The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประกัน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nun07082516, 2021-11-24 23:10:53

ประกัน

รายงานการประกัน

บทท่ี 3
สรปุ ผลการประเมินตนเอง และแนวทางการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา

จากผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินตนเองในภาพรวมของ
สถานศึกษา ตามมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ดังน้ี

คะแนนจากผลการประเมินคณุ ภาพ

มาตรฐานการศกึ ษา ดา้ นที่ 1 ด้านที่ 2 ดา้ นท่ี 3 คุณภาพ รวม ระดบั
แตล่ ะประเภท คณุ ภาพของ คณุ ภาพการจัด การบริหารจัดการ คะแนนทไ่ี ด้ คณุ ภาพ

ผเู้ รียน การศึกษา ของสถานศึกษา

คะแนนเตม็ 50 คะแนน 20 คะแนน 30 คะแนน 100 คะแนน

มาตรฐานการศึกษา 50.00 20.00 23.20 93.20 ยอดเย่ยี ม

นอกระบบ ระดับการศึกษา

ขนั้ พ้ืนฐาน

มาตรฐานการศกึ ษา 49.34 20.00 23.20 92.54 ยอดเยย่ี ม

ตอ่ เน่ือง

มาตรฐานการศกึ ษา 49.96 19.97 23.20 93.13 ยอดเยี่ยม

ตามอัธยาศัย

คะแนนเฉลี่ย จากผลการประเมินตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 92.96 ยอดเยี่ยม

หมายเหตุ

สาหรับคะแนนท่ีจะกรอกลงในช่อง “คะแนนผลการประเมินคุณภาพ ด้านท่ี 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา”

ให้นาคะแนนจากผลการประเมินคุณภาพด้านการบริหารจัดการของสถานศึกษา ที่ประเมินไว้ในบทที่ 2 ไปใส่ในช่อง

“คะแนนผลการประเมินคุณภาพ ด้านท่ี 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา” ในมาตรฐานการศึกษาแต่ละ

ประเภท (ใช้คะแนนเดียวกนั ) เน่ืองจากเป็นมาตรฐานทใี่ ชป้ ระเด็นการพจิ ารณารว่ มกันในทกุ ประเภทการศกึ ษา

ทง้ั นี้ จากการสรปุ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เม่ือ
นาคะแนนเฉลี่ยจากทุกมาตรฐานท่ีได้ในภาพรวม ไปเทียบกับเกณฑ์ระดับคุณภาพ พบว่า สถานศึกษามี
ผลการประเมินตนเองในภาพรวม อยู่ในระดับ ยอดเยีย่ ม มีคะแนนรวมเท่ากับ 92.96 คะแนน และเมื่อ
พจิ ารณาผลการประเมนิ ตนเองตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละประเภท สามารถสรุปผลการประเมินตนเอง
ไดด้ ังนี้

สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง ประเภทการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
ระดับคณุ ภาพจากผลการประเมินคุณภาพ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ปงี บประมาณ 2564 หน้า 91

จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปไดว้ า่ สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน อยู่ในระดับ ยอดเย่ียม

ผลการดาเนนิ งาน ร่องรอย และหลกั ฐานทีส่ นบั สนนุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพ
. ด้านคณุ ภาพของผเู้ รยี นการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน

จากผลการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของสถานศึกษา พบว่า
สถานศึกษาได้ดาเนินการประชุมช้ีแจงนโยบายและแนวทางการปฏิบัติงานด้านการประเมินผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนแก่ผู้เกี่ยวข้อง มีการประเมินผลในระดับสถานศึกษาและประเมินคุณภาพการศึกษานอก
ระบบระดบั ชาติ ซึ่งมีร่องรอยการดาเนินงานคือ รายงานผลเฉลี่ยการสอบปลายภาคเรียนและรายงานผล
การทดสอบระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน(N-NET) มีการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา และ
ได้ดาเนินการจัดทาโครงการ/กิจกรรมท่ีส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะที่ดี
ตามทส่ี ถานศึกษากาหนด เช่น โครงการค่ายวชิ าการเพ่อื พัฒนาทกั ษะการเรยี นรเู้ ยาวชน กศน. โครงการ
สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข โครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของ
พระมหากษัตรยิ ์ไทย โครงการค่ายฝกึ อบรมลกู เสือวสิ ามญั นักศกึ ษา กศน. โครงการอบรมลูกเสือจิตอาสา
ทาความดีด้วยหัวใจ เป็นต้น ซ่ึงจากการเข้าร่วมโครงการต่าง ๆ ผู้เรียนได้รับเกียรติบัตร วุฒิบัตร อีกท้ัง
ผู้เรียนการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีความสามารถในการสร้างสรรค์ชิ้นงานหรือนวตกรรมโดยสามารถดูร่องรอย
จากผลงานการจัดทาโครงงานของผู้เรียน เช่น โครงงานวิทยาศาสตร์การทาสบู่ขมิ้นชัน โครงงานการทา
เจลแอลกอฮอล์ขมิ้นชันล้างมือ โครงงานการประดิษฐ์กระถางต้นไม้จากล้อรถยนต์ เป็นต้น จากการ
ดาเนนิ การจดั โครงการ/กิจกรรมทกุ โครงการสถานศกึ ษาไดด้ าเนนิ การจัดทารายงานสรุปผลการดาเนินงาน
นาเสนอผู้บรหิ ารสถานศึกษาอย่างต่อเน่อื ง

ด้านคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคญั
สถานศกึ ษามีการพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษาให้สอดคล้องกับบริบท และความต้องการ
ของกลุ่มเป้าหมาย และชุมชน ท้องถิ่น โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา เพ่ือนา
หลักสูตรสถานศึกษาไปใช้ในการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโดยคานึงถึงความ
แตกต่างระหว่างผู้เรียน มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการคิด และ
การลงมือปฏิบัติท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยครูที่มีความรู้ความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้
ผู้เรียน เพ่ือมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ หรือคุณลักษณะเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน นอกจากนี้ สถานศึกษาได้ดาเนินการจัดหาส่ือการเรียนรู้
ท่หี ลากหลายสอดคลอ้ งกับหลกั สูตรและวธิ กี ารเรียนรูต้ ามหลกั สูตรสถานศึกษา สถานศึกษามีการประเมิน
ความพึงพอใจการใช้สื่อของผู้เรียนต่อการเรียนรู้ และนาเสนอผลการประเมินต่อผู้บริหารสถานศึกษา
เพื่อนาผลการประเมินคุณภาพไปใช้ในการพัฒนาหรือจัดหาสื่อในครั้งต่อไป อีกทั้ง ครูมีการวัดผลและ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ปงี บประมาณ 2564 หน้า 92

ประเมินผลการเรยี นรขู้ องผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ โดยมีเครือ่ งมอื หรอื วธิ ีการวัดและประเมินผลที่สอดคล้อง
กับวตั ถุประสงคข์ องหลักสูตรและนาผลการประเมนิ มาพฒั นาการจดั กระบวนการเรยี นรู้ต่อไป

ด้านคณุ ภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา
สถานศึกษามีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ อัตลักษณ์ มาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา แผนพัฒนาการจัดการศึกษา (พ.ศ. 2560 - 2579) และแผนปฏิบัติการประจาปี พ.ศ.
2564 ท่ีสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถ่ิน และสอดคล้องตาม
นโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด ที่เน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรในสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้บริหาร
สถานศึกษา ข้าราชการ พนักงานราชการ คณะกรรมการสถานศึกษา และภาคีเครือข่าย ซ่ึงได้มีการเสนอ
แผนพัฒนาการจัดการศึกษา (พ.ศ. 2560 - 2579) และแผนปฏิบัติการประจาปี พ.ศ. 2564 แก่
คณะกรรมการสถานศึกษาในการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา เพ่ือพิจารณาและให้ข้อเสนอแนะ
ก่อนที่จะนาไปใช้ต่อไป สาหรับการดาเนินงานการประกันคุณภาพของสถานศึกษา สถานศึกษาได้
ดาเนินการจัดทารายงานการประเมินตนเองประจาปีทุกปี โดยการรายงานการประเมินคุณภาพภายในต่อ
คณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด ภาคีเครือข่าย และเผยแพร่ต่อสาธารณชน ซึ่งสถานศึกษา
ได้นาผลการประเมินคุณภาพภายในมาเป็นส่วนหนึ่งในการวางแผนการดาเนินงานในปีต่อไป นอกจากนี้
สถานศึกษาได้ดาเนินการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้สามารถจัดการเรียนรู้ในแก่กลุ่มเป้าหมาย
ได้อยา่ งมีคุณภาพ และสถานศกึ ษาไดน้ าเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการในการดาเนินงานของ
สถานศกึ ษาใหเ้ กดิ ความรวดเร็ว ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน เช่น โปรแกรม e-Office, โปรแกรม e-budget,
โปรแกรม e-Person, โปรแกรม e-Command, โปรแกรม e-Student, โปรแกรม C-Smart, โปรแกรม
e-Salary, ระบบฐานข้อมูลเพ่ือการบริหารจัดการ (DMIS) เป็นต้น ทั้งน้ี ในการดาเนินงานโครงการ/
กิจกรรมตา่ ง ๆ สถานศึกษาสามารถดาเนนิ งานไดเ้ ป็นไปตามแผนปฏิบัติงานประจาปีท่ีกาหนดไว้ โดยการมี
ส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย และจัดให้มีการกากับ ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานภายในสถานศึกษา
อย่างต่อเนื่อง พร้อมท้ังได้จัดทารายงานผลการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรม และนาผลการประเมิน
ดงั กล่าวไปใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพการดาเนนิ งานในคร้ังตอ่ ไป

แนวทางการพัฒนาคุณภาพ

ประเด็นท่ีควรพัฒนา แนวทางการพฒั นาคุณภาพการศึกษา

1. ควรพฒั นาด้านผู้เรียนการศึกษาขั้นพืน้ ฐานให้มี สถานศกึ ษาควรจัดทาโครงการ/กิจกรรมเพ่ือพัฒนา

ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนท่ีดีขึ้น ให้ผเู้ รียนมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนท่ดี ขี ึน้

2. ควรพฒั นาส่ือการเรียนการสอนดว้ ยโปรแกรม สถานศึกษาควรจัดทาส่ือการเรียนการสอนโดยการ

Google Classroom/ Google form/Google Sites นาโปรแกรม Google Classroom/ Google

form/Google Sites มาใช้ในการจัดทาสือ่ ให้แก่

ผู้เรียน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ปงี บประมาณ 2564 หน้า 93

3. ควรพฒั นาผเู้ รียนการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานใหม้ สี ุขภาวะ สถานศึกษาควรจดั ทาจดั โครงการและกจิ กรรม

ทางกาย และสนุ ทรียภาพท่ีดี ส่งเสรมิ ให้ผ้เู รียนมีสขุ ภาวะทางกาย และ

สนุ ทรยี ภาพทีด่ ี

ความต้องการการส่งเสรมิ สนบั สนนุ จากหน่วยงานตน้ สังกดั
1. การอบรมและพัฒนาครูผูส้ อนด้านการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
2. ส่ือและนวตกรรมสาหรบั สง่ เสริมการจดั กระบวนการเรียนการสอนการศึกษานอกระบบระดับ

การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

สรุปผลการประเมนิ ตนเอง ประเภทการศึกษาต่อเนือ่ ง
ระดับคณุ ภาพจากผลการประเมนิ คุณภาพ
จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปได้ว่า สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐาน

การศกึ ษาต่อเนื่อง อยู่ในระดบั ยอดเย่ยี ม
ผลการดาเนนิ งาน ร่องรอย และหลักฐานทีส่ นับสนุนผลการประเมนิ คุณภาพ
ด้านคณุ ภาพของผเู้ รียนการศกึ ษาต่อเนื่อง
จากผลการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ืองของสถานศึกษา พบว่า ผู้เรียน

การศึกษาต่อเน่ือง สามารถเข้าร่วมกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เป็นไปตามแผนการจัดการเรียนรู้ในแต่ละ
หลกั สูตรได้ สามารถผ่านกระบวนการวัดและประเมินผล จนมีคุณสมบัติครบถ้วนสามารถจบการศึกษาตาม
หลักสูตรในแต่ละหลักสูตรได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ในทุกหลักสูตร ซึ่งจะปรากฏในรายงานผู้สาเร็จการศึกษา
ต่อเนื่องเป็นรายหลักสูตรและจากการติดตามผู้จบการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง พบว่า มีผู้
จบการศกึ ษาต่อเนื่องบางส่วนสามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ จนกระทั่งมีผล
การดาเนินงานในพื้นที่เป็นเชิงประจักษ์เป็นรายบุคคล หรือเป็นกลุ่ม เช่น โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
การทาปลาสม้ และการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ โครงการการทาผ้ึงโพรงไทย (พรไุ ทยฮนั น่ีบี) เป็นต้น

ดา้ นคุณภาพการจดั การเรียนรกู้ ารศึกษาตอ่ เน่ือง
สถานศึกษามีการประชมุ วางแผนการดาเนินงาน มีการจดั หา และพัฒนาหลกั สตู ร
การศึกษาตอ่ เน่อื งทีม่ คี วามหลากหลายเป็นไปตามบริบท และความต้องการของกลุ่มเปา้ หมาย ซง่ึ สถาน
ศึกษามีหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ืองต้ังแต่ 6 ช่ัวโมงข้ึนไป ประจาปีงบประมาณ 2564 จานวน 25
โครงการ เช่น หลักสูตรการทาขนมไทย หลักสูตรการทาปลาส้ม หลักสูตรการเลี้ยงผึ้งโพรงไทย หลักสูตร
การเพ้นท์ผ้าถุง เป็นต้น ซึ่งสถานศึกษาสามารถนาหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ืองแต่ละหลักสูตรไปใช้ในการ
จดั การเรยี นรู้ให้แกก่ ลมุ่ เปา้ หมายได้ โดยใชว้ ิทยากรหรอื ผ้จู ัดการเรียนรู้ท่ีมีความรู้ ความสามารถตรงตาม
หลักสูตร สามารถจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปตามแผนการจัดการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม มีการใช้ส่ือท่ีเอ้ือ
ต่อการจัดการศึกษาต่อเน่ือง มีการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียน มีการวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ท่ีสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ของแต่ละหลักสูตร ส่งผลให้ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่องจบการศึกษา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ปงี บประมาณ 2564 หน้า 94

ตามหลักสูตรร้อยเปอร์เซ็นต์ สถานศึกษามีการติดตามผลผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่มีการนา

ความรู้ท่ีได้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน นอกจากน้ี มีการรายงานผลการดาเนินการจัดโครงการ/กิจกรรม

การศกึ ษาต่อเน่ืองเสนอผู้บรหิ ารทุกโครงการ และมีการนาโปรแกรม C-Smart มาใช้ในการบริหารจัดการ

งานการศึกษาต่อเนือ่ งใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ

ด้านคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศึกษา

สถานศึกษามีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ อัตลักษณ์ มาตรฐานการศึกษา

ของสถานศึกษา แผนพัฒนาการจัดการศึกษา (พ.ศ. 2560 - 2579) และแผนปฏิบัติการประจาปี พ.ศ.

2564 ท่ีสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถ่ิน และสอดคล้องตาม

นโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด ที่เน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรในสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้บริหาร

สถานศึกษา ข้าราชการ พนักงานราชการ คณะกรรมการสถานศึกษา และภาคีเครือข่าย ซึ่งได้มีการเสนอ

แผนพัฒนาการจัดการศึกษา (พ.ศ. 2560 - 2579) และแผนปฏิบัติการประจาปี พ.ศ. 2564 แก่

คณะกรรมการสถานศึกษาในการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา เพ่ือพิจารณาและให้ข้อเสนอแนะ

ก่อนที่จะนาไปใช้ต่อไป สาหรับการดาเนินงานการประกันคุณภาพของสถานศึกษา สถานศึกษาได้

ดาเนินการจัดทารายงานการประเมินตนเองประจาปีทุกปี โดยการรายงานการประเมินคุณภาพภายในต่อ

คณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด ภาคีเครือข่าย และเผยแพร่ต่อสาธารณชน ซ่ึงสถานศึกษา

ได้นาผลการประเมินคุณภาพภายในมาเป็นส่วนหน่ึงในการวางแผนการดาเนินงานในปีต่อไป นอกจากน้ี

สถานศึกษาได้ดาเนินการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถจัดการเรียนรู้ในแก่กลุ่มเป้าหมาย

ไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพ และสถานศึกษาได้นาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการในการดาเนินงานของ

สถานศึกษาให้เกิดความรวดเร็ว ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน เช่น โปรแกรม e-Office, โปรแกรม e-

budget, โปรแกรม e-Person, โปรแกรม e-Command, โปรแกรม e-Student, โปรแกรม C-Smart,

โปรแกรม e-Salary, ระบบฐานข้อมูลเพ่ือการบริหารจัดการ (DMIS) เป็นต้น ทั้งน้ี ในการดาเนินงาน

โครงการ/กจิ กรรมตา่ ง ๆ สถานศึกษาสามารถดาเนินงานได้เป็นไปตามแผนปฏิบัติงานประจาปีท่ีกาหนดไว้

โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย และจัดให้มีการกากับ ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานภายใน

สถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งได้จัดทารายงานผลการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรม และนาผลการ

ประเมินดังกล่าวไปใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพการดาเนินงานในคร้ังตอ่ ไป

แนวทางการพัฒนาคุณภาพ

ประเด็นทค่ี วรพัฒนา แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา

การพัฒนาผจู้ บหลกั สูตรการศึกษาต่อเน่ืองทนี่ า สถานศกึ ษาควรจดั กิจกรรมโครงการเพ่ือเป็นการ

ความรไู้ ปใชจ้ นเหน็ เป็นประจักษห์ รือตัวอยา่ งท่ีดี ตอ่ ยอดให้กล่มุ ผู้จบหลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เน่ืองทนี่ า

ความรไู้ ปใชจ้ นเหน็ เป็นท่ีประจกั ษห์ รือตวั อยา่ งท่ีดี

เพอ่ื เพิ่มความรแู้ ละประสบการณ์ในการทางานให้มี

ประสิทธภิ าพมากขนึ้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ 2564 หน้า 95

ความต้องการการส่งเสรมิ สนบั สนนุ จากหนว่ ยงานต้นสงั กัด
ต้องการให้สานักงาน กศน.จังหวัดสุราษฎร์ธานี จัดหาครุภัณฑ์สาหรับใช้ในการจัดกิจกรรม
การศกึ ษาตอ่ เน่ือง

สรปุ ผลการประเมินตนเอง ประเภทการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
ระดบั คณุ ภาพจากผลการประเมนิ คุณภาพ
จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปได้ว่า สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐาน

การศกึ ษาตามอัธยาศัย อยูใ่ นระดบั ยอดเย่ียม
ผลการดาเนนิ งาน รอ่ งรอย และหลักฐานทส่ี นบั สนนุ ผลการประเมนิ คุณภาพ
ด้านคุณภาพของผรู้ ับบรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศัย
สถานศึกษาได้ดาเนินการจัดทาแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ 2564 และได้

ดาเนินการจัดโครงการ/กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัยตามแผนงาน/โครงการ ส่งผลให้ผู้รับบริการได้รับ
ความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ จากการเข้าร่วมโครงการหรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยใน
รูปแบบตา่ ง ๆ ทมี่ กี ารกาหนดวัตถุประสงค์ของการจัดไวอ้ ย่างชัดเจน

ด้านคณุ ภาพการจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย
สถานศึกษามีการกาหนดและจัดทาโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยที่
สอดคล้องกับสภาพบริบท หรือความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในชุมชน สังคม และเป็นไปตามนโยบาย
ของหนว่ ยงานต้นสังกัด โดยได้ดาเนินการจัดทาแผนปฏิบัติการ และดาเนินการจัดทาโครงการ/กิจกรรม
ตามแผนงาน/โครงการท่ีวางไว้ มีการออกแบบการจัดกิจกรรมท่ีหลากหลายสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
และกลุ่มเป้าหมายของโครงการ สาหรับการจัดกิจกรรมได้ดาเนินการจัดกิจกรรมโดยผู้ท่ีมีความรู้
ความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ซึ่งผู้จัดกิจกรรมได้พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
เพอ่ื ให้ผู้รบั บรกิ ารได้รับความรู้ หรือทกั ษะ หรือประสบการณ์ ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ โดยการเข้า
ร่วมประชุม/อบรม การศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง ศึกษาดูงาน นอกจากน้ีสถานศึกษาสามารถพัฒนา หรือ
จัดหาสื่อ และจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ในการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย
สถานศึกษามีการจัดทาทาเนียบแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน อีกทั้ง ได้ดาเนินการประเมินความพึง
พอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยทุกโครงการ และจัดทารายงานสรุปผลการประเมิน
ความพงึ พอใจในแต่ละโครงการเสนอผบู้ ริหาร
ดา้ นคุณภาพการบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษา
สถานศึกษามีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ อัตลักษณ์ มาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา แผนพัฒนาการจัดการศึกษา (พ.ศ. 2560 - 2579) และแผนปฏิบัติการประจาปี พ.ศ.
2564 ทส่ี อดคล้องกับบรบิ ทของสถานศกึ ษา ความตอ้ งการของชมุ ชน ท้องถ่ิน และสอดคล้องตามนโยบาย
ของหน่วยงานต้นสังกัด ที่เน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรในสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา
ข้าราชการ พนักงานราชการ คณะกรรมการสถานศึกษา และภาคีเครือข่าย ซึ่งได้มีการเสนอแผนพัฒนา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ 2564 หน้า 96

การจัดการศึกษา (พ.ศ. 2560 - 2579) และแผนปฏิบัติการประจาปี พ.ศ. 2564 แก่คณะกรรมการ
สถานศึกษาในการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อพิจารณาและให้ข้อเสนอแนะก่อนท่ีจะนาไปใช้
ตอ่ ไป สาหรับการดาเนนิ งานการประกันคุณภาพของสถานศึกษา สถานศึกษาได้ดาเนินการจัดทารายงาน
การประเมินตนเองประจาปีทุกปี โดยการรายงานการประเมินคุณภาพภายในต่อคณะกรรมการสถานศึกษา
หนว่ ยงานต้นสงั กัด ภาคเี ครอื ขา่ ย และเผยแพร่ตอ่ สาธารณชน ซง่ึ สถานศกึ ษาไดน้ าผลการประเมินคุณภาพ
ภายในมาเป็นส่วนหน่ึงในการวางแผนการดาเนินงานในปีต่อไป นอกจากน้ีสถานศึกษาได้ดาเนินการ
พัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้สามารถจัดการเรียนรู้ในแก่กลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีคุณภาพ และ
สถานศึกษาไดน้ าเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชใ้ นการบริหารจัดการในการดาเนินงานของสถานศึกษาให้เกิดความ
รวดเร็ว ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน เช่น โปรแกรม e-Office, โปรแกรม e-budget, โปรแกรม e-Person,
โปรแกรม e-Command, โปรแกรม e-Student, โปรแกรม C-Smart, โปรแกรม e-Salary, ระบบ
ฐานข้อมูลเพ่ือการบริหารจัดการ (DMIS) เป็นต้น ทั้งนี้ ในการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ
สถานศกึ ษาสามารถดาเนนิ งานได้เป็นไปตามแผนปฏบิ ตั งิ านประจาปที กี่ าหนดไว้ โดยการมีส่วนร่วมของภาคี
เครือข่าย และจัดให้มีการกากับ ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานภายในสถานศึกษาอย่างต่อเน่ือง
พร้อมทงั้ ไดจ้ ดั ทารายงานผลการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรม และนาผลการประเมินดังกล่าวไปใช้ในการ
พฒั นาคณุ ภาพการดาเนนิ งานในคร้งั ต่อไป

แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพ

ประเดน็ ท่คี วรพัฒนา แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
1. สถานศึกษาขาดส่ือเทคโนโลยดี จิ ิทลั ไวบ้ รกิ าร 1. สถานศกึ ษาควรจัดหาสอื่ เทคโนโลยีดิจทิ ลั ไว้
ใหแ้ กผ่ รู้ ับบรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศยั บรกิ ารใหแ้ ก่ผู้รบั บริการการศึกษาตามอัธยาศัย
2. สถานศกึ ษาขาดครภุ ัณฑเ์ พื่อสนบั สนุนการจดั 2. สถานศกึ ษาควรจัดหาครภุ ัณฑ์เพือ่ สนบั สนนุ การ
สภาพแวดลอ้ มใหเ้ อื้อตอ่ การเรียนรู้ จดั สภาพแวดล้อมใหเ้ อื้อตอ่ การเรยี นรู้

ความตอ้ งการการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ จากหนว่ ยงานต้นสงั กดั
ต้องการใหส้ านกั งาน กศน.จังหวัดสุราษฎรธ์ านี จัดหาครภุ ณั ฑ์สาหรบั ใช้ในการจัดสภาพแวดล้อม
ใหเ้ อือ้ ต่อการเรียนรู้

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ปงี บประมาณ 2564 หน้า 97


Click to View FlipBook Version