The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by foursahasawas, 2019-01-16 03:47:59

บทที่ 6 วิชาเศรษฐศาสตร์

รายงาน


เรื่อง หน่วยที่6 ตลาดในระบบเศรษฐกิจ


และการก าหนดราคาในตลาดประเภทต่างๆ





จัดท าโดย


นางสาว สุพรรษา ไทยลือนาม เลขที่7


นางสาว ณิชาภัทร หล่อภัทรพงศ์ เลขที่15

นางสาว อุษณีย์ บรรหาร เลขที่27


ระดับชั้น ปวส.1/3 แผนก การจัดการโลจิสติกส์


เสนอ


อาจารย์ วงเดือน พูลสวัสดิ์





รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาหลักเศรษฐศาสตร์


ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2561


วิทยาลัยเทคนิคระยอง



ค าน า


รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ ระดับชั้น ปวส .1


โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้นักเรียนนักศึกษา ศึกษาหาความรู้เรื่องตลาดในระบบเศรษฐกิจและการก าหนดราคาและ
ผลผลิตซึ่งนับได้ว่าเป็นหัวใจของการด าเนินการผลิตหรือการจ าหน่ายสินค้าและได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็น

ประโยชน์กับการเรียนและการท างานในอนาคต


ผู้จัดท าหวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้ศึกษาค้นคว้าเป็นอย่างดี หากมีข้อผิดพลาดประการใด

ผู้จัดท าขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย







































คณะผู้จัดท า

ระดับชั้นปวส.1/3





สารบัญ


เรื่อง หน้า


ค าน า...................................................................................................................................................................ก


สารบัญ...............................................................................................................................................................ข


ความหมายของการตลาด…………………………………………………………………………………………………………….…...….1

ขนาดของตลาด……………………………………………………………………………………………………………………….….…......1


ประเภทของตลาด………………………………………………………………………………………………………………………..….....2


การก าหนดราคาที่มีการแข่งขันกันอย่างสมบูรณ์…………………………………………………………………………..………...2


การก าหนดราคาในตลาดที่มีการผูกขาดแท้จริง………………………………………………………………………………..…..…5


การก าหนดราคาในตลาดที่มีผู้ขายน้อยราย……………………………………………………………………………………….......6


การก าหนดราคาในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด……………………………………………………………………………….………...8


บรรณานุกรม........................................................................................................................................................9

ประวัติผู้จัดท า.....................................................................................................................................................10

1


หน่วยที่6 ตลาดในระบบเศรษฐกิจและการก าหนดราคาในตลาดประเภทต่างๆ


6.1 ความหมายของตลาด


ค าว่า“ ตลาด” (Market) ที่ใช้กันในวิชาเศรษฐศาสตร์มีความหมายแตกต่างไปจากตลาดในความหมาย

โดยทั่วไป เพราะตลาดโดยทั่วไปจะหมายถึง “ สถานที่ที่มีผู้ซื้อและผู้ขายท าการซื้อขายสินค้ากัน” เช่นตลาดนัด

สวนจตุจักร ตลาดสดปากคลองตลาด ตลาดผ้าส าเพ็ง ตลาดโบ๊เบ๊ ส่วนตลาดในทางเศรษฐศาสตร์มีความหมาย

กว้างกว่าเพราะหมายถึง “ ขอบเขตหรือสภาวะที่ผู้ซื้อและผู้ขายสามารถติดต่อกันและท าการซื้อขายแลกเปลี่ยน

สินค้าและบริการกันได้” จากค าจ ากัดความดังกล่าวจะเห็นได้ว่าตลาดไม่ได้หมายถึงสถานที่ท าการซื้อขายแต่เพียง

อย่างเดียวแต่หมายรวมไปถึงการติดต่อซื้อขายโดยไม่มีสถานที่ด้วย เช่น การซื้อขายหุ้นทางโทรศัพท์โทรเลข
บางครั้งผู้ซื้อผู้ขายไม่เคยพบปะกันเลยนอกจากนี้ตลาดยังแสดงถึง “ ภาวะการค้า” เช่นถ้าพูดว่า “ ตลาดยางโลก

ก าลังคึกคัก” ก็หมายความว่า ภาวะการค้ายางของโลกก าลังรุ่งเรืองผู้ขายขายยางได้ราคาดีหรือถ้าพูดว่า“ ข้าวโพด

ไม่ตลาด” ก็หมายความว่า ชาวไร่ปลูกข้าวโพดแล้วไม่สามารถขายได้





6.2 ขนาดของตลาด


ปัจจัยที่ก าหนดขนาดของตลาด ได้แก่ ลักษณะของสินค้า รวมถึงรูปร่างของสินค้า การบริการ สีสัน ขนาด

ตรา การสื่อสารและการคมนาคม ถ้าสินค้าใดที่สามารถขนส่งจากมือผู้ผลิตไปยังมือผู้บริโภคด้วยระบบการขนส่งที่

สะดวกรวดเร็วและประหยัด ย่อมท าให้ตลาดของสินค้านั้นขยายกว้างออกไป ถ้าการสื่อสารดี ก็จะท าให้การติดต่อ
ถึงกันสะดวกและรวดเร็ว สามารถตกลงเจรจาการค้ากันทางการสื่อสารได้ ท าให้ตลาดขยายกว้างขวางยิ่งขึ้น

นโยบายของรัฐบาล ที่เกี่ยวข้องกับตลาดของสินค้าและบริการจะมีผลท าให้ขอบเขตของตลาดขยายหรือแคบลงได้

ความต้องการของตลาด ตลาดจะขยายตัวออกไปได้กว้างขวางเพียงใดนั้น ขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้บริโภคที่มี

ต่อสินค้านั้น ๆ การกระจายรายได้ของประชาชนในประเทศนั้น ๆ ถ้าประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศยากจน มี

รายได้ต่ า การขยายตัวของตลาดสินค้าบางชนิดจะท าได้ยาก ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ การบริโภค
สินค้านั้น ๆ ในบางครั้งก็มีผลสืบเนื่องมาจากความเชื่อทางศาสนาหรือวัฒนธรรมด้วย

2


6.3 ประเภทของตลาด


นักเศรษฐศาสตร์ได้แบ่งตลาดโดยอาศัยลักษณะของการแข่งขัน เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ


6.3.1 ตลาดที่มีกี่แข่งขันอย่างสมบูรณ์ (Perfectly Competition Market)


6.3.2 ตลาดที่มีการแข่งขันกันอย่างไม่สมบูรณ์ (ImPerfectly Competition Market)


ตลาดที่มีการแข่งขันอย่างไม่สมบูรณ์ แบ่งย่อยได้เป็น 3 ตลาด คือ

1) ตลาดผูกขาดหรือตลาดที่มีผู้ขายเพียงรายเดียว (Monopoly Market)

2) ตลาดที่มีผู้ขายน้อยราย (Oligopoly Market)

3) ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition Market)





6.4 การก าหนดราคาตลาดที่มีการแข่งขันกันอย่างสมบูรณ์

6.4.1 ตลาดที่มีการแข่งขันกันอย่างสมบูรณ์จะมีลักษณะ 5 ประการ ดังนี้

1) ผู้ซื้อและผู้ขายมีจ านวนมาก (Numerous Buyer and sellers)

2) สินค้าที่ซื้อขายกันมีลักษณะเหมือนกันทุกประการ (Homogenous Product)
3) ผู้ผลิตรายใหม่จะมีเสรีภาพเข้ามาด าเนินการผลิตในตลาดหรือในอุตสาหกรรมได้สะดวก (Free Entry)

4) ผู้ซื้อและผู้ขายทุกคนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับความเป็นไปของตลาดอย่างสมบูรณ์ (Perfect Knowledge)

5) การติดต่อซื้อขายกระท าได้โดยสะดวก (Perfect Mobility)

6.4.2 เส้นอุปสงค์ของผู้ผลิตแต่ละรายในตลาดที่มีการแข่งขันกันอย่างสมบูรณ์

อุปสงค์ของผู้ผลิต หมายถึง ปริมาณสินค้าซึ่งจะมีผู้ซื้อซื้อจากผู้ผลิต ณ ระดับราคาต่างๆ กัน อุปสงค์ของ
ผู้ผลิตจึงแตกต่างกับอุปสงค์ของสินค้า จากลักษณะประการแรกของตลาดที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์ที่ว่า

ผู้ขายมีเป็นจ านวนมากและแต่ละรายขายสินค้าเป็นจ านวนเล็กน้อยเมื่อเทียบกับปริมาณขายทั้งหมดในตลาด

ดังนั้นผู้ขายแต่ละรายจะไม่มีอิทธิพลเหนือราคาขายในตลาดแต่จะต้องยอมรับราคาที่เป็นอยู่ในตลาด (Price

Taker) ซึ่งเป็นราคาที่ถูกก าหนดขึ้นโดยอุปสงค์และอุปทาน ดังรูปที่ 6. 1 (ก) ด้วยเหตุนี้เองเส้นอุปสงค์ของ

ผู้ผลิตหรือผู้ขายแต่ละรายจึงเป็นเส้นตรงขนานกับแกนนอนหรือมีความยืดหยุ่นมากที่สุด (Perfectly Elastic)
ดังรูปที่ 6. 1 (ข) ซึ่งหมายความว่าผู้ขายแต่ละรายสามารถขายสินค้าของตนตามราคาตลาด (OP) ได้โดยไม่

จ ากัดจ านวนแต่ถ้าขายในราคาสูงกว่าราคาตลาด (OP)

3


แล้วภายจะขายสินค้าไม่ได้เลยเพราะ ผู้ซื้อทุกคนจะหันไปซื้อจากผู้ขายรายอื่น ซึ่งขายในตลาด (OP) และ

ผู้ขายแต่ละรายก็ไม่มีความจ าเป็นที่จะต้องลดราคาสินค้าให้ต่ ากว่าราคาตลาดเพราะระดับราคานั้นเขา

สามารถขายสินค้าได้ไม่จ ากัดจ านวน การที่ผู้ขายขายสินค้าได้มากหน่วยไม่ต้องลดราคาลงท าให้รายรับ

ทั้งหมด (TR) ของผู้ขายเพิ่มขึ้นตามปริมาณสินค้าที่จ าหน่ายได้ ซึ่งท าให้เส้นอุปสงค์ (Demand)
เส้นรายรับเฉลี่ย (AR) และเส้นรายรับเพิ่ม (MR) ของผู้ผลิตแต่ละรายเป็นเส้นเดียวกัน



รายรับจากการขายในตลาดแข่งขันอย่างสมบูรณ์

ราคา ปริมาณขาย รายรับทั้งหมด รายรับเฉลี่ย รายรับเพิ่ม

(P) (Q) (TR) (AR) (MR)
10 0 0 - -

10 1 10 10 10

10 2 20 10 10
10 3 30 10 10

10 4 40 10 10


P
P, R


D S



P D=AR=MR
P
S D
0 Q Q


รูปที่ 6.1 (ก) ราคาดุลยภาพของสินค้าซึ่ง รูปที่ 6.1 (ข) เส้นอุปสงค์ของผู้ผลิต

ถูกก าหนดโดยอุปสงค์และอุปทาน แต่ละรายในตลาดแข่งขันอย่างสมบูรณ์

4


6.4.3 ดุลยภาพระยะสั้นของผู้ผลิต


ดุลยภาพของผู้ผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ที่ต้องการก าไรสูงสุด จะมีเงื่อนไขดังนี้ คือ ผลิตที่ปริมาณ

การผลิต MR = MC









P MC
MR=AR=D=P

10 Pe A
AC
B
8 AVC






0 Q* Q

100



6.4.4 ก าไรปกติและก าไรเกินปกติ


ค าว่า ก าไร ในทางเศรษฐศาสตร์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ก าไรปกติและก าไรเกินปกติ ก าไร

ปกติเป็นผลตอบแทนที่หน่วยธุรกิจจะต้องได้รับในการผลิตระยะยาวเพื่อชักจูงให้หน่วยธุรกิจยังคงด าเนินการ

ผลิตต่อไป ซึ่งเป็นระดับที่ราคาสินค้าขายได้จะเท่ากับทุนเฉลี่ยต่อหน่วยต่ าสุด และจะท าให้ราบรับทั้งหมด

เท่ากับต้นทุนทั้งหมด พอดี ฉะนั้น ก าไรปกติจึงถูกค านวณไว้ในต้นทุนทั้งหมดแล้ว แต่ ราคาสินค้าที่ขายได้สูง

กว่าต้นทุนเฉลี่ยต่อหน่วยแล้วท าให้ได้รายรับทั้งหมดสูงกว่าต้นทุนทั้งหมด ก าไรสูงสุดที่ได้รับจะเป็นก าไรเกิน
ปกติ

5


6.4.5 เส้นอุปทานของผู้ผลิตในระยะสั้น


เมื่อราคาสินค้าในตลาดเปลี่ยนแปลงไป ดุลยภาพของผู้ผลิตจะเปลี่ยนแปลงตามไปด้วยเพราะผู้ผลิตจะพยายาม

ปรับระดับการผลิตเพื่อให้รายรับเพิ่ม (MR) เท่ากับต้นทุนเพิ่ม (MC) อยู่เสมอ จึงจะได้รับก าไรสูงสุด





6.4.6 ดุลยภาพระยะยาวของผู้ผลิต


-ปริมาณ และ ราคาดุลยภาพ ขึ้นกับการเปลี่ยนแปลงขนาดของกิจการ และความยากง่ายที่ผู้ผลิตใหม่จะเข้าสู่

ตลาด


-เน้นการแข่งขันโดยไม่ใช้ราคา (โฆษณา พัฒนาคุณภาพสินค้า )




6.5 การก าหนดราคาในตลาดที่มีการผูกขาดแท้จริง



6.5.1 ลักษณะของตลาดที่มีการผูกขาดแท้จริง

ตลาดที่มีการผูกขาดแท้จริง มีลักษณะ3 ประการ ดังนี้


1) ผู้ผลิตสินค้ามีเพียงรายเดียวเท่านั้น

2) สินค้าที่ผลิตขึ้นต้องไม่เหมือนกับผู้ผลิตอื่น

3) ผู้ผลิตในตลาดสามารถกีดกันไม่ให้ผู้ผลิตอื่นเข้ามาท าการผลิตแข่งขันได้ตลอด



6.5.2 อุปสงค์และรายรับเพิ่มของผู้ผูกขาด


เนื่องจากผู้ผลิตในตลาดผูกขาดมีเพียงรายเดียวในอุตสาหกรรม ดังนั้นหน่วยผลิตในตลาดผูกขาดสามารถ
ก าหนดราคาขายได้และหน่วยผลิต (firm) ในตลาดผูกขาด ก็คือ อุตสาหกรรม (industry) นั่นเอง ฉะนั้นอุปสงค์

ส าหรับสินค้าของหน่วยผลิตก็คืออุปสงค์ของตลาดส าหรับสินค้านั้น ท าให้เส้นอุปสงค์ของผู้ผลิตมี Slope เป็นลบ

นั่นคือ ถ้าต้องการขายสินค้าให้ได้มากขึ้นจะต้องลดราคาสินค้า

6


6.6 การก าหนดราคาในตลาดที่มีผู้ขายน้อยราย





6.6.1 ลักษณะของตลาดที่มีผู้ขายน้อยราย


ตลาดผู้ขายน้อยราย คือการจัดองค์การตลาดซึ่งภายในตลาดนี้มีผู้ขายสินค้าจ านวนน้อยราย ดังนั้น ผู้ขายแต่

ละรายจะเป็นผู้ขายรายใหญ่ๆในตลาด การกระท าของผู้ขายรายหนึ่งจะมีผลกระทบต่อผู้ขายรายอื่นๆ โดยผู้ขาย
รายหนึ่งจะคาดคะเนปฏิกิริยาของผู้ขายรายอื่นๆ ที่มีต่อพฤติกรรมของเขา และผู้ขายรายนี้ก็จะเปลี่ยนแปลง

พฤติกรรมของเขาให้สอดคล้องกับที่เขาคาดคะเนว่าผู้ขายรายอื่นๆ จะมีปฏิกิริยาโต้ตอบ นั่นคือ การตัดสินใจของ

ผู้ขายในตลาดผู้ขายน้อยรายจะเป็นการตัดสินใจที่ขึ้นอยู่ต่อกัน ทั้งนี้เพราะการเปลี่ยนแปลงราคาและปริมาณ

ผลผลิตของผู้ขายรายหนึ่งจะมีผลกระทบกระเทือนถึงผู้ขายรายอื่น และผู้ขายรายอื่นจะมีปฏิกิริยาตอบโต้การ

กระท าของผู้ขายรายนี้ด้วย สินค้าของผู้ขายน้อยรายอาจเหมือนกัน (Homogeneous commodity) หรืออาจ


แตกต่างกัน ดังนั้นตลาดผู้ขายน้อยรายจึงแบ่งเป็นตลาดผู้ขายน้อยรายแบบที่สินค้ามีลักษณะเหมือนกัน เรียกว่า
Pure Oligopoly และแบบที่สินค้ามีลักษณะแตกต่างกันเรียกว่า Differentiated Oligopoly

7


6.6.2 เส้นอุปสงค์หักมุม


ผู้ผลิตแต่ละรายในตลาดจะทราบว่า หากตนเองลดราคาสินค้าลง ผู้ผลิตรายอื่น จะลดราคาตามไปด้วยและ

จ านวนขายจะเพิ่มไม่มากนัก แต่ถ้าหากตนขึ้นราคาแล้วผู้ผลิตรายอื่นจะไม่สามารถท าให้จ านวนขายของตนจะ
ลดลงอย่างมาก ด้วยเหตุนี้ เส้นอุปสงค์ของผู้ผลิตแต่ละรายจึงเป็นเส้นหักมุมตรงราคาตลาด






















- ขณะนี้ราคาตลาดเท่ากับ P


- ในกรณีที่ขึ้นราคา ผู้ขายรายอื่นไม่ขึ้นราคาตาม ท าให้เสียลูกค้าไปมาก เส้นเหนือจุด P จึงมีความลาดมาก


- ในกรณีที่ลดราคา ผู้ขายรายอื่นลดราคาตามด้วย เพื่อรักษาฐานลูกค้า ท าให้ปริมาณการขาดไม่เพิ่มมากนัก เส้น

ต่ ากว่าจุด P จึงมีความชันมาก

- เส้นอุปสงค์ในตลาดผู้ขายน้อยรายจึงเป็นเส้นหักงอ เรียกว่า Linked demand Curve

8


6.7 การก าหนดราคาในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด


6.7.1 ลักษณะของตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด


ตลาดแบบนี้มีลักษณะทั้งที่เป็นการแข่งขันและผูกขาดรวมอยู่ด้วยกัน โดยมีลักษณะ ดังนี้


1) ผู้ผลิตหรือผู้ขายมีจ านวนมาก เช่นเดียวกับในตลาดที่มีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์และผู้ขายแต่ละรายมี

อิสระในการก าหนดราคาและจ านวนผลิต โดยไม่กระทบกระเทือนผู้ผลิตรายอื่น
2) สินค้าของผู้ผลิตมีลักษณะแตกต่างกัน สินค้าที่ผลิตมีลักษณะหรือมาตรฐานแตกต่างกันถือเป็นสินค้า

อย่างเดียวกัน แต่ก็มีหลายตรา หลายยี่ห้อ การบรรจุหีบห่อ การโฆษณาต่างกัน เป็นเหตุให้ผู้ซื้อชอบหรือ

พึงใจในสินค้ายี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่งโดยเฉพาะท าให้ ผู้ขายสามารถก าหนดราคาสินค้าของตนได้ทั้ง ๆ ที่ผู้ขายใน

ตลาดชนิดนี้ต้องแข่งขันกับผู้ขายรายอื่น เช่น สินค้าผงซักฟอก สบู่ ยาสีฟัน ฯลฯ



6.7.2 ดุลยภาพของผู้ผลิต

ในการวิเคราะห์การตั้งราคาและปริมาณผลิตของหน่วยผลิตในตลาดกึ่งแข่งขัน

กึ่งผูกขาด จะพิจารณาเป็น 2 กรณีคือ กรณีที่ผู้ผลิตเผชิญกับเส้นอุปสงค์ที่มีลักษณะทอด

ลงจากซ้ายมาขวา และมีความยืดหยุ่นมากกว่าในตลาดผูกขาด ซึ่งเป็นวิธีที่ใช้ทั่วๆไป และอีก
กรณีเป็นวิธีของแชมเบอร์ลิน (Chamberlin) ซึ่งใช้เส้นอุปสงค์ 2 เส้น ซึ่งทั้ง 2 วิธีวิเคราะห์

จะก าหนดปริมาณผลิตที่จะได้ก าไรสูงสุด ณ จุดที่รายรับเพิ่ม (MR) เท่ากับต้นทุนเพิ่ม

(MC)

9


บรรณานุกรม

หนังสือหลักเศรษฐศาสตร์

https://sites.google.comsite/basiceconomics1/en05
http://e-book.ram.edu/e-book/e/EC311/chapter6.pdf

http://e-book.ram.edu/e-book/e/EC311/chapter8.pdf


https://sites.google.com/site/taesexomo33/tlad-khaengkhan-smburn

10



ประวัติผู้จัดท ำ





ชื่อ: นางสาวสุพรรษา ไทยลือนาม


ชื่อเล่น เพ็ญ



เกิดเมื่อ : วันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ 2542


อุปนิสัย : เป็นคนที่ร่าเริง แจ่มใส เฮฮา



สีที่ชอบ : ฟ้า ด า แดง


งานอดิเรก : ฟังเพลง เล่นเกมส์



คติประจ าใจ : หากไม่ลงมือท า ไม่มีวันส าเร็จ

11


ประวัติผู้จัดท ำ







ชื่อ : นางสาว อุษณีย์ บรรหาร


ชื่อเล่น : หญิง

วันเกิด : 9 เมษายน 2543


ศาสนา : พุทธ

สัญชาติ : ไทย


กรุ๊ปเลือด : โอ


ภูมิล าเนา : บ้านเลขที่ 4 หมู่ 13 บ้านโนนสะอาดต าบลบ้านคู อ าเภอนาโพธิ์ จังหวัดบุรีรัมย์ 31230

ที่อยู่ปัจจุบัน : 44/2ถนนสนามเป้า ต าบลท่าประดู่อ าเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21000


เบอร์โทรศัพท์มือถือ : 0928317752

บิดาชื่อ : นายจตุพร บรรหาร


มารดาชื่อ : นางสาคร บรรหาร


อุปนิสัย : เป็นคนเฮฮา ร่าเริง อารมณ์ดี หัวเราะง่าย

สีที่ชอบ : สีฟ้า


งานอดิเรก : อ่านหนังสือ ฟังเพลง เล่นโทรศัพท์

ความสามารถพิเศษ : เล่นกีฬาเปตอง ว่ายน้ า


คติประจ าใจ : ท าวันนี้ให้ดีที่สุด

12
ประวัติผู้จัดท ำ








ชื่อ : นางสาว ณิชาภัทร หล่อภัทรพงศ์


ชื่อเล่น : มิลค์


วันเกิด : 26 ธันวาคม 2542


ศาสนา : พุทธ


สัญชาติ : ไทย



กรุ๊ปเลือด : บี


เบอร์โทรศัพท์มือถือ : 0911918072


สีที่ชอบ : สีชมพู แดง


FaceBook : ณิชาภัทร หล่อภัทรพงศ์



งานอดิเรก : ฟังเพลง อ่านหนังสือ


Click to View FlipBook Version