The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by foursahasawas, 2019-01-16 03:42:02

รายได้ประชาชาติ

รายงาน






เรื่อง รายได้ประชาชาติ





จัดท าโดย




นางสาวสุรอยยา อุ่นสมบูรณ์ เลขที่ 8


นายสหัสวรรษ ดีค าเงาะ เลขที่ 26


นางสาวอรุณศรี นามชารี เลขที่ 27



ชั้น ปวส.1/3 สาขา การจัดการโลจิสติกส์







เสนอ



อาจารย์วงเดือน พูลสวัสดิ์







รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา หลักเศรษฐศาสตร์ รหัส 3200-1001



ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561



วิทยาลัยเทคนิคระยอง

ค าน า








ในปัจจุบันวิชาเศรษฐศาสตร์บรรจุอยู่ในหลักสูตรของการศึกษาระดับอาชีวศึกษา โดยเฉพาะ

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ เท่าที่ผ่านมานักศึกษาส่วนใหญ่

มักจะกล่าวว่าวิชาเศรษฐศาสตร์เรียนเข้าใจยาก และมักไม่ให้ความสนใจในการเรียนเท่าใดนัก สาเหตุ


T ส าคัญประการหนึ่งเป็นเพราะการขาดแคลนต าราเศรษฐศาสตร์ที่ดีส าหรับนักศึกษาระดับนี้โดยเฉพาะ

ผู้สอนจ าเป็นต้องน าต าราที่ใช้เรียนกันในระดับอุดมศึกษามาใช้ประกอบการสอน ซึ่งเนื้อหาสาระบางตอน

H อ่านเข้าใจยากซึ่งอาจเป็นเพราะว่าใช้นิยามและค าอธิบายที่ค่อนข้างซับซ้อน

E
หลักเศรษฐศาสตร์เล่มนี้ เรียบเรียงขึ้นมาเพื่อใช้เป็นต าราส าหรับนักศึกษาระดับ ปวส. และ

P ระดับปริญญาตรีโดยเฉพาะ และบรรจุเนื้อหาสาระครอบคลุมหลักสูตรโดยครบถ้วน เนื้อหาแบ่งออกเป็น

สองส่วน คือ เศรษฐศาสตร์จุลภาค และเศรษฐศาสตร์มหาภาค ผู้เขียนได้พยายามใช้ถ้อยค าที่อ่านเข้าใจ

R
ได้ง่าย และมีตัวอย่างประกอบโดยเฉพาะการค านวณ ข้อมูลสถิติต่างๆ เป็นปัจจุบัน

E
ผู้เขียนหวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ใช้อย่างง่าย และมีส่วนช่วยให้การเรียนการ

F สอนวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ในระดับนี้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

A



C


E





คณะผู้จัดท า

สารบัญ





บทที่ 7 รายได้ประชาชาติ



7.1ความเป็นมาของการศึกษารายได้ประชาชาติ 1



7.2 ความหมายของรายได้ประชาชาติ 1



7.3 ลักษณะและความส าคัญของรายได้ประชาชาติประเภทต่างๆ 2



7.4 การค านวณรายได้ประชาชาติ 4




7.5 การเปรียบเทียบรายได้ประชาชาติ 5





7.6 ประโยชน์ของรายได้ประชาชาติ 6




7.7 ข้อบกพร่องของรายได้ประชาชาติ 6




บรรณานุกรม






ประวัติส่วนตัว

1

บทที่ 7 รายได้ประชาชาติ


(NATIONAL INCOME)







7.1ความเป็นมาของการศึกษารายได้ประชาชาติ






แนวคิดในเรื่องรายได้ประชาชาติ มีมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 17 โดยมีการน ามาใช้เพื่อเปรียบเทียบ

ความมั่งคั่งของประเทศ เช่นเดียวกับการเปรียบเทียบฐานะของเอกชนและแนวความคิดในเรื่องรายได้


ประชาชาติได้มีวิวัฒนาการมาโดยตลอด ในปัจจุบันรายได้ประชาชาติเป็นเครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจและ

ระดับการกินดีอยู่ดีของประชาชนในประเทศ กล่าวคือ ถ้าต้องการทราบว่าระดับการกินอยู่ดีอยู่ดีของ

ประชาชนเพิ่มขึ้นหรือลดลง ก็จะพิจารณาจากระดับกิจกรรมทางเศรษฐกิจว่ามีการเปลี่ยนแปลงไป


อย่างไร ทั้งนี้ เพราะความพอใจของผู้บริโภคในระบบเศรษฐกิจไม่มีหน่วยวัดได้จึงต้องดูตัวเลขเกี่ยวกับ

สภาวะเศรษฐกิจคือ รายได้ประชาชาติ ประเทศใดมีทรัพยากรมากและมีการใช้ทรัพยากรอย่างมี


ประสิทธิภาพสูงก็ย่อมมีรายได้ประชาชาติสูง ซึ่งอาจเป็นสิ่งหนึ่งที่แสดงให้เห็นว่าประชาชนในประเทศนั้น

มีระดับการกินดีอยู่ดี




7.2 ความหมายของรายได้ประชาชาติ






"รายได้" หมายถึง ผลตอบแทนจากการผลิตสินค้าและบริการที่บุคคลได้รับไม่ว่าจะเป็นรูปของ

ตัวเงินหรือสิ่งของในช่วงระยะเวลาหนึ่ง "ประชาชาติ" หมายถึง ประชากรหรือพลเมืองของประเทศนั้นๆ


ดังนั้น "รายได้ประชาชาติ" จึงหมายถึง รายได้ที่ประชากรของประเทศได้รับจากการผลิตสินค้าและ

บริการในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งตามปกติก าหนดไว้ที่ 1 ป ี

2

7.3 ลักษณะและความส าคัญของรายได้ประชาชาติประเภท
ต่างๆ




1.ผลิตภัณฑ์รวมภายในประเทศเบื้องต้น (Gross Domestic Product : GDP) คือ เป็นมูลค่ารวมของ

สินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตขึ้นได้ภายในประเทศในระยะเวลาหนึ่ง โดยถือเอาอาณาเขตทาง

การเมืองเป็นส าคัญ โดยไม่ค านึงว่าทรัพยากรนั้นจะมาจากที่ใด



2.ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น (Gross National Product : GNP) คือ มูลค่าของสินค้าและบริการขั้น


สุดท้ายในราคาตลาดที่ผลิตขึ้นด้วยทรัพยากรของประเทศในระยะเวลาหนึ่งส าหรับประเทศที่เศรษฐกิจ

เป็นแบบปิด GNP จะเท่ากับ GDP แต่ถ้าเศรษฐกิจเป็นแบบเปิด กล่าวคือ มีการน าทรัพยากรออกไป

ผลิตในประเทศอื่นและ/หรือประเทศอื่นน าทรัพยากรเข้ามาผลิตในประเทศ ดังนั้น GNP จะต่างกับ


GDP เท่ากับรายได้จากต่างประเทศ ซึ่งเขียนสมการได้ ดังนี้



GNP = GDP + รายได้สุทธิจากต่างประเทศ






3.ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ (Net National Product : NNP) คือ มูลค่ารวมของสินค้าและบริการขั้น

สุดท้ายทั้งหมดหักด้วยค่าค่าใช้จ่ายที่กินทุน (Capital Consumption Allowance : CCA) ออกแล้ว ซึ่ง

ประกอบด้วย



1. ค่าเสื่อมราคาของทุน (Depreciation)



2. ค่าสึกหรอของเครื่องจักร (Machine)


3. ค่าสึกหรอของเครื่องมือ (Equipment)



4. ค่าทรัพย์สินสูญหาย (Accidental Damage) เช่น ถูกโจรกรรม ไฟไหม้ น ้าท่วม เกิดระเบิด

หรือเกิดวาตภัย



ซึ่งเขียนสมการได้ ดังนี้




NNP = GNP – CCA

3




4.รายได้ประชาชาติ (National Income : NI) หรือผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิตามราคาทุน (NNP at

factor costs) คือ ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ (NNP)หักด้วยภาษีทางอ้อมธุรกิจ (Indirect Business


Tax) ซึ่งเขียนสมการได้ ดังนี้




NI = NNP – ภาษีทางอ้อมธุรกิจ




5. รายได้ส่วนบุคคล (Personal Income : PI) คือ รายได้ทั้งหมดที่ครัวเรือนได้รับจากแหล่งต่างๆ ใน

รอบปี ซึ่งบางส่วนเป็นผลตอบแทนจากการผลิตหรือมีส่วนร่วมในการผลิตและบางส่วนได้รับในรูปของ


เงินโอน รายได้ส่วนบุคคลจะคิดเฉพาะรายได้และเงินโอนที่ครัวเรือนได้รับเท่านั้น



PI = NI – รายได้ที่ไม่ตกถึงครัวเรือน + เงินโอน




6.รายได้ส่วนบุคคลสุทธิ (Disposible Income : DI) คือ รายได้ส่วนบุคคลที่เหลืออยู่หลังจากได้หักค่า


ภาษีเงินได้และภาษีอื่นๆที่เกี่ยวกับตัวบุคคลออกไปแล้ว





DI = PI – ภาษีเงินได้







7. รายได้เฉลี่ยต่อคน (per capita income) คือ รายได้ถัวเฉลี่ยของบุคคลในประเทศ วิธีหารายได้


เฉลี่ยต่อบุคคล สามารถค านวณได้โดยเอาจ านวนประชากรทั้งประเทศไปหารรายได้ประชาชาติ ซึ่งเขียน

เป็นสมการได้ดังนี้




รายได้เฉลี่ยต่อบุคคลต่อปี = GNP


จ านวนประชากร

4

7.4 การค านวณรายได้ประชาชาติ






1.การค านวณด้านรายได้ (Income Approach) เป็นการรวบรวมรายได้ที่เจ้าของปัจจัยการผลิตได้รับ

ทั้งหมดตลอดระยะเวลา 1 ปี โดยรายได้จากปัจจัยการผลิตประกอบด้วย รายได้จากค่าเช่า ค่าจ้าง

ดอกเบี้ย และก าไร



2.การค านวณด้านรายจ่าย (Expenditure Approach) เป็นการรวบรวมรายจ่ายในการอุปโภคบริโภคใน

ประเทศตลอดระยะเวลา 1 ปี ประกอบด้วยรายจ่าย 4 ประเภท ได้แก่



1. รายจ่ายเพื่อการบริโภคของครัวเรือน (Consumption Expenditures หรือ C)


2. รายจ่ายเพื่อการลงทุนของภาคเอกชน (Investment หรือ I)

3. รายจ่ายของรัฐบาล ( Government Expenditures หรือ G)

4. การส่งออกสุทธิ (Net Export หรือ X-M) โดย X คือ การส่งออก ส่วน M คือ การน าเข้า



เมื่อรวมรายจ่ายทั้ง 4 ประเภทเข้าด้วยกัน จะได้ผลิตภัณฑ์ประชาชาติภายในประเทศเบื้องต้น (Gross

Domestic Product: : GDP) สามารถเขียนเป็นสมการได้ดังนี้




GDP = C + I + G + (X – M)





3.การค านวณด้านผลผลิต (Product Approach) เป็นการหาผลรวมของมูลค่าสินค้าและบริการขั้น


สุดท้ายที่ผลิตขึ้นในประเทศตามราคาตลาดตลอดระยะเวลา 1 ปี อย่างไรก็ตามการค านวณจากผลรวม

ของมูลค่าสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย มักประสบกับปัญหาการนับซ ้า ดังนั้นเพื่อหลีกเลี่ยงการนับซ ้า

ดังกล่าว จึงนิยมค านวณมูลค่าสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายแบบมูลค่าเพิ่ม โดยการรวบรวมมูลค่าเพิ่มของ


สินค้าและบริการทุกขั้นตอนของการผลิตเข้าด้วยกันก็จะมีมูลค่าเท่ากับมูลค่าสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย

พอดี

มูลค่าเพิ่ม = มูลค่าขาย – มูลค่าสินค้าขั้น

กลาง
การค านวณรายได้ประชาชาติทั้ง 3 วิธีนี้จะให้ค่าผลลัพธ์ที่เท่ากันเสมอ

5


7.5 การเปรียบเทียบรายได้ประชาชาติ




ในการค านวณหารายได้ประชาชาติ เราคิดในราคาตลาดเรียกว่า รายได้ประชาชาติเป็นตัวเงิน

(money GNP) หรือรายได้ประชาชาติตามราคาตลาด (GNP at current market price) ซึ่งราคา

มักจะเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ฉะนั้น การน าตัวเลขรายได้ประชาชาติต่างปีมาเปรียบเทียบกัน จึงไม่สามารถ


บอกได้ว่าผลผลิตที่แท้จริงเพิ่มขึ้นหรือลดลงเพียงใด เช่น ในปี 2548 ประเทศ ก. มี GNP เท่ากับ 400

ล้านบาท ในปี 2549 ประเทศ ก. มี GNP เป็น 800 ล้านบาท เรายังไม่สามารถบอกได้แน่นอนว่าผลผลิต


ทั้งหมกในปี 2549 เป็น 2 เท่าของปี 2548 ทั้งนี้ เพราะส่วนที่เพิ่มขึ้นอีก 400 ล้านบาท อาจเป็นผลจาก

ราคาสินค้าสูงขึ้นเท่าตัว แต่จ านวนผลผลิตคงเดิมหรือจ านวนผลผลิตเพิ่มขึ้นเท่าตัว แต่ราคาคงเดิมหรือ

ทั้งราคาและผลผลิตเพิ่มขึ้น



เพื่อที่จะสามารถทราบจ านวนเปลี่ยนแปลงที่แท้จริงของผลผลิตของประเทศเราจะต้องพยายาม

ขจัดการเปลี่ยนแปลงอันเกิดจากราคาเปลี่ยนแปลงออก นั่นคือ จะต้องแปลงรายได้ประชาชาติเป็นตัวเงิน


ให้เป็นรายได้ประชาชาติที่แท้จริง (real GNP) หรือหารายได้ประชาชาติตามราคาคงที่ (GNP at

contant price) ซึ่งหาได้โดยใช้สูตร ดังนี้




รายได้ประชาชาติที่แท้จริง (real GNP) = รายได้ประชาชาติเป็นตัวเงิน (money GNP) X ดัชนีราคาปีฐาน

ดัชนีราคาของปีนั้น



ปีฐาน หมายถึง ปีที่สภาวะทางเศรษฐกิจสังคมและการเมืองดีที่สุด ดังนั้น ดัชนีราคาปีฐานจะมีค่า


เท่ากับ 100 เสมอ


ตัวอย่างเช่น รายได้ประชาชาติตามราคาในปี 2549 (Money GNP) มีมูลค่า 30,000 ล้านบาท ดัชนี


ราคาปี 2549 เท่ากับ 120


real GNP = 30,000 x 100

120


= 25,000 ล้านบาท

6


7.6 ประโยชน์ของรายได้ประชาชาติ




1.เป็นเครื่องมือในการวัดการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยการเติบโตทางเศรษฐกิจสามารถ

ค านวณได้จากอัตราการเติบโตของรายได้ประชาชาติที่แท้จริงนั่นเอง



2.ใช้เปรียบเทียบฐานะทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ โดยทั่วไปการเปรียบเทียบฐานะทางเศรษฐกิจ

ระหว่างประเทศมักดูจากรายได้เฉลี่ยต่อหัวของประชากร เปรียบเทียบกัน



3.ท าให้ทราบถึงมูลค่าผลผลิตรวมของประเทศในช่วงเวลาหนึ่ง รวมทั้งระดับความสามารถในการผลิต

สินค้าและบริการของแต่ละสาขาว่ามีสัดส่วนเท่าใด



4.ท าให้ทราบถึงโครงสร้างการใช้จ่ายรวมของระบบเศรษฐกิจ ซึ่งจ าแนกเป็นภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ

ภาครัฐ และภาคต่างประเทศ



5.ท าให้ทราบถึงระดับรายได้รวมของภาคครัวเรือน รวมทั้งสัดส่วนและความส าคัญของรายได้จากปัจจัย

การผลิตประเภทต่างๆ ได้แก่ ที่ดิน แรงงาน ทุน และผู้ประกอบการ



6.ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานที่ส าคัญในการวิเคราะห์สถานการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศ วางแผนพัฒนา

เศรษฐกิจสังคม ตลอดจนก าหนดเป้าหมายและนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศ





7.7 ข้อบกพร่องของรายได้ประชาชาติ



 ไม่ได้รวมสินค้าขั้นสุดท้ายที่ผลิตได้จริงทั้งหมด


 ไม่ได้ค านึงถึงการพักผ่อนหย่อนใจ

 ปัญหาการนับซ ้า

 วัดแต่ปริมาณสินค้าเท่านั้น

 มิได้แสดงการกระจ่ายรายได้

 มิได้ค านึงถึงผลกระทบทางสังคมจากการผลิต

บรรณานุกรม








1.https://ratchaneeporn.wordpress.com/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%

80%E0%B8%A0%E0%B8%97%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8

%B2%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8


%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%B2/


2.http://www.stou.ac.th/Study/Services/Sec/60335/02-03.html



3.http://www.stou.ac.th/Study/Services/Sec/60335/02-02.html



4.https://nithit946.blogspot.com/2012/02/national-

income.html?m=1&fbclid=IwAR2YO2xza4XzP6trpmClmmH1wBongOJfg5mBB0lKaWX0y1

YTYJtDVeRe5Hg



5.หนังสือหลักเศรษฐศาสตร์ รหัส 3200-1001

ชื่อ – นามสกุล: นางสาวสุรอยยา อุ่นสมบูรณ์


ชื่อเล่น: บิ๊กสุ


ชั้น ปวส. 1/3


สาขา การจัดการโลจิสติกส์ วิทยาลัยเทคนิคระยอง

SUROYYA
วัน/เดือน/ปี: 5 กันยายน พ.ศ.2540
AUNSOMBOON

อายุ: 21 ปี



อุปนิสัย : เป็นคนง่ายง่ายใจดีเฟรนลี่เข้ากับคนง่าย

ประวัติส่วนตัว

งานอดิเรก : เล่นเกมส์


คติประจ าใจ : วันนี้ไม่ดีวันหน้าต้องดีกว่าเดิม


ติดต่อ



096-5508735




Suroyya Aunsomboon ที่อยู่ปัจจุบัน: 36/8 หมู่ 3 ต าบลกะเฉด อ าเภอเมือง

จังหวัดระยอง 21100

bsffbppk

ชื่อ – นามสกุล: นายสหัสวรรษ ดีค าเงาะ


ชื่อเล่น: โฟร์


ชั้น ปวส. 1/3


สาขา การจัดการโลจิสติกส์ วิทยาลัยเทคนิคระยอง

SAHASAWAS
วัน/เดือน/ปี: 23 มกราคม พ.ศ.2543

DEEKAMNGAO
อายุ: 18 ป ี



อุปนิสัย : ร่าเริง แจ่มใส

ประวัติส่วนตัว

งานอดิเรก : ออกก าลังกาย


คติประจ าใจ : ไม่เจ็บ ไม่พัฒนา


ติดต่อ



089-4089443




Sahasawas ที่อยู่ปัจจุบัน: 25/18 ซอยหนองน ้าเย็น ถนนสุขุมวิท54

ต าบลเนินพระ อ าเภอเมือง จังหวัดระยอง

fourever-2000

ชื่อ – นามสกุล: นางสาวอรุณศรี นามชารี


ชื่อเล่น: ตั๊ก


ชั้น ปวส. 1/3


สาขา การจัดการโลจิสติกส์ วิทยาลัยเทคนิคระยอง

ARUNSRI
วัน/เดือน/ปี: 7 มิถุนายน พ.ศ.2542

NAMCHAREE
อายุ: 19 ปี



อุปนิสัย : ร่าเริง แจ่มใส

ประวัติส่วนตัว

งานอดิเรก : ฟังเพลง


คติประจ าใจ : ความพยายามคือหนทางแห่งความส าเร็จ


ติดต่อ



094-9627210




Arunsri Namcharee ที่อยู่ปัจจุบัน: 10/11 ถนนทับมา ต าบลเนินพระ อ าเภอ

เมือง จังหวัดระยอง รหัสไปรษณีย์ 21000

arunsri_t


Click to View FlipBook Version