฝ่ายเดียว ควรช่วยกันแก้ไขระงับเหตุการณ์มิให้ลุกลามใหญ่โต
หน้าทข่ี องนักเรยี นในฐานะท่เี ปน็ ชาวพุทธ
1. การเรียนรวู้ ถิ ชี วี ิตของพระสงฆ์
พระสงฆ์ คือ กลุ่มบุคคลที่มีความศรัทธาเลื่อมใสในคำสอนของพระพุทธเจ้า แล้วสละความเป็น
คฤหัสถ์ไปดำเนินชีวิตตามแบบบรรพชิตด้วยการศึกษาเรียนรู้ ฝึกหัดตนเองตามหลักคำสอนของ
พระพุทธเจ้า และเมื่อสามารถพัฒนาตนเองให้มีความรู้ความเข้าใจในหลักธรรมได้ในระดับหนึ่งแล้ว ก็นำ
หลักธรรมเหล่านั้นมาอบรมสั่งสอนประชาชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในธรรมะ และนำไปปฏิบัติในการ
ดำเนินชีวิต
2. การปฏบิ ัตติ นอย่างเหมาะสมต่อเพือ่ น
พระพุทธศาสนาให้ความสำคญั กบั การอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คม จงึ มคี ำสอนเรื่องการคบเพือ่ น
และการปฏบิ ตั ติ นในฐานะทเ่ี ป็นเพอื่ นทด่ี ี ดงั นี้



เพื่อน

ข้อท่ีพงึ ปฏบิ ตั ิต่อเพอ่ื น ข้อท่ีพงึ ปฏบิ ตั ิตอบแทนเพื่อน
เผอื่ แผแ่ บง่ ปนั ชว่ ยเหลือป้องกนั เม่ือเพื่อนประมาท
พูดจาด้วยถ้อยคำท่ีไพเราะ มีนำ้ ใจ ชว่ ยรักษาทรพั ยส์ นิ เม่ือเพื่อนประมาท
ใหค้ วามชว่ ยเหลอื เปน็ ท่ีพึ่งได้ เม่อื เพื่อนมี
เกอื้ กูล ภัย
วางตนเสมอตน้ เสมอปลาย ร่วมทกุ ขร์ ว่ มสขุ ไมล่ ะทิ้งในยามทุกข์ยาก
ซ่ือสัตย์จรงิ ใจ ใหค้ วามนับถือตลอดถงึ ญาติของเพือ่ น

นอกจากหลกั ปฏบิ ัติตอ่ กันระหว่างเพอื่ นท่ีดีดงั ท่กี ลา่ วแล้ว การคบเพ่อื นควรเรยี นรลู้ ักษณะของเพ่ือน
ท่ีเรียกว่า มิตรแท-้ มิตรเทยี ม เพอ่ื สง่ เสริมประโยชน์และป้องกนั โทษท่จี ะเกิดขึ้นจากการคบเพื่อน

๑๐

ใบงาน เร่อื งหน้าที่ชาวพุทธ

คำส่งั ให้ผู้เรยี นบอกถงึ การปฏิบัติตนท่ดี ใี นการส่งเสรมิ ศาสนา

ขอ้ ที่พึงปฏิบตั ิต่อตนเอง ข้อที่พงึ ปฏบิ ัติตอบแทนตนเอง

ข้อท่ีพึงปฏิบัติต่อครอบครัว ข้อท่ีพึงปฏิบตั ติ อบแทนครอบครัว

ข้อที่พงึ ปฏิบตั ติ ่อสงั คม ข้อท่ีพงึ ปฏบิ ัตติ อบแทนสังคม

๑๑

ใบความรู้ เรื่องศาสนพธิ ี

ศาสนพิธี คือ พิธีกรรมที่มีขึ้นเพื่อเป็นแบบแผนในการประพฤติปฏิบัติของพุทธศาสนิกชนเพื่อ
แสดงออกถึงความเชื่อทางพุทธศาสนา การประพฤติปฏิบัติศาสนพิธี ต้องทำอย่างถูกต้องเป็นระเบียบ
เกดิ ความสบายใจ ทำให้ปฏบิ ัตเิ ปน็ คนดเี ป็นแบบอยา่ งทดี่ ไี ด้
๑. ประเภทของศาสนพิธี
ศาสนพธิ ใี นทางพุทธศาสนาแบง่ ได้หลายประเภท ตามความตอ้ งการของผู้ที่จะศึกษาว่า จะศกึ ษาในแนวใด
เชน่ แบ่งเปน็ งานมงคลกับงานอวมงคลหรอื งานศาสนพิธสี ำหรบั พระสงฆ์กับงานศาสนพธิ ีของประชาชน

๑.๑ ศาสนพธิ ีในงานมงคลกบั งานอวมงคล มวี ิธีการดงั น้ี
๑.๑.๑ ศาสนพิธีในงานมงคล คือ การทำบุญเลี้ยงพระในงานมงคล เพื่อให้เกิด ความสุข

ความเจริญ เช่น ทำบุญวนั เกดิ ข้นึ บา้ นใหม่ แตง่ งาน อปุ สมบท ฉลองกิจกรรมต่าง ๆ เปน็ ตน้
๑.๑.๒ ศาสนพิธีในงานอวมงคล คือ การทำบุญที่เกี่ยวกับการตาย หรือทำในสิ่งที่คิดว่า

ร้ายให้กลายเป็นดี เช่น ทำบุญหน้าศพ ๗ วัน ๕๐ วัน ๑๐๐ วัน ทำบุญอัฐิ ทำบุญอสุนิบาต (ฟ้าผ่า)
สตั ว์ไม่เปน็ มงคลขึ้นบา้ น เปน็ ต้น

ศาสนพิธีทั้ง ๒ อย่างนี้ ตามประเพณีนิยมในพระพุทธศาสนา มีวิธีการที่จะต้องจัดเตรียมการ
หลายอย่าง ดังน้ี

(๑) การนิมนต์พระ งานมงคลจะนิมนต์พระสงฆ์มาเจริญพระพุทธมนต์ ๕ รูป ๗ รูป ๙ รูป
นอกจากงานมงคลสมรสจะนิมนต์พระมาเป็นคู่ สว่ นงานอวมงคล จะนิมนต์ พระสงฆ์มาโดยใชค้ ำว่า ขอ
อาราธนาสวดพระพุทธมนต์ นยิ มใช้พระ ๔ รปู ๘ รูป ๑๐ รปู เป็นต้น

(๒) การจัดสถานที่ ควรดูแลบริเวณที่มีงานให้สะอาดเรียบร้อย สำหรับที่พระสงฆ์ควรปูลาด
อาสนะให้สงู กวา่ ผู้เขา้ ร่วมพิธี โดยการยกให้สูงขึน้ ปเู สอื่ ปผู ้าก็ได้

(๓) การตั้งโต๊ะหมู่บูชา นิยมให้พระพุทธรูปตั้งอยู่ด้านขวาของพระสงฆ์หันพระพักตร์ออกทาง
เดยี วกบั พระสงฆ์

(๔) การจัดเครื่องสักการะบูชา มีการเชิญพระพุทธรูปมาตั้งบนโต๊ะหมู่บูชาให้เหมะสมสวยงาม
ถกู ต้องตามพิธีการ

(๕) เตรียมภาชนะสำหรับทำน้ำมนต์ จะใช้บาตรหรือหม้อน้ำมนต์หรือขันน้ำ พานรองก็ได้ แต่ไม่
ควรใช้ขันเงินหรือขันทองเพราะไม่ควรแก่การจับต้องของพระสงฆ์ ใส่น้ำสะอาดไว้พอเหมาะ มีเทียนขี้ผึ้ง
วางไว้บนฝาภาชนะและมีเครื่องปะพรมน้ำพระพุทธมนต์ ซึ่งนิยมใช้หญ้าคามามัดเป็นกำหรือจะใช้อย่างอืน่
แทนกไ็ ดแ้ ลว้ แต่เหมาะสม

(๖) การโยงด้วยสายสิญจน์ ให้โยงจากซ้ายไปขวาของสถานที่หรือวัตถุ เช่น รอบบ้าน รอบร้ัว
แลว้ โยงมาท่ีฐานพระพทุ ธรปู บนโตะ๊ บชู าตอ่ มาท่ภี าชนะสำหรบั ทำน้ำมนต์แล้ววางไวบ้ นพาน

(๗) การต้อนรับพระสงฆ์ เมื่อพระสงฆ์มาถึงก็นิมนต์ให้พักในที่ที่เหมาะสม เตรียมเครื่องรับรอง
เช่น นำ้ เย็น น้ำรอ้ น น้ำชา ตามโอกาส

(๘) การดำเนินการ เมื่อพร้อมแล้ว เจ้าภาพก็จุดเทียน จุดธูปที่โต๊ะบูชา แล้วเริ่มอาราธนาศีล
รับศีล อาราธนาพระปรติ ร พระสงฆส์ วดมนต์ จนกระทั่งทำนำ้ มนต์

(๙) การถวายภัตตาหาร เมื่อพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ ถวายภัตตาหารแก่ พระสงฆ์ เสร็จแล้ว
ถวายไทยธรรม พระสงฆอ์ นุโมทนา ผรู้ ่วมพธิ กี รวดน้ำ อุทศิ ส่วนกุศลทไ่ี ด้ทำ พระสงฆ์ปะพรมน้ำพระพุทธ
มนต์ เป็นอนั เสรจ็ พธิ ี

๑๒

๑.๒ ศาสนพิธสี ำหรับพระสงฆก์ บั พทุ ธศาสนิกชน มรี ายละเอยี ดดงั น้ี
๑.๒.๑ ศาสนพิธสี ำหรบั พระสงฆ์ หมายถึง พิธีกรรมทพ่ี ระสงฆ์จะต้องปฏบิ ัติตาม พระธรรมวินัย
เชน่ พธิ อี ุปสมบท พธิ กี ฐนิ พธิ ีในวันสำคญั ทางพทุ ธศาสนา การทำสงั ฆกรรมตา่ ง ๆ
๑.๒.๒ ศาสนพิธีสำหรับพุทธศาสนิกชน เป็นระเบียบแบบแผนที่ผู้นับถือศาสนาพุทธ จะต้อง
ปฏบิ ัตติ าม ไดม้ ีการจดั หมวดหม่ไู วด้ งั นี้

(๑) กุศลพิธี คือ พิธีที่เกี่ยวกับการบำเพ็ญกุศลในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การแสดงตนเป็นพุทธ
มามกะ การรักษาอโุ บสถศีล การเวยี นเทยี น การสวดมนต์ไหว้พระ

(๒) บุญพิธี คือ การทำบุญตามประเพณีนิยมทั้งงานมงคลและงานอวมงคล ได้แก่ การ
ทำบุญเล้ยี งพระในงานวนั เกดิ งานมงคลสมรส การทำบุญในงานศพ

(๓) ทานพิธี คือ การถวายทานแด่พระสงฆโ์ ดยท่ัว ๆ ไป ไดแ้ กก่ าร ถวายสงั ฆทาน การถวาย
สลากภัต ถวายผา้ ป่า

(๔) ปกิณกพิธี คือ พิธีทั่ว ๆ ไปท่รี วมไปถงึ รัฐพธิ ีดว้ ย เชน่ การแสดงความเคารพพระสงฆ์
วนั เฉลิมพระชนมพรรษา วันปิยมหาราช วนั ฉัตรมงคล เปน็ ต้น
๒ ประโยชนข์ องศาสนพธิ ี

๒.๑ เป็นการอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณใี ห้มสี บื ไป
๒.๒ เป็นการปลกู ฝังใหค้ นรนุ่ ใหม่ได้เข้าใจหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา
๒.๓ ทำให้เกิดความรักความสามคั คขี ึ้นในหม่คู ณะท่รี ่วมทำพิธีกนั
๒.๔ เป็นสิ่งชกั นำใหพ้ ุทธศาสนิกชน เว้นจากการทำชัว่ ทำความดมี จี ิตใจผอ่ งใส
๒.๕ แสดงถงึ ความรว่ มมือ ความเจริญทางจิตใจของคนในสังคม
๒.๖ เกิดความสขุ ใจ อม่ิ เอมใจและเปน็ แบบอยา่ งในการดำเนินชีวิตของผปู้ ระพฤตปิ ฏิบัติ
๓ คณุ ลกั ษณะของการประกอบศาสนพธิ ี
๓.๑ มีวัตถุประสงค์ที่ทำให้เกิดความสงบสุข เกิดความเรียบร้อย ในสังคมผู้ปฏิบัติเกิดความสุข
เกิดกุศล
๓.๒ มีเป้าหมาย เพื่อให้เกิดความสามัคคีในสังคม เกิดความร่วมมือร่วมใจในการที่จะให้พุทธ
ศาสนาคงอยู่และสบื ทอดต่อไป
๓.๓ มีกระบวนการที่เรียบง่าย ไมฟ่ ุ่มเฟือยยงุ่ ยากทกุ คนยอมรบั ท่ีจะปฏบิ ัติได้
๔. เครอ่ื งสักการะบูชาพระรตั นตรยั ในการประกอบศาสนพธิ ี
เครื่องบูชาพระรตั นตรัย ในการประกอบศาสนพธิ ที างพระพุทธศาสนา มี ๓ อยา่ งคอื
๔.๑ ธูป สำหรับบูชาพระพุทธเจ้า นิยมจุดบูชาครั้งละ ๓ ดอก โดยมีความหมายว่า พระพุทธเจ้า
ทรงมีพระคุณอันยิ่งใหญ่ ๓ ประการคือ มีพระปัญญาธิคุณ พระบริสุทธิคุณ พระมหากรุณาคุณ ธูปสาม
ดอกจึงบูชาแทนพระคุณทั้งหมด ลักษณะของธูปต้องมีกลิ่นหอม แต่เป็นกลิ่นหอมที่ทำให้กิเลสยุบตัวลง
จิตใจสงบไม่ฟุ้งซ่าน ธูปหมดแล้วก็ยังมีกลิ่นอบอวล เปรียบเหมือนกับ พระพุทธคุณของพระพุทธเจ้าที่ยัง
อย่ใู นจติ ใจของบคุ คลมาถงึ ทุกวนั นี้
๔.๒ เทียนสำหรบั บูชาพระธรรม จะนิยมใชจ้ ดุ ครั้งละ ๒ เล่ม โดยมีความหมายวา่ พระธรรมคำสั่ง
สอนของพระพุทธเจ้ามี ๒ ประเภท คือ พระวินัย สำหรับฝึกหัดกาย วาจา ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
และพระธรรมสำหรับอบรมจิตใจ ให้สงบระงับความชั่วทุจริตทุกประการ เทียน ๒ เล่มจะบูชาพระวินัย
๑ เล่มและพระธรรม ๑ เลม่ เทียนท่บี ชู าควรมีลักษณะเลม่ ใหญ่เหมาะกับพิธีการเพราะแสงสวา่ งจากเทียน
เป็นเสมือนพระธรรมคำส่ังสอนของพระพทุ ธองค์ ท่ีใหป้ ราศจากความ

๑๓

๔.๓ ดอกไมส้ ำหรับบูชาพระสงฆ์ มีความหมายวา่ ดอกไมน้ านาท่ีมีอยู่ตามธรรมชาติก็จะสวยงาม
ตามสภาพนั้น ๆ เมื่อนำมาจัดสรรตบแต่ง ก็จะมีระเบียบสวยงามขึ้นเปรียบได้กับ พระสงฆ์เมื่อยังเป็น
คฤหัสถ์ ก็มีกริยามารยาทตามฐานะตามตระกูล แต่เมื่อมาบวชในพุทธศาสนาแล้ว พระพุทธองค์ได้ทรง
วางพระธรรมวินัยไว้เป็นแบบแผนให้ประพฤติปฏิบัติ พระสงฆ์ทุกรูปจึงต้องประพฤติปฏิบัติอยู่ในรูปแบบ
เดียวกันจนเกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย น่าเคารพ น่าบูชา เช่นเดียวกับดอกไม้ที่จัด สรรแล้วฉันนั้น
ดอกไมท้ ่ใี ชบ้ ูชาพระสงฆ์ นยิ มใชด้ อกไม้ท่ีมีลักษณะสีสวยมกี ลิ่นหอมและกำลังสดชืน่
ตารางเปรยี บเทียบศาสนา

ช่ือศาสนา ศาสดา ฉายา คมั ภีร์ สญั ลักษณ์ ภาพตัวแทน
พระพุทธศาสนา พระพทุ ธเจา้ พระองค์ สัญลักษณ์

พระไตรปฎิ ก ธรรมจักร

ศาสนาอิสลาม นบมี ฮุ ัมมดั อลั กุรอาน พระจันทร์
ครสิ ตศ์ าสนา พระเยซู เสย้ี ว กบั ดาว

ศาสนา ไม่มีพระ - ไบเบลิ ไมก้ างเขน
พราหมณ-์ ฮนิ ดู ศาสดา
- ไตรเพท โอม
ศาสนาซกิ ข์ ครุ ุนานกั เทพ
ครนั สถาหิพ ดาบไขว้

๑๔

ใบงาน สญั ลกั ษณ์ ภาพตวั แทน
คำส่งั ให้ผเู้ รยี นบนั ทึกข้อมลู ใส่ในตารางเปรียบเทยี บศาสนา สัญลักษณ์

ชอ่ื ศาสนา ศาสดา ฉายาพระองค์ คมั ภีร์

๑๕

ใบความรู้ เรื่องหลกั ธรรม คำสอนของศาสนาช่วยสร้างคนให้เปน็ คนดี

คนดี เป็นท่ี ปรารถนา ของ ทุกคน โลก น้ี ยังขาด คนดี อยู่ มาก ยิ่งกว่า ขาดแคลน ผู้ทรงความรู้
แขนง ต่าง ๆ เสีย อีก ความ จริง โลก ไมไ่ ด้ ขาดแคลน ผู้ มคี วามรู้ หรอื ผู้ เช่ียวชาญ ในสาขา ตา่ ง ๆ มาก
นัก แต่ ที่ ขาดแคลน มาก ก็ คอื คนดี โลก จึง วนุ่ วาย ดงั ปจั จบุ นั คน จะ เป็น คนดี ได้ ก็ ต้อง มี หลัก ยึด
มั่น ประจำใจ คือ มีศาสนายิ่ง มี จิตใจ ยึดมั่น มาก เท่าไร ก็ ช่วย ให้ เป็น คน ดีมาก และ มั่นคง เท่าน้ัน
อย่าง อื่น ก็ พลอย ดี ด้วย ตรงกันข้าม ถ้า ใจไม่ดี การ กระทำ ต่าง ๆ ก็ พลอยร้าย ไป ด้วย คน มี ศาสนา
หรือ มี หลักธรรม มี คุณธรรม ในใจ เป็น คนดี แต่ ถ้า ไม่มี ก็อาจ เป็น คนดี ได้แต่ เป็น คนดี นอก จากจะ
ทำความดี ก็ต่อเม่อื มี ผู้อ่นื รู้ จะ ไม่ ทำความ ช่วั กต็ ่อเมือ่ มี คน เห็น ถา้ ไมมใี ครร้ใู ครเหน็ กอ็ าจจะทำความ
ชว่ั ไดง้ ่าย แตค่ นดีสามารถทำดีได้ทงั้ ต่อหนา้ และลบั หลังคน ท้ัง ไม่ทำความชว่ั ทง้ั ต่อหน้าและลับหลงั ทั้งนี้ ก็
เพราะหลักธรรมที่ว่า หิริ โอต ตัปปะ ละอาย และ เกรงกลัว ต่อ ความ ชั่ว “ศาสนา เป็น แรง อำนาจ
เรน้ ลับ ท่ี เหน่ยี วรั้ง จิตใจ ของ ผู้ ที่ มี ความ เชอื่ ความ ศรทั ธา ใน คำ สอน ของ ศาสดา ทกุ ศาสนา ท่ี ให้
ละ บาป บำเพญ็ บญุ ”
ลกั ษณะ ของ คนดี

การ ยึด ตาม หลักธรรม คำ สอน ของ ศาสนา เป็น ลักษณะ ของ คนดี ท่ี สังคม ตอ้ งการทั้ง การ
เป็น คนดี ใน ฐานะ บุตร ฐานะ ลูกศิษย์ และ ฐานะ ศาสนิกชนคน ที่ ได้ ชอื่ ว่า เป็น คนดี ท่ี สังคม ต้องการ
มักจะ เป็น คน มเี หตมุ ผี ล กล้าหาญ อดทนอดกล้ัน มี ความ ซอ่ื สตั ย์ สุจริต มี กิรยิ า มารยาทดี มี เสน่ห์ มี
จิตใจงาม เมตตา ตอ่ สัตว์ ทงั้ หลายรู้จกั ชว่ ยเหลอื สงเคราะห์ ผู้อื่น เคารพ ใน ความคิด และ ความ เป็น
เจ้าของ ของ ผู้อ่ืน พดู จา ในส่ิง ที่ ถกู ต้อง เปน็ ความ จริง พูดจา ไพเราะ อ่อนหวาน ก่อ ให้ เกิด ความ
สามัคคี กลมเกลียวใน หม่คู ณะ เป็นต้น

ศาสนา ทกุ ศาสนา มี หลกั ธรรม คำ สอน เป็น เคร่ือง ยดึ เหนี่ยว จิตใจ ของ ศาสนิกชน โดยทกุ
ศาสนา มี เปา้ หมายเดยี วกัน คอื “มุง่ ให้ ทุกคน มี ธรรมะ มี คณุ ธรรม และ สอนให้ คน เปน็ คนดี”
ดังนน้ั ศาสนา แตล่ ะ ศาสนา จึง มี หลกั ธรรม คำ สอน ของ ตน เอง เป็นแนว ทางใน การประพฤติ ปฏบิ ตั ิ
การพัฒนา คุณธรรม และจรยิ ธรรมในศาสนาพทุ ธ

หลกั ธรรมในทางพระพุทธศาสนา พระพุทธเจา้ ทรงแสดงวธิ ีการปฏบิ ัตทิ ีเ่ รียกวา่ “สมาธิ” คำว่า
สมาธิ แปล ว่า จิตท่สี งบ ตง้ั ม่นั อยูใ่ นเรอื่ งใดเร่ืองหนึ่ง ไมฟ่ ุ้งซ่าน หรอื การจัดระเบียบความคิดได้ เช่น
ในขณะอา่ นหนังสือจิต สงบอย่กู บั หนังสอื ทีเ่ ราอา่ นกเ็ รียกว่าจิตมสี มาธิ หรอื ในขณะทที่ ำงานจติ สงบอยู่กบั
งานทีท่ ำ กเ็ รียกว่าทำงานอยา่ ง มสี มาธิ สติ สมาธิ และปัญญามีลักษณะเกื้อกูลกนั และมีความ สัมพันธ์
อย่างใกล้ชดิ สติ คอื ความต้งั ม่ันเป็นจดุ เร่มิ แลว้ มีสมาธิ คือจิตใจ แน่วแนแ่ ละปญั ญา คือ การไตร่ตรองให้
รอบคอบ
จดุ มงุ่ หมายของสมาธิ

1. เพอ่ื ความตง้ั ม่ันแห่งสตสิ มั ปชญั ญะ
2. เพอื่ อยเู่ ปน็ สขุ ในปจั จบุ นั
3. เพือ่ ได้ฌานทัศนะ

๑๖

ประโยชนข์ องสมาธิ
1. ประโยชน์ของสมาธิในชีวิตประจำวัน เช่นทำให้จิตใจสบาย มีความสดชื่น ผ่องใสและ

กระฉบั กระเฉง ว่องไว มีความเพียร พยายาม แนว่ แนใ่ นสิ่งทก่ี ระทำ มีประสิทธิภาพในการทำงาน
2. ประโยชนข์ องสมาธิในการพัฒนาบุคลิกภาพ เชน่ ทำให้มีความแขง็ แรง หนกั แนน่ ทง้ั ทางร่างกาย

และ จติ ใจ มีสขุ ภาพจติ ดี สู่สุขภาพท่ดี ีและรกั ษาโรคบางอยา่ ง ได้
3. ประโยชน์ของสมาธิที่เป็นจุดมุ่งหมายของศาสนา เมื่อได้สมาธิขั้นสูงแล้วจะเกิดปัญญา และ

บรรลจุ ุด มงุ่ หมายของศาสนา ได้
4. จะมีเหตุผลในการตดั สนิ ปัญหาตา่ ง ๆ ได้ ถูกตอ้ งมากย่ิงข้นึ

การพฒั นาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมในศาสนา อืน่ ๆ
ศาสนาคริสต์ ศาสนาอสิ ลาม และ ศาสนาพราหมณ-์ ฮนิ ดู ศาสนา ซิกข์ ศาสนิกชนของแตล่ ะศาสนา

ที่ฝึก พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมให้เจริญยิ่ง ๆ ขึ้นนั้นล้วนมีพื้นฐาน เช่น เดียวกับพุทธศาสนิกชน คือ การ
ศรัทธาใน ศาสดา คำสอน และแนวปฏิบัติของศาสนาของตน ความมีศรัทธาตั้งมั่น มีจิตจดจ่อในศาสนาที่
นับถือ ทำให้เกิด อารมณ์มั่นที่ทำความดี ที่จะอดทน อดกลั้นต่อความทุกข์ต่าง ๆ ศาสนาคริสต์ มีการ
อธิษฐานกับพระเจ้าการ สารภาพบาป เป็นการชำระมลทินทางจิต ศาสนาอิสลาม มีการสงบจิตมั่น ทำ
ละหมาด เป็นประจำทุกวัน ๆ หลายครั้ง เป็นกิจวัตรสำคัญ และศาสนา พราหมณ์-ฮินดู นั้นมีการปฏิบัติ
สมาธิหลากหลายแนวทาง มีการวางเป้าหมาย ชีวิต เพื่อ ละ กิเลส ต่าง ๆ ศาสนาซิกข์ สอนว่า มนุษย์มี
ฐานะสูงสดุ เพราะมโี อกาสบำเพญ็ ธรรม เปน็ การฟอก วญิ ญาณ ใหส้ ะอาด
หลกั สอนที่สอดคลอ้ งของศาสนาต่าง ๆ

คำสอนของศาสนาแต่ละศาสนา สอนใหเ้ ปน็ คนดีตามแนวทางของตน แตเ่ ม่อื กลา่ วโดยรวม ๆ แล้ว
หลกั ธรรมของทกุ ศาสนามีลักษณะสอดคล้องกนั ในเรอ่ื งใหญ่ ๆ คือ
การ อยู่ รว่ มกัน อย่าง สันติ โดน เนน้ ประเดน็ เหลา่ นี้ คือ

1. สอนใหร้ จู้ ักรกั และให้อภยั กนั
2. สอนใหใ้ จกวา้ ง ยอมรับความเชอื่ ท่แี ตกตา่ งกัน
3. สอนใหเ้ ปน็ คนดตี ามหลักศาสนาของตน

๑๗

ใบความรู้ เรื่องวัฒนธรรมประเพณีในประเทศและต่างประเทศ

วัฒนธรรม หมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมน้ัน
เด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการ
เรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี
วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือ
เรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้าบริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมพื้นบา้ น
หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่า มิได้เป็นเพียงสินค้า
บรโิ ภค แตห่ มายรวมถึงกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สนิ ค้าน้ัน ๆ ด้วย ทั้งยังรวม
ไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทำใหว้ ัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ใน
สายตาของนกั มานุษยวทิ ยาจึงรวมไปถึงเทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทงั้ ระบบศีลธรรม วฒั นธรรม
ในภูมิภาคต่าง ๆ อาจได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การ
ย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกทั้งระบบความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศาสนามีบทบาทใน
วัฒนธรรมในประวตั ิศาสตร์ของมนษุ ยชาติมาโดยตลอด
ประเภทของวัฒนธรรม

วฒั นธรรม แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คอื
1. วัฒนธรรมทางวัตถุ คือ เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่มนุษย์ใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อความสุขทางกาย
อันได้แก่ ยานพาหนะ ทอ่ี ยอู่ าศยั ตลอดจนเครื่องปอ้ งกนั ตวั ใหร้ อดพน้ จากอนั ตรายทง้ั ปวง
2. วฒั นธรรมทางจิตใจ เป็นเร่อื งเก่ียวกบั เครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของมนุษย์ เพ่ือให้เกิดปัญญาและมี
จิตใจที่งดงาม อันได้แก่ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม คติธรรม ตลอดจนศิลปะ วรรณคดี และระเบียบแบบ
แผนของขนบธรรมเนียมประเพณี[1]
แนวความคิดท่ีเกี่ยวข้องกบั วฒั นธรรม
วัฒนธรรม "ฟาร์ฮาง" นับเป็นจุดรวมของอารยธรรมอิหร่าน จิตรกรรมนัก
ดนตรีสตรีชาวเปอรเ์ ซียจาก "พระราชวังสรรค์ 8 ชัน้ "
ศิลปะอยี ิปต์โบราณ
คำวา่ "วฒั นธรรม" ในภาษาไทย มาจากคำสองคำ คำวา่ "วฒั น" จาก
คำศัพท์ วฑฺฒน" ในภาษาสนั สกฤต หมายถึงความเจริญ ส่วนคำวา่ "ธรรม" มาจากคำศัพท์ "ธรมฺ " ในภาษา

สนั สกฤตหมายถึงความดี เม่อื นำสองคำมารวมกันจงึ ได้คำว่า "วฒั นธรรม"
หมายถึง ความดีอันจะก่อใหเ้ กดิ ความงอกงามที่เป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย
พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 ไดใ้ หค้ วามหมายของ
วัฒนธรรมไว้วา่ เป็น "ส่ิงท่ีทำใหเ้ จริญงอกงามแกห่ ม่คู ณะ,

วัฒนธรรมในเชงิ ของอารยธรรม
ในปัจจุบันคนจำนวนมากมีความคิดทางวัฒนธรรมที่พัฒนามาจาก

วัฒนธรรมของยุโรปช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ประมาณระหว่าง พ.ศ. 2244
– พ.ศ. 2373) ซึ่งประมาณได้ว่าตรงกับแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ถึงพระบาทสมเด็จพระพุทธ
เลิศหลา้ นภาลยั วัฒนธรรมที่พฒั นาในช่วงระหว่างนีเ้ น้นถงึ ความไม่เท่าเทียมกนั ทางสงั คมในยุโรปเองและใน
ระหว่างประเทศมหาอำนาจกับประเทศอาณานิคมทั่วโลกของตน ใช้ตัวบ่งชี้วัฒนธรรมด้วย "อารยธรรม"
แยกความเปรียบต่างของวัฒนธรรมด้วย "ธรรมชาต"ิ และใช้แนวคิดนมี้ าเปน็ ตัวชี้วัดว่าประเทศหรือชาติใดมี

๑๘

อารยธรรมมากกว่าชาติใด บุคคลใดมีวัฒนธรรมมากน้อยกว่ากัน ดังนั้น จึงมีนักทฤษฎีวัฒนธรรมบางคน
พยามยามที่แยกวัฒนธรรมมวลชน หรือวัฒนธรรมนิยมออกจากการนิยามของวัฒนธรรม นักทฤษฎี เช่น
แมททวิ อารโ์ นลด์ (พ.ศ. 2365 - พ.ศ. 2341) มองวา่ วัฒนธรรมเป็นเพียง "ความคดิ และการพูดท่ีดีที่สุดที่
ได้เกิดขึ้นมาบนโลก"อาร์โนลด์ได้แยกแยะให้เห็นความแตกต่างของวัฒนธรรมมวลชนกับความวุ่นวายใน
สังคมและอนาธิปไตย ในแนวนี้วัฒนธรรมจะเชื่อมโยงเป็นอย่างมากกับการงอกงามของวัฒนธรรม นั่นคือ
การปรุงแต่งที่ก้าวไปข้างหน้าของพฤติกรรมมนุษย์ อาร์โนลด์เน้นการใช้คำนี้อย่างคงเส้นคงวา ว่า "...
วัฒนธรรม คือ การไล่ตามหาความสมบูรณ์สดุ ยอดด้วยการเรยี นรู้ในทุกเรื่องท่ีเกีย่ วข้องกับเรา นั่นคือส่งิ ที่ดี
ท่ีสดุ ทีไ่ ด้รบั การคิดและพูดขน้ึ ในโลก"

ในทางปฏิบัติ วัฒนธรรมเกี่ยวข้องกับกิจกรรมชั้นสูง เช่นพิพิธภัณฑ์ประเทืองปัญญา ศิลปะและ
ดนตรีคลาสสิก และยังเป็นคำที่พรรณนาถึงผู้รู้และการเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมเหล่านี้ นี่คือ กิจกรรมที่
เรียกว่า "วัฒนธรรมขั้นสูง" เป็นวัฒนธรรมของสังคมกลุ่มชนชั้นกุมอำนาจ ทั้งนี้เพื่อให้เห็นถึงความแตกต่าง
กับ "วฒั นธรรมมวลชน" หรอื "วัฒนธรรมประชานยิ ม"

นับจากครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา (พ.ศ. 2344) นกั วจิ ารณ์สงั คมเรมิ่ ยอมรบั ถงึ ความแตกต่าง
ของ "วัฒนธรรมสูงสุด" และ "วัฒนธรรมต่ำสุด" ดังกล่าวมาแล้ว แต่ก็ได้ย้ำให้เห็นถึงการปรุงแต่งและความ
ละเอียดซับซ้อนว่าเป็นวัฒนธรรมที่มีการพัฒนาที่วิบัติและไม่เป็นธรรมชาติ บดบังและบิดเบือนความเป็น
ธรรมชาติแท้ของมนุษย์ และในแง่นี้ ดนตรีพื้นบ้าน (ที่แต่งโดยชนชั้นแรงงาน) แสดงออกอย่างเปิดเผยหมด
เปลือกถึงวถิ ีการดำรงชีวิตท่ีเป็นจริง และว่าดนตรคี ลาสสิกดูเป็นเปลือกผวิ เผินและกำลังถดถอยลงในแง่การ
ดำรงชีวิตจริง และก็เช่นเดียวกัน มุมมองนี้ได้พรรณาให้เห็นถึงคนพื้นเมืองในฐานะของ "คนเถื่อนใจธรรม"
(Noble savage) ที่ดำรงชีวิตอย่างไร้มลทิน ไม่ประณีตซับซ้อนและไม่วิบัตจิ ากระบบชนชัน้ นายทนุ ของโลก
ตะวนั ตก

ปัจจุบนั นกั วิทยาศาสตรส์ ังคมได้ปฏิเสธแนวคิดของ "วฒั นธรรมเชิงเอกภาค" (monadic culture)
และสังคมที่ตรงข้ามกับธรรมชาติ พวกเขายอมรับวัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัฒนธรรมชั้นสูงสุดยอดว่าดีเท่า ๆ กับ
วัฒนธรรมสุดยอด (รับว่าวัฒนธรรมที่ไม่ใช่ตะวันตกมีอารยธรรมเท่าเทียมกัน และมองว่าเป็นวัฒนธรรม
เหมือนกันแต่เป็นคนละแบบ ดังนั้น นักสังเกตการณ์วัฒนธรรมจึงแยกความแตกต่างของวัฒนธรรมขั้นสูง
ของคนชั้นสูงกับวัฒนธรรมประชานิยมวา่ หมายถึง สินค้าและกิจกรรมที่ผลิตเพื่อวัฒนธรรมและบริโภคโดย
มวลชน (เป็นที่น่าสังเกตด้วยเช่นว่าบางคนจำแนกวัฒนธรรมทั้งสูงและต่ำว่าเป็นวัฒนธรรมย่อย
(subculture)
วฒั นธรรมในมมุ มองของโลก

ในยุคโรแมนติก ผู้รอบรู้ในเยอรมัน โดยเฉพาะผู้ห่วงใยใน "ขบวนการรักชาติ" เช่น ขบวนการรัก
ชาติทพี่ ยายามก่อต้ังประเทศเยอรมนั จากรัฐตา่ ง ๆ ท่ตี ่างกม็ ีเจ้าครองนครอยูแ่ ลว้ และกลุ่มผ้รู ักชาตทิ ี่เปน็ ชน
กลุ่มน้อยที่พยายามต่อต้านจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี พวกเหล่านี้มีส่วนช่วยพัฒนาหัวเรื่องวัฒนธรรมมาสู่
"มุมมองของโลก" มากขึ้น ในกรอบแนวคิดลักษณะนี้ มุมมองโลกที่พุ่งไปสู่การจำแนกลกั ษณะของกลุ่มชาติ
พนั ธ์ุ มีความชัดเจนขนึ้ และไมใ่ ห้ความสำคญั ของขนาดกลุ่มชน แมจ้ ะเปน็ แนวคดิ ที่กวา้ งข้ึนแต่ก็ยังคงเห็นว่า
ยงั การแบ่งความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม "อารยธรรม" และ วฒั นธรรม "ดั้งเดิม" หรือ วัฒนธรรม
"ชนเผ่า" อยู่ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ประมาณ พ.ศ. 2420) นักมานุษยวิทยา ได้ยอมรับและปรับ
วัฒนธรรม ให้มีนิยามที่กว้างขึ้นให้ประยุกต์ได้กับสังคมต่าง ๆ ที่หลากหลายได้มากขึ้น เอาใจใส่ให้ความ
สนใจกับทฤษฎีของวิวฒั นาการมากขน้ึ มีการอนมุ าณวา่ มนษุ ย์ทั้งปวงววิ ฒั นาการมาเท่าเทยี มกัน และมนุษย์
ที่มีวัฒนธรรมจะต้องเป็นผลมาจากวิวัฒนาการอย่างใดอย่างหนึ่ง มีการแสดงถึงความลังเลที่จะใช้

๑๙

วิวัฒนาการทางชีววิทยามาใช้อธิบายความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมที่มีลักษณะเฉพาะที่ต่างกัน ซึ่งเป็น
แนวที่เป็นการแสดงรูปแบบหรือส่วนหนึ่งของสังคมเปรียบเทียบกับอีกสังคมโดยรวม และแสดงให้เห็น
กระบวนการครอบงำ และกระบวนการตอ่ ตา้ น

ในช่วง พ.ศ. 2494 – พ.ศ. 2503 ได้เริ่มมีการยกเอา "กลุ่มวัฒนธรรมย่อย" ที่มีลักษณะเด่น
เฉพาะที่อยู่ภายใต้วัฒนธรรมที่ใหญ่กว่ามาเป็นหัวข้อการศึกษาโดยนักสังคมวิทยา ในคริสต์ศตวรรษที่ 20
(พ.ศ. 2444 – พ.ศ. 2543) ได้เกดิ แนวคิดท่ีเรียกว่า "วัฒนธรรมบรรษัท" (corporate culture) ที่เด่นชัด
เกย่ี วกับบริบทของการจา้ งงานในองคก์ ารหรอื ในที่ทำงานขึ้น

ในมุมมองเชิงสัญลักษณ์ของวัฒนธรรม ผลงานของคลิฟฟอร์ด เกียรซ์ (พ.ศ. 2516) และวิกเตอร์
เทอร์เนอร์ (พ.ศ. 2510) ได้หยิบยกสัญลกั ษณ์วา่ เป็นท้ังการกระทำของ "นักแสดง" ในสงั คมและบริบทท่ีทำ
ให้การแสดงนั้นมีความหมาย แอนโทนี พี โคเฮน (พ.ศ. 2528) เขยี นถึง "เคลอื บเงาสัญลักษณ์ (Symbolic
gloss) ว่าเปน็ ตวั ช่วยให้ผู้แสดงทางสงั คมสามารถใช้สญั ลักษณ์ท่ัว ๆ ไปสือ่ และทำความเข้าใจระหว่างกันใน
ขณะทยี่ งั คงรกั ษาสัญลกั ษณเ์ หลา่ นัน้ ให้คงอยู่กับความสำคญั และความหมายสว่ นบุคคลไว้ได้ สญั ลักษณ์ช่วย
จำกัดขอบเขตความคิดทางวัฒนธรรม สมาชิกของวัฒนธรรมต้องพึ่งพิงสัญลักษณ์เมื่อจะต้องวางกรอบ
ความคิดและการแสดงออกทางปญั ญาของตน

โดยสรุป สัญลักษณ์ทำให้วัฒนธรรมมีความเป็นไปได้ แพร่หลาย และอ่านได้ง่าย สัญลักษณ์เป็น
"สายใยแห่งความมีนัย" (webs of significance) " เป็นตัวทำให้ "ความเป็นปกติ ความเป็นอันหนึ่งอัน
เดียวกัน และความเป็นระบบ" เกิดขึ้นในกลุ่ม ดังตัวอย่างของ วลีที่ใช้มากจนเบื่อหู (Stock phrase หรือ
Cliché) ข้างลา่ งนี้

"หยุดเดี๋ยวนี้ ในนามของกฎหมาย!" - คำพูดที่มาจากบทที่นายอำเภอหรือผู้รักษากฎหมายใช้ใน
ภาพยนตร์คาวบอยอเมริกัน
กฎหมายและความเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย – อเมริกัน
สันตภิ าพและความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย – ฟลิ ิปปนิ ส์
ประชาชนตอ้ งมาก่อน - ไทย

วัฒนธรรมในเชิงของกลไกสรา้ งเสถียรภาพ
ทฤษฎีวัฒนธรรมใหม่พจิ ารณาถึงความเป็นไปได้ที่ว่าตัววัฒนธรรมเองเป็นผลิตผลของแนวโน้มของ

เสถียรภาพที่ตกทอดมาจากแรงกดดันของวิวัฒนาการที่มผี ลไปถึงความคล้ายของตนเองและยอมรับตนเอง
ในสังคมโดยรวม ท่ีเรยี กว่า "เผ่าชนนิยม" (Tribalism)

วฒั นธรรมและววิ ัฒนาการทางจติ วทิ ยา
นักวิจัยด้าน "จิตวิทยาเชงิ วิวัฒนาการ" โต้เถียงกันว่า จิต คือหน่วยสะสางระบบของการรับรูข้ ้อมลู

ทางประสาทที่เกิดจากการคัดเลือกทางพันธุกรรมเพื่อปรับใช้ในการแก้ปัญหาของบรรพบุรุษนานมาแล้ว
นักจิตวิทยาเชิงวิวัฒนาการมีความเห็นว่า ความหลากหลายของรูปแบบที่วัฒนธรรมของมนุษย์รับไว้น้ันถูก
กดี ขวางไว้ดว้ ยกลไกของกระบวนการประมวลข้อมลู ที่ฝงั อยู่ในพฤตกิ รรมของเรา[17] ซ่ึงรวมถึง

หน่วยมาตรฐานแหง่ การรับภาษา
กลไกในการหลีกเล่ียงการสมสกู่ บั ญาตสิ นทิ
กลไกในการตรวจจบั กลโกง
ความพึงใจในการเลือกคกู่ บั ความมเี ชาว์ปญั ญา
กลไกในการเท่ยี วค้นหา

๒๐

กลไกในการหาพวก
กลไกในการตรวจหาตวั แทน
ความกลัวและกลไกในการปกป้อง (กลไกในการเอาชวี ิตรอด)
กลไกเหล่านี้ได้รับการวางให้เป็นทฤษฎีเพื่อใช้เป็นพื้นฐานทางจิตวิทยาของวัฒนธรรม เพื่อความ
เข้าใจคำว่าวัฒนธรรมอย่างลกึ ซึ้ง เราจะต้องมีความเข้าใจในเงอ่ื นไขทางชวี วิทยาของความเป็นไปไดเ้ สยี กอ่ น
วัฒนธรรมภายในสังคม
สังคมขนาดใหญ่มักมี วัฒนธรรมย่อย หรือกลุ่มของคนที่มีพฤติกรรมและความเชื่อที่แปลกไปจาก
สังคมใหญ่โดยรวมของตน วัฒนธรรมย่อยอาจเด่นจากอายุของสมาชิกกลุ่มหรือโดยเช้ือชาติ ชาติพันธุ์ ช้ัน
ทางสังคมหรือเพศ คุณลักษณะที่เป็นตัวบ่งบอกลักษณะของกลุ่มวัฒนธรรมย่อยอาจเป็น สุนทรียภาพ
ศาสนา อาชีพ การเมือง เพศ หรือความสำคัญขององคป์ ระกอบเหลา่ น้ี
แนวทางทใ่ี ช้ปฏิบัติกับกลมุ่ ตา่ งด้าวและวัฒนธรรมของพวกเขามี 4 ทาง ได้แก่
เอกวัฒนธรรมนิยม (Monoculturalism) : ในประเทศยุโรปบางประเทศ วัฒนธรรมมีความ
ผูกพันอย่างแนบแน่นกับลัทธิชาตินิยม ดังนั้นนโยบายของรัฐบาลจึงใช้วิธีดูดกลืนคนต่างดา้ ว แต่การเพิ่มขนึ้
ของการย้ายถิน่ ฐานในช่วงไม่นานมาน้ี ทำให้หลายประเทศเริ่มหนั ไปใช้แนวทาง "อเนกวฒั นธรรมนิยม" บ้าง
แล้ว
วัฒนธรรมแกนกลาง (Leitkultur หรือ core culture) : เป็นแบบจำลองทีพ่ ัฒนาขึ้นในประเทศ
เยอรมันเมื่อเร็ว ๆ นี้ โดยบาสซาม ไทไบ แนวคิดนี้ก็คือชนกลุ่มน้อยสามารถมีเอกลักษณ์ของตนเองได้ แต่
อย่างน้อยต้องสนับสนุนแนวคดิ ท่ีเป็นแกนกลางของวัฒนธรรมที่กล่มุ ตนรว่ มเปน็ สว่ นอยู่
หม้อหลอมละลาย (Melting Pot) : ในสหรัฐฯ มุมมองที่ถือปฏิบัติกันได้แก่การเป็นหม้อหลอม
ละลาย เป็นที่ซึ่งวัฒนธรรมของต่างด้าวที่ย้ายถิ่นเข้ามาอยู่หลอมรวมและผสมผสานกันโดยรัฐไม่ต้องเข้าไป
ยงุ่ เกยี่ วดว้ ย
อเนกวัฒนธรรมนิยม (Multiculturalism) : ได้แก่นโยบายที่คนต่างด้าวท่ีย้ายถิ่นเข้ามาใหม่ พึง
สงวนรกั ษาวฒั นธรรมดัง้ เดมิ ของตนไว้รว่ มกนั วัฒนธรรมอืน่ และมปี ฏสิ ัมพันธ์กันอย่างสันติ
วิธีการที่รัฐดำเนินการกับวัฒนธรรมของกลุ่มต่างด้าวผู้ย้ายถิ่นมักไม่ตกอยู่ในแนวทางปฏิบัติอันใด
อันหนึ่งดังกล่าวข้างต้น ระดับความแตกต่างของวัฒนธรรมย่อยกับวัฒนธรรมเจ้าถิ่น จำนวนผู้ย้ายถิ่นเข้า
ทัศนคติของประชากรที่มีอยู่เดิม ประเภทของนโยบายของรัฐที่ใช้และผลสัมฤทธิ์ของนโยบายเหล่านี้
ประกอบกันทำให้ยากที่จะได้ผลลัพธ์ที่เป็นแบบทั่วไปได้ เช่นเดียวกันกับวัฒนธรรมย่อยอื่น ๆ ภายในสังคม
ทศั นคตทิ ี่เป็นกระแสรวมของประชากรและการสอื่ ความระหวา่ งกลมุ่ วฒั นธรรมตา่ ง ๆ ดว้ ยกันล้วนมีอิทธพิ ล
มากในผลลัพธท์ ี่ได้ออกมา การศกึ ษาวัฒนธรรมต่าง ๆ ในสงั คมหนึง่ เป็นเร่ืองซับซ้อนซง่ึ การการวิจัยท่ีขึ้นอยู่
กบั ตัวแปรท่มี ากมายหลายหลาก

วฒั นธรรมโดยภมู ิภาค
วัฒนธรรมภูมิภาคจำนวนมากได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม

การค้าขาย การย้ายถนิ่ ฐาน การสอ่ื สารมวลชนและศาสนา
แอฟริกา

แม้จะมีต้นตอที่แตกต่างกัน วัฒนธรรมแอฟริกา โดยเฉพาะวัฒนธรรมแถบใต้สะฮาราซึ่งได้รับการ
ก่อรูปโดยการตกเป็นอาณานิคมของยุโรป และโดยเฉพาะแอฟริกาเหนือที่ถูกก่อรูปโดยวัฒนธรรมอาหรับ
และอสิ ลาม

๒๑

ผู้ชายชาวโฮปีคนหน่ึงกำลงั ทอผา้ ด้วยเครื่องทอพ้ืนเมืองใน

วัฒนธรรมของอเมรกิ าได้รบั อิทธิพลอย่างสงู จากชนพน้ื เมืองท่ีอาศยั ในผนื ทวีปน้นั มานานก่อนที่ชาว
ยุโรปย้ายถิ่นเขา้ มาอยู่ ผู้มาจากแอฟริกา (โดยเฉพาะสหรัฐฯ ที่ประชากรชาวแอฟริกนั -อเมรกิ ัน) และจากผู้
อพยพชาวยุโรปต่าง ๆ โดยเฉพาะชาวสเปน ชาวอังกฤษ ชาวฝรั่งเศส ชาวโปรตุเกส ชาวเยอรมัน ชาว
ไอรแ์ ลนด์ ชาวอติ าลีและชาวฮอลแลนด์
เอเชีย

แมว้ ่าความหลากหลายทางวัฒนธรรมของกลุ่มประเทศเอเซียจะสูงมากก็ตาม แตก่ ย็ งั มีอิทธิพลของ
การเปลี่ยนถ่ายวัฒนธรรมให้เห็นไม่น้อย แม้เกาหลี ญี่ปุ่นและเวียดนามไม่ใช้ภาษาจีนในการพูด แต่ภาษา
ของประเทศเหล่าน้ีก็มีอิทธพิ ลของจนี ทั้งการพูดและการเขียน ดังนั้น ในเอเซียตะวันออก อักษรจีนจึงได้รบั
การยอมรับว่าเป็นตัวกลางของอิทธิพล ด้านศาสนา โดยเฉพาะศาสนาพุทธและลัทธิเต๋า มีผลกระทบสูงต่อ
วฒั นธรรมประเพณขี องประเทศกลุ่มเอเซียตะวันออก รวมทัง้ การมีลทั ธขิ งจ๊ือผสมปนอยูใ่ นปรชั ญาทางสังคม
และศลี ธรรมของประเทศเหลา่ นี้

ศาสนาฮินดู และ อิสลาม ส่งอิทธิพลทางวัฒนธรรมต่อประชากรในเอเซียใตม้ านานนับหลายร้อยปี
เชน่ เดียวกนั ท่ีศาสนาพุทธแพร่กระจายเปน็ อย่างมากในเอเซียตะวนั ออกเฉียงใต้

แปซฟิ ิก
เกือบทุกประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิกได้รับอิทธิพลอย่างต่อเนือ่ งจากวัฒนธรรมของชนพื้นถิ่นเดิม

แมจ้ ะได้รบั ผลกระทบจากอทิ ธิพลของวฒั นธรรมยโุ รปบา้ ง โดยเฉพาะฟลิ ปิ ปินส์ และเกอื บทุกประเทศในหมู่
เกาะโปลินีเซียนับถือศาสนาคริสต์ ประเทศอื่น ๆ เช่นออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ถูกครอบงำโดยผู้อพยพท่ี
เป็นชนผิวขาวและลูกหลานของพวกชนเหล่านี้ แต่ถึงกระนั้นวัฒนธรรมพื้นถิ่นออสเตรเลียและวัฒนธรรม
เมารใี นนิวซีแลนด์กย็ งั ปรากฏใหเ้ หน็ ชัดเจน
ยโุ รป

วัฒนธรรมยุโรปก็เช่นกันที่ได้ส่งอิทธิพลอย่างกว้างขวางออกไปใกลจากผืนทวีปจากการล่า อาณา
นิคม ในความหมายอย่างกว้างมักเรียกว่าเป็น "วัฒนธรรมตะวันตก" อิทธิพลดังกล่าวนี้เห็นได้ชัดจากการ
แพร่หลายของภาษาอังกฤษ และภาษายุโรปบางภาษาแม้ไม่มากเท่า อิทธิพลทางวัฒนธรรมสำคัญที่มีต่อ
ยุโรปได้แก่วฒั นธรรมกรีกโบราณ โรมันโบราณและศาสนาคริสต์ แมอ้ ทิ พิ ลทางศาสนาจะจางลงในยุโรปบ้าง
แล้วกต็ ามแต่

๒๒

ตะวนั ออกกลางและแอฟริกาเหนือ
โดยทั่วไป ประเทศกลุ่มตะวันออกกลางมีวัฒนธรรมสำคัญที่เด่นชัดอยู่ 3 ได้แก่วัฒนธรรมอารบิก

วัฒนธรรมเปอร์เซียและวัฒนธรรมตุรกีซึ่งต่างก็มอี ิทธิพลต่อกันและกันในระดบั ต่างมาตลอดชว่ งเวลาต่าง ๆ
ทีผ่ า่ นมา ภมู ิภาคทั้งหมดเป็นมุสลมิ แตก่ ม็ คี ริสเตียนและศาสนาของชนกลุ่มน้อยบางศาสนาแทรกอยู่บ้าง

วัฒนธรรมอารบิกได้รับอิทธิพลที่ลึกมากจากวัฒนธรรมเปอร์เซียและตุรกีผ่านทางศาสนาอิสลาม
ระบบการเขียน ศิลปะ สถาปัตยกรรม วรรณคดีและอื่น ๆ ระยะทางที่ใกล้ของอิหรา่ นสง่ อิทธพิ ลต่อภูมภิ าค
ที่อยู่ใกล้ เช่นอิรักและตุรกี การสืบย้อนทางภาษาพบได้ในสำเนียงอาหรับในภาษาอิรักและภาษาคูเวต
รวมท้งั ในภาษาตรุ กี การครอบครองตะวนั ออกกลางทนี่ านถึง 500 ปีของพวกอ๊อตโตมานมอี ิทธิพลท่ีรุนแรง
มากต่อวัฒนธรรมอาหรับ ซึ่งอาจแผ่ไปไกลถึงอัลจีเรียและจะพบอิทธิพลระดับสูงที่อียิปต์ อิรักและลิแวนต์
(Levant) ในแถบตะวนั ตกของทะเลเมดิเตอร์เรเนยี น
ระบบความเชอ่ื

ศาสนาและระบบความเชื่ออื่น ๆ มักรวมเป็นส่วนที่แยกไม่ได้กับวัฒนธรรม Religion ใน
ภาษาอังกฤษนั้นมาจากภาษาละติน religare มีความหมายว่า "to bind fast" หรือ "การผูกมัดท่ีแน่นหนา"
ศาสนามีบทบาทในวฒั นธรรมในประวตั ิศาสตรข์ องมนุษยชาติมาโดยตลอด[18]

ศาสนามักกำหนดกฎระเบยี บปฏิบัติ เช่น "บัญญัติ 10 ประการ" ในศาสนาครสิ ต์ หรือ "ศีลห้า" ใน
พระพุทธศาสนา ในบางครั้งก็เกี่ยวพันกับรัฐบาล เช่นในระบอบ "เทวาธิปไตย" (theocracy) รัฐที่ปกครอง
โดยใชห้ ลักศาสนา นอกจากน้ีศาสนายังมอี ิทธิพลอยา่ งมากต่อศลิ ปะ

ประเพณีศูนย์ยุโรป ในบางกรณี ประเพณีศูนย์ยุโรป (Eurocentric) มีผลต่อการแบ่งภูมิภาคเป็น
ตะวันตกและไม่ใช่ตะวันตก ซึ่งมีข้อเสียอยู่เช่นกัน วัฒนธรรมตะวันตก แผ่กระจายจากยุโรปไปถึง
ออสเตรเลยี แคนาดาและสหรฐั ฯ คอ่ นข้างเขม้ ขน้ วฒั นธรรมตะวนั ตกได้รับอิทธิพลอย่างสงู จากกรีกโบราณ
โรมโบราณและศาสนาครสิ เตยี น

วัฒนธรรมตะวันตกมีแนวโน้มที่จะเป็นปัจเจกมากกว่าวัฒนธรรมที่ไม่ใช่ตะวันตก วัฒนธรรมมอง
มนุษย์ พระเจ้าและธรรมชาติหรือจักรวาลแยกส่วนมากกว่าวัฒนธรรมที่ไม่ใช่ตะวันตก วัฒนธรรมตะวันตก
บ่งชีด้ ้วยความมงั่ คัง่ ทางเศรษฐกจิ การร้หู นังสอื และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
กล่มุ ศาสนาแอบราฮัม (Abrahamic religions)

ลัทธยิ ูดา นบั ไดว้ ่าเป็นศาสนาแรกในกลมุ่ เป็นลัทธิเทวนิยมทเ่ี ช่อื ในพระเจา้ องคเ์ ดยี ว เป็นศาสนาท่ี
เกา่ แก่ทสี่ ุดและยังอยู่ย่ังยืนถึงปัจจุบัน[19] คณุ ค่าและประวัติศาสตรข์ องชาวยวิ นับเปน็ สว่ นหลักสำคัญท่ี เป็น
รากฐานของกลุ่มศาสนาแอบราฮัมอื่น เช่นคริสต์ศาสนา ศาสนาอิสลาม รวมทั้งศาสนาบาไฮ อย่างไรก็ดี แม้
จะมีรากฐานร่วมจากแอบราฮัมด้วยกันมาแต่โบราณ แต่แต่ละศาสนาก็มีความแตกต่างกันทางศิลปะที่
ชัดเจน (ทั้งทัศนศิลป์และนาฏศิลป์) ซ่ึงความแตกต่างนีเ้ น่ืองมากจากอิทธพิ ลภูมิภาคท่มี ีอยู่ก่อนโดยมีศาสนา
เขา้ มาในภายหลังและกลายเปน็ ศาสนาที่เป็นตัวแสดงลกั ษณะเดน่ ทางวฒั นธรรมในเวลาต่อมา

ศาสนาคริสต์กลายเป็นอิทธิพลแปลงโฉมทีส่ ำคัญของยโุ รปและโลกใหม่ อย่างน้อยก็เป็นเวลานับได้
ในช่วง 500 ถงึ 1700 ปี มาแลว้ แนวคิดทางปรชั ญาสมยั ใหม่ส่วนใหญไ่ ดอ้ ิทธพิ ลจากนักปรชั ญาคริสเตียน
เช่น เซนต์โทมสั อาควีนสั และ อีราสมุส มหาวิหารครสิ เตยี นได้รับการยกย่องว่าเป็นสถาปัตยกรรมที่สำคัญ
เชน่ เดยี วกับโบสถ์โนเตรอะดามในปารีส เวลส์แคทรดี รัล และโบสถ์มหานครในเมกซโิ กซติ ี

อิทธิพลอิสลามเป็นอิทธิพลที่ครอบงำภาคเหนือของแอฟริกา ภูมิภาคตะวันออกกลางและ
ตะวันออกกลางเป็นเวลานานเกือบ 1,500 ปี บางครั้งมีการผสมผสานกับศาสนาอื่นบ้าง อิทธิพลอิสลาม
อาจเห็นได้จากปรชั ญาต่าง ๆ ท่ีหลากหลาย เช่น อิบันบาจจาห์ (Ibn Bajjah) อบิ ันตเู ฟล (Ibn Tufail) อิบัน

๒๓

คาห์ดุน (Ibn Khaldun) และ อะเวอร์โรส (Averroes) นอกจากนี้ยังมี เรื่องร้อยกรองและวรรณคดี เช่น เฮ
วี อิบันยักดานห์ (Hayy ibn Yaqdhan) เดอะแมดแมนออฟเลย์ลา (The Madman of Layla) เดอะคอน
เฟอเรนซ์ออฟเดอะเบิร์ด (The Conference of the Birds) และเดอะมาสวานิ (Masnavi) ในศิลปะและ
สถาปัตยกรรมก็มีอิทธิพลอิสลามที่สำคัญเช่น สุเหร่าอูเมย์ยาด (Umayyad Mosque) โดมทองแห่งเยรุซา
เล็ม (Dome of the Rock) สเุ หร่าไฟซาล ฮาไกโซเฟยี (ซึง่ เคยเปน็ ท้ังโบสถแ์ ละสุเหรา่ ) พร้อมทง้ั ส่ิงก่อสร้าง
แบบสถาปัตยกรรมสไตล์อาหรับ (Arabesque) อนื่ ๆ

ศาสนายูดาและศาสนาบาไฮ ปกติเป็นศาสนากลุ่มน้อยอยู่ในชาติต่าง ๆ แต่ก็ยังมีส่วนที่เด่นชัดใน
วัฒนธรรมรวมและศาสนารวมของชาตินั้น ๆ บุคคลสำคัญที่นับถือศาสนายูดาซึ่งเป็นที่รู้จักได้แก่ อัลเบิร์ต
ไอน์สไตน์ และเฮนรี คิสซิงเจอร์ นักดนตรี นักแสดง เช่น พอลลา อับดุล แซมมี เดวิส จูเนียร์และบ็อบ ดี
แลน สำหรบั ศาสนาบาไฮทเ่ี ด่นคือโบสถ์บาไฮทส่ี วยงาม นกั ดนตรีเช่น ดิสซีกลิ ลสิ ปี และนกั คิดเชน่ อาเลน ลี
รอย ล็อก เฟรเดรกิ เมเยอรแ์ ละริชาร์ด เซนต์บาร์บ เบเกอร์ เป็นตน้

มานุษยวิทยาสายหลักมีมุมมองทางวัฒนธรรมว่าประชาชนจะมีความรู้สึกต่อต้านเมื่อถูกบอกว่ามี
สัตวแ์ ละวญิ ญาณฝงั อยู่ในธรรมชาตขิ องมนษุ ย์
ศาสนาตะวันออกและปรชั ญา

แอกน,ี ฮนิ ดู เทพแห่งเพลิง
ปรัชญาและศาสนามักจะกลมกลืนผูกพันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในแนวคิดตะวันออก ประเพณี
ศาสนาและปรัชญาตะวันออกหลายกลุ่มมีต้นตอมาจากอินเดียและจีนและแผ่ขยายไปทั่วเอเซียจาก การ
แพร่กระจายทางวัฒนธรรม (cultural diffusion) และการย้ายถิ่นของประชากร ศาสนาฮินดูเป็นบ่อเกิด
ของพระพุทธศาสนา นิกายมหายานซึ่งแพร่กระจายขึ้นเหนือและตะวันออกจากอินเดียสู่ธิเบต จีน
มองโกเลยี ญีป่ ุน่ และเกาหลี อ้อมลงใตจ้ ากจนี สู่เวียดนาม พุทธศาสนานิกายเถรวาทแพร่กระจายจากอินเดีย
สเู่ อเซยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ตั้งแต่ศรีลังกา บางส่วนทางภาคใต้ของจีน กมั พชู า ลาว พมา่ และไทย
ปรัชญาอินเดียรวมถึงปรัชญาฮินดู มีองค์ประกอบที่ไม่แสวงหาวัตถุ ในขณะที่อีกแนวคิดหนึ่งจาก
อินเดยี คอื (Carvaka?) สอนใหแ้ สวงหาความสุขจากโลกวัตถุ ทัง้ ลทั ธิขงจ๊ือและลัทธิเต๋าซงึ่ มีบ่อเกิดในจีนได้
มีอิทธิพลฝังลึกทั้งในศาสนาและแนวคิดทางปรัชญารวมทั้งในหลักการปกครองบ้านเมืองและศิลปะไปท่ัว
เอเซีย
ในช่วงระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 20 (พ.ศ. 2444 – พ.ศ. 2543) สองประเทศที่มีประชากรมาก
ที่สดุ ในเอเซยี ที่มคี วามแตกตา่ งในแนวคดิ ทางปรัชญาการเมืองได้เกดิ เปน็ รูปเป็นรา่ งขนึ้ คานธีให้ความหมาย
ใหม่กับคำว่า "อหิงสา" ซง่ึ เป็นความเชื่อหลักของท้ังศาสนาฮินดู และศาสนาเชน และไดป้ รบั ความหมายใหม่
มาเป็นแนวคิด "ความไม่รุนแรง" (nonviolence) และการไม่ต่อต้าน (nonresistance) ซึ่งกว้างไกลออกไป
จากวงกรอบลอ้ มของอนิ เดีย ในระยะเดยี วกัน ปรัชญาคอมมวิ นสิ ต์ของเมาเซตุงได้กลายเปน็ ระบบความเช่ือ
นอกศาสนาทมี่ ีอำนาจมาก
ศาสนาพนื้ บ้าน
ศาสนาพื้นบ้านที่นับถือโดยชนเผ่าต่าง ๆ มีอยู่ทั่วไปในเอเซีย แอฟริกาและอเมริกา อิทธิพลของ
ศาสนาเหลา่ นี้มีมากพอควร ซึ่งมีท้ังเผยแพร่ฝังอยู่ในวัฒนธรรมและในบางกรณีกลายเป็นศาสนาประจำชาติ
เช่นศาสนาชินโต เช่นเดียวกับศาสนาหลักต่าง ๆ ศาสนาพื้นบ้านสามารถตอบสนองความต้องการการ
ปกป้องคุ้มครองยามมีภัย ช่วยรักษาความเจ็บป่วย ล้างความอับโชคและช่วยทำพิธีต่าง ๆ รวมทั้งการเป็น
ช่องการเกดิ และตายของมนษุ ย์

๒๔

ความฝันอเมริกัน
"ความฝันอเมริกัน" (The "American Dream") เป็นความเชือ่ ของชาวอเมริกนั จำนวนมาก ว่าด้วย

การทำงานหนัก กล้าหาญและมีความมุ่งมั่น โดยไม่คำนึงถึงชั้นสังคม บุคคลสามารถบรรลุสู่ชีวิตที่ดีกว่าได้
เสมอ[21] ความคิดนี้มีรากมาจากความเชื่อที่ว่าสหรัฐอเมริกาคือ "เมืองบนเนินเขา เป็นแสงที่ก่อให้เกิด
ประเทศ" ซึ่งเป็นคุณค่าที่ยึดถือโดยชาวยุโรปผู้อพยพมาตั้งถิ่นฐานในยุคแรก ๆ และได้ยึดถือคุณค่านี้สืบมา
หลายชว่ั คน[22]

แนวคิดนี้สะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมอื่นด้วย เช่นกรณีของ "ความฝันออสเตรเลียอันยิ่งใหญ่" แม้จะ
สะทอ้ นไปทาง "การเปน็ เจ้าของบา้ น" มากกวา่
การแต่งงาน

โบสถ์ครสิ เตียนเกือบท้ังหมดมักใช้เปน็ ท่ปี ระกอบพธิ ีแต่งงาน ซง่ึ ปกติสว่ นหน่งึ ของพิธีมักรวมถึงการ
ปวารณาที่จะสนับสนุนโบสถ์ ในการแต่งงาน ชาวคริสเตียนจะมีความสัมพันธ์คู่ขนานไปกับพระเยซูและ
โบสถ์ของตน ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลกิ มีความเชือ่ ว่าการหย่าร้างผิดศีลธรรม และคู่หย่าร้างไม่อาจ
แตง่ งานใหม่ในโบสถ์ได้ หากไม่ทำพิธีล้างบาปอย่างเป็นทางการก่อน
วัฒนธรรมศึกษา

วัฒนธรรมศึกษา เกิดขึน้ ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณ พ.ศ. 2510 เป็นต้นมา) เปน็
สว่ นหนึ่งของการนำแนวคิดลัทธิมากซ์มาบรรจุในวิชาสังคมวิทยาอีกคร้ังหน่ึง และส่วนหนึ่งก็เป็นเสียงให้กับ
สังคมวิทยาและสาขาวิชาอื่น เช่นวรรณคดีวิจารณ์ ขบวนการนี้มุ่งประเด็นไปเน้นที่การวิเคราะห์กลุ่ม
วัฒนธรรมย่อยในสังคมทุนนิยม ตามประเพณีที่ไม่นับเป็นมานุษยวิทยา วัฒนธรรมศึกษาโดยทั่วไปจะเน้น
การศกึ ษาสินค้าเพ่ือการบรโิ ภค (เช่นแฟชนั ศิลปะและวรรณคด)ี เนื่องจากความเด่นชัดระหว่าง "วฒั นธรรม
สูง" และ "วัฒนธรรมต่ำ" ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 (พ.ศ. 2343-พ.ศ. 2443) ดูเหมือนจะ
เหมาะเพียงสำหรับการประยุกต์กับสินค้าที่ใช้วิธีการผลิตเป็นจำนวนมากและจำหน่ายในตลาดเป็นจำนวน
มากทีว่ ฒั นธรรมศึกษาไดว้ เิ คราะหไ์ ว้ ซึ่งนักวชิ าการเอย่ ถงึ ในช่อื วา่ "วัฒนธรรมนิยม"

ปัจจุบัน นักมานุษยวิทยาบางคนได้เข้ามาร่วมงานด้านวัฒนธรรมศึกษามากขึ้น เกือบทั้งหมดไม่
ยอมรับการบ่งชี้ถึงวัฒนธรรมคู่กับสนิ คา้ บริโภค ยิ่งไปกว่านั้น หลายคนยังต่อต้านความคิดของวัฒนธรรมว่า
เป็นการผูกมัด มีผลให้ไม่ยอมรับแนวคิดของกลุ่มวัฒนธรรมไปด้วย พวกเขามองวัฒนธรรมเป็นสายใยที่
ซับซ้อนของรูปแบบที่กำลังเชื่อมโยงกับประชาชนในท้องถิ่นต่าง ๆ และเชื่อมกับการก่อรูปของสังคมใน
ขนาดทีต่ า่ งกนั ดว้ ย ตามมมุ มองดังกล่าวกลุม่ ใด ๆ ก็สามารถสรา้ งเอกลกั ษณ์ทางวฒั นธรรมของตนไดเ้ อง

เมื่อเร็ว ๆ นี้มีการโต้เถียงเกี่ยวกับวัฒนธรรมว่าจะสามารถเปลี่ยนพื้นฐาน "การเรียนรู้ของมนุษย์"
ได้หรอื ไม่ ซ่งึ นักวิจัยทัง้ หลายก็ยังมคี วามเหน็ แตกตา่ งกนั อยู่
การเปล่ียนแปลงของวัฒนธรรม

ภาพพิมพ์ลายแกะสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 (พ.ศ. 2344 – 2443) แสดงภาพชนพื้นเมือง
ออสเตรเลียตอ่ ตา้ นการมาถงึ ของกัปตนั เจมส์ คกุ เมอื่ พ.ศ. 2313

๒๕

แนวโน้มในการเปล่ียนแปลงวัฒนธรรม ไม่วา่ ในทางยอมรับหรือต่อต้าน ยอ่ มขึน้ อยู่กับรากฐานของ
วัฒนธรรมในสังคมนั้น ตัวอย่างเชน่ ความเปน็ ชายและหญงิ ทีต่ ่างมบี ทบาทอยใู่ นหลายวัฒนธรรม เพศใดเพศ
หนึง่ อาจต้องการให้มกี ารเปลีย่ นแปลงซงึ่ กระทบตอ่ อีกเพศหน่งึ ดงั เชน่ ท่เี กิดข้นึ ในวฒั นธรรมตะวันตกในช่วง
ครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 (พ.ศ. 2493 -2443) ซึ่งทำให้เกิดแรงผลักดันชักจูงทั้งสองทาง คือการ
กระตนุ้ ให้ยอมรับสงิ่ ใหม่ และการอนรุ ักษ์ที่ต่อตา้ นการเปลีย่ นแปลงนั้น

อิทธพิ ลท้ัง 3 ประการตอ่ ไปนส้ี ามารถทำใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงและการต่อต้าน
1. แรงผลักดันในท่ีทำงาน
2. การตดิ ตอ่ กันระหว่างกล่มุ สงั คม
3. การเปลีย่ นแปลงสง่ิ แวดลอ้ มธรรมชาติ

การเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมอาจเกิดมาจากสิ่งแวดล้อม การค้นพบ (และอิทธิพลภายในอื่น ๆ)
และการติดต่อสัมพันธ์กับวัฒนธรรมอื่น ตัวอย่างเช่น ยุคน้ำแข็งครั้งหลังสุดช่วยนำไปสู่การค้นพบการทำ
เกษตรกรรม และตัวเกษตรกรรมเองก็เป็นตวั ก่อให้เกิดนวัตกรรมมากมายทางเกษตรกรรม ซึ่งนวัตกรรมนี้ก็
ไดน้ ำไปส่นู วตั กรรมอนื่ ๆ ทางวฒั นธรรม

การแพร่กระจายนี้ ทำใหเ้ กดิ รูปแบบบางอย่างที่เคล่ือนตวั จากวัฒนธรรมหนง่ึ ไปสอู่ ีกวัฒนธรรมหนึ่ง
ตัวอย่างแฮมเบอร์เกอร์ ที่มีอยู่ทั่วไปในอเมริกาแต่อาจเป็นสิ่งแปลกใหม่เมื่อเริ่มกิจการในประเทศจีน "การ
แพร่กระจายแบบกระตุ้น" (Stimulus diffusion) หมายถึงองค์ประกอบของวัฒนธรรมหนึ่งที่นำไปสู่การ
ค้นพบในอีกวัฒนธรรมหนึ่ง ทฤษฎีการแพร่นวัตกรรมนี้แสดงให้เห็นถึงแบบจำลองที่ใช้พื้นฐานการวิจัยเมื่อ
บคุ คลหรือวัฒนธรรมยอมรับความคิดใหม่ ๆ วิธปี ฏิบัตใิ หม่ ๆ และผลิตภัณฑใ์ หม่ ๆ

การรับวัฒนธรรมอื่น (Acculturation) มีความหมายต่างกันหลายประการ แต่ในบริบทนี้หมายถึง
การเปลี่ยนแทนลักษณะรากฐานจากวัฒนธรรมหนึ่งไปสู่อีกวัฒนธรรมหนึ่ง เช่นที่เกิดกับชนเผ่าพื้นเมือง
อเมริกาบางเผ่า รวมทั้งกลุ่มชนพื้นเมืองจำนวนมากทั่วโลกในระหว่างกระบวนการการครอบครองอาณา
นิคม กระบวนการอ่นื ท่สี ัมพนั ธ์ในระดบั ปจั เจกบคุ คลรวมถงึ การผสมกลมกลืน (การยอมรบั เอาวัฒนธรรมอื่น
มาเปน็ ของตนในระดับบุคคล) และการผ่านขา้ มทางวฒั นธรรม (transculturation)

การประดิษฐ์ทางวัฒนธรรม ได้กลายเป็นนวัตกรรมใหม่ที่มีประโยชน์แก่กลุ่มชนและแสดงถึง
พฤติกรรมของพวกเขา โดยมิได้เป็นสิ่งซึ่งจับต้องได้ มนุษยชาติกำลังอยู่ในระยะการเปลี่ยนแปลงทาง
วัฒนธรรมในอัตราเร่งทั่วทั้งโลก ซึ่งขับเคลื่อนโดยการขยายตัวของการค้าของโลก การสื่อสารมวลชน และ
เหนือกว่าสิ่งอื่นใดก็คือการ "ระเบิด" ของประชากร ซึ่งเป็นปัจจัยรว่ มท่ีสำคญั ปัจจุบันประชากรโลกมีอัตรา
เพมิ่ ข้ึนเปน็ 2 เทา่ ภายใน 40 ปี

การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมมีความซับซ้อนและมีผลกระทบระยะยาวมาก นักสังคมวิทยาและ
นักมานุษยวิทยาเชื่อว่าสิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยสำคัญมากในการสร้างความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว
การคงอยขู่ องมนษุ ย์อาจมองได้ว่าเป็น "แง่มุมรวมทเ่ี ป็น

๒๖

ใบความรู้ เรอ่ื งวัฒนธรรมและประเพณไี ทย

การท่ีมนุษย์มาอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเป็นสังคมขึ้นมาย่อมต้องมีความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกของกลุ่ม
มีระเบียบแบบแผนที่ควบคุมพฤติกรรมของบุคคลในกลุ่มให้อยู่ในขอบเขตที่จะอยู่ร่วมกันอย่างมีความสงบ
สุข สิ่งที่เป็นเครื่องมือในการควบคุมพฤติกรรมของกลุ่มคนนี้เราเรียกว่า "วัฒนธรรม" ดังนั้น วัฒนธรรมจึง
เปรียบเสมือนอาภรณห์ ่อหุ้มรา่ งกายตกแตง่ คนใหน้ า่ ดูชม วัฒนธรรมเปน็ สงิ่ ทต่ี ้องควบคู่กับคนเสมอไป

"วัฒนธรรมมีความหมายครอบคลุมทุกสิ่งทุกอย่าง ที่แสดงออกถึงวิถีชีวิตของมนุษย์ในสังคมกลุ่มใด
กลุ่มหนึ่ง หรือสังคมใดสังคมหนึ่ง มนุษย์ได้คิดสร้างระเบียบกฎเกณฑ์ใช้ในการปฏิบัติ การจัดระเบียบ
ตลอดจนระบบความเชื่อ ค่านิยม ความรู้ และเทคโนโลยีต่าง ๆ ในการควบคุมและใช้ประโยชน์จาก
ธรรมชาติ"

"วัฒนธรรมคือความเจริญกา้ วหน้าของมนษุ ย์ หรือลักษณะประจำชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งทีอ่ ยู่ในสงั คม
ซึ่งไม่เพียงแต่จะหมายถึงความสำเร็จในด้านศิลปกรรมหรือมารยาททางสังคมเท่านั้น กล่าวคือ ชนทุกกลุ่ม
ต้องมีวัฒนธรรม ดังนั้น เมื่อมีความแตกต่างระหว่างชนแต่ละกลุ่ม ก็ย่อมมีความแตกต่างทางวัฒนธรรม
นน่ั เอง เชน่ ชาวนาจีน กับชาวนาในสหรัฐอเมรกิ า ยอ่ มมคี วามแตกต่างกัน

"วฒั นธรรมคอื สิ่งท่ีมนุษย์เปล่ียนแปลงหรือปรับปรุงหรอื ผลติ สรา้ งข้ึน เพื่อความเจริญงอกงามในวิถี
ชีวิตและส่วนรวม วัฒนธรรมคือวิถีแห่งชีวิตของมนุษยใ์ นส่วนร่วมที่ถ่ายทอดกันได้ เรียนกันได้ เอาอย่างกัน
ได้ วัฒนธรรมจึงเป็นผลผลิตของส่วนร่วมที่มนุษย์ได้เรียนรู้มาจากคนสมัยก่อน สืบต่อกันมาเป็นประเพณี
วัฒนธรรมจึงเป็นทัง้ ความคิดเหน็ หรือการกระทำของมนุษย์ในส่วนรว่ มท่ีเป็นลักษณะเดียวกัน และสำแดงให้
ปรากฏเปน็ ภาษา ความเช่ือ ระเบยี บประเพณี

พระราชบัญญัติ วัฒนธรรมแห่งชาติพุทธศักราช 2485 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช
2486 ได้ให้ความหมายของวัฒนธรรมไวด้ งั นี้

วฒั นธรรม คอื ลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบยี บเรยี บร้อย ความกลมเกลยี ว
ก้าวหนา้ ของชาติ และศีลธรรมอันดขี องประชาชน

วัฒนธรรมจึงเป็นลักษณะพฤติกรรมต่างๆ ของมนุษย์ซึ่งเป็นวิถีชีวติ ของมนุษย์ ทั้งบุคคลและสังคม
ที่ได้วิวัฒนาการต่อเนื่องมาอย่างมีแบบแผน แต่อย่างไรก็ดีมนุษย์นั้นไม่ได้เกาะกลุ่มอยู่เฉพาะในสังคมของ
ตนเอง ไดม้ ีความสมั พันธ์ติดต่อกับสังคมต่างๆ ซ่งึ อาจอยูใ่ กล้ชิดมีพรมแดนติดต่อกัน หรอื ยู่ปะปนในสถานท่ี
เดียวกนั หรือ การทช่ี นชาติหน่ึงตกอยใู่ ตก้ ารปกครองของชนชาติหนึ่ง มนษุ ยเ์ ป็นผรู้ ู้จกั เปล่ยี นแปลงปรับปรุง
สิ่งต่าง ๆ จึงนำเอาวัฒนธรรมที่เห็นจากได้สัมพันธ์ติดต่อมาใช้โดยอาจรับมาเพิ่มเติมเป็นวัฒนธรรมของ
ตนเองโดยตรงหรือนำเอามาดดั แปลงแก้ไขใหส้ อดคล้องเหมาะสมกับสภาพวฒั นธรรมท่มี ีอยู่เดิม

ในปัจจุบันนี้จึงไม่มีประเทศชาติใดที่มีวัฒนธรรมบริสุทธิ์อย่างแท้จริง แต่จะมีวัฒนธรรมที่มี
พน้ื ฐานมาจากความรู้ ประสบการณท์ ่ีสงั คมตกทอดมาโดยเฉพาะของสงั คมน้ัน และจากวัฒนธรรมแหล่งอื่น
ที่เข้ามาผสมปะปนอยู่ และวฒั นธรรมไทยก็มีแนวทางเช่นนี้
ความสำคญั ของวฒั นธรรม

วัฒนธรรมเป็นเรื่องทสี่ ำคัญยิง่ ในความเป็นชาติ ชาตใิ ดท่ไี รเ้ สยี ซ่งึ วฒั นธรรมอันเป็นของตนเอง
แล้ว ชาตนิ ั้นจะคงความเปน็ ชาตอิ ยู่ไมไ่ ด้ ชาตทิ ี่ไรว้ ฒั นธรรม แมจ้ ะเป็นผู้พชิ ติ ในการสงคราม แต่ในทส่ี ดุ กจ็ ะ
เปน็ ผู้ถูกพิชิตในดา้ นวัฒนธรรม ซ่ึงนบั ว่าเป็นการถกู พชิ ติ อย่างราบคาบและสนิ้ เชงิ ท้ังนเ้ี พราะผูท้ ีถ่ ูกพชิ ติ
ในทางวฒั นธรรมนั้นจะไม่รูต้ วั เลยว่าตนได้ถูกพชิ ิต เชน่ พวกตาดท่พี ิชิตจีนได้ และต้ังราชวงศ์หงวนข้ึน

๒๗

ปกครองจนี แตใ่ นท่ีสุดถูกชาวจนี ซึง่ มวี ฒั นธรรมสูงกวา่ กลืนจนเปน็ ชาวจีนไปหมดสิน้ ดงั น้ันจึงพอสรุปไดว้ ่า
วฒั นธรรมมีความสำคญั ดังนี้

1. วัฒนธรรมเปน็ ส่ิงทชี่ ีแ้ สดงใหเ้ ห็นความแตกตา่ งของบุคคล กลุ่มคน หรือชมุ ชน
2. เปน็ สิ่งที่ทำให้เหน็ ว่าตนมีความแตกตา่ งจากสตั ว์
3. ชว่ ยให้เราเข้าใจสงิ่ ต่าง ๆ ทเี่ รามองเหน็ การแปลความหมายของสิง่ ท่ีเรามองเห็นนน้ั ขน้ึ อยู่กับ
วฒั นธรรมของกล่มุ ชน ซงึ่ เกดิ จากการเรยี นรูแ้ ละถ่ายทอดวัฒนธรรม เช่น ชาวเกาะซามวั มองเห็นดวงจันทร์
วา่ มหี ญิงกำลังทอผ้า ชาวออสเตรเลียเห็นเป็นตาแมวใหญ่กำลังมองหาเหย่ือ ชาวไทยมองเหน็ เหมอื นรปู
กระต่าย
4. วฒั นธรรมเป็นตวั กำหนดปัจจยั 4 เชน่ เคร่อื งนุ่งหม่ อาหาร ท่ีอยู่อาศยั การรักษาโรค
5. วฒั นธรรมเปน็ ตัวกำหนดการแสดงความรสู้ ึกทางอารมณ์ และการควบคมุ อารมณ์ เชน่ ผู้
ชายไทยจะไมป่ ล่อยใหน้ ้ำตาไหลตอ่ หน้าสาธารณะชนเม่ือเสียใจ
6. เป็นตัวกำหนดการกระทำบางอยา่ ง ในชมุ ชนว่าเหมาะสมหรอื ไม่ ซึง่ การกระทำบางอยา่ งใน
สังคมหนึ่งเป็นที่ยอมรบั วา่ เหมาะสมแตไ่ ม่เป็นทย่ี อมรบั ในอีกสังคมหนง่ึ
จะเหน็ ไดว้ า่ ผูส้ ร้างวฒั นธรรมคือมนุษย์ และสังคมเกดิ ขน้ึ ก็เพราะ มนุษย์ วฒั นธรรมกบั สงั คมจึงเป็น
สิ่งคูก่ นั โดยแต่ละสังคมย่อมมีวัฒนธรรมและหากสงั คมมขี นาดใหญห่ รือมีความซับซอ้ น มากเพียงใด ความ
หลากหลายทางวฒั นธรรมมักจะมมี ากข้ึนเพยี งใดนนั้ วัฒนธรรมต่าง ๆ ของแต่ละสงั คมอาจเหมอื นหรือ
ตา่ งกนั สบื เน่ืองมาจากความแตกต่างทางด้านความเชื่อ เชอ้ื ชาติ ศาสนาและถ่ินที่อยู่ เปน็ ตน้
ลักษณะของวัฒนธรรม
เพื่อทีจ่ ะใหเ้ ขา้ ใจถึงความหมายของคำว่า "วัฒนธรรม" ไดอ้ ย่างลึกซง้ึ จงึ ขออธบิ ายถึงลกั ษณะของ
วฒั นธรรม ซึ่งอาจแยกอธบิ ายได้ดังต่อไปนี้
1. วัฒนธรรมเปน็ พฤติกรรมที่เกดิ จากการเรียนรู้ มนุษย์แตกตา่ งจากสตั ว์ ตรงที่มกี ารร้จู ักคดิ มีการ
เรียนรู้ จัดระเบียบชวี ิตให้เจริญ อยู่ดีกนิ ดี มีความสขุ สะดวกสบาย รูจ้ กั แก้ไขปัญหา ซึง่ แตกตา่ งไปจากสัตว์ท่ี
เกิดการเรียนรูโ้ ดยอาศยั ความจำเทา่ นนั้
2. วฒั นธรรมเป็นมรดกของสังคม เน่ืองจากมีการถ่ายทอดการเรียนรู้ จากคนร่นุ หนงึ่ ไปส่คู นรนุ่
หนึง่ ทงั้ โดยทางตรงและโดยทางอ้อม โดยไม่ขาดช่วงระยะเวลา และ มนษุ ย์ใชภ้ าษาในการถา่ ยทอด
วัฒนธรรม ภาษาจึงเป็นสญั ลกั ษณ์ท่ีใชถ้ า่ ยทอดวฒั นธรรมนัน่ เอง
3. วฒั นธรรมเปน็ วิถีชวี ติ หรอื เป็นแบแผนของการดำเนินชีวิตของ มนุษย์ มนษุ ยเ์ กดิ ในสงั คมใด
กจ็ ะเรยี นรูแ้ ละซึมซบั ในวฒั นธรรมของสังคมท่ีตนเองอาศยั อยู่ ดังนน้ั วัฒนธรรมในแตล่ ะสงั คมจึงแตกตา่ ง
กนั
4. วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ไม่คงที่ มนุษย์มีการคิดค้นประดิษฐ์สิ่งใหม่ ๆ และ ปรับปรุงของเดิมให้
เหมาะสมกับสถานการณ์ทีเ่ ปล่ยี นแปลงไป เพือ่ ความเหมาะสม และความอยู่ รอดของสงั คม เช่น สังคมไทย
สมัยก่อนผู้หญิงจะทำงานบ้าน ผู้ชายทำงานนอกบ้าน เพื่อหาเลี้ยง ครอบครัว แต่ปัจจุบันสภาพสังคม
เปลี่ยนแปลงไป ทำให้ผู้หญิงต้องออกไปทำงานนอกบ้าน เพื่อหา รายได้มาจุนเจือครอบครัว บทบาทของ
ผูห้ ญงิ ในสงั คมไทยจงึ เปลยี่ นแปลงไป
หนา้ ทีข่ องวัฒนธรรม
1. วัฒนธรรมเป็นตัวกำหนดรูปแบบของสถาบัน ซึ่งมีลักษณะแตกต่าง กันไปในแต่ละสังคม เช่น
วัฒนธรรมอิสลามอนุญาตให้ชาย (ที่มีความสามารถเลี้ยงดูและ ให้ความ ยุติธรรมแก่ภรรยา) มีภรรยาได้
มากกว่า 1 คน โดยไม่เกิด 4 คน แต่ห้ามสมสู่ ระหว่าง เพศเดียว กัน อย่างเด็ดขาด ในขณะที่ศาสนาอ่ืน

๒๘

อนญุ าตใหช้ ายมีภรรยาได้เพียง 1 คน แตไ่ ม่มบี ญั ญตั ิห้าม ความสัมพันธ์ระหว่างเพศเดยี วกนั ฉะน้ันรูปแบบ
ของสถาบนั ครอบครวั จงึ อาจแตกต่างกันไป

2. วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่กำหนดพฤติกรรมของมนุษย์ พฤติกรรมของคน จะเป็นเช่นไรก็ขึ้นอยู่กับ
วัฒนธรรมของกลุ่มสังคมนั้น ๆ เช่น วัฒนธรรมในการพบปะทักทายของ ไทย ใช้ในการสวัสดีของ
ชาวตะวันตกทั่วไปใช้ในการสัมผัสมือ ของชาวทิเบตใช้การแลบลิ้น ของชาว มุสลิมใช้การกล่าวสลาม เป็น
ตน้

3. วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ควบคุมสังคม สร้างความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ให้แก่สังคม เพราะใน
วฒั นธรรมจะมที ั้งความศรัทธา ความเชื่อ คา่ นิยม บรรทดั ฐาน เปน็ ตน้ ตลอดจน ผลตอบแทนในการปฏิบัติ
และบทลงโทษเมื่อฝ่าฝนื

ฉะนัน้ จงึ กล่าวได้วา่ ถ้าหากเข้าใจในเรื่องวัฒนธรรมดีแลว้ จะทำให้ สามารถเข้าใจพฤติกรรมต่าง ๆ
ของคนในแต่ละสงั คมได้อยา่ งถูกต้อง
ท่ีมาของวัฒนธรรมไทย

วฒั นธรรมไทยมีท่ีมาจากปัจจัยต่าง ๆ ดังน้ี
1. สิ่งแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ เนื่องจากสังคมไทยมีลักษณะทางด้านภูมิศาสตร์เป็นที่ราบลุ่มและ
อุดมสมบูรณ์ด้วยแม่น้ำลำคลอง คนไทยได้ใช้น้ำในแม่น้ำ ลำคลอง ในการเกษตรกรรมและการอาบ กิน
เพราะฉะนั้นเมื่อถึงเวลาหน้าน้ำ คือ เพ็ญเดือน 11 และเพ็ญ เดือน 12 ซึ่งอยู่ในห้วงเวลาปลายเดือน
ตลุ าคมและปลายเดือนพฤศจิกายน อนั เป็นระยะเวลา ท่ี น้ำไหลหลากมาจากทางภาคเหนอื ของประเทศ คน
ไทยจึงจัดทำกระทงพร้อม ด้วยธูปเทียนไปลอย ในแม่น้ำลำคลอง เพื่อเป็นการขอขมาลาโทษแม่คงคา และ
ขอพรจากแม่คงคา เพราะไดอ้ าศัยน้ำกิน น้ำใช้ ทำให้เกิด "ประเพณลี อยกระทง" นอกจากนน้ั ยงั มีประเพณี
อนื่ ๆ อีกในสว่ นทเ่ี กยี่ วกบั แม่น้ำลำคลอง เช่น "ประเพณแี ข่งเรอื "
2. ระบบการเกษตรกรรม สังคมไทยเป็นสงั คมเกษตรกรรม (agrarian society) กล่าวคอื ประชากร
ร้อยละ 80 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า คนไทยส่วนใหญ่มีวิถีชีวิตผูกพันกับ
ระบบการเกษตรกรรม และระบบการเกษตรกรรมนี้เอง ได้เป็น ที่มาของวัฒนธรรมไทยหลายประการ เชน่
ประเพณขี อฝน ประเพณีลงแขก และการละเลน่ เตน้ กำรำเคียว เป็นต้น
3. ค่านิยม (Values) กล่าวได้ว่า "ค่านิยม" มีความเกี่ยวพันกับ วัฒนธรรมอย่างใกล้ชิด และ
"ค่านิยม" บางอย่างได้กลายมาเป็น "แกน" ของวัฒนธรรมไทยกล่าวคือ วิถีชีวิตของคนไทยโดยส่วนรวมมี
เอกลกั ษณ์ซึ่งแสดงออกถึงอิสรภาพและเสรีภาพ
4. การเผยแพร่ทางวัฒนธรรม (Cultural diffusion) วัฒนธรรมทาง หนึ่ง ย่อม แตกต่างไปจาก
วัฒนธรรมทางสังคมอื่น ๆ ทั้งนี้เพราะวัฒนธรรมมิได้เกิดขึ้นมาใน ภาชนะ ที่ถูกผนึกตราบเท่าที่มนุษย์ เชน่
นักทอ่ งเที่ยว พ่อค้า ทหาร หมอสอนศาสนา และผู้อพยพยงั คง ย้ายถนิ่ ที่อยจู่ ากแห่งหนง่ึ ไปยังแห่งอน่ื ๆ เขา
เหล่านั้นมักนำวัฒนธรรมของพวกเขาติดตัว ไปด้วย เสมอ ซึ่งถือได้ว่า เป็นการเผยแพร่ทางวัฒนธรรม
เป็นไปได้อย่างสะดวกรวดเร็วและกว้างขวาง ประจักษ์ พยานในเรื่องนี้จะเห็นได้ว่าน้ำอัดลมช่ือต่าง ๆ มีอยู่
ทั่วทุกมุมโลก วัฒนธรรมของสงั คมอน่ื ซึ่งไดเ้ ผยแพรเ่ ขา้ มาในสังคมไทย

๒๙

ใบงาน
ใหผ้ เู้ รยี นส่งรายงานการศึกษาคน้ ควา้ เร่ืองประเพณีและวัฒนธรรมและสุ่มถามถึงบนั ทึกเหตุการณ์ที่
เปน็ ปัญหาและแก้ไขปญั หาโดยใชห้ ลกั ธรรมที่ได้รบั มอบหมายให้ไปศึกษาในการพบกลมุ่ ครงั้ ท่ีแลว้

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๓๐

ใบความรู้ เร่ืองพลเมืองดีในวิถีประชาธปิ ไตย

ความหมายของ “พลเมืองดี” ในวิถีประชาธิปไตย พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้
ความหมายของคำต่าง ๆ ไว้ ดงั น้ี

“พลเมือง” หมายถงึ ชาวเมือง ชาวประเทศ ประชาชน
“วิถ”ี หมายถึง สาย แนว ทาง ถนน
“ประชาธปิ ไตย” หมายถงึ ระบอบการปกครองที่ถือมติปวงชนเป็นใหญ่ หรอื การถือเสยี งขา้ งมาก
เปน็ ใหญ่
ดังนั้น ความหมายของ “พลเมืองดีในวิถีประชาธิปไตย” จึงหมายถึง ประชาชนที่ยึดมั่นในแนว
ทางการปกครองระบอบประชาธิปไตย ซึ่งเคารพเสียงข้างมากเป็นใหญ่ โดยใช้หลักการยึดมั่นในศีลธรรม
และคุณธรรมของศาสนา มีหลักการทางประชาธปิ ไตยในการดำรงชีวิต ปฏิบัตติ นตามกฎหมาย ดำรงตนเป็น
ประโยชน์ตอ่ สงั คม ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน อันจะก่อให้เกิดการพัฒนาสังคมและประเทศชาติให้เป็นสังคมและ
ประเทศประชาธปิ ไตยอยา่ งแทจ้ รงิ
หลกั การทางประชาธปิ ไตย
หลกั การทางประชาธิปไตย ท่สี ำคัญ ได้แก่
1. หลักอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน หมายถึง ประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจสูงสุดในการ
ปกครองรฐั
2. หลกั ความเสมอภาค หมายถงึ ความเทา่ เทียมกนั ในสังคมประชาธิปไตย ถือวา่ ทกุ คนที่เกิดมาจะ
มคี วามเท่าเทยี มกันในฐานะประชากรของรฐั มีสิทธิ เสรภี าพ หนา้ ท่ีเสมอภาคกัน ไมม่ ีการแบ่งชนช้ัน
3. หลักนิติธรรม หมายถึง การใช้หลักกฎหมายเป็นกฎเกณฑ์การอยู่ร่วมกัน เพื่อความสงบสุขของ
สังคม
4. หลักเหตผุ ล หมายถึง การใชเ้ หตุผลทถ่ี กู ต้องในการตดั สินหรือยุตปิ ัญหาในสงั คม
5. หลักการถือเสียงขา้ งมาก หมายถึง การลงมติโดยยอมรับเสยี งส่วนใหญใ่ นสงั คมประชาธิปไตย
6. หลักประนีประนอม หมายถึง การลดความขัดแย้งโดยการผ่อนหนักผ่อนเบาให้กัน ร่วมมือกัน
เพ่อื เห็นแก่ประโยชน์ของสว่ นรวมเป็นสำคญั

แนวทางการปฏิบตั ติ นเปน็ พลเมอื งดตี ามวิถปี ระชาธิปไตย
พลเมอื งดตี ามวถิ ีประชาธิปไตยควรมีแนวทางการปฏิบัตติ น ดงั น้ี
ด้านสังคม ไดแ้ ก่
1. การแสดงความคิดอยา่ งมเี หตผุ ล
2. การยอมรบั ฟังความคิดเห็นของผู้อนื่
3. การยอมรับเม่ือผ้อู ่ืนมเี หตุผลที่ดกี วา่
4. การตัดสินใจโดยใช้เหตผุ ลมากกว่าอารมณ์
5. การเคารพระเบยี บของสังคม
6. การมีจิตสาธารณะ คอื การบำเพญ็ ประโยชนเ์ พือ่ สว่ นรวม และรักษาสาธารณสมบตั ิ

ดา้ นเศรษฐกจิ ได้แก่
1. การประหยดั และอดออมในครอบครัว
2. การซื่อสตั ยส์ จุ ริตตอ่ อาชีพท่ที ำ
3. การพัฒนางานอาชีพให้กา้ วหน้า

๓๑

4. การใชเ้ วลาวา่ งให้เปน็ ประโยชนต์ อ่ ตนเองและสังคม
5. การสร้างงานและสรา้ งสรรคส์ ิ่งประดิษฐใ์ หม่ ๆ เพ่ือใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ สังคมไทยและสงั คมโลก
6. การเป็นผูผ้ ลติ และผบู้ รโิ ภคทีด่ ี มีความซือ่ สัตย์ ยึดมั่นในอุดมการณ์ท่ีดีต่อชาติเปน็ สำคัญ
ด้านการเมอื งการปกครอง ได้แก่
1. การเคารพกฎหมาย
2. การยอมรบั ฟังความคดิ เห็นของทกุ คน
3. การยอมรับในเหตผุ ลท่ีดีกว่า
4. การซ่อื สตั ย์ต่อหน้าท่ีโดยไมเ่ หน็ แก่ประโยชนส์ ว่ นตน
5. การกล้าเสนอความคิดเห็นต่อส่วนรวม กล้าเสนอตนในการทำหนา้ ท่สี มาชกิ สภาผู้แทนราษฎร
หรอื สมาชกิ วุฒิสภา
6. การทำงานท่ีรับผิดชอบอย่างเตม็ ความสามารถ เต็มเวลา
จรยิ ธรรมของการเปน็ พลเมอื งดี
คุณธรรม จริยธรรม หมายถึง ความดีงามหรือกิริยาที่ควรประพฤติ คุณธรรม จริยธรรมที่ส่งเสริม
ความเปน็ พลเมืองดี ไดแ้ ก่
1. ความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ หมายถึง การตระหนักในความสำคัญของความ
เปน็ ชาตไิ ทย การยึดม่ันในหลกั ศีลธรรมของศาสนา และการจงรักภักดตี อ่ พระมหากษัตรยิ ์
2. ความมีระเบียบวินัย หมายถึง การยึดมั่นในการอยู่ร่วมกันโดยยึดระเบียบวินัยเพื่อความเป็น
ระเบยี บเรยี บรอ้ ยในสังคม
3. ความกล้าหาญทางจรยิ ธรรม หมายถงึ ความกล้าหาญในทางทถี่ กู ทค่ี วร
4. ความรับผิดชอบ หมายถึง การปฏิบัติหน้าที่ของตนอย่างเต็มกำลังสติปัญญา และกำลัง
ความสามารถ
5.การเสียสละ หมายถึง การยอมเสียผลประโยชน์ส่วนตนเพื่อผู้อื่น หรือแก่สังคม
โดยรวม
6. การตรงต่อเวลา หมายถึง การทำงานตรงตามเวลาทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย
การส่งเสรมิ ให้ผู้อื่นปฏบิ ตั ิตนเป็นพลเมอื งดี
เมื่อบุคคลปฏิบตั ติ นเปน็ พลเมืองดีในวิถปี ระชาธิปไตยแลว้ ก็ควรสนับสนุนให้บุคคลอืน่ ปฏบิ ัติตนเปน็
พลเมอื งดดี ้วย โดยมีแนวทางการปฏิบตั ิ ดงั นี้
1. การยึดม่ันในคณุ ธรรม จริยธรรมของศาสนา และหลกั การของประชาธิปไตยมาใช้ในวถิ กี ารดำรง
ชีวิตประจำวัน เพอื่ เปน็ แบบอยา่ งท่ีดีแก่คนรอบขา้ ง
2. เผยแพร่ อบรม หรือสั่งสอนบุคคลในครอบครัว เพื่อนบ้าน คนในสังคม ให้ใช้หลักการทาง
ประชาธิปไตยเปน็ พ้นื ฐานในการดำรงชีวติ ประจำวนั
3. สนับสนุนชุมชนในเรื่องที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตนให้ถูกต้องตามกฎหมาย โดยการ
บอกเล่าหรอื เผยแพร่บทความผ่านส่ือแขนงต่าง ๆ
4. ชักชวนหรือสนับสนุนคนดีมีความสามารถให้มีส่วนร่วมกับกิจกรรมทางการเมืองหรือกิจกรรม
สาธารณประโยชน์ตา่ ง ๆ
5. เป็นหเู ปน็ ตาให้กบั รฐั หรือหน่วยงานของรฐั ในการสนบั สนนุ คนดแี ละกำจัดคนทเี่ ป็นภัยกับสงั คม
การสนับสนุนให้ผู้อื่นปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีในวิถีประชาธิปไตยตามแนวทางการปฏิบัติดังกล่าว
ถือเปน็ จิตสำนกึ ทบ่ี ุคคลพงึ ปฏิบตั เิ พ่ือใหเ้ กิดประชาธปิ ไตยอย่างแท้จรงิ

๓๒

ใบงาน เร่ืองการปฏบิ ตั ติ นเป็นพลเมืองดีในวิถปี ระชาธิปไตย
คำชี้แจง ใหผ้ ้เู รยี นแสดงความคิดเห็นในประเด็นคำถามตอ่ ไปนี้
1. พลเมอื งดีในวิถปี ระชาธิปไตยมีคุณลกั ษณะเช่นไรบา้ ง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. แนวทางการปฏิบตั ติ นเป็นพลเมืองดีต้องทำอยา่ งไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. การปฏิบัตติ นเป็นพลเมืองดตี ้องอาศยั หลักคุณธรรมใดบ้าง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. การปฏิบตั ติ นเปน็ พลเมืองดกี อ่ ให้เกดิ ประโยชนต์ ่อประเทศชาตอิ ย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๓๓

ใบงาน
เร่อื งหลกั สิทธิมนุษยชน

คำชี้แจง ใหผ้ เู้ รยี นตอบคำถามต่อไปน้ี
1. ความหมาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ความสำคัญ และประโยชน์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. เมือ่ พบเหตุการณท์ ี่มีคนถูกละเมดิ สิทธิมนษุ ยชน ในชมุ ชน / สังคม ใกลต้ วั ของทา่ น ทา่ จะทำอยา่ งไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๓๔

ขอ้ สอบรายวิชา ศาสนาและหน้าทพ่ี ลเมือง สค๒๑๐๐๒ ระดบั ม.ตน้

๑. พระพทุ ธเจ้าประสูติในประเทศใด
ก. อนิ เดีย
ข. ศรลี ังกา
ค. เนปาล
ง. ทเิ บต

๒. ศาสนาอิสลามเกดิ ในประเทศใดของทวปี เอเชยี
ก. บงั คลาเทศ
ข. ชาอดุ อิ าระเบยี
ค. อินเดีย
ง. ปากสี ถาน

๓. หลักธรรมพนื้ ฐานของการทำความดี ในกุศลมลู ๓ ประกอบด้วยอะไรบา้ ง
ก. อโลภะ อโทสะ อโมหะ
ข. โลภะ โทสะ โมหะ
ค. อโลภะ โทสะ อโมหะ
ง. โลภะ อโทสะ โมหะ

๔. พละ ๔ ธรรมอนั เป็นกำลังแห่งบุคคล ทำให้การดำเนินชวี ติ ดว้ ยความมนั่ คงไม่หวน่ั ต่อภยั ทกุ อย่าง
คอื อะไร
ก. ปัญญาพละ วิริพละ อนวัชพละ สังคะพละ
ข. ปัญญา วิริยะ อนวัช สงั คะ
ค. ปญั ญา วิริพละ อนวชั พละ สังคะพละ
ง. ปญั ญาพละ วิรยิ ะ อนวัช สงั คะพละ

๕. หลกั คำส่งั สอนใดของศาสนาครสิ ตท์ ชี่ ว่ ยบรรเทาความทุกข์ซึ่งกันและกัน
ก. การบรจิ าค
ข. การแบ่งปนั
ค. ความรัก
ง. การให้อภัย

๖. ผกู้ อ่ ตั้งธรรยตุ นิ ิกายในพระพุทธศาสนา คือพระวชิรญาณภิกขุ ซง่ึ ต่อมาไดท้ รงลาผนวชเสร็จขน้ึ
ครองราชย์เปน็ ราชกาลใด
ก. รัชกาลที่ ๑
ข. รชั กาลที่ ๒
ค. รชั กาลท่ี ๓
ง. รัชกาลท่ี ๔

๗. ข้อใดกลา่ วได้ถกู ต้องเก่ยี วกับวัฒนธรรมไทย
ก. ใสส่ ตู รผูกเนทไท
ข. ยกมอื ไหวก้ ล่าวสวสั ดี
ค. สวมกอดโบกมือลา
ง. กล่าวคำทกั ทายและหอมแก้ม

๓๕

๘. วฒั นธรรมแรกทเี่ กิดขึ้นในแผ่นดนิ จนี คอื ข้อใด
ก. วฒั นธรรมหยางฉา
ข. วฒั นธรรมสองชาน
ค. วัฒนาธรรมสมัยราชวงค์ฉ่าง
ง. วัฒนธรรมสมยั ราชวงค์โจว

๙. ขอ้ ใดอธิบายถงึ ลักษณะการแต่งกายแบบวัฒนธรรมไทยได้อย่างถูกต้อง
ก. สวมใส่เสอ้ื แดงในงานศพ
ข. ใส่กางเกงยนี ส์ขาสนั้ เข้าวดั ทำบญุ
ค. สวมใส่ผา้ ไทยในการอนุรักษ์วัฒนธรรม
ง. ผดิ ทกุ ข้อ

๑๐.ข้อใดคอื ลักษณะของวฒั นธรรมไทย
ก. มีพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสนาประจำชาติ
ข. มีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ
ค. มภี าษาไทยเป็นภาษาประจำชาติ
ง. ถกู ทุกขอ้

๑๑. ข้อใดไม่ใช่ ภมู ปิ ัญญา และวฒั นธรรมทเ่ี ป็นเอกลกั ษณ์ไทยดา้ นอาหาร
ก. การปลูกขา้ ว
ข. อปุ กรณ์ในการหุงต้มประกอบอาหารของเราเอง เชน่ เตา หม้อ หวด ครก โม่
ค. รสชาติ ความประณตี บรรจง
ง. การเล้ยี งไหม

๑๒. การทำขนมหม้อแกงเปน็ ภมู ิปญั ญาไทย ซ่ึงก่อใหเ้ กดิ เอกลกั ษณ์ทอ้ งถ่นิ ในจังหวัดใด
ก. จังหวัดราชบรุ ี
ข. จังหวดั กำแพงเพชร
ค. จังหวดั เพชรบุรี
ง. จังหวดั ชยั ภมู ิ

๑๓. ประเพณเี ดือนยเ่ี ปง็ (วันเพ็ญเดือน ๑๒ ) เป็นขนบธรรมเนยี มประเพณีของภาคใด
ก. ภาคเหนือ
ข. ภาคใต้
ค. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื
ง. ภาคกลาง

๑๔. ภูมิปัญญาภาคกลางสามารถแสดงออกมาในลักษณะของประเพณีท่สี ำคญั ยกเว้นข้อใด
ก. ประเพณีตักบาตรดอกไม้
ข. ประเพณีบญุ กลางบ้าน
ค. ประเพณีวนั ไหล
ง. ประเพณีชงิ เปรต

๓๖

๑๕. ข้อใดคือแนวทางในการอนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรม ประเพณี
ก. การแตง่ กายดว้ ยชดุ ประจำชาตเิ ม่อื มงี านประเพณีไทย
ข. การพูดภาษาไทยใหถ้ ูกตอ้ ง
ค. การปฏบิ ตั ติ ามวัฒนธรรมประเพณไี ทย
ง. ถูกทกุ ขอ้

๑๖. ข้อใดคือแนวทางในการอนุรักษ์และสืบสานวฒั นธรรมและประเพณีของทวีปเอเชียที่สำคญั ทสี่ ุด
ก. การสง่ เสริมให้มีการแตง่ กายด้วยชดุ ประจำชาติ
ข. การสง่ เสริมให้มีการแสดงออกทางวัฒนธรรมประจำชาติในประเทศต่างๆ
ค. การแลกเปล่ียนวฒั นธรรมต่างๆภายในทวปี เอเชีย
ง. การส่งเสริมใหพ้ ูดเฉพาะภาษาประจำชาติ

๑๗. บุคคลในขอ้ ใด ไมเ่ ป็นผู้อนุรักษ์วฒั นธรรมและประเพณีไทย
ก. ดำรง ใช้การสัมผัสมอื กับคนไทยในต่างประเทศแทนการไหว้
ข. สุณี แตง่ กายสภุ าพ และมีกริ ิยาเรียบรอ้ ย
ค. กอ้ งเกียรตใิ ห้ผู้ใหญ่ไปสขู่ อนฤดีตามประเพณี
ง. เรยาทักทายผโู้ ดยสารคนไทยด้วยการไหว้

๑๘. ข้อใดกลา่ วผิด เก่ยี วกับวํฒนธรรมของอนิ เดีย
ก. ลมุ่ แม่น้ำคงคาน่เี อง คือแหล่งอารยธรรมอนั ย่ิงใหญข่ องอินเดีย
ข. สมัยพระเวท เป็นชว่ งที่พวกอารยนั เข้าไปในอนิ เดยี เกดิ คมั ภรี ์ฤคเวท
ค. เนน้ บชู าเทพเจ้าทเ่ี ป็นตัวแทนของปรากฎการณ์ ธรรมชาติ
ง. วรรณศูทร ได้รับการยกยอ่ งใหเ้ ปน็ ชนชนั้ สงู

๑๙. การอนรุ กั ษแ์ ละสืบสานวัฒนธรรม ขอ้ ใดถูกต้อง
ก. การอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมและประเพณี ควรเริ่มต้นจากการปลกู จติ สำนกึ คนในชาติ
ข. เยาวชนและประชาชน ทกุ คนตระหนกั ถึงคุณคา่ และความสำคัญของวัฒนธรรม
ค. รว่ มกันเผยแพรว่ ัฒนธรรมและประเพณี โดยการศกึ ษาเรียนรู้และสบื ทอดวฒั นธรรมประเพณี
ของชาตติ นเอง
ง.ถูกทุกข้อ

๒๐. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ แนวทางในการอนุรักษ์และสบื สานวัฒนธรรม ประเพณี
ก. แต่งกายด้วยชดุ ประจำชาติเมือ่ มีงานประเพณีไทย
ข. พดู ภาษาไทยใหถ้ ูกต้อง
ค. ปฏิบัติตามวัฒนธรรมประเพณีไทย
ง. นงุ่ นอ้ ยห่มนอ้ ยทำบญุ ท่วี ดั

๒๑. เพอื่ ให้เกดิ ความสันติสุขและความม่นั คงของประเทศชาติ ชาวเอเชียควรนำค่านยิ มใดมาใชใ้ นการ
ดำเนนิ ชวี ติ

ก. ความสุภาพ อ่อนโยน
ข. ความสามารถในการสรา้ งสรรคว์ ฒั นธรรมดา้ นศิลปะสาขาตา่ งๆ
ค. ความสะอาด ความเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อยของบา้ นเมอื ง
ง. ความซอื่ สตั ย์ ความขยนั ในการประกอบอาชีพ และความตรงตอ่ เวลา

๓๗

๒๒. คา่ นยิ มสำคัญท่ีคนไทยควรนำไปใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านคือข้อใด
ก. ความเอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผ่
ข. ความซอ่ื สตั ย์ สุจรติ
ค. ความกตญั ญู กตเวที
ง. การนยิ มของไทย

๒๓. รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ประกาศใช้คร้ังแรกในปใี ด
ก. พ.ศ. 2475
ข. พ.ศ. 2506
ค. พ.ศ. 2519
ง. พ.ศ. 2550

๒๔. ข้อใดกลา่ วไม่ถกู ตอ้ ง เก่ียวกับรัฐธรรมนูญ
ก. เป็นกฎหมายที่จดั ระเบยี บการปกครองบ้านเมือง
ข. เป็นกฎหมายสงู สุดของประเทศในประเทศประชาธปิ ไตย
ค. รัฐธรรมนญู ในประเทศประชาธปิ ไตยเปน็ ของผนู้ ำประเทศ
ง. รัฐธรรมนูญเปน็ หลกั สำคัญสงู สดุ ในการปกครองประเทศ

๒๕. สาเหตทุ ่ีต้องมกี ารปฏริ ูปทางการเมือง ปี พ.ศ. 2475 คือข้อใด
ก. คนรุ่นใหมไ่ ดร้ บั การศึกษาแบบแผนประชาธปิ ไตยแบบตะวนั ตก
ข. ภาวะเศรษฐกิจตกตำ่
ค. เกดิ ความขดั แยง้ ระหว่างราชวงศก์ บั กลุ่มท่จี ะทำการเปล่ียนแปลงการปกครอง
ง. ถกู ทกุ ข้อ

๒๖. ส่วนทจี่ ะระบแุ นวนโยบายทจ่ี ะทำให้ประเทศมีความม่ันคง มคี วามเจรญิ เติบโต มสี ันติสขุ และ
ประชาชนมีมาตรฐานการครองชพี และมีคณุ ภาพชีวิตทด่ี ี คือโครงสรา้ งของรัฐธรรมนูญในขอ้ ใด

ก. หมวด 1 บททัว่ ไป
ข. หมวด 2 พระมหากษัตริย์
ค. หมวด 4 หนา้ ท่ขี องชนชาวไทย
ง. หมวด 5 แนวนโยบายพ้ืนฐานแหง่ รฐั
๒๗. ขอ้ ใดคือจุดเด่นของรฐั ธรรมนญู ท่ีแสดงให้เห็นว่าการปกครองของประเทศใดมีความเปน็ ประชาธิปไตย
มากน้อยเพยี งใด
ก. สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
ข. หนา้ ท่ีของชนชาวไทย
ค. องคก์ รตามรฐั ธรรมนูญ
ง. นโยบายพื้นฐานของรัฐ

๓๘

๒๘. ข้อใดคือสาเหตขุ องการเปลีย่ นแปลงการปกครอง เม่ือปี พ.ศ. 2475
ก. คนรนุ่ ใหมท่ ี่ไดร้ บั จากการศึกษาประเทศตะวันตก ไดร้ ับอิทธิพลของลัทธเิ สรนี ิยม และแบบแผน
ประชาธิปไตยของตะวันตก จึงต้องการนำมาปรับปรุงประเทศชาติ
ข. เกดิ ภาวะเศรษฐกจิ ตกตำ่ รัฐบาลไมส่ ามารถแก้ไขได้
ค. ประเทศญปี่ นุ่ และจีนได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว ทำใหป้ ระชาชนตอ้ งการเหน็ การ
ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยภายในบา้ นเมืองเร็วข้ึน
ง.ถกู ทุกข้อ

๒๙. ลกั ษณะที่สำคัญของสังคมไทยข้อใดทีท่ ำให้คนไทยอยรู่ ่วมกนั ได้ดีทีส่ ดุ
ก. สังคมไทยเปน็ สงั คมทเ่ี คารพเทิดทนู สถาบันพระมหากษัตริย์
ข. สังคมไทยยดึ มัน่ ในศาสนา
ค. สงั คมไทยเปน็ สงั คมเกษตร
ง. สังคมไทยให้การเคารพผู้อาวโุ ส

๓๐.บทบาทหน้าที่ต่อตนเองในขอ้ ใดท่คี นไทยควรยึดเปน็ หลักการอยู่รว่ มกัน
ก. ยึดมั่นในคุณธรรมและศลี ธรรม
ข. ตดิ ตามขา่ วสารตา่ งๆ อยู่เสมอเพื่อประโยชน์ทางธรุ กิจ
ค. ยึดม่นั ในคา่ นยิ มของคนส่วนมาก
ง. ถือเสียงข้างมากเป็นเครื่องตัดสินความถูกต้อง

๓๑. สถานการณใ์ ดท่ีเป็นสาเหตุสำคญั ใหม้ ีการเปลีย่ นรัฐธรรมนญู บอ่ ยทีส่ ดุ
ก. การรฐั ประหาร
ข. เศรษฐกิจตกต่ำ
ค. ความขัดแย้งทางการเมอื ง
ง. ความขดั แยง้ ดา้ นวัฒนธรรม

๓๒. คุณธรรม จริยธรรมในขอ้ ใดท่ีคนไทยควรยึดถือเพ่ือการอยูร่ ว่ มกนั ในครอบครัวตามวิถี
ประชาธิปไตยมากทสี่ ุด

ก. ชว่ ยกันดแู ลประหยดั ค่าใช้จ่ายในครอบครัว
ข. ไมท่ ำให้สมาชิกในครอบครวั รู้สึกว่าถกู ทอดท้ิง
ค. รบั ฟังและแลกเปล่ียนความคดิ เห็นซึ่งกันและกันในครอบครวั
ง. ช่วยกจิ กรรมงานตา่ งในครอบครัวดว้ ยความเต็มใจ
๓๓. ข้อใดคือหลักการมสี ว่ นร่วมทางการเมือง การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี
พระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
ก. รับฟงั แนวนโยบายของพรรคการเมืองท่ีตนชืน่ ชอบ
ข. ร่วมชมุ นมุ ทางการเมืองทุกคร้ัง
ค. สมคั รเปน็ สมาชิกพรรคการเมือง
ง. ไปใชส้ ทิ ธเิ ลือกตั้งทุกระดับ

๓๙

๓๔. บุคคลในขอ้ ใดส่วนรว่ มทางการเมือง การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริย์
ทรงเปน็ ประมุขมากท่ีสุด

ก. ต้นสมคั รเป็นนักการเมอื ง
ข. ตอ้ ยช่วยนักการเมืองที่ตนชื่นชอบหาเสยี งเลอื กต้ัง
ค. ตอ๋ ยใชส้ ิทธิเลอื กต้งั ทุกคร้ัง
ง. ตุ่มโน้มนา้ วใหท้ ุกคนในครอบครวั เลือกพรรคทต่ี นเองชอบ
๓๕. ขอ้ ใดคือประโยชน์ของการมีส่วนรว่ มในการค้มุ ครอง ปกป้องตนเอง และผู้อนื่ ตามหลกั สทิ ธิ
มนุษยชน
ก. เกิดความสามคั คี
ข. บา้ นเมืองมีความมน่ั คง
ค. ลดการคอรัปช่ัน
ง. ถกู ทุกข้อ
๓๖. นกั ศึกษา กศน. สามารถมสี ่วนร่วมทางการเมือง การปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอนั มี
พระมหากษัตรยิ เ์ ป็นทรงประมุขได้อย่างไร
ก. ไปใชส้ ทิ ธิเลอื กต้ัง
ข. ไม่ขายเสยี ง ขายสิทธิ
ค. รณรงคส์ ง่ เสริมการไปใช้สิทธิเลอื กต้งั
ง. ถกู ทกุ ข้อ
๓๗. ข้อใดคือหลักการพืน้ ฐานเรอ่ื งสทิ ธมิ นษุ ยชน
ก. สทิ ธิมนษุ ยชนเปน็ สทิ ธิตามธรรมชาตทิ ่ีมมี าตง้ั แตเ่ กิด
ข. สิทธมิ นุษยชนเปน็ สิทธซิ งึ่ เสมอกันของมนุษย์ทุกคน
ค. สทิ ธมิ นุษยชนเปน็ สิทธิข้นั พื้นฐานทีไ่ มอ่ าจโอนใหแ้ ก่กนั ได้
ง. ถกู ทุกขอ้
๓๘. ลักษณะเฉพาะของสิทธิมนุษยชนทีร่ ะบุไวใ้ นปฏิญญาสากลวา่ ดว้ ยสิทธิมนุษยชน คือข้อใด
ก. เปน็ สทิ ธิที่ติดตวั มากับมนุษย์ (Inherent)
ข. เปน็ สทิ ธิที่เป็นสากล (Universal)
ค. เปน็ สทิ ธิท่ีไม่ถูกแยกออกจากกนั (Indivisible)
ง.ถูกทกุ ข้อ
๓๙. วธิ กี ารสรา้ งสนั ติสขุ ในสงั คมคืออยา่ งไร
ก. ต่างคนตา่ งอยู่
ข. การยอมรบั เสยี งข้างมาก
ค. การชว่ ยเหลอื ซ่งึ กันและกัน
ง. การยอมรับในหลักสทิ ธิมนุษยชน
๔๐. ข้อใดกล่วงไดถ้ ูกต้องเก่ียวกับแนวทางการคุม้ ครองตนเองและผอู้ ื่นจากการถูกละเมดิ สิทธมิ นษุ ยชน
ก. ไมเ่ ป็นผกู้ ระทำความรุนแรงใดๆ ต่อบุคคลอ่ืน
ข. ไม่ยอมให้บุคคลอ่ืนกระทำความรนุ แรงต่อตนเอง
ค. ไม่เพิกเฉยเม่ือพบเห็นการละเมิดสิทธติ อ่ บุคคลอนื่ ควรแจง้ เจ้าหน้าทที่ เ่ี ก่ยี วข้อง
ง.ถูกทุกข้อ

๔๐

เฉลย

1. ตอบ ค. เนปาล
2. ตอบ ง. ปากีสถาน
3. ตอบ ก. อโลภะ อโทสะ อโมหะ
4. ตอบ ก. ปัญญาพละ วริ ิพละ อนวชั พละ สงั คะพละ
5. ตอบ ข. การแบ่งปนั
6. ตอบ ง. รชั กาลที่ ๔
7. ตอบ ข. ยกมือไหว้กล่าวสวัสดี
8. ตอบ ก. วฒั นธรรมหยางฉา
9. ตอบ ค. สวมใสผ่ ้าไทยในการอนุรักษ์วัฒนธรรม
10. ตอบ ง. ถูกทกุ ข้อ
11. ตอบ ง. การเล้ียงไหม
12. ตอบ ค. จงั หวัดเพชรบุรี
13. ตอบ ก. ภาคเหนอื
14. ตอบ ง. ประเพณชี งิ เปรต
15. ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
16. ตอบ ค. การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมต่างๆภายในทวีปเอเชีย
17. ตอบ ก. ดำรง ใชก้ ารสัมผัสมอื กบั คนไทยในตา่ งประเทศแทนการไหว้
18. ตอบ ง. วรรณศูทร ได้รับการยกย่องให้เปน็ ชนช้นั สงู
19. ตอบ ง. ถูกทกุ ข้อ
20. ตอบ ง. น่งุ นอ้ ยห่มน้อยทำบุญทีว่ ัด
21. ตอบ ง. ความซือ่ สตั ย์ ความขยันในการประกอบอาชีพ และความตรงต่อเวลา
22. ตอบ ข. ความซอ่ื สัตย์ สุจรติ
23. ตอบ ก. พ.ศ. 2475
24 . ตอบ ข. เป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศในประเทศประชาธปิ ไตย
25. ตอบ ง. ถกู ทกุ ขอ้
26. ตอบ ง. หมวด 5 แนวนโยบายพน้ื ฐานแหง่ รัฐ
27. ตอบ ก. สิทธิและเสรภี าพของชนชาวไทย
28. ตอบ ง. ถกู ทุกข้อ
29. ตอบ ข. สังคมไทยยดึ มั่นในศาสนา
30. ตอบ ก. ยึดม่นั ในคุณธรรมและศลี ธรรม

๔๑

31. ตอบ ก. การรัฐประหาร
32. ตอบ ค. รับฟังและแลกเปล่ียนความคิดเห็นซึ่งกันและกันในครอบครัว
33. ตอบ ง. ไปใชส้ ิทธิเลือกตง้ั ทกุ ระดบั
34. ตอบ ค. ต๋อยใช้สิทธเิ ลือกตั้งทุกคร้ัง
35. ตอบ ง. ถกู ทกุ ขอ้
36. ตอบ ง. ถกู ทุกข้อ
37. ตอบ ง. ถกู ทุกขอ้
38. ตอบ ง. ถูกทกุ ข้อ
39. ตอบ ง. การยอมรับในหลกั สิทธมิ นุษยชน
40. ตอบ ง. ถูกทุกข้อ

๔๒

คณะผจู้ ดั ทำ

คณะทป่ี รึกษา ผูอ้ ำนวยการสำนักงาน กศน.จงั หวดั ชัยภมู ิ
นายจรูญศกั ดิ์ พุดนอ้ ย รองผอู้ ำนวยการสำนักงาน กศน.จงั หวัดชัยภมู ิ
นางสาวหลนิ ฟา้ ขนั ติรตั น์ ผอ.กศน.อำเภอเมืองชัยภูมิ
นายเกษม ทาขามปอ้ ม
ครู กศน.ตำบล
ผสู้ รุปเน้ือหา
นางสาวอดศิ รา คำลอยฟ้า ผอ.กศน.อำเภอภเู ขียว
ผอ.กศน.อำเภอบ้านแท่น
บรรณาธิการ ผอ.กศน.อำเภอเกษตรสมบรู ณ์
นางขวญั ใจ ไลนอก ผอ.กศน.อำเภอคอนสาร
นางชลุ พี ร เพญ็ จันทร์ ครูชำนาญการพเิ ศษ
นางนวพร สยุ่ วงค์ ครชู ำนาญการ
นางชลีพร กรดุ ทอง ครูชำนาญการ
นายกฤษณะ เพชรพชรกุล ครู
นางสาวสุดารัตน์ เผ่ามงมล ครผู ู้ชว่ ย
นายจรินทร์ อุตสาหะ
นางสาวธญั พฒน์ ออ่ นตา
นางสาวกนษิ ฐกานต์ ต้องทรัพย์

ผู้ออกแบบปก/รูปเลม่

เอกสารทางวิชาการ

๔๓


Click to View FlipBook Version