The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปการพยาบาลมารดา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bamtyp1405, 2022-04-17 23:37:16

สรุปการพยาบาลมารดา

สรุปการพยาบาลมารดา

| High Risk Pregnancy

แ ง ตร ABORTION น• เ ด เอง spontaneous
• แ ง ตร เ ด นเอง Spontaneous
• ก ใ แ ง induced

abortion

iแ ง างm" NO / v15 พบ ไม"" """
spaldingsign
แ ง กคาม - ด /ไ แดง สด 1ค - ไ เด
ๆฒื mmaceration - SI de = data
Threatenedabortion ป มาณ เ ก อย
เ ด อาจ เ น รก
แ งห กเ ยงไ ไ ด/ นแรง นออกเยอะ
- ๆ ห อ ง า บ เวณ

Inevitableabortion ปาก มด ก

แ ง ครบ เ ก อย ออก ครบ side = datahdate

Completeabortion นแรง มาก ออกไ ครบ เ ด เ ก อย/

แ งไ ครบ - งครร หาย ไ เด
lncompleteabortion
เ ด + นเ อ าง
-
"size <data
ของ spinvs ไ เด

Iigament ,

Robertsign

แ ง ดเ อ ปวด นแรง เ ก อย /มาก Discharge นอ บ นเ อ

septic abortion ก นเห น าง อ ห อไ

☒ Spalding sign การ อน น ของ กระโหลก รษะ ของทารก อยสลายเ อเ อสมอง ห ง ตาย

* maceration spinous ligament ย: กระ ก นห ง เก งอจาก การ อย

☒ Robert sign พบ แ ส ใน วใจ เ นเ อดให อง อง

้ท่ช่ญืล้สัห๊กุ่ย่ืปัหัลัสูดัล่ืย้ืน่ยีศัก้ซ่มืรู่ย้ค็ม่ิลีม้ืน้ิชีมักู่ย้ึข้น็ลุรีม้ืชิต้ทิป่ม์ภ้ัตูณู่หุ๋หู่ห้ค้ท้ค้ืน้ิชีมิป่มุร่ม้ทิป่มุ๊อ้น็ลิป้น็ล้ทูลิร้ํนุถืร็หิป้ึขุริน้ด่ม่ีลีล้ท้น็ลิรำ้ลีสีม่มินิป่มุค้ทุ๋ท้ึขิกุบ้ท้ท้หำทำนัชุบ้ท้ึขิก

ก. ใ แ ง lnduced abortion c. ใ ครร อนทารก จะ ต รอด

> แ ง เ อ การ กษา Therapeutic abortion

การ ง ครร เ อ ญหา ขภาพ / ทารก การ โรคทาง น กรรม นแรง / ม น
,

> แ ง ด กฎหมาย criminal abortionlillegalabortion

• กษา 12 wks แรก

แ ง กคาม อง อไ ) : นอน ก ใ ยา แ ปวด งด เพศ ม น

ใ ยา นแ ง Hm.pro gesterone ยา ด/ prolutondepot. / Utrogestan

ห กเ ยงไ ไ : ใ เ อด Hb < 10g 1dL ใ สาร ครร

แ งไ ครบ ะ ด มด ก ( Dilation & curettage D & C) misoprostal 1 otec แ บ 1-
,, 2hr

/แ ง ครบ :( 8 wks า 8- 14 Wks อาจ ด มด ก ใ ตา น ธา เห ก .

แ ง าง ะ ว าง อ าง อย 8 wks ใเจาะ เ อด หา ความ เ ม น แ ง ว 1 สาร ใ เ อด
,
ครร

แ ง อา ณ : ด าง 3 ค ง up หาสาเห 1 า ดแ ไข ภาวะ ด ปก

แฝด TWIN

จย เน น ม ง ก า ปก
.

มด ก โต มาก ก า ระยะ อน ประ เ อน

บวม มาก โดย เฉพาะ ขา

พบ ครร แฝด Hydramnios

ง เ ยง ทารก พบ 2 แ ง

ไค ทารก มาก ก า า คน ห อพบ Ballottment

ฮอ โมน Estriol BHCG HPL ง ก า ปก
,,

V15 พบ 71 คน ห ง 6- 7 wks

ไตรมาส แรก ค กพบ ขนาด มด โต ก า ระยะ

บาด ประ เ อน

ืดำจ่วูลำลัลิต่วูส์รืร่ว้ดำล่หีสัฟำน์ภีม่ีทืดำจีม่ก่วูลิต่วูส่ิพัฉินิวิติผ้กัต่ผุต้ัร่ติติจ้ท์ภิตุยืล้หำน้หัต็ข้ข้ขืล้น่ย้คัต้ค้ท็ลุติมิว้หูลูข้ถ้ทัน๋ํน๋ืหูลูข่ม้ท์ภิตุยำน้หืล้ห้ด่ม่ีลีลีฉ้ทัก้ห์ธัพัส้ก้หัพ้ด่ต้ทุค้ทัริผ้ทำทืข่ขุรุธัพิพุสัปีม่ืม์ภ้ัติตุยัร่ืพ้ทำทิวีชีม่ก์ภิตุย้หำท้ท้หำทำนัช

1 ครร แฝด ใบ เ ยว น แฝด แ identical , monozygotigtruetwin

Diamnionic dichorionic แ ง วห ง ป สน
0 -72 hr
monochorionic .
4- 8 day

monoamnionic 9- 12 day

Conjoined twins ห ง 13 day

2 แฝด าง ไ fraternal twins dizygotic , falsetwins
,

• สการเรหม น • ประ ตรยาก • citrate , Gonadrotropin
• เ อชา • อา > 40
> ขาว

ผล ของการ ง ครร แฝด อ มารดา [☒ Vanishingtwinsynd.

- NN เ ยง- แ ง - เ อดออก ทาง อง คลอดจาก 1 คนห ดโต

- ปวดห ง หายใจ บาก เ น เ อด ขอด ด-
,
-ง ค previa
- preterm แตก อน - รกเกาะ Pracenta
อน หนด
- รก ลอก ว Abruption - Vasaprevia

- ค งมาก hydramnios - ครร เ น ษ - คลอดยาก - ตกเ อด

ผล อทารก malpresentation สายสะ อ อย
แตก อ

asphyxia
- การ แ เ ด ตาย- - ดปก ง ค-

- TTTS ายเทเ อด จาก ก คน ใ กคน - ขา

- โต า ใน ครร TISCLEJ

tญ การทาง สมองจาก เห อง 1
วาง
- ขนาด > µog ก
. ขนาดเ ก ก า
i วเห อง จาก hemolysis → kernictervs
i Hypoglycemia
. เ อด น มาก
" ด นแรง
. Cardiac hypertophyy
' pdyhydramnios - Cardiac atrophy
④ ๒ หนา
-µ . Oligohydramnios

. Hypotension

ุรีซัขืลืลัต่ว็ลืลิพ่ัฑ์ภ้ชำดีอ้หีอืล่ถ๋น่กำรำนุถิติผำทินำก่ติพ้ยืด่ตืลิพ็ป์ภ้ัรำนำก่กัตำ่ต่กำรำนุถีซืล้สำลัลุย่ชืล้ท่ีส่ต์ภ้ัตุยำคิต้ืชุบีมิตัว์ุธัพุต่ข่ตัลิธิฏัลัต่บ้ทักีด์ภ

้ การ พยาบาล

iฒุ๊|ระยะ งครร
หาร 5ออ - เออ kcallday เ น Protein 60 mg ld

- Iron 120 mg ld Folic 1 mg / d ก ปดา

- ด 24 wks f 2 wks NST

32 wks โ ตรวจ ก เ อน

i ก อน

' งด เพศ ม น

i งเกต อาการ ด ปก → HT เ บ ครร อน หนด
,
lโรnะยะ n|

' Uls ประเ น า [ "
" วย คลอด จาก แพท
า รษะ เ น วน
" เต ยมสาร เต ยม เ อด
กร ตกเ อด
' EFM

|ห ง |

-

i เ า ระ งตกเ อด

' ประเ น ด เ อ

' แนะ เ ยง ก วย นม แ
. แนะ ม เ ด

☒ 1) $ ☒

- ตก งวล - เ บ ครร คลอด อน หนด

กด- - ตกเ อด
ไ- - หายใจ บาก
- ดเ อ
ขสบาย
เ ยง- ตก งวล ในการ

้ีลักิว้ืชิตู๊ฏุ้หุส่มำลืลีซำก่ก์ภ็จักิวินำกุคำน่ม้ดูล้ีลำน้ืชิติมืลัว้ฝุ๊ฬัลืลีณืลีรำนีร๊ํญำน่ส็ปีศ้ถ์ยิตูส่ช่ทิมำก่ก์ภ็จิติผัส์ธัพัสีม่ผัพืดุท์หัสุทำทัน้น์ภัต

Preterm > 37 wks กม

ก' ความ ดปก

ของโครโมโซม 1
เ ยงจ ยแ
ดเ อ
อา < 18 Y , > 35 Y
ญญาณเ อน
PH → DM HT โรค •
,,

เคย คลอด อน หนด - แฝด ปวดห ง าง เอว เ น หาย
, ๆๆ
tpdyhydramniosมด กขยาย วมาก เบ อง อเ 4 ค ง ใน
ด เ อ เ→ ทาง น ป ว อง 20min

กเสบใน อง คลอด กเ อด ครร เ น ษ
ก น อย
ม เห า บ ห
บวม HT
น เห อก กเสบ ,

ภาวะ ดปก อาจ เ ด น

ขาด surtactant → ง ลม แบบ เ ยง บกพ อง ทาง การไ น
หายใจ หอบ → ใ เค อง วย ดเ อ าย ม น ง

PDA เ อด านปอด มาก ไ สม ร

→ หายใจหอบ HF

,

นาน 41500 Risk เ อด ออกในสมอง Cuz เ น เ อด เปราะ แตก าย

อย + ด มไ จอ ประสาท ตา งไ สม ร

ห ง เ ด อาจ เ น เ อด ฒนา ดปก
ตา บอดไ

ด แลทารก * อง น ภาวะ แทรก อน *

w บ uvuuuuw

ใ แนะ อแ ตรวจ เ อด

ใการหายใจ และ ดตาม อาการ ทานนมใ เ ยงพอ

นน > 2,000g ก บไ
.

Keepwarm เต ยม ความพ อม อแ อน ก บ าน

้บัล่ก่ม่พ้รีร้ดัลีพ้ห้หิตูด่ม่พำนำค้หืล้ซัก้ป้ดิติผัพืล้สิกัล์ณูบ่มัยีด่มึซูด่ย่งืล้สืล์ณูบ่ม่ผืลัยักุ้คิมูภ่ง้ืชิต่ช่ืร้ชิย้ด่ร่ีสุถ้ึขิก่ีทิติผิพ็ป์ภัอืงุผัฟ้น้ิดูล่ีรุบูส้ล่ืดืลูมีม่ชัอ้ัร่ืน่ต้ท็จิลิด้ืชิต็ป่ลัลัตูลำก่กืตัสุย้ืชิตีสัจัป๊ต่มิติผีมูล

Postterm 242 Wksby LMP

สา เหต ไ สมอง + กระโหลก รษะ

าw

anencyphaly

อม หมวกไต อ Hormone ส าง estrogen ไอย ลง = เ บ อง คลอด
ไ อม ใ สมอง

Placental sulfates deficiency จ ยเ ยง

จย wmwmmw

wuuuuvuuw ประ เ อนไ แ น

ประ เ อนค ง ด าย เคย ประ ง ครร เ น หนด
เ น ครร แรก
ความ ส เสมอ

การ ม เ ด การ ฝาก ครร BMI 225

ตรวจ ภาย ใน vls ตรวจ ปสว ทารก การ

PROBLEM ขาด Hm PI acentalsulfates
ง ครร ใน อง อง

รถ งานปก ะ ทารก โต คลอดยาก น กรรม
ก เ อม PIacental dysfunctioni
เ อ ง → เ อดไป ทารก ลด ลง → ทารก โตไ เ ม
จาก อา ครร เ น ขาด
,

ค จะ อย ลง เ อ เ า ภาวะ เ บ ครร จ ง 741 wks Erythropoietin ง ในเ อด
า ค อย digohydramniosi ง เส ม สายสะ อ กด บ ทารก ค ลดลง > 38 wks
นใ เทา น มาก
→ ก เทา Postterm → นค อย เ→ อดเ ยงไต อย
,.

ใ ส าง ปสว ลดลง → เ ดการกด บ สาย สะ อ พบ Variable Prolongdeceleration
. ,

อทารก ใน ภาวะ เค ยด Fetal distress ะ ฒื๊ เ น ดปก ตาย ไ
เ อ งก เทา ะ พบใน ทารก ขาด 02
เทาปน + ก = ปอด กเสบ นแรง = ตายไ

เ บโต ด ปก ะ เ บโต า ว โต ดปก macrosomia

Postmaturitysyndrome ะ ว แ งเ ยว ห ดลอก 1 ญเ ยไข นใ วห ง

เทา เค อบ ผอม ห า แ เ บยาว

็ล่ก้นืล้ีขันิผ้ตัมีสูสุล่ีห้หิผิติผัต้ชิติติผิต้ดุรัอัลำสัร้ืร้ีขัลำส้ีข้ดิติผ้ตีรู่ยืดัทิก้ร้หำท้น้ีลืล้น้ีขัลำส้ึข้ข้ีข้หำทำรำนัทืดิร่ัส้นำร้ํนำดืลุอูสิร์ภ็จู่ส้ข่ืม้นำรำน่ีท็ต่มืลัร้ืรูยิก์ภุย่ืสัรุธัพิตำท้ท่ช์ภ้ัติพ์ภินำกุค์ภ็ปำ่มำกิก์ภ้ัติตัวีม้ทุส้ัรืดำจ่ม่มืดำจำจัฉินิว่ีสัจัป้ท็จ่ม้น้ร็ก้ต่ตีม่ม่ฝ่ต๋ืส๊พีศีม่ม

เ บโต าใน ครร Fetal - Growth restriction อ นานไป เ บโตชะ ก

ว โต → อง เ งกราน บ วไ ม น น คลอดไห ยาก cephalhematoma
,,

เ ย ต ใน ครร

Etc.Hypothermia.Hypovolemia.metabolic acidosis ดเ อ ตกเ อดห งคลอด ง
,

ตรวจ ดตาม แล ระยะ คลอด
_ - re
wuuruuvurumvw
ง- เจาะ ค amniotomy
บก น
- า คลอด = ด ด วน
ตรวจ สสาวะ → Progesteronet ×
แลทารก ไ ควร ดเ อก
Uls
'
กระ น ใ มด กหด ว ใ→ oxytocin
ออนงคลศไาห
_ แลห ง คลอด หายใจ ด ด → ด าน อ วยหายใจ
.net
อง น
ด ตรวจ ห ง คลอด 6 wks
wunuuvw
งด เพศ ม น 6 wks
ฝาก ครร ส เสมอ
จน กด ตรวจห งคลอด * ค ม เ ด
ครบ หนด แ ไ เ บ ครร รอไ

า wks + บไป พบ แพท

ครบ หนดตรวจ ภาย ใน
อง อไป เ น 2- 3 Y

้ว่ต้ทำก์ยีร้ด์ภ็จ่ม่ตำกำ่ม์ภินำกุลัล์ธัพัสีมัก้ปัลันัลูด่ช่ท่ผูดัขิต่ล่กืมูด่มูด้ชัตูล้หุ้ต่สัสิผ่ผัปำรำนุถ้ิดูลันูดิตูสัลืล้ืชิต์ภิวีชีส่ลัก์ธัพัส่มัตักิช่ชัตังิตู่ย์ภ้ชิต

PROM Premature rupture of membrane

- term PROM ง ค แตก อน เ บ ครร GA 734 wks

น ค แตก เ น 12hr ไ→ เ บ ครร → ก คลอด
..

ค บ หนด นค แตก อน เ บ ครร สาเห
.

- Preterm PROM

EA ไ ง 37 wks

- early PROM 1. กเสบ ดเ อ ปากมด ก องคลอด 7. แฝด
2. ดเ อใน ง . 8. แ ง
นศ แตกไ เ น 12hr
.. 3. ขาด vitc ค 9. ยากจน

- Prdong PROM

ใน ค แตกนาน เ น 24hr 4. ปากมด กหลวม หบ10 + รา
. . 5. รก ลอก ว อน หนด + รก เกาะ .

จย 6. โครโมโซม ดปก

- กประ กษณะ ก น ของ นศ
.

- ตรวจ างกาย keepfignti" 9

เ บ เ ยก น ? g

ไอ ไหลน ค. . " cough test ะ ฑื" ๊ ☒า฿t

พบไข เทา = งาน ค แตก
,.

กษา

ัรุฑุถ้ีขีม้ืชีป็ยีฝ่ร่ิลีสัลิตัวัซิติผัฉินิวำตำก่กัตุส่ีรุบูสูลิก้ทำรำนุถ้ืชิติก่ม่ชูล่ีท้ืชิตัอึถ่มุต์ภ็จ่กำกัรำนัช์ภ็จ่มิก์ภ็จ่กำรำนุถ

"" """""""

(ะ

ก ประ า คง- CC ะ การ แตก ของ ระยะ เวลา แตก ก น ป มาณ

จ น- การ ง ครร อ ต PH

,,

ตรวจ างกาย - V15 f 4hr f- การหด วของ มด ก 1hr
. .

- ตรวจ ครร ประเ น อา ครร ว- สอด

- FHS f 30 min - งเกต กษณะ นค
.

- EFM นค เ ยว น thickmeconium
.

Lab → nitrazinetest

ใ ยา → ampicillin erythromycin
,
→ dexamethasone

าน ตใจ

1. ส าง ความ เ อใจ + ประเ น ความ ตก งวล อ บาย การ กษา ปการ ว

2. เ ด โอกาส ด ย แลกเป ยน เ ยว บ การ กษา

3. ด ชมเชย

ระยะ คลอด

| น1. term ะ าย เทา → พ - เต ยม นพ

2. Preterm 6A 437 wks -- ายไป อง คลอด

เต ยม R " " t " " " "

- ด เ บใ ก าง

- ด เสมหะ + บ เ ด ว

ด สาย สะ อ → บ → กระ นหายใจ

_

ประเ น Apgar

_

ิมุ้ตุอัรืดัตัต็ชีรูด้ว้ห็ยีฝัตีร้ห้ยีชืค้ืฟีรีชู้ก้ีข่ถูพัรัก่ีก่ีลุคูพิปัติตับิฏัริธักิวิม่ืช้ริจ้ด้ห้ขีขีสัลีสัส้ิน์ภุยิม์ภูลัต่รีดับุจัป์ภ้ัติร่ิลีส่ีทำร้ํนุถิตัวัซฺญ๋ิย๋ิพืฬืก

pp Rom Prolong premature rupture of membraines
.

า ค แตก นาน อนคลอด 24 hr
ง.

1 สา <

-NXXXXXNXXLE

- ประ เ น อน หนด . เ อด ออก ทาง อง คลอด

- ด เ อใน อ ยวะ บ น → กระ น Prostaglandin ห. บ

* การ ง ผล กระทบ อ แ ทารก *
,

ดงวล การ กเสบ → ด เ อ ใน โพรง มด ก

ฒื๊ าฒ☒"
นา การ ระยะ ยาว

→ หายใจ บาก ปวด ฒนาไ สม ร RDS

.

1 าน ก ประ i. ไหล ออก มา อน เ า ระยะ คลอดไหม

จย
ก_*☒×ม×× ค ไ ใน ดเ อ *

ตรวจ างกาย * ตรวจ ภาย ar Risk -

Amnisuretest

่มำรำนูด่ร้ืชิตู่ส้ข่กำ้นีมิตัวัซ้รัฉินิว์ณูบ่มัพำลiฺรฺงุทฺพูขู๊ณ้ืช๋ืณูล้ืชิตุส่ีทัอัก่ม่ต่ส่ีรุบูสุ้ต์ธัพืสัว้ืชิต่ชืลำก่กิดำนิตัวีมุ๊ญ่กำร้ํนุถ

PPROM < 24 wks จารณา ตามราย การ ง ครร
,

PPROM 24-34 wks

ไi รบ ใน รพ
.

' ประเ น ค ขภาพ+ ทารก NSI BPP ปดา ละ 2- 3 ค ง
,
ampioillin 2g ใน 48 hrs แรก + amoxicillin 500mg × 3 น
i 6hr 5
.

. ระ ง การ ดเ อ

" tetaltachycardia ไ ค ก น มด ก กด เ บ
,

ไ. ตรวจ ภายใน "

. บ ง การ เ บ ครร คลอด

- จารณาใ คลอด น า ห กฐาน า ด เ อ รา ลวก ว อน หนด

fetal distress ห อ ทดสอบ Lung maturity ④
ป วนะi ใ ยา อง น GBS ใน ระยะคลอด

PPROM 34 - 36 wks

i การ ง ครร
. เห อน 24-34 wks

ืม์ภ้ัติตุยัก้ปีชิฏ้หืรำก่กัต้ืชิต่วัลีม้ถีทัท้หิพ์ภ็จ้ัยัย่ม็จูล่ิลีมำรำน้ข้ืชิตัวัวู้ผ้ัร์หัสุสำรำนิม้ว์ภ้ัติตุยิพ

Antepartum hemorrhage

" ตกเ อด "

อน คลอด

PIacentaprevia รกเกาะ

ชด อเกาะ ง lower uterine segment ชายรก Internalos

→ low - Iying ขาย รกไ ง Internalos สาเห

→ marginalis ง internalos พอ

→ partialis ด internalos บาง วน

→ totalis ด internalos พอ

จย เ อด ออกทาง อง คลอด แ ไ เ บ ค งอา มาก

คลอด หลาย

" painless bleeding " า คลอด ครร อน

ด ยกเ น เ บ ครร วม
ไ เ บ ครร = อง ม ไ แ ง ค ไ
Uls

NS กษา แบบเ า คอย expectantmanagement

งไ ครบ หนด เ อด ออก อย ไ= นแรง

นอน ก ด ตาม Hct > อย ละ 30

เ อดออกไ มาก + เ บ ครร อน หนด จารณา บ ง เ บครร คลอด

บก น FHS การ หด ด ว ของ มด ก

,,

ห ง ห าย ก อน งด งาน ห ก

งด sex

Abruptio Placentae รกลอก ตา อน หนด

Revealedl mixed /
external
Combined
hemorrhage
hemorrhage
ก ลอก ว + เ อด

Concealedl

internalhemorrhage

เ อดอ ห ง รก

ัลู่ยืลีมืลีมัตีอำก่กันำท่ผัพ่นำจัลูลัตัร้ิดูลัน์ภ็จ้ัยัยิพำก่ก์ภ็จ่มืล้ริตัพุร่ม้นืลำก่มัย้ฝัร้ดำล็ข่มุ่น้ท์ภ็จ่ม่ร์ภ็จ้วีซ่ก์ภ่ผ้ัร็จ่ม่ต่ชืลัฉินิวุยีดิปุต่สิปีดึถึถ่มินู่ยึถำต่กืล

อาการ ก ประ : การไ บบาดเ บ ป มาณ + กษณะเ อด ออก

กดเ บ มด ก มด ก แ ง woodyheard ปวดห ง มด กหด ด
ค ยาก Fetaldistress
, กษา

อV15 เฉพาะ เ อด ห ง รก

แ ไข Hypovolemia ขาด 02

,
ปาก มด ก เ ด เยอะ ไ Fetaldistress , Noactivebkeding
ไ ภาวะ แทรก อน คลอดทาง องคลอด

น ดปากมด กไ เ ด retaldistress , activebkeding

การ งครร โดย า ทาง ห า อง

Vasa previa เ น เ อด สาย สะ อ าน ปาก มด ก

มเ อสาย สะ อ เกาะ รก Valamentous insertion

อาการ [อน ง แตก ใน เ- ตรวจ ภาย น ดเจน ก าพบ
เ นเ อดเ า งหวะ synchronous
บ FHS

เ อด ออก เ น ห ง แตก Uls เ น สส ก า วน
.
เ อดทารก
เ อด

Fetaldistress Uls รถเป ยนแปลงเ ว

กษา

อน แตก า คลอดทางห า อง

ห งแตก ใ งครร น ด



ีทัทุส้ิส์ภ้ัต้หัล้ท้น่ผ่กัร็ร่ีลืลีมืลำน่ส่วำต็หัล็ป่ีทืลักัจ้ขืล้ส้ลัช็หุถ่กุ้ห่ืยืดูล่ผืดืล้ส้ท้น่ผ์ภ้ัตุส้ิสิป่มูล่ช้ซีม่มีม่มิปูล้กัรัลู่ยืลำล่ีถัรูลัล็ขูลูล็จ่ีทืลัลิร็จัร้ดิตัวัซ

hyperemesisgravidarvm ญ นแรง
2-
NN ตลอด ไ สามารถ บประทานอาหารไ
+ นน ลด + ขาด สาร สารยห
.
.

สาเห 1. HMHCE , Estrogen ง น เ ว ในเ อนแรก น

2. อม Thyroid ด ปก ส าง Thyroxin เ ม

3. แผล ใน กระเพาะ อาหาร H . pylori
4. Progesterone เคกระเพาะ อาหาร อนไหว า อาหาร างนาน
5. Hypoglycemia ไ บ อาหาร ไ เ ยงพอ จ ย งเส ม

6. สภาพ ตใจ ไ ปก ครร- แรก . ประ NN

mild อาการ . แฝด - วย ต
. ไ ปลา ก . เค ยด
อาเ ยน < 5 ค ง ld งาน ไ
ไ า + เศษอาหาร

นาน ลด จย
.
1. ประ NN GA 712 wks ร
Moderate

อาเ ยน ด อ > 5- 10 ค ง ld

ด อไ ห ด 2- 4 wks 2. ตรวจ างกาย ะนน ลด ว แ ง
.
เพ ย จ ตรไ ไ ,
ปาก น สกปรก
นาน ลด ขาด สาร อาหาร
. 3. Lab
นกรด
เ อด เ
Na K.CI า งSGOT LFT
Severe , ,

อาเ ยน ด อ > เอ ค ง ld Hct ก BUN 9 Proteint

น ห ง อาหาร | ด อ น 4 wks ป สว ไ ขาว ก คนตน
.

เพ ย ผอม นาน ลด มาก ผล อสต งครร
.

ขาด สาร อาหาร นแรง

ผล อทารก 1. Dehydration : ไ นวแ ง ไต ปลา

2. Ehgteimbalance ะ ⑨ อนแรง ขาด K

1. าแ นาน ลด > 2kg ทารกโต า 3. Ketoacidosis : ผล อ CNS หายใจ เ ว
.
เห อย ม ไ ไ หมดส
นน อย /อาการทางสมอง ตาย
. Korsakoffs syndrome
4. ขาด สารอาหาร + ตา น บ ก ลาย
2. ขาด สาร อาหาร :

3. แ ง peterM 560T การ ไ B)แรง ชา ขาด
,
,

ีม่ม้ทำทูถัติมิวีม้นิต้ด่มำจึซ่ืน้ช่ม้ถ็ร่ตีม่อ่ตุ่ข้หิผ้ข์ภ้ัตีร่ตุรีลีดำนีม่ขัก่ติตัลีทัท้ัร่ติตีจูส่ํต็ปืลัพ้หิผ่ร้ด่มัวิกำทีลิตัวุย่ม่ติต้ัร่ติตีจัฉินิว้ํนีม่ม้ดำท้ัรีจีรุอ่ขิจ่ปิตัว์ภิต่มิจีพ่มัร้ดิร่สัจัป้ค้ช่ืล้ึข่ิพ้ริติผ่ตืด็ร้ึขูสุตำน้ดัร่มุรัญ

แล กษา

1 บาน น น นอน
บประทาน อาหาร แ ง อย าย Ex ขนม ง ง เเควกเกอ
2 .

มงดอาหารทอด า ห ง จาก ทาน อาหาร 1hr
.

3 Dimenhydrinate Promethazine Picylomine Doxylamine
,
,

4 อง น อง ก
VIt
5 ใ B.µ แ
6 f
V15 4hr
.

7 ตรวจ ป สว น

ก.
ก8 งานน น
.
อ9 ใน สงบ

Al DS เ มCD GA และ ลด ห งคลอด
4
ลด ลง →

,f ไ ปวด เ อย ตาม ว เพ ย น ปวด ว เ บคอ

แ อม เห อง โต 10 day จาก น ไ อาการ 10

แพรใน เ อด lญื๊ y←ป |¥|ภื๋ E"5A GpA
l ,
ขาด vit ศาสต westernblot
รก กเสบ ก mmnz HA
เ ก แผล
CDy า preterm virus } แ งผล น ค แตก
งานค แตก HN -2 อย
นน อย . .
HN -1 มาก
,. า คลอด อน Preterm
,
น กรรม
ก ดเ อ

#µ i

1. ตรวจหา HN

2. ใ ป กษา อน เจาะ เ อด 1ห ง ผละ ความ บ
การใ ยา ดเ อ
3. อ ลองทราบ าน ใน การ อง น

้ืชิตัก้ป้ต้ชูม้ข้ตัลัลืล่กึรำค้ห่ัต่ผุธัพัอ้ืชิตูลุถ้น่กุถ่ม้นีม็ดืล์ริตูสูล่ม๋ึญ่ีญ๊ีญินิวีปีม่ม้ันืลำน่ต็จัห่ืผีลัต่ืม้ข๋ิรLฺรฺถฺภัล่ิพ่ีทู่ยัวุท่ัชัวุท้หูผ้ทัก้ปัล้ํน่ืด์ร้ิปัป่ง่ย็ขัร่ืต่ีทีทัทุ่อ้ํนิจัรูด

1กe 1 ะ
_
_ __

1. ตรวจ การ ด เ อ น 1 ทราบ จ ย เ ยง อ เ- ย การ คลอด

2. ห กเ ยง เจาะ ค 2. ตรวจหา CD4 4M

3. งาน ค แตก อน 32 wks 3.32-36 wks า 1,000 copieslml
.. .
กษาประ บประคอง + นยา
าน า คลอด เ อ 38 wks

| |้ 4. า < 1 ออกลอด อง คลอดไ

ห งคลอด 5. าคลอด ควรไ AIB อง น ด เ อ

nr n เ อ โพรง มด ก

งดเ ยง ก วย นม 6. คลอดทาง อง คลอด

ใ ป กษานม ด ง เ ยง งเจาะ นค
ระ ง ภาวะ แทรก อน .

ใ oxytocin ไ

นยา เ ม น . ห กเ ยง ศาสต ๓ถการ

etavirenz.de/avirdine1proteaseม
เด ยง estrogenใ pmp A 7. คน ไ บ

6 ดเ ห กเ ยง Ergots /

นากห าเ อ midazdam

~มใ mรก มน ห งคลอด 8. ใ ยา าน ระห าง า ด เ บครร
,
| |ทารก ตรวจเ อ PCR อา
ยาเ ม

6 wks -18m zidovudine 300mg 0 3hr
.

ม น 12m-18m อน า ด เ มเ บครร
ไ,
-××y\y\\y\\yyz\e\\-\
9. บ HAART ไ ไ ตรวจหา virus

คลอดทาง อง คลอด า ด
,

/~nตxรnวxจnmดตnาnมntทnารxกnt

DNA - PCR 2 ค ง ค งแรก 1- 2m

ตรวจ ค ง 2 4m ④→ 18M

ตรวจ anti.HN 12m

{R 2 Y

่ีท้ัร้ัร้ัริตัต่ผ่ช้ด่มัร้ด๋ิฐ์ภ็จ่ิรัต่ผ่กักุ้คิมูภู้รุย้ืชิดัลีทัท์ภ็จัต่ผ่ว้ต้ห๋ิฎิด้ด่ืดัห้ช้ัน่ีลีลัร้ด่ีท้หีลัมินำกุคัห์ริตูส่ีลีลีทัทิดิก้ด้ห้ซัวุถ่ีลึตัคึรำค้ห่ช้ดูล้ีลูลุบ่ืย้ืชิตัก้ป้ด่ผัล้ด่ชุอ่คีม่ืม่ผ้ติกัคัร่คีม่กุถู้ผำรำน่ีลีลีสีด้ขีสัจัป่ือ่ีท้ืชิต๋ืฐฺณ๋ัภ์ุภฺรฺรฺฑ้ัตฺฆฺฑฺฌูด

รง → I1. mi

ใ ป กษาห ง ตรวจหา เ อ

ใ ป กษา จาก สา - ภรรยา

งเส ม ขภาพ อง น ภาวะ แทรก อน ไ ยา าน HN
, ,

ปใ ความ ใน การ ว + อง น

งเส ม เผ ญ ญหา + ป บ ว อ าง เหมาะสม

อ ระยะ คลอด → .
TNLL
.
คลอดอ างปลอด ย
ดเ อ อย ด
อง น การ แพ เ อ

ร ห ง คลอด →

การ

อง น การ แพ กระจายเ อ

อง น ภาวะ แทรก อน

เ อ" n ด ห ง คลอด
-

ไ" - ^ ภาวะ ขสบาย → ด ง เ านม
งวล ลด ลง

งใจ ของ {

้กัลำกัก้ตึตัคุส่มัล้ืชิต้ซัก้ปีช่รัก้ปัล้ืช่รัก้ปุส่ีท้น้ืชิตัภ่ย่ยัตัรัปิชิร่สัก้ปัติตับิฏู้ร้ห้ต้ด้ซัก้ปุสิร่สีมึรำค้ห้ืชัลึรำค้ห้ัตฺ้ลฺฑฺยฺพฺฒ

CMV เ น virvs DNA เ น ญเ ยการไ น
ยาย

อ| ารยะ ห ง ง ครร : ไ คอหอย กเสบ Lympnode โต
• 07การ -• อ กเสบ หลาย อ

ทารก ะ วเห อง บ ามโต petechiae
น เ ยว นาน . อย หายใจ บาก

1← mi

คค น1. ตรวจ าง จาก
ความ ง เจาะ

ค ง แรก 3- 6 wks

2. พบใน นก แ ค นความ งปก = ดเ อ
ใ immvnoglobulin 100mg 1kg 1m
~
| nญf-
- 3. ในพบ น ค+ ค น ดปก → การ ง ครร
.

าไ ไ ใ immvn 200mg 1kg
เ อเ ดใ gancidovir ④
กษา ความ สะอาดใน การ ทานอาหาร ยา เ wks
.

าง อ อง น สาร มดห งจาก เพศ น

-

Toxoplasmosis มาลาเ ย
0-e_elanti.to✗ xoplasma 1gG
§-4้ ตน antibody
การ ง ครร านรก

เพ ย .ปวด ⑨ → ขณะ คลอด

✗2--41ม น านตา กเสบ
ด อแ → ก

บวม แ งไ

✗ านผล อการ ง ครร §.กcบ l Spypririmametichianm, inetsulfadiazine
_

1. แ ง สอง | [~ นก บ ทราย แมว
นก _ ไ
2. Preterm _

3. คลอ รอย จอตา กเสบ

4. บโต าใน ครร

5. รษะเ ก

6. บ าม โต เห อง
,,

ืล้มัตำติมูภ็ลีศัจ่มำติมูภ์ภ้ชิตุสิกัอ์ด้ท้ด์ภ้ัต่ต้ด้ทูล่ม่ติตัอ่มืผีมึซีล่ผ์ภ้ัตัคีร์ธัพัสัลัคัก้ปืม้ล้หิก่ืมัร้ห้ด่ม้ถ์ภ้ัติตุยิติผ่ืลักํปู้ผ้ห้ืชิติตูส่ีถ่ืล่ต้ัร่หำรำนูส่ีถ่ืลำล้นีขำจ่ืผ้มัตืลัต้ขัอ้ขัอ้ข์ภ้ัติญิย้ดีสูสุตญฺด็ป็ป

Hepatitis B ก ว 50-80 day ะ 90 d

l'-.AEอ#ากEาTรiFtD) ว เห อง ตา เห อง องโต spidernevi องโต

-

l.EE#iEจTiFยtIVจ

1. จาก อาการ

2. SGOT.SE.PT , Bilirubin
3. ตรวจ า เห อง หา Antigen Antibody

,

ืล้ํนัฉินิว้ท้ทืลืลัตัตัฟ

hาญกฒื้ า* ☒☒ * เ ดไตรมาส 3 ไ ผล อทารกใน ครร
. imre
โดย ตรง า ด อ งจะ เ นพาหะ

[ญE iญ| !ฅํ๋ญื๋! ! t.ee#y-E.d""" อง น
ตาม วย active ค ง 2 → 1m

1. าน รก k¥1

2. ดขณะ คลอด

ใ3. ด เ อ ห ง คลอด นมไ

t-.eกาeร#พEยาTบiFาลTV) 1. ดกรอง า เ นใ hepatitis Bimmune

2. ด กจากปาก ทารกใ มาก ด
3. แยก แ ก
1. พาหะ ความ สะอาด กน

ไ ควร เค ยด + ก อน 4. เ ยง ก วย นม

งด น งด รา 5. ใ ค น

ไ นยา ผล อ บ Passive น HBIE

อง น แพ เ อ vaaine Active กระ น → H-B.vn/,engerix-B

ใ ครอบค ว ตรวจ เ อด + พ อม HBIC- าง 1m 6m
,
ตรวจ ครร เสมอ
6. ตรวจ ดกรอง ครอบค ว

2. ระยะ คลอด ดกรอง อน
6- า5 Y ดกรอง
คลอดทาง อง คลอด

เ ยง เจาะ ง ค 46 Y ดไ เส

oniversalprecavtion

บ ด ก ออก จากปาก
ไ ควร ตกการ → ดยา าไ สะอาด

3. ห ง คลอด

ใ นม ไ ยกเ น วนม แตก + แผล

ใ บ คน ไ งด ด .

น บวม หายใน 2 day
แยกของใ

้ชีฉ้ขีมิผัมีซัวัร้หีมัห้ว้ด้หัล่ม้ถีฉัหำท่มูมูดีร้ดีฉำรำนุถ่ีลัค่ช่กัคัรัค์ภ่ห้รืลัร้หุ้ต้ืช่รัก้ปีทัทัต่ตีม่ีทิก่มีซัว้หุส่มืดัม้ดูล้ีล่ผัพีร่มีทัทูลำทูล่มุส่ีท้หูมูด้ห็ป้ถัค้ด้หัล้ืชิติต่ผ่ีท้ัร้ดัก้ป่ฒ็ปึถ่ตัต้ถ์ภ่ตีม่ม่ีทิกีปุค

Zikavirus ก ว 4- 7 d อาการ ด 2-5 d แรก

อ |~ - เ อ ตา แดง ไ ตา
ๅการ
. ปวด ④ ปวด อ
-

ไ - อนเพ ย ปวด รษะ Lympnode โต

ๆ . จจาระ วง

น แดง . อาการ ทาง ประสาท
อi า
ว แขน ขา

|แพ เ อ งลาย วยยยผลการ ดเ อ
_
แ ก→ ศ ษะเ ก สมอง การ

เพศ ม น งผล อ การไ น การมอง เ น

ใ ไยา ลด |~ สฒนา การ & ญญา

paracetamol ไ กษา

nne

องาน ไ ใ ง ด
า อาการ บมาหาหมอ

2.

ด HPV ก ว 2- 3 เ อน

ภื๋งผล การ คร เ อดเ ยงมาก าจาก /

อ. - คลอด ด ด อ. งเ อ

ใหด- . ตกเ อด .
น - กขาด าย
.

'-

%° จ ย

..

- เ อย ย - เ อดออก ตอน sex

[ ฐน- ทา trichlor - acetic acid 1 TC A) 80-90%
"" triccautery
ำบ
= ความ เ น cryosurgery
I แ น + m Iidocainecream

า ดทาง ห า อง

ด ค น HPV

ีซัวีฉ้ท้นัต่ผัก่ช็ยืจุ๊ฐฺฟู่อุ๋ญัก่ืร้ืน่ิตีมีมืลีมุ่ย่ืป่งีฉ้ึข่ญูหู่วัฉินิวืลุ้อัขิต้ีลืล่ํร้ัต๋ืรืดัตัฟูหัรีม้ถักุย้ห่ม้ดัก้ป๋ืศัปิตัพัร้ข้ช็หิย้ด่ต่สํริพ็ลีร์ธัพัสีม้ด้ืชิต๋ืศูล่มุส้ืช่รุยุ้๋ฟืม่ฝัต่ืผ่รุอำต้ขีศีล่อ้ข้ีขีม่มุบ่ืย่ืสัชัตัฟ

อน ยา i.÷

การ พยาบาล

%.
ก บ าน

สสาวะ อน

เ อยา หมอmvasaline . ไ ใ รอบ ก ลาย ใ งยาง

กษา ความ สะอาด
ห ง ยา
กษา ตาม ด

แนะ wk ละ 1 ค ง กษา 4- 6 wks ใ มา กษา
ตรวจ papsmear
หง 1- 4 hr าง ออก
.

าง แผล วย Nss ก น

ความ สะอาด ก ค ง การ วย trichloracetic acid 3 %

ในอ บาย ง ความ ปลอด ย

ไ ควร podophyllin ด เ อ ปาก เห อ สะ อ อวยว บ น
.

เ ม Hsv →2 ด เ อ อวยว บ น ภาย นอก 1 ก ว 5- 6 d)

~ ในครร อน าคลอด

lfhf | วมอาการ ขณะ คลอด
ผลของ โรค

n ze

ตาม าใสอ ยวะ เพศ ☐กษา ☒ กษาตาม อาการ
0.9 % NSS าง แผล 2- 3 ค ง / d
น นแ า ใ ยาแ ปวด
② แล อนคลอด
ปวด แสบ ปวด อน ,
กเสบ อง คลอด ปฐม
xylocainejelly ทา ปวด

เพาะ เ น ระ งแรก คลอด

ปวด รษะ เพ ย า คลอด กษา วย acyclovir

inguinallymnode โต เพาะ เ อ เ บ ตา วห ง คอหอย ของทารก

อ ยวะ เพศบวม แดง เคย ดเ อ คลอดปก กษา วย [avcidycalroavbirinel

ตก ขาว ด ปก ตรวจ หา รอย โรค ,

☒ ห ง คลอด

- แยก จาก ทารก คน น ตรวจ บ - เ ยง ก วยนมไ

ไข นห ง

้ด้ดูล้ีลัลัสำน่ือัตัล้ดัริติติผ้ืชิตัวันิผุบ็ย้ช้ดัร่ผีลีศัว็ป้ข่ีทิมูภ่ชัอ่กูด้ร้ก้หุ่อ้ํน่ช้ัร้ลัคัรัรัว้ํน่ผ้ป์ภ่รัตัฟ์ธัพืส้ืชิต์ธัพืสืดืน้ชิตำนิร้ีจ่ม้ด้ีจัภึถิธ้ัรุทำทัวุท้ด้ล้ล้ีจัลัร้ัร้ีจำนัรู่ค้หันัร้ีจัลัรุถ้ชำทูถ้ห่ม่ืพ้ีจ้ีจ่กัป้บัล้ีจ่ก

ส ก ว 9- qod ' ""

จ ยทารก ะ'
เ บ เ อด จาก สาย สะ อ
ะ อาการ i
ง FTA - ABS -1g M
'\
ใหในVDRL → ตรวจ
→ แผลเ ยว . .. . ..
ผลของโรค
→ น condyloma tata + า อ เ า
เ ออาหาร
อม เห อง โต ไ

นาน ลด ผม าง แมลงสาบแทะ

.

motheaten alopecia

แง

Preterm

Lowbrithweight

ตาย

ตาย ห ง คลอด neonetal death

ดเ อแ เ ด Congenital syphilis การ พยาบาล

กษา 1. VRDL แ ใอง น sex งยาง

จย 2. ใ ความ

/น น วย FTA - ABS TPHA 3. ผล เ อด Reactive เอา สา มา กษา วย
4. เ น มา ฝาก ครร
ประเ น ระยะโรค

ค งVDRL ห ง กษา เ อนละ 3 5. แนะ า ภาวะ Jarisch - Herxheimer

3m ครบ 1 Y งเกต การหด ด ว การ น ของทารก 48hr แรก
.

ใ สา ตรวจ เ อด 6 แยกทารก

ใ นมไ 7 แนะ ตรวจ ตาม ด

8 ดตาม ผล การ กษา

g ประ บประคอง ตใจ

ิจัคัริตันำน้ด้หืลีม้ห้ิดัตัรัสู้ฎ้นำค้ัรืดัรัล์ภ้นิม้ดัรีมืล้ดัยืยุถ่สัก้ปู้ร้หัฉินิว่มัรินำก่ต้ืชิตัล้ท่ญู้ผ่ัสืดืล็กัฉินิว่ร่ืบำ่ต้ขืลำน่ต้ทืม่ฝ้ผ่ีดัตัฟิลิฟิซ

ด เยอร น ก ว เ 4. แ d ดทาง ลมหายใจ ลาย

ไอ จาม

แพ เ อ 7 d อน น น -7 d ห ง น น

าTาnnenn| อาการ ไ ปวด อ นแบบ mac_vlop.apvlar_rashlympnoc.de โต
mรไ _
ด อ านรก ง ครร
ระยะ 3m แรก ของ การ

nennnf้ - แ งไตรมาสแรก
1 1ผลของโรค
i โต า

.. ตาย คลอด . สมอง เ ก

" การ แ เ ด - ตา เ ก

มารดา 6 ~||_nnจnnยป ใน อง

อาการ แสดง chorionicvilli โ

HAI HI sampling 8- 14 wks
, cordocentesis อา ครร 12- า7 wks
น าก า 1g G
specific 1g M

① น ไ สง ย ด เยอร น ② ม ส ด ญื้
นหาหมอภายใน 3- 7 น ห ง
rubellatiter 1g Gc าะ เอ

เจาะ เ อด ค ง 2 ครบ 1 m

ห ง จาก ม ส โรค
า 2 1:10

เจาะ เ อด ค ง 2 า wks อ มา

่ต้ึซ่ีท้ัรืล้ถัผัสัล่ีท้ัรืลิตู้ผัผัส่ืผีมัลัวัมัหัส้ข่ิฝ่ว้ช้ึข์ภุยำทำท้ทัฉินิว็ลินำก่ติพ็ล้ช้ท์ภ้ัต่ผ่ติต้ดิพ่ืผ้ข้ข่ป้ึข่ืผัล้ึข่ืผ่ก้ืช่รำนิตัตัฟัมัห

1 โ1

เ ยว1. อ บาย บ การ ด เ อ า า ด เ อตอน 16 wks แรก

น ดทารก อาจ การไ ควร จารณา การ ง ครร

2. แนะ ฝากครร

3. แนะ เจาะ เ อด rubellatiter 1g C. ( HAI titer)
4. อ บาย เ ยว บ การ ด เ อ ไอ จาม

อ5. 1- 4m แรก ไ ใ ใก เ ยง

6. ไ ใ เ น บ ทารก เ ยง ดเยอร น

7. า น น บ ตรวจ

8. ด ค น ห ง คลอด 1 ห ง แ ง 3 m าม ดขณะ ง ครร
9. ห ง ด ค น ม เ ดอ าง อย อง น virus
10 ด immvn อง น นไ แ ไ

.

12 wks แรก

ใ ความ เ ยว บ

ด เยอร น

ัมัหัก่ีกู้ร้หัก้ป่ม่ต้ดืผัก้ปีฉ์ภ้ัตีฉ้ห้น่ยินำกุคีซัวีฉัล้ทัลัลีซัวีฉีร้ึข่ืผ้ถัมัห่ีส่ีทัก่ล้ห่ม่ีส่ีทู้ผ้ลู่ย้ห่ม้ืชิตัก่ีกิธืลำน์ภำน์ภ้ัตุส้ิสิพ้ดิพ้ืชิต้ถ่ว้ืชิตัก่ีกิธ้ป

.intสตง =

# ....

black ground : อายุ อาชีพ การศกึ ษา ศาสนา สัญชาติ

body condition สีหน้า ลกั ษณะทา่ ทาง ภาวะซดี การเคลอ่ นไหวรา่ งกาย
อาการเจบ็ ปวด ปวดแผล ปวดมดลกู (after pain)

body temp & blood pressure

breast & lactation ลักษณะหัวนม เตา้ นม ผวิ หนังบรเิ วณเตา้ นม

ลานนม การไหลของน้านม

belly & fundus ลักษณะการหดรดั ตวั ของมดลูก ระดับยอดมดลกู

bladder การขบั ถา่ ยปั สสาวะ การโป่งตึงของกระเพาะปั สสาวะ
bowel movement การเคลอ่ นไหวของลาํ ไส้
bottom ลักษณะแผลฝเยบ็ การฉกี ขาด การชิดกันของขอบแผล การมีหอ้ เลอื ด
bleeding & lochia ลกั ษณะ สี กล่น ปริมาณของนาคาวปลา

blue สภาวะจิตใจมารดา

believe ความเชอ่ การดูแลตนเองและทารกหลงั คลอด

baby การตรวจภาวะสุขภาพทารกเบอ้ งตน้

bonding & attachment พฤตกิ รรมแสดงความรัก



ปการ ตนห งคลอด

แผลฝเยบ็ ลง น Paraไ

ทาํ ความสะอาดทุกคร้งหลังปั สสาวะหรอื อุจจาระดว้ ยสบู ่ และนา สะอาด แลว้ ซบั แผลใหแ้ หง้

แผลเย็บดว้ ยไหมละลายไมต่ อ้ งตดั ไหม แผลจะหายเป็นปกติ ประมาณ 5 วัน
หาย ภายใน wks
ไมจ่ ําเป็นตอ้ งอยูไ่ ฟอบแผลอกี 1 .

แผลผา่ ตดั

สามารถอาบน้าไดต้ ามปกติ ถา้ ปดแผลดว้ ยแผน่ ปดกันนา
หลังอาบนา ควรซับแผน่ ปดแผลใหแ้ หง้ ปฏบิ ัติตามคําแนะนาํ ในการดแู ลแผลกอ่ นกลับบา้ น
แผลจะหายเป็นปกติประมาณ 7 วัน

การรบั ประทานอาหาร

หลงั คลอดบตุ รควรรบั ประทานอาหาร ใหค้ รบ 5 หมู่
เพอ่ ชว่ ยเสรมิ สรา้ งรา่ ยกายและใหม้ สี ารอาหารเพยี งพอทจ่ ะสรา้ งนา นมใหล้ ูก
รับประทานผกั ผลไมจ้ ะชว่ ยใหท้ อ้ งไมผ่ กู อกี คุณแมจ่ ะมอี าการทอ้ งผูก ในสปั ดาหแ์ รก
เพราะไมก่ ลา้ เบง่ อจุ จาระกลวั เจบ็ แผล
ในมารดาทใ่ หน้ มบุตรควรรบั ประทานอาหารใหค้ รบถว้ น
ดม่ นาหรือนมเพม่ มากขน้

อาหารทค่ วรหลกี เล่ยง ไดแ้ ก่ อาหารประเภทหมกั ดอง

n z ze

อาหารรสจดั ชา กาแฟ ยาดองเหลา้ และอาหารท่มี แอลกอฮอล์

้ดิกัลิตับิฏ

การพักผอ่ น

ควรพักผอ่ นอยา่ งเพยี งพอวันละ 6-8 ชว่ โมง ในชว่ ง 2 สัปดาหแ์ รก

การทาํ ความสะอาดรา่ งกาย

อาบนา ไดต้ ามปกติ โดยวธิ ีการอาบหรือฝักบัวไมค่ วรอาบนา แบบแชใ่ น
อา่ งอาบนา หรอื วา่ ยนาเน่อื งจากปากมดลูกยงั ปดไมส่ นิท
ภายหลังอจุ จาระหรอื ปั สสาวะควรลา้ ง ใหส้ ะอาดและซบั ใหแ้ หง้ แลว้ จงึ ใส่
ผา้ อนามัย ควรเปลย่ นผา้ อนามยั เมอ่ เปยกชมุ่ หรอื อยา่ งน้อยวนั ละ 2 ครง้

การปฏิบตั กิ ิจวัตรประจาํ วัน

6 สปั ดาห์ หลังคลอด สามารถทํากิจกรรมท่ไมต่ อ้ งออกแรงมาก
ไมค่ วรยกของหนกั หรือทํางานทต่ อ้ งใชก้ ําลัง

นาคาวปลา

2-3 วันแรกจะมสี ีแดงสดจาํ นวนคอ่ นขา้ งมาก จากน้นสีจะจางลงเรอ่ ยๆ
จนเป็นสนี าตาลออ่ นและจะคอ่ ยๆ ลดลงจนหมดไป และมดลูกเขา้ อู่
ประมาณ 4-6 สัปดาหห์ ลังคลอด

ประจําเดอื น

เล้ยงลูกดว้ ยนมแมจ่ ะไมม่ ปี ระจําเดอื นภายใน 6-8 สปั ดาหห์ ลงั คลอด
ประจําเดอื นครง้ แรกอาจจะออกนานหรอื มากกวา่ ปกติ ควรคุมกาํ เนิดภายใน
4-6 สปั ดาห์

เตา้ นม

2-3 วันแรกจะมนี มท่เรยี กวา่ โคลสั ตรมั (Colostrum) ออกมากอ่ นซ่ง
นา นมนจ้ ะมีประโยชน์ตอ่ ลูกมากหลงั คลอดวันท่ 3 คณุ แมจ่ ะรูส้ ึกคัดตงึ ท่
เตา้ นม ทาํ ใหร้ ูส้ กึ ปวด บางคร้ง อาจทําใหม้ ไี ขเ้ กิดขน้ ได้ ควรใหล้ ูกดดู นม
จนหมดถา้ มอี าการคัดตงึ เตา้ นมอยา่ กระตุน้ เตา้ นมไมว่ า่ วธิ ใี ดๆ ทงั้ ส้นให้
บบี นานมออกจนเตา้ นมน่มุ และหายปวดได้ 1 ครง้ และ ประคบเย็นแลว้
จึงใส่เสอ้ ช้นในทก่ ระชบั

เพศสมั พนั ธ์

งดการมเพี ศสมั พันธภ์ ายใน 4-6 สัปดาห์ หลงั คลอด เน่องจากใน
ระยะหลังคลอดจะมนี าคาวปลาและปากมดลกู ยังปดไมส่ นทิ
ควรเวน้ ระยะการต้งครรภป์ ระมาณ 1-2 ป

post Partum blue

หายภายใน 2- 3 d ใ สา วยเห อ

บ หาร างกายห งคลอด า จะ

4

คง

้ัร่ทัล่ริรืล่ชีม้ห





ภาวะ ดปก ห ง คลอด

1. มีเลือดออกมาจากทางชอ่ งคลอดจนชุม่ ผา้ อนามยั 1 ผนื ภายใน 1 ช่วโมง
2. นาคาวปลามีสแี ดงสดนานเกิน 4 วนั
3. นาคาวปลามกี ล่นเหม็นผิดปกติ
4. มกี อ้ นเลือดขนาดใหญอ่ อกมาจากทางชอ่ งคลอด
5. นา คาวปลาไมไ่ หล โดยเฉพาะใน 2 สัปดาหแ์ รกหลงั คลอด
6. ปวดทอ้ งน้อย หรือปวดราํ คาญในระยะ 1 สปั ดาหแ์ รกหลงั คลอด
7. มไี ขส้ งู มากกวา่ 38 องศาเซลเซียสเกนิ 24 ชว่ โมง โดยเฉพาะหลังคลอดวนั แรก
8. เจบ็ หน้าอก ซง่ อาจเกิดจากสาเหตุการอุดตันของลม่ เลอื ดเล็กๆ ภายในปอด
9. มอี าการปวดเเละบวมท่บริเวณขาและน่อง อาจเกดิ จากการท่มีหลอดเลอื ดอุดตัน
บรเิ วณน้น
10. มีอาการปวด บวม ของเตา้ นมบางส่วน ซง่ อาจเกิดจากการอดุ ตันของทอ่ นานม
โดยทําใหเ้ ตา้ นมอักเสบได้
11. มีอาการบวมแดงของแผลผา่ ตัด เป็นหนอง และมนี า เหลอื งไหลซึม
12. เมอ่ เวลาทป่ ั สสาวะแลว้ มีอาการแสบ รสู้ กึ ขัด หรือปั สสาวะบอ่ ย เเตป่ รมิ าณน้อย
ลง มีสีเขม้ จดั
13. มีอาการซมึ เศรา้ นานเกนิ 2-3 วนั และมอี ารมณโ์ กรธรว่ มดว้ ย

ผัลิติ

การพยาบาลทารกแรกเกดิ

Vls

T : ทกุ 30 นาที ภายใน 2 ชว่ โมงแรกเกิดทกุ 4 – 8 ชว่ โมง
จนกวา่ จะจาํ หน่ายออกจากโรงพยาบาล

วัดอุณหภมู ิรา่ งกายทางทวารหนัก (rectal temperature) ลึก 3 cm
Preterm 2.5 3 min

HR ะ 110 -160mmHg อาจจะไดย้ นิ เสยี ง murmur ได ้ ในชว่ งแรก

หลังคลอด เน่องจาก ductus arteriosus ยงั ปดไมส่ มบูรณ์
30 นาที ภายใน 2 ช่วโมง จากน้นประเมินทุก 4 – 8 ช่วโมง

RR ะ 40-60 bpm ห ดหายใจ 5- เอ s ไ เ ยว ปก

เ ยก า periodic breathing 2- 3 day แรก ก าง . ด
.
_

BP : SBP 65 –95 mmHg. DBP30 – 60 mmHg. และ

PPคา่ 25 – 30 mmHg. หาก > 30 mmHg. ถือวา่ กวา้ ง คบ shock

Sp Oi อ ขวา เ า ขวา : 1min60-65% 10min ะ 85-95%
,

ดแู ลความสะอาด

ตอ้ งปั สสาวะภายใน 24 ชว่ โมง และถา่ ยขเ้ ทาภายใน 48 ช่วโมงหลงั คลอด
อาบนาทารกคร้งแรก หลงั 24 ชว่ โมงแรกหลังคลอด
นมาวรดดการทะตต่ ุนิด้ เกชาอ้ รไHหIลVเวทียต่นอ้คงวอรานบวนดาใโนดชยว่ เงรเว็วลาทท่ ารกตน่ ตวั กอ่ นมอ้ นม

้ทืมีซ้ว่วีริตีข่มุย

สารอาหาร

นมแมอ่ ยา่ งเดียว 6 เดอื น ทกุ 2 ชว่ โมง ดูดนานขา้ งละ 15-20 นาที
รบั นมเพยี งพอจะนอนหลับไดน้ าน 2-3 ชว่ โมง ปั สสาวะเป็นสีเหลอื งออ่ น
2-6 ครง้ /วัน ใน 1 - 2 วนั แรก และ 6 - 8 ครง้ /วนั อจุ จาระ 3 คร้ง/วนั

ในสปั ดาหแ์ รกนาหนกั ทารกจะตอ้ งลดลงไมเ่ กินรอ้ ยละ 7 ของนา หนกั ตวั
แรกเกดิ หลงั จากน้นควรเพ่ม 20 - 30 กรมั /วนั

นอนหลบั ส่งเสรมิ สัมพันธภาพระหวา่ งมาดาและทารก

1) First period of reactivity เป็นชว่ ง 30 นาทแี รกหลังคลอด
2) Period of sleep หลบั สนทิ 2 – 4 ช่วโมง

3) Second period reactivity ทารกจะตน่ ตัวดดู กลืนถา่ ยอุจจาระใน 4 – 6 hr.

* นอนหลบั 16 - 20 ชว่ โมง/วนั 2 - 3 ช่วโมง สลบั ต่น 1 - 2 hr ตน่ มากข้นเม่อ

[อายุ 2-3 สัปดาหข์ น้ ไป นอน ตะแคง แยก เ ยง แ, เบาะ ง
,
งเส ม การนอน ห บ
า อม แ ง เ ยบ สงบ ,

vaccine มตี ุม่ แดงแลว้ กลายเป็นฝเมด็ เล็กๆ
สาลีชบุ นา ตม้ สุกท่เยน็ แลว้ เชด็
BCG 0.1 lb ตอ่ มนาเหลืองใกลก้ บั บรเิ วณทฉ่ ีดอักเสบหรือโตขน้ มารพ.
HIV หากทารกไมม่ ีภาวะผิดปกตสิ ามารถฉดี ไดป้ กติ
1 ณโรค )
Vastus lateralis ตน้ ขาดา้ นนอก no สะโพก
HBV 0.5 ml แรกเกิด (ภายใน 24 ชว่ โมง) เมอ่ อายุ 1 - 2 เดือน

1M และเมอ่ อายุ 6 เดอื น

Vitk 0.1mg ใน 2 – 3 วนั แรกหลงั คลอด
กลา้ มเน้อตน้ ขา (vastus lateralis muscle) ฉดี ภายใน 1 hr หลังคลอด

ัวีง้ห้อ้ผ็ขีตัลิร่สึณ

การพยาบาลทารกทม่ ีความผดิ ปกติเล็กน้อย

เทา้ ปุก (club foot)
1. เทา้ ปกุ เทยี ม (postural clubfoot) ดัดใหเ้ ทา้ อยูใ่ นลักษณะปกติไดง้ า่ ย

ดดั เทา้ และ/หรือใส่ เฝอกเพยี งไมก่ ค่ ร้ง ไมจ่ าํ เป็นตอ้ งผา่ ตัด
2. เทา้ ปกุ แท้ (congenital clubfoot or idiopathic CTEV)

เทา้ บิดเขา้ ดา้ นในและมรี อยลึกของผิวหนังท่ดา้ นในของฝ่าเทา้ และ
ดา้ นหลังของขอ้ เทา้ ขนาดของเทา้ มกั เลก็ กวา่ เทา้ ขา้ งทป่ กต
3.*เ้เททา้า้ ปปกุกุ ชมนักแดิ ขทง็ เ่ แกลดิ ะรดว่ มดั กแบักโไ้ รขคไอดน่ย้ าก ใส่เฝอกดัดไมค่ อ่ ยไดผ้ ล และเป็นซา
* ประเมินตามแบบของ Pirani scoring system

ผา่ ตัดและไมผ่ า่ ตัด โดยในชว่ งอายุ 6 เดือนแรกหลังคลอด
ชแ้ จงพรอ้ มกับแพทยเ์ พอ่ ใหม้ ารดาเขา้ ใจ วา่ สามารถทาการ รักษาได้ และควร
รักษาโดยเร็วท่สุดไมค่ วรปลอ่ ยใหน้ านเกนิ ไป เปดโอกาสใหซ้ กั ถาม

ภาวะพงั ผดื ใตล้ ิน (tongue-tie or Ankyloglossia)

Mild พงั ผืดใตล้ ้นเกาะท่ครง่ ลา่ งคอ่ นมาทางโคนลน้
Moderate fคiรm่งbบrนinคaอ่ tนedไfปoทldาองปอกลไายปลท้นางปลายล้นจนถงึ
Severe ดา้ นบนของล้น
ใช้ Siriraj Tongue-Tie Score (STT Score). น้อยกวา่ 8 คะแนน กษา

รั

ขเ้ ทาอดุ ตนั (meconium impact)

อุดตันท่ลาํ ไส้เล็กส่วนปลาย (ileum) ไมถ่ า่ ย ขเ้ ทาใน 12- 24 hr หลงั คลอด
อาเจียนออกเป็นน้าดี ทอ้ งอดื และอาเจียนทันทีหลังดดู นม ส่วนใหญ่

ลลทาําําไไใสสห้้เเเ้ กลลดิ็ก็กภสทา่วอว่นะนปปmลลeาcายยoโnจปiะ่uงทขmาํ ยใาpหยluอ้ gบุจาจsงาyรรnาะdยทrข่อo้เmุดทตeาันอใาอชจยส้อหู ่ ุดาลรตดุนันอา ใอสนกวลมนาาเไข+าส้ ไ้ใปวหนิใญนิจดฉ่ ว้ยั Cยตyอซ่stง่ igcfsibisro

พรอ่ งเอนไซมแ์ ลคเตส (Lactase deficiency)

อจุ จาระรว่ ง ปวดทอ้ งกะทนั หัน หรือมีแกส๊ ในกระเพาะอาหารหลงั ไดร้ บั นม
ประมาณ 30 นาที – 2 ช่วโมง ในชว่ ง 1-2 เดอื นแรกหลังเกดิ รนุ แรงอาจตอ้ งให้
นมสตู รท่ไมม่ ีน้าตาลแลคโตส (lactose free formula)

ดาวน์ซินโดรม (Down syndrome)
โครโมโซมคทู่ ่ 21 เกินมา 1 แทง่ เรียกวา่ trisomy 21 ทารกจะมศี รี ษะคอ่ นขา้ งเล็ก
แบน และตาเฉยี งข้น ด้งจมูกแบน ปากเล็ก ล้นมักย่นออกมา มือสน้ มกั มโี รคหัวใจ
พกิ ารแตก่ าเนิด หรอื โรคลาไส้อดุ ตนั ต้งแตแ่ รกเกดิ ปั ญหาการดดู กลนื นม
อา้ ปาก ล้นยน่ ออกมา ทาใหร้ มิ ฝปากปดไมส่ นทิ

ฟันชุดพิเศษ (neonatal teeth)

ฟันท่ตา่ งจากฟันน้านมปกติ คือจะไมม่ ีรากฟัน เรยี กวา่ Predeciduous Teeth
ฟันแทช้ ุดพิเศษหรอื ฟันเกนิ เรียกวา่ supernumerary tooth หรือ hyperdontia

ภาวะดดู นมไมเ่ กง่ (weak sucking reflex)

คลอดกอ่ นกาหนดหรอื ในทารกกลมุ่ อาการดาวน์ภาวะ hyaline membrane
disease เลือดออกในโพรงสมอง (intraventricular hemorrhage) ภาวะตวั เย็น
(hypothermia) และ patent ductus arteriosus (PDA) แกไ้ ขดว่ น

ตวั เหลืองในทารกแรกเกดิ (physical jaundice)

1. ตวั เหลอื งจากสรีระ (Physiological jaundice) บลิ ิรบู ินในเลือดสูงกวา่ 3 mg%
หลงั 24 ชว่ โมงแรกเกิด

สาเหตุ เมด็ เลอื ดแดงของทารกมีปรมิ าณมากกวา่ ผใู ้ หญ่
อายสุ น้ เพียง 90 วนั
ตับของทารกยงั ทาหน้าท่ในการ Conjugate ไมเ่ ตม็ ท่
การเพ่มข้นของ enterohepatic circulation จากการท่ลาํ ไส้ทารก

ยังมแี บคทเี รียน้อย conjugated bilirubi②n ขบั ถา่ ยออกมา

③ ตวั เหลืองจากนมแม่ (Breastfeeding jaundice)

Breastmilk jaundice อาการเหลืองเรม่ ปลายสปั ดาหแ์ รก (4-7 วัน) บิ
ลริ ูบนิ สูงสุดไดถ้ งึ 10-30 มก. /ดล. สปั ดาหท์ ่ 2-3 หลงั เกดิ เม่อใหน้ ม
มารดาตอ่ ไป ระดบั บลิ ริ ูบินจะคอ่ ย ๆ ลดลงจนอยูใ่ นเกณฑป์ กติ เมอ่
อายุ 3-12 สปั ดาห์
Breastfeeding not enough jaundice พบใน 2-4 วันหลังเกิด

เนอ่ งจากไดร้ ับ นมมารดาไมพ่ อ การป้ องกันภาวะน้คอื ใหท้ ารกอยกู ่ ับ
มารดาตลอดเวลา (rooming-in หรอื bedding-in) ใหด้ ูดนมแมบ่ อ่ ย
(8-10 มอ้ /วัน) ไมใ่ หน้ าเปลา่

การพยาบาลทารกแรกเกิดทไ่ ดร้ บั การส่องไฟ
1) ปดตาทารกดว้ ยวตั ถทุ ึบแสง
2) ถอดเสอ้ ผา้ ยกเวน้ ผา้ ออ้ ม
3) วางทารกหา่ งจากหลอดไฟ 30 - 45 เซนตเิ มตร
4) วดั อณุ หภูมทิ ารกบอ่ ยๆ หรอื ทกุ 2 ชว่ โมง
5) ใหน้ มเพ่มขน้ ช่งน้าหนักทุกเวร เพอ่ ประเมินอาการเสียน้า
6) บนั ทึกจานวนการถา่ ยปั สสาวะ/อจุ จาระ
7) ความยาวคลน่ ของแสงท่มีประสิทธภิ าพ คือ แสงสฟี ้าเขยี ว (blue-green light)
ทค่ วามยาว คลน่ 450 - 480 นาโนเมตร โดยส่องไฟแบบ double หรอื triple
light คือส่องไฟ 2-3 ดา้ นพรอ้ มกนั
8) หลอดไฟตอ้ งใชง้ านไดท้ กุ หลอด
9) ตอ้ งมแี ผน่ พลาสติกใส (หา้ มใชก้ ระจก) ก้นโคมไฟ เพอ่ กรองแสงอลั ตรา ไว
โอเลต และป้ องกัน หลอดไฟตกใส่ทารกกรณหี ลอดไฟแตก
10) หยุดส่องไฟไดใ้ นชว่ งเวลาส้นๆ ขณะป้ อนนมหรอื เปล่ยนผา้ ออ้ ม
11) ในทารกครบกาหนด พจิ ารณาหยุดส่องไฟเมอ่ ระดบั บลิ ริ บู นิ น้อยกวา่ 13 mg/
dl. และ ติดตาม total serum bilirubin (TSB) อกี ครง้ ใน 12 - 24 ช่วโมง

ภาวะแทรกซอ้ นจากการส่องไฟ
1) นา หนกั ตวั ลดลง จากการเผาผลาญพลังงานทเ่ พม่ ข้น และนอนหลบั ไดน้ ้อย
2) ทารกมีภาวะเสียนา เนอ่ งจากอณุ หภมู ภิ ายนอกสงู ขน้

3) ถา่ ยเหลว เน่องจากแสงทใ่ ชร้ กั ษาทาใหเ้ กิดการขาด enzyme lactase ชว่ คราว
4) การบาดเจ็บของจอประสาทตา (retina damage)

5) ทารกสผี ิวคลา้
6) ผดผ่น ดแู ลโดยการอาบนา เชด็ ตัวใหแ้ หง้ ไมท่ าโลชน่ นามนั หรอื แป้ ง
7) อุณหภมู ริ า่ งกายสงู หรอื ตา กวา่ ปกติ

ภาวะอุณหภูมกิ ายตา (sub-temperature or hypothermia) ตา กวา่ 36.5

1) Cold stress 36.0 - 36.4 องศาเซลเซยี ส
2) Moderate hypothermia 32.0-35.9 องศาเซลเซียส
3) Severe hypothermia < 32.0 องศาเซลเซยี ส

การป้ องกัน

การใชอ้ อกซิเจนและมีการเผาผลาญ พลังงานน้อยท่สุด (Neutral thermal
environment, NTE) โดยใหท้ ารกอยูใ่ นตูอ้ บ หรือ Radiant warmer
หลีกเลย่ งภาวะเสย่ งทท่ าํ ใหท้ ารกสูญเสยี ความรอ้ น
สังเกตอาการของ Hypothermia เชน่ เขยี วตามปลายมอื ปลายเทา้ ซมึ
กระสับกระส่าย ผวิ หนังซดี และเยน็ หายใจเรว็ รับนมไมไ่ ด้ น้าหนกั ไมเ่ พม่
มีภาวะ Hypothermia เพม่ อณุ หภมู ขิ องตูอ้ บหรือวางตวั ทารกไวใ้ ต้ Radiant warmer
หรือหอ่ ตัวทารกใหอ้ บอุน่
สงั เกตอาการของ Hyperthermia เชน่ ผิวหนังแดงขน้ และรอ้ น หายใจเร็วขน้
ควรแกไ้ ขตาม สาเหตขุ องการมอี ณุ หภมู ิรา่ งกายสูง เชน่ หอ่ ตัวทารกมากเกนิ ไป
อณุ หภูมิของตูอ้ บสงู เกนิ ไป เป็นตน้
อณุ หภมู ขิ องทารกเพ่มเร็วเกินไปจะส่งผล ใหเ้ กิดภาวะ apnea, hypotension และ
electrolyte imbalance ได้

ภาวะทอ่ นาตาอดุ ตนั (nasolacrimal duct obstruction)

2-3 วนั หรอื สัปดาหแ์ รกหลังคลอดอาการน้าตาเออ่ ไหลตลอดเวลา (epiphora)
มอี าการตาแฉะ มีข้ตามากจากเยอ่ บุนัยน์ตาอักเสบ (conjunctivitis) การ
พยาบาล นวดทอ่ และถงุ น้าตา โดยนวดวันละ 3 - 4 รอบ รอบละ 10 คร้ง
หากมขี ต้ าเลก็ น้อยให้ นวดรว่ มกับเชด็ ตาดว้ ยสาลชี ุบ NSS หรือน้าตม้ สกุ

ภาวะอณั ฑะไมล่ งถุง (undescended testes or cryptorchidism)

ลงถงุ เมอ่ อายคุ รรภ์ 32 สัปดาหใ์ ห้ human chorionic gonadotropin (HCG) หาก
พบวา่ มีระดบั plasma ของ testosterone เพ่มข้น แสดงวา่ มี testis ใหท้ ําการ
ตรวจหาตาํ แหน่งของ testis โดยการอลั ตรา้ ซาวด์
ลงถุงไดเ้ องภายใน 3 เดือน ไมเ่ กนิ 1 ป หากไมล่ ง ถุงเองใน 1 ป แพทยจ์ ะผา่ ตัด
(ochiopexy) เม่ออายุประมาณ 1 – 2 ป หากเกนิ 2 ป แลว้ ยังไมไ่ ดร้ บั การรกั ษา
จะทาใหโ้ อกาสการเป็นหมันมีเพม่ สงู ขน้ และเพ่มความเส่ยงในการเป็นมะเรง็ อัณฑะ

ขาโกง่ (physiologic bowlegs)

ขอ้ สะโพกจะบดิ ออก และกระดกู หน้าแขง้ (tibia) บดิ เขา้ ดา้ นใน ขาโกง่ จะหาย
ไดเ้ องเมอ่ อายุประมาณ 2 ป ไมม่ คี วามจาเป็นตอ้ งทาการดดั ขาทารก

การทาํ หมันหญิง

    คอื การผกู และตดั ทอ่ นําไขท่ ง้ สองขา้ ง  สามารถทําไดต้ ง้ แตห่ ลงั คลอดใหม ่ ๆ
เรียกวา่ การทาํ หมันเปยก และถา้ ทาํ หมนั ในชว่ งทพ่ น้ ระยะหลังคลอดไปแลว้ เรียก
วา่ การทําหมนั แหง้         
Condom (ถุงยางอนามัย)

    เหมาะกบั ในรายท่ไมต่ อ้ งการการใชฮ้ อรโ์ มน มเี พศสมั พันธ์ ไมบ่ อ่ ย และ
ตอ้ งการคุมกาํ เนดิ ระยะส้น
Progestin-only pill (ยากินชนดิ ฮอรโ์ มนเด่ยว)
    ยาคุมชนิดนส้ ามารถรับประทานไดใ้ นชว่ งใหน้ มบตุ รโดยท่ไมม่ ผี ลกระทบตอ่
ปรมิ าณนา นมและสามารถเพ่มปรมิ าณนา นมไดอ้ ีกดว้ ย วธิ ีการการรับประทาน
เหมือนกบั ยาคมุ กาํ เนดิ ชนดิ ฮอรโ์ มนรวม แตอ่ าจมผี ลขา้ งเคยี งในเรอ่ งเลอื ดออกกระ
ปริดกระปรอย ระหวา่ งการรบั ประทานไดโ้ ดยเฉพาะอยา่ งย่งหากมีการลมื กนิ หรือ
เปลย่ นชว่ งเวลากนิ บอ่ ยๆ ยาคุมกําเนิดชนิดน้ 1 แผงประกอบดว้ ยยา 28 เมด็
แนะนาํ ในเรม่ กินในชว่ งวันท่ 21-28 หลงั คลอดบตุ ร แตห่ ากกินหลงั จากนน้
สามารถกนิ ไดแ้ ตช่ ว่ ง 7 วนั แรกท่กินยาคุมกําเนดิ ชนดิ น้ หากมเี พศสมั พนั ธแ์ นะนํา
ใหค้ มุ กําเนิดโดยการใชถ้ ุงยางรว่ มดว้ ย ยาคุมกําเนิดชนดิ นไ้ มค่ วรใชใ้ นผูท้ ม่ โี รค
ตับ โรคความดนั โลหติ สงู ทค่ วบคุมไมไ่ ด้ และโรคล่มเลือดอุดตันแบบเฉยี บพลัน

ยาฉีดคุมกําเนิด (DMPA)

    มี 2 ชนิดคือ แบบ1 เขม็ คุมกาํ เนิดได้ 3 เดอื น และแบบท่ 2 คอื 1 เข็ม
คมุ กําเนดิ ได้ 1 เดือน ยาคมุ ชนดิ นส้ ามารถรบั ไดใ้ นชว่ งใหน้ มบุตรโดยท่
ไมม่ ีผลกระทบตอ่ ปรมิ าณนานม สามารถเร่มฉีดไดต้ ้งแต่ 6 สปั ดาหภ์ าย
หลังคลอดบตุ ร หรือ ภายใน 7 วนั หลังมรี อบเดอื นมา ขอ้ ดขี องการคุม
กําเนดิ แบบฉดี คอื ไมม่ ีปั ญหาเรอ่ งการลืมกินยา คมุ กาํ เนดิ ไดน้ านกวา่ ยา
คุมชนิดกิน แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามมีผลขา้ งเคียงคือ มเี ลอื ดออกกระปริดกระ
ปรอย หากใชไ้ ปนานๆจะทาํ ใหป้ ระจาํ เดือนไมม่ า นอกจากมยี งั มผี ลขา้ ง
เคียงทําใหม้ ีนา หนักข้น มีฝ้า และหากใชใ้ นระยะยาวมีรายงานวา่ ทําใหร้ ะ
ดบั คลอเลสเตอรอลท่ไมด่ ใี นเลอื ดสูงข้นและมวลกระดกู บางลงได้ แต่
อยา่ งไรกต็ ามหากหยดุ ใชม้ วลกระดูกทบ่ างลงสามารถกลับคืนมาได้

• Implant (ยาฝังคมุ กําเนิด)

    ยาคมุ ชนดิ น้ประกอบดว้ ยฮอรโ์ มน Progestin ชนิดเดยี วดังน้นจึงไมส่ ่งผลตอ่
ปริมาณนา นม ยาฝังคมุ กาํ เนิดมี 2 ประเภท คือ 1. ชนิด 1 หลอด (Nexplanon)

คุมกาํ เนดิ ได้ 3 ป  และ 2. ชนิด 2 หลอด ( Jadelle) คมุ กําเนิดได้ 5 ป การฝัง
ยาคมุ จะฝังบริเวณทอ้ งแขนดา้ นในเหนอื ขอ้ ศอกเลก็ น้อย ปกติแนะนาํ ใหฝ้ ัง
ภายใน 5วนั แรกของการมีประจําเดอื น หรอื ภายใน 6 สัปดาหห์ ลังคลอด แตใ่ น
กรณีทเ่ ลย 6 สัปดาหห์ ลงั คลอดแลว้ แตป่ ระจาํ เดือน ยงั ไมม่ า สามารถฝังยาคุม
ได้ แตค่ วรตรวจการต้งครรภก์ อ่ นทุกครง้ และภายหลังฝัง 7 วนั ควรคุมกาํ เนิดดว้ ย
วธิ อี ่น เชน่ ใส่ถุงยางรว่ มดว้ ย หากตอ้ งการมเี พศสัมพันธ์ การฝังยาคุมกําเนิด จะ
ยงั มีรอบเดอื นมาตามปกติแตอ่ าจมาน้อยลงได้ และเม่อครบกําหนดตอ้ งมานาํ
หลอดยาฝังออก

• IUD (หว่ งคมุ กําเนิด)
    หว่ งคุมกําเนดิ ในปั จจุบนั มี 2 ชนิดคอื 1.ชนดิ มฮี อรโ์ มน ( Levonogestrel
IUD) : หว่ งคมุ กาํ เนดิ ชนิดนส้ ามารถคุมกาํ เนดิ ได้ 5 ป 2.หว่ งคมุ กาํ เนิดชนิด
Copper (Copper IUD) : หว่ งคมุ กาํ เนดิ ชนดิ น้สามารถคุมกาํ เนิดได้ 10 ป โดย
ชว่ งเวลาทป่ ลอดภัยในการใส่หว่ งคุมเกดิ หลงั คลอด คอื อยา่ งน้อย 6 สปั ดาห์
หลังคลอดบุตร เพอ่ ใหม้ ดลกู เขา้ อใู่ หเ้ รียบรอ้ ยกอ่ นและลดโอกาสการทะลุจาก
หว่ งคมุ กาํ เนดิ ส่วนผลขา้ งเคียงจากการใส่หว่ งคมุ กําเนิดท่พบบอ่ ยไดแ้ ก่ ตกขาวท่
มากขน้   มีเลอื ดออกกระปริดกระปรอย ระหวา่ งรอบเดอื น ประจาํ เดือนจะมาลดลง
แตก่ ารคมุ กาํ เนดิ ชนดิ น้ไมม่ ีผลตอ่ ปริมาณนานม




Click to View FlipBook Version