สื่อสร้างสรรค์
ส่ือสร้างสรรค์ หมายถึง ส่ือนาเสนอในรูปของเทคโนโลยีนาเสนอต่างๆ เช่น
คลิปวดี ีโอ หนงั ส้นั ภาพ กราฟิ ก ภาพเคล่ือนไหว เป็นตน้
ความหมายของสื่อ
เมื่อพิจารณาคาว่า “สื่อ” ในภาษาไทยกบั คาในภาษาองั กฤษ พบว่ามีความหมาย
ตรงกบั คาวา่ “media” (ในกรณีท่ีมีความหมายเป็นเอกพจนจ์ ะใชค้ าวา่ “medium”)
คาวา่ “สื่อ” ในพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ไดใ้ ห้ ความหมาย
ของคาน้ีไวด้ งั น้ี “สื่อ (กริยา) หมายถึง ติดต่อใหถ้ ึงกนั เช่น สื่อความหมาย, ชกั นาใหร้ ู้จกั
กนั ส่ือ (นาม) หมายถึง ผูห้ รือส่ิงท่ีติดต่อให้ถึงกนั หรือชักนาให้รู้จกั กัน เช่น เขาใช้
จดหมายเป็นสื่อติดต่อกนั , เรียกผูท้ ี่ทาหนา้ ท่ีชกั นาใหชายหญิงไดแ้ ต่งงานกนั ว่า พ่อสื่อ
หรือ แม่ส่ือ; (ศิลปะ) วสั ดุต่างๆ ท่ีนามาสร้างสรรคง์ านศิลปกรรม ให้มีความหมายตาม
แนวคิด ซ่ึงศลิ ปิ นประสงคแ์ สดงออกเช่นน้นั เช่น สื่อผสม”
คาวา่ “สื่อ” ตามพจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 และ พ.ศ. 2525
หมายถึง ทาการติดต่อให้ถึงกนั ชกั นาให้รู้จกั กนั ในกระบวนการสื่อสารมวลชน คาว่า
“ส่ือ” (Channel or Medium) คือ พาหนะนาข่าวสาร (Message Vehicles) หรือพาหนะ
ของสารหรือส่ิงท่ีขนส่งสาร (Carrier of Messages) จากผูส้ ่งสารไปยงั ผรู้ ับสาร ผสู้ ่งสาร
ไปไดก้ ็ตอ้ งอาศยั สื่อท่ีจะถ่ายทอดข่าวสารออกไปและข่าวสารจะไปถึงผูร้ ับไดก้ ็ตอ้ ง
อาศยั ส่ือพาไป เช่นคลื่นวิทยใุ นอากาศนาเสียงพูดไปให้ผูฟ้ ัง กระดาษนาตวั อกั ษรและ
ภาพท่ีปรากฏไปให้ผูร้ ับสารไดอ้ ่านเป็ นตน้ ทางดา้ นผูร้ ับสารกเ็ ช่นเดียวกนั ตอ้ งอาศยั สื่อ
ในการรับสารน้นั ๆ เช่น ผรู้ ับสารจะตอ้ งมีเครื่องรับวิทยุ เป็นตน้ ดงั น้นั ท้งั สองฝ่ ายต่าง
อาศยั ส่ือเพ่ือการติดต่อให้ถึงกนั มนุษยไ์ ด้คิดค้นประดิษฐ์สร้างข้ึน เสาะหาวิธีการหา
ช่องทางในรูปแบบต่าง ๆ กนั ตามสภาพของทรัพยากรในทอ้ งถิ่นของตนเอง และพฒั นา
วธิ ีการ กระบวนการ และเคร่ืองมืออุปกรณ์ให้กา้ วหนา้ เพ่ิมพูนสมรรถนะ คุณภาพและ
ประสิทธิภาพในการแสวงหาสาร การเก็บสาร การส่งสาร การรับสาร และการสื่อสาร
กลบั เพือ่ ใหเ้ กิดประโยชนใ์ นการส่ือสารของมนุษยต์ ่อไป
การพิจารณาถึงเรื่องสื่อน้นั มีปัจจยั 3 ประการที่เกี่ยวขอ้ ง ไดแ้ ก่ (1) วสั ดุท่ีรองรับ
(2) สัญลกั ษณ์ที่สร้างข้ึนอยา่ งมีความหมายเป็นสาร (3) พาหนะท่ีจะนาวสั ดุที่มีสารไปให้
ถึงผรู้ ับสาร
ดงั น้นั จึงข้ึนอยกู่ บั การหาวธิ ีการ หาช่องทางของมนุษยใ์ นรูปแบบต่าง ๆ กนั ใน
การใชท้ รัพยากรในทอ้ งถิ่นของคนแตกต่างกนั ไปตามยคุ ตามสมยั เช่น ใช้ “สื่อบุคคล”
หรือ “คน” เพื่อการสื่อสารด้วยวตั ถุประสงค์ของการส่ือสารที่ต่างกนั โดยคนได้คิด
ท่าทาง อากปั กิริยาเป็ นสารให้คนอ่ืน ๆ เขา้ ใจความหมายใช้สื่อบุคคลในลกั ษณะเป็ น
พาหนะที่มีสารโดยเป็ นเจา้ หน้าที่ส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร สาธารณสุขออกไป
พบปะพูดคุยกับประชาชน การใช้ศิลปิ นส่ือพ้ืนบ้านเพื่อเป็ นช่องทางในการเผยแพร่
ความรู้และเปลี่ยนแปลงทศั นคติการทาหมนั และการวางแผนครอบครัว การใช้บุรุษ
ไปรษณียเ์ พ่ือนาจดหมายไปบริการประชาชน นอกจากน้นั ส่ือบุคคลยงั พยายามหาวสั ดุ
เพื่อรองรับสาร เป็ นช่องทางในการเผยแพร่ เช่น ใชฝ้ าผนงั ผนงั ถ้า ดินเหนียว หนงั สัตว์
ไมไ้ ผ่ กระดาษสา แผ่นใส และแมแ้ ต่งานศิลปหัตถกรรม การป้ัน แกะสลกั กไ็ ดใ้ ชเ้ ป็ น
ช่องทางในการถ่ายทอดสารใหค้ นอื่นไดร้ ับสารบางอยา่ งอยดู่ ว้ ย
นกั เทคโนโลยกี ารศึกษาไดม้ ีการนิยามความหมายของคาวา่ “สื่อ” ไวด้ งั ต่อไปน้ี
Heinich และคณะ (1996) Heinich เป็นศาสตราจารย์ ภาควิชาเทคโนโลยรี ะบบการเรียน
การสอน ของมหาวิทยาลัยอินเดียน่า (Indiana University) ให้คาจากัดความคาว่า
“media” ไวด้ ังน้ี “Media is a channel of communication.” ซ่ึงสรุปความเป็ นภาษาไทย
ไดด้ งั น้ี “ส่ือ คือช่องทางในการติดต่อสื่อสาร” Heinich และคณะยงั ไดข้ ยายความเพม่ิ เติม
อีกว่า “media มีรากศพั ทม์ าจากภาษาลาติน มีความหมายวา่ ระหวา่ ง (between) หมายถึง
อะไรก็ตามซ่ึงทาการบรรทุกหรือนาพาขอ้ มูลหรือสารสนเทศ สื่อเป็ นส่ิงที่อยรู่ ะหว่าง
แหล่งกาเนิดสารกบั ผรู้ ับสาร”
A. J. Romiszowski (1992) ศาสตราจารยท์ างดา้ นการออกแบบ การพฒั นา และ
การประเมินผลสื่อการเรียนการสอน ของมหาวิทยาลยั ซีราคิวส์ (Syracuse University)
ใ ห้ ค า จ ากั ด ค ว าม ค าว่ า “media” ไ ว้ดั งน้ี “the carriers of messages, from some
transmitting source (which may be a human being or an inanimate object) to the
receiver of the message (which in our case is the learner)” ซ่ึงสรุปความเป็ นภาษาไทย
ไดด้ งั น้ี “ตวั นาสารจากแหล่งกาเนิดของการส่ือสาร (ซ่ึงอาจจะเป็นมนุษย์ หรือวตั ถุท่ีไม่มี
ชีวติ ) ไปยงั ผรู้ ับสาร (ซ่ึงในกรณีของการเรียนการสอนกค็ ือ ผเู้ รียน)”
ดังน้ันจึงสรุ ปได้ว่า ส่ื อ หมายถึง สิ่ งใดๆ ก็ตามที่เป็ นตัวกลางระหว่าง
แหล่งกาเนิดของสารกบั ผูร้ ับสาร เป็ นส่ิงท่ีนาพาสารจากแหล่งกาเนินไปยงั ผูร้ ับสาร
เพอ่ื ใหเ้ กิดผลใดๆ ตามวตั ถุประสงคข์ องการสื่อสาร
ส่ือ หมายถึง สิ่งที่ทาใหป้ รากฎดว้ ยอกั ษร เคร่ืองหมาย ภาพ หรือเสียง ไม่วา่ จะได้
จดั ทาในรูปแบบของเอกสาร สิ่งพิมพ์ ภาพเขียน ภาพพิมพ์ ภาพระบายสี รูปภาพ ภาพ
โฆษณา รูปถ่าย ภาพยนตร์ วดิ ีทศั น์ การแสดง ขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ในระบบคอมพิวเตอร์
หรือไดจ้ ดั ทาในรูปแบบอ่ืนใดตามที่กาหนดในกฎกระทรวง (มาตรา 3 วรรค 2)
สื่อปลอดภยั และสร้างสรรค์ หมายถึง ส่ือท่ีมีเน้ือหาส่งเสริมศีลธรรม จริยธรรม และ
วฒั นธรรม ส่งเสริมการเรียนรู้ทักษะการใช้ชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะเด็กและ
เยาวชน ส่งเสริมความสัมพนั ธ์ที่ดีในครอบครัวและสงั คม รวมถึงส่งเสริมใหป้ ระชาชนมี
ความสามคั คีและใช้ชีวิตในสังคมท่ีมีความหลากหลายได้อย่างมีความสุข (มาตรา 3
วรรค 3)
ประเภทส่ือสร้างสรรค์
การแบ่งประเภทของสื่อ นกั วชิ าการไดแ้ บ่งไวห้ ลายรูปแบบ ไดแ้ ก่
1. แบ่งประเภทของส่ือออกเป็นส่ือสิ่งพมิ พ์ และสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ ดงั น้ี
1.1 ส่ือสิ่งพมิ พ์ (Printed Media) ไดแ้ ก่ หนงั สือพิมพ์ นิตยสาร หนงั สือ ภาพถ่าย
1.2 ส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Media) ไดแ้ ก่ วทิ ยกุ ระจายเสียง วทิ ยโุ ทรทศั น์
ภาพยนตร์
2. แบ่งประเภทของส่ือออกเป็ นส่ือที่รับรู้โดยการฟังหรือสื่อโสต การเห็นหรือส่ือทศั น์
และท้งั การฟังและการมองเห็นหรือส่ือโสตทศั น์ ดงั น้ี
2.1ส่ือโสต (Audio Media ) ไดแ้ ก่ วทิ ยกุ ระจายเสียง เทป
2.2 ส่ือทศั น์ ( Visual Media) ไดแ้ ก่ หนงั สือพมิ พ์ นิตยสาร หนงั สือ ภาพถ่าย
3. แบ่งประเภทของสื่อเป็นสื่อร้อนและส่ือเยน็ ดงั น้ี
3.1 ส่ือร้อน (Hot Media) ส่ือที่นาสารส่งไปยงั ผรู้ ับสาร และผรู้ ับสารไม่ไดม้ ีส่วน
ร่วมในการส่งสารเลย ผูร้ ับสารไม่ตอ้ งใช้ความพยายามใด เพื่อให้ได้สารที่สมบูรณ์
เพราะมีคนจดั คอยดูแลให้ เช่น ภาพยนตร์ มีช่างเทคนิคของโรงภาพยนตร์ไดจ้ ดั การฉาย
ใหช้ ม เป็นตน้
3.2 สื่อเยน็ (Cool Media) คือ ส่ือท่ีนาข่าวสารไปยงั ผูร้ ับ โดยบางคร้ัง ผูร้ ับสาร
จาเป็นตอ้ งมีส่วนร่วมในการพยายามใหไ้ ดข้ ่าวสารที่สมบูรณ์ เช่น วิทยโุ ทรทศั น์ภาพลม้
ผชู้ มตอ้ งปรับภาพ เป็นตน้
4. การแบ่งประเภทของสื่อโดยธรรมชาติในการนาสาร
ดงั น้ี
4.1 ส่ือวจั นะ ไดแ้ ก่ สื่อที่นาสารในลกั ษณะที่เป็ นภาษาพูด ภาษาเขียน เช่น การ
พดู การเขียน ทางส่ือมวลชนต่าง ๆ เป็นตน้
4.2 สื่ ออวัจนะ ได้แก่ส่ื อที่นาสารซ่ึ งไม่เป็ นภาษาพูด แต่เป็ นสัญลักษณ์
เคร่ืองหมาย (Signs) และอากปั กิริยา การเคล่ือนไหวของร่างกาย ริมฝี ปาก การแสดงออก
บนใบหนา้ นยั นต์ า การขมวดคิว้ การใชส้ ัญญาณมือ การสัมผสั การใชส้ ัญญาณไฟ การตี
เกราะ กลอง การยงิ พลุเพื่อขอความช่วยเหลือของผทู้ ่ีรอดชีวิตจากเครื่องบินตก หรือเรือ
อบั ปราง สัญญาณจราจร ป้ายทางเขา้ ออก ทางไปห้องน้าชาย – หญิง ฯลฯ นอกจากน้นั
ยงั มีส่ือวฒั นธรรมหรือส่ือพ้ืนบา้ น เช่น ศิลปหตั ถกรรมพ้ืนบา้ น ดนตรี
5. การแบ่งประเภทของสื่อ ตามรูปแบบและสถานการณ์การส่ือสาร สามารถแบ่งส่ือได้
เป็น 3 ลกั ษณะ ดงั น้ี
5.1 ส่ือภายในบุคคล ( Intrapersonal Communication) เป็นการสื่อสารกบั ตนเอง
หรือการส่งสารของบุคคลคนเดียว แต่ละบุคคลมีการส่ือสารภายในตนเองทุกคน เน้ือหา
สาระในการส่ือสารมาจากประสบการณ์ ข่าวสาร และขอ้ มูลที่แต่ละคนไดร้ ับ ตวั บุคคล
จึงนบั ไดว้ า่ เป็นส่ือหรือช่องทางในการส่ือสารกบั ตนเอง หรือการส่ือสารภายในบุคคล
5.2 ส่ื อระหว่างบุคคล ( Interpersonal Communication) การส่ื อสารระหว่าง
บุคคลเป็นรูปแบบของการส่ือสารต้งั แต่ 2 คนข้ึนไป สื่อท่ีใชใ้ นการส่ือสารประเภทน้ี คือ
สื่อบุคคล บุคคลไดม้ ีการพูดกนั อย่างเป็ นทางการ และไม่เป็ นทางการ ไดต้ ิดต่อส่ือสาร
กนั ทางจดหมาน โทรเลข โทรศพั ท์ โทรพิมพ์ เทเลคอมเฟอเร็นซ์ การส่ือสารระหว่าง
บุคคลน้นั ผูส้ ่งสารรู้แน่ชดั วา่ เป็ นกลุ่มใด ผลสะทอ้ นกลบั จากผูร้ ับสารกม็ ีไดง้ ่ายกว่า สื่อ
หรือช่องทางการส่ือสารสามารถใชน้ าสารไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
5.3 การสื่อสารมวลชน (Mass Communication) เป็ นการแบ่งประเภทสื่อโดย
อาศยั การรับรู้ผา่ นประสาทสัมผสั เป็นหลกั คือ
1. สื่อที่รับไดด้ ว้ ยการมองเห็น หรือสื่อทศั น์ (Visual Media) ไดแ้ ก่ หนงั สือพิมพ์
(Newspaper) ภาพถ่าย( Photography)
2. ส่ือท่ีรับไดด้ ว้ ยการฟัง (Audio Media) หรือสื่อโสต ไดแ้ ก่ วทิ ยกุ ระจายเสียง
3. ส่ือไท่ีรับได้ด้วยการฟังและการมองเห็น หรือส่ือโสตทัศน์ (Audio-Visual
Media) ผูร้ ับสารรับสารโดยการมองเห็นและการไดย้ นิ พร้อม ๆ กนั ไดแ้ ก่ วิทยุ
โทรทัศน์ ภาพยนตร์ วีดิโอ (Video) วีดิโอดิส ( Videodise) การแสดงบนเวที
( Theatre) เช่น ละคร ดนตรี อุปรากร การฟ้อนรา เป็นตน้
6. การแบ่งประเภทของส่ือเป็นสื่อสนบั สนุน ( Supporting Channels) แบ่งไดเ้ ป็น
3 ประเภท ดงั น้ี
6.1 สื่อสนบั สนุนในการบนั ทึกข่าวสาร คือ โครงสร้างพ้ืนฐานที่เก่ียวกบั การพิมพ์
การบนั ทึกเสียง การบนั ทึกภาพ ซ่ึงตอ้ งอาศยั เครื่องพิมพ์ เคร่ืองบนั ทึกเสียง เคร่ืองเล่น
แผ่นเสียง กลอ้ งถ่ายรูป และวสั ดุรองรับสาร ได้แก่ กระดาษ แถบบันทึกเสียง แถบ
บนั ทึกภาพ ฟิ ลม์ แผน่ เสียง เป็นตน้
6.2 ส่ือสนับสนุนในการขนส่งข่าวสาร คือ โครงสร้างพ้ืนฐานที่เก่ียวกบั ระบบ
การคมนาคม (Transportation) และบริการไปรษณีย์ ( Postal Services) ไดแ้ ก่ เครือข่าย
ของเส้นทางคมนาคมทางบก ทางอากาศ ทางเรือ ยานพาหนะ บริการส่งจดหมาย และ
ไปรษณียภ์ ณั ฑ์ อ่ืน ๆ
6.3 ส่ือสนบั สนุนในการถ่ายทอดข่าวสาร เป็ นโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีช่วยให้การ
ถ่ายทอดข่าวสาร ( Transmission of messages) จากที่หน่ึงไปยงั อีกท่ีหน่ึง โดยอาศยั คลื่น
แม่เหลก็ ไฟฟ้า ถ่ายทอดสัญญาณผ่านระบบสาย ระบบวทิ ยุ ระบบแสง และระบบสื่อสาร
ดาวเทียม ซ่ึงอาจเรียกรวมกนั ว่า “การส่ือสารโทรคมนาคม” (Telecommunication) หรือ
ส่ือส่งสัญญาณ (Transmission Media) ได้แก่ โทรเลข ดทรศัพท์ โทรพิมพ์ โทรภาพ
โทรสาร โทรทศั นต์ ามสาย วทิ ยคุ มนาคม เป็นตน้
ในท่ีน้ี จะพิจารณาเรื่องส่ือ ตามเหตุการณ์ท่างการสื่อสารตามลาดบั