The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์การเกษตรสร้างความยั่งยืนของวิถีเกษตรแนวใหม่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เที่ยวไม่ไกล...ไปกำแพงแสน

โครงการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์การเกษตรสร้างความยั่งยืนของวิถีเกษตรแนวใหม่

Keywords: เที่ยวกำแพงแสน

ค�ำนำ�

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน ตั้งอยู่เลขท่ี 1 หมู่ 6
ต�ำบลก�ำแพงแสน อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิทยาเขตก�ำแพงแสน ได้รับการคัดเลือกเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวเชิงนิเวศขึ้นทะเบียน
จากองค์การบริหารจัดการกา๊ ซเรอื นกระจก (องค์การมหาชน) ในโครงการลดกา๊ ซเรือน
กระจกภาคสมัครใจ ในประเภทป่าไม้และพ้ืนท่ีสีเขียว ตามมาตรฐานของประเทศไทย
(T-VER) นบั เปน็ มหาวทิ ยาลยั แหง่ แรกของประเทศไทย นอกจากนวี้ ทิ ยาเขตกำ� แพงแสน
ยังเป็นแหล่งเรียนรู้ทางด้านธรรมชาติ ด้านการปลูกป่า ด้านนกหายาก ด้านพรรณไม้
พรรณบัว ด้านบริการวิชาการ งานวิจัย ที่เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ โดยมีศูนย์ต่างๆ
ด้านพืช ด้านสัตว์ และนวัตกรรมเทคโนโลยี มากมายทั้งในห้องเรียนและ
นอกห้องเรียน เป็นวิทยาเขตสร้างความสุข ความเพลิดเพลิน การออกก�ำลังกาย และ
การทำ� กจิ กรรมทางสงั คม

มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำ� แพงแสน ขอเชญิ ชวนทา่ น
เที่ยวไม่ไกลไปก�ำแพงแสนในทุกวันเพ่ือสร้างความสุข สุขภาพ และปัญญา
อย่างเพลิดเพลนิ วนั เดยี วเทีย่ วได้ สนกุ สนานทกุ รูปแบบ

รศ.ดร.ตฤณ แสงสุวรรณ

รองอธิการบดวี ิทยาเขตกำ� แพงแสน
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำ� แพงแสน

1

สารบัญ (หนา้ )

Content..........................

• • • • 1) สวนตาลเฉลมิ พระเกียรติ 80 พรรษา 4
• • • • 2) KU Eco Green Campus 5
มหาวิทยาลัยสเี ขยี วเชงิ นเิ วศ 6
• • • • 3) ศูนย์นมโคพาสเจอร์ไรสเ์ กษตรกำ� แพงแสน 7
• • • • 4) การทอ่ งเทยี่ วศูนยก์ ารเรยี นรู้โคขนุ พนั ธก์ุ ำ� แพงแสน 8
• • • • 5) คาวบอยแลนด์ศูนย์การเรยี นรู้เพื่อการทอ่ งเที่ยวเชิงอนุรกั ษ์ 9
• • • • 6) ศูนยก์ ารเรยี นรเู้ พอื่ การทอ่ งเทย่ี วเชงิ อนรุ กั ษ์ 10
ความเปน็ เลิศทางวชิ าการด้านไหม 11
• • • • 7) ศูนย์การเรียนรู้อุทยานแมลงเฉลิมพระเกยี รต ิ 12
• • • • 8) ศูนยส์ าธติ สัตว์เศรษฐกิจขนาดเล็กเพ่อื ความยง่ั ยืน 13
ของวิถีชีวติ เกษตรแนวใหม่ 14
• • • • 9) ศนู ยก์ ารเรียนรพู้ นั ธ์อุ อ้ ยเพือ่ ความยั่งยนื 15
ของวิถีชีวติ เกษตรแนวใหม่ 16
• • • • 10) ศูนยก์ ารเรียนร้เู พือ่ การทอ่ งเที่ยวเชงิ อนุรักษ์
การควบคมุ พชื โดยชีวินทรยี ห์ รอื ศตั รธู รรมชาติ
• • • • 11) ศูนยก์ ารเรียนรเู้ พื่อการทอ่ งเท่ียวเชิงอนรุ ักษ ์
ดา้ นการเพาะเลยี้ งเนือ้ เยอ่ื พืช
• • • • 12) สวนไมห้ อมเชิงอนรุ กั ษ ์
• • • • 13) ท่องเท่ยี วแปลงแหล่งผลติ ปุ๋ยธรรมชาต ิ
เพ่ือการเรียนรเู้ ชิงอนรุ ักษ์

2

• • • • 14) การทอ่ งเทยี่ วแปลงรวบรวมพนั ธ์พุ ชื เศรษฐกจิ (หนา้ )
หลกั เพ่ือความยงั่ ยนื ของวิถชี วี ติ เกษตรแนวใหม่ 17
• • • • 15) ศูนย์การเรียนรดู้ ้านสมนุ ไพรทางการเกษตร 18
เพ่อื การท่องเท่ียวเชิงอนรุ กั ษ์ 19
• • • • 16) Eco Green Restaurant 20
• • • • 17) ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมและนวัตกรรม 21
ทางการศกึ ษามวยไทยภาควิชาพลศึกษาและกีฬา
• • • • 18) ศนู ยก์ ารเรยี นร้กู ิจกรรมทางกายผ้สู ูงอายุ 22
แบบองคร์ วมสง่ เสริมกจิ กรรมผูส้ งู อายุ 23
ดา้ นการออกก�ำลังกาย 24
• • • • 19) อบรมทักษะการช่วยเหลือผ้ปู ระสบภัยทางน้�ำ 25
• • • • 20) Fit Together การออกแบบ การออกกำ� ลังกาย 26
เพ่อื สร้างสุขภาพ 27
• • • • 21) ศูนยก์ ารเรียนรฟู้ นื้ ฟูนกลา่ เหยอ่ื 27
• • • • 22) ศูนยก์ ารเรยี นรู้สถานวี จิ ัยประมงก�ำแพงแสน 28
• • • • 23) ศนู ยก์ ารเรียนรูข้ องคณะวศิ วกรรมศาสตร์ ก�ำแพงแสน 28
เพ่อื การทอ่ งเทยี่ วเชิงอนรุ ักษก์ ารเกษตร
• • • • 24) โครงการกลว้ ยอาหารอนั ทรงคณุ ค่าของไทย
• • • • 25) สารสกัดและผลติ ภณั ฑ์ธรรมชาติทางกฏี วิทยา
• • • • 26) การอบรมวชิ าชีพ
• • • • 27) ปกั หมดุ แหล่งเรียนรู้สกู่ ารทอ่ งเท่ียววิทยาเขตกำ� แพงแสน

3

1

เปน็ สวนตาลโตนด จำ� นวน 80 ตน้

ปลูกเรียงกันเป็นหมายเลข 9 ซ่ึงแสดงออกถึงความจงรักภักดี
และนอ้ มรำ� ลกึ ถงึ พระมหากรณุ าธคิ ณุ แดพ่ ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร
มหาภูมพิ ลอดุลยเดช

4

2

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้รับ
โล่ประกาศเกียรติคุณจากพลเอกสุรศักดิ์
กาญจนรัตน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม ซึ่งจัด
โดย องค์การบริการจัดการก๊าซเรือนกระจก
(องค์การมหาชน) เพ่ือแสดงว่า รศ.ดร.ตฤณ
แสงสุวรรณ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน ซ่ึงเป็น
เจ้าของโครงการหลัก ในการด�ำเนินโครงการ
มหาวทิ ยาลยั สีเขยี วเชิงนิเวศ (KU Eco Green
Campus) ไดร้ บั การขนึ้ ทะเบยี นเปน็ “โครงการ
ลดกา๊ ซเรอื นกระจกภาคสมคั รใจตามมาตรฐาน
ของประเทศไทย” (Thailand Voluntary
Emission Reduction Program: T-VER)
เปน็ สถาบนั การศกึ ษาระดบั ช้นั นำ� ของประเทศ
ให้ความส�ำคัญตอ่ การพัฒนาประเทศ ด้านการ
มติ รกับสิง่ แวดล้อม (Green University)

ภายใต้โครงการมหาวิทยาลัยสีเขียวเชิงนิเวศ (KU Eco Green

Campus) มีการเพิ่มพื้นท่ีสีเขียวด้วยการรณรงค์ปลูกต้นไม้ภายใน
มหาวิทยาลัยในวาระโอกาสส�ำคัญ ได้แก่ โครงการปลูกต้นยางนา
เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 9
เพ่ือเป็นประโยชนต์ อ่ ประเทศและเปน็ ตวั อยา่ งมหาวิทยาลัยเชงิ นเิ วศตอ่ ไป

5

หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารผลติ ผล 3
จากสัตว์ ภาควิชาสัตวบาล
คณะเกษตร กำ� แพงแสน

มี กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ ง า น วิ จั ย
ท่ีเกี่ยวข้องกับผลิตผลจากสัตว์ เช่น
การแปรรปู ผลติ ภณั ฑจ์ ากเนอ้ื สตั ว์ นำ้� นม
และไข่ มีแนวคิดการจัดตั้งร้านจ�ำหน่าย
ผลิตภัณฑ์ต้นแบบเกิดขึ้นภายใต้ช่ือของ
“KU more” ต้งั แตว่ ันท่ี 1 พฤศจกิ ายน
2554 ซง่ึ หมายถงึ สนิ คา้ มใี หเ้ ลอื กมากมาย
หลายชนิด เช่น นมโคพาสเจอร์ไรส์

นมแพะพาสเจอร์ไรส์ ไอศกรมี นมโค ไอศกรีมนมแพะ โยเกริ ์ตนมแพะ สบูน่ มแพะ คุกกี้
นมแพะ ไสก้ รอกหมรู มควัน สเตก็ หมู สเตก็ เนือ้ เปน็ ต้น ตัง้ ใจให้เกดิ เปน็ รา้ นต้นแบบ
เพ่ือให้เกษตรกรรายย่อยได้เห็นถึงวงจรของการส่งมอบอาหาร เริ่มต้ังแต่การผลิตหรือ
การแปรรูปผลิตภัณฑ์หลากหลายโดยมีงานวิจัยเป็นตัวช่วยผลักดัน จนถึงการจ�ำหน่าย
ขึ้นร้านจริงท่ีต้องค�ำนึงถึงราคา ก�ำไร ต้นทุน คุณภาพสินค้า และความปลอดภัยของ
ผู้บริโภค เม่ือเกษตรกรได้มาเรียนรู้แล้วสามารถน�ำความรู้ และข้อมูลที่ได้ไปพัฒนา
หรือสามารถใช้ประกอบอาชพี ของตนเองได้

6

4

กิจกรรมโชว์โคก�ำแพงแสน

.ใน.อร.ีน.่า . . . . . . . . .
.มกี .ิจ.กร.ร.มข.่มี .้า .ข่คี .ว.าย. . .

7

5

8

6 ให้ความรู้และทักษะทางด้าน
การเพาะเล้ียงไหม เพ่ือน�ำไปใช้ประโยชน์
ได้และสร้างเป็นอาชีพ แหล่งเรียนรู้
การเลี้ยงไหมอีรี่ในระบบฟาร์มอย่าง
ครบวงจร สร้างมูลค่าเพิ่มจากผลิตภัณฑ์
ไหมอีรี่เพื่อธุรกิจเชิงพาณิชย์ และส่ง
เสริมอาชีพการเลี้ยงไหมให้แก่เกษตรกร
สาธิตการเตรียมและให้อาหารหนอนไหม
การสาวไหม
9

7

ในอปุทรยะาเทนแศมไทลยงทเ่ใีปห็นญศูน่ทย์กสี่ าุดร

เรียนรู้เพื่อศึกษาชีวิตของแมลงและ
สงิ่ แวดลอ้ ม เปน็ ศนู ยเ์ รยี นรธู้ รรมชาติ
ก า ร เ พ า ะ เ ล้ี ย ง แ ม ล ง ที่ ส ว ย ง า ม
แมลงหายากและใกลส้ ญู พนั ธ์ุ เปน็ ตน้
แบบการเรียนรู้วิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน
ด้านแมลงในรูปแบบพิพิธภัณฑ์
แมลงมชี วี ติ (Life Indeet Museum)

10

8 แหล่งเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยี
ด้านการผลิตสัตว์เศรษฐกิจขนาดเล็กส่ง
เสริมแหล่งท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์ ภายใน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต
กำ� แพงแสน (กวาง, แพะ) ชมสตั วเ์ ศรษฐกจิ
ขนาดเล็ก ได้แก่ ชมกวางรูซ่า กวางดาว
แพะนม
11

9

ศูนยว์ ิจยั และพัฒนาอ้อย

และน้�ำตาล ภาควิชาพืชไร่นา

คณะเกษตร ก�ำแพงแสน มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน
มุ่งเน้นในด้านการวิจัยและปรับปรุงพันธุ์
อ้อย ท�ำให้ได้พันธุ์อ้อยใหม่ๆที่เหมาะสม
กับพื้นที่ปลูกในแต่ละพ้ืนที่ให้มากที่สุด
จึงได้ “อ้อยพันธุ์ก�ำแพงแสน” เพ่ือเป็น
การลดต้นทุนและเพ่ิมผลผลิตให้กับ
เกษตรกรใหม้ ากท่สี ดุ

12

10

13

11

ปัจจุบันเราทราบกันดีว่าเทคนิคทางด้านการเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือ
มีความส�ำคัญเพิ่มมากขึ้น เราสามารถใช้ประโยชน์ในด้านการขยายพันธุ์พืช
เพอ่ื ใหไ้ ดพ้ ชื ปรมิ าณมากและรวดเรว็ รวมทงั้ สามารถนำ� เทคนคิ ไปใชใ้ นดา้ นการ
ปรบั ปรงุ พนั ธพ์ุ ชื ใหไ้ ดพ้ นั ธใ์ุ หมห่ รอื ผลติ พชื ปราศจากโรค นอกจากนยี้ งั สามารถ
รวบรวมและเก็บรักษาพันธุ์พืชต่างๆ ได้ในพื้นที่จ�ำกัดปลอดจากโรคและแมลง
โครงการจึงจัดท�ำศูนย์การเรียนรู้เพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ด้านการ
เพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือพืช เพื่อใหน้ กั เรียน นสิ ติ นักศึกษา อาจารยน์ ักวิชาการ และ
ผู้สนใจทั่วไป ได้เรียนรู้เทคนิคและทักษะทางด้านการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อพืช
เพ่ือนำ� ไปใช้ประโยชนไ์ ด้และสรา้ งเป็นอาชพี ได้ในอนาคตต่อไป

14

12

รู้ด้านพฤสกวษนศไมาสห้ ตอรม์ เปเปน็ ็นแแหหลล่งง่ ทอ่อนงรุเทกั ี่ยษวแ์ เชลิงะนเิเรวยี ศนน์ ตสน้ มจเดำ� ็จปพรสี ะิรเทินพธรัตรนเรปาน็ ชตส้นุดไาม-้ท่ี

รวบรวมพันธุ์ไม้หอมหายากและพรรณไม้ท่ีส�ำคัญ เช่น สยามบรมราชกมุ ารี (ทรงปลกู )
ต้นรวงผึ้ง พรรณไม้ประจ�ำพระองค์รัชกาลท่ี 10 ต้น
รวงผึง้ มีดอกสเี หลอื ง :: สีเหลอื งเป็นสที ตี่ รงกับวันพระ การศกึ ษาขอ้ มลู รายละเอียด
ราชสมภพ (วันจันทร์ที่ 28 กรกฎาคม พุทธศักราช พันธุไ์ ม้หอมดว้ ย QR code
2495) ผลดิ อกอยู่ในช่วงเดอื นพระราชสมภพ คือ ดอก การขยายพันธ์ุไมห้ อมขนาดใหญ่
รวงผงึ้ ผลิดอก ออกสีเหลืองบานสะพรง่ั ในชว่ งเดอื น
กรกฎาคม - สิงหาคม ต้นรวงผึ้งเป็นต้นไม้ทรงปลูก
พระราชทาน หากคราใดทพ่ี ระองคท์ ่านเสด็จฯ กอปร
พระราชกรณียกิจ ตามสถานท่ีต่างๆ จะทรงปลูกต้น
รวงผง้ึ พระราชทานไวเ้ พอื่ เปน็ ตวั แทนแหง่ พระองคท์ า่ น
เพอ่ื เป็นสริ ิมงคลแกร่ าษฎรเสมอ

15

13

การผลิตปุ๋ยจากธรรมชาติ และ

การนำ� ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ สามารถลดการใช้
สารเคมี การทอ่ งเทย่ี วแปลงแหลง่ ผลติ ป๋ยุ ธรรมชาติ
เพ่ือการเรียนรู้เชิงอนุรักษ์ เย่ียมชมการท�ำปุ๋ยหมัก
จากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เย่ียมชมการขยาย
พันธุ์แหนแดงเพ่ือใช้เป็นปุ๋ยพืชสดสาธิตการใช้ปุ๋ย
ชีวภาพในพืชตระกูลถ่วั

16

14

รวบรวมพันธุ์พืชเศรษฐกิจหลักชมแปลงสาธิตแปลงปลูกข้าว แปลงข้าวโพด
แปลงดาวเรือง แปลงปอเทืองและไม้ผลทางเศรษฐกิจ

17

15

นำ� พชื สมนุ ไพรหรอื พชื พนื้ เมอื งทม่ี ศี กั ยภาพ
ในการป้องกันก�ำจัดศัตรูพืชมาใช้เป็นอีกทางเลือก
หนึ่งในการปอ้ งกันกำ� จดั ศัตรูพืช พร้อมชมตวั อย่างพชื
สมุนไพรและการใช้ประโยชน์พืชสมุนไพรท่ีมีศักยภาพ
ในการปอ้ งกันกำ� จดั ศตั รูพืช

18

16

• อาหารและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่มีความปลอดภัย
ต่อผู้บรโิ ภคโดยไม่ท�ำลายสภาพแวดลอ้ ม
• ชมิ อาหารและชมผลิตภณั ฑท์ างการเกษตรทม่ี คี วามปลอดภยั
ตอ่ ผู้บรโิ ภคโดยไมท่ �ำลายสภาพแวดลอ้ ม

19

17

20

18

21

19

การฝึกทักษะที่จ�ำเป็นพ้ืนฐานส�ำหรับ
ความปลอดภัยทางน�้ำ การใช้อุปกรณ์
ร อ บ ตั ว ใ น ก า ร ช ่ ว ย เ ห ลื อ ค น ต ก น้� ำ
ให้ปลอดภัย ทักษะการปฐมพยาบาล
เบอ้ื งตน้ แกผ่ ูป้ ระสบภัยทางน�้ำ

22

20

กฬี าหนา้ ผา เปน็ เกมกฬี าทตี่ อ้ งใชท้ กั ษะ
ความช�ำนาญ ประสบการณ์ ความคิด
สมาธิเพื่อสร้างความแข็งแกร่งและ
ความมนั่ ใจใหแ้ ก่วยั รนุ่

ปัจจุบันจะเห็นว่านักกีฬาของหลายสมาคมกีฬามีความต้องการท่ีจะเรียกหา
และเรียกใช้บริการ “หมอนวด” กันอย่างแพร่หลายมากขึ้น การนวดมีความส�ำคัญอย่างไร
ในการเลน่ กฬี า ขอแนะน�ำการนวดในทางการกีฬา มผี ลดอี ย่างไรกบั นกั กฬี า
การนวดในทางการกีฬา ต้องบอกว่ามีความส�ำคัญอย่างมาก เพราะปัจจุบันน้ี
ขณะทเ่ี ราเลน่ กฬี าอยนู่ นั้ รา่ งกายมกั เกดิ อาการเมอ่ื ยลา้ และกลา้ มเนอ้ื มคี วามตงึ ตวั หรอื เกรง็ ตวั
ซ่ึงส่ิงนี้ ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการท�ำงานของกล้ามเน้ือลดลงอย่างมาก ดังน้ันส่ิงส�ำคัญ
ท่ีจะชว่ ยการอ่อนล้าได้ คือ การนวดนัน้ เอง แตค่ นท่ีทำ� หน้าท่นี วดน้นั จะต้องมคี วามรพู้ ้นื ฐาน
ทางการนวดเป็นอย่างดี และท่ีส�ำคัญต้องมีความเข้าใจกระบวนการการเกิดการบาดเจ็บของ
รา่ งกายขณะเลน่ กฬี าอยา่ งดดี ว้ ย

23

21

ศูนย์การเรียนรู้ฟื้นฟูนก
ล ่ า เ ห ย่ื อ เ พื่ อ ป ล ่ อ ย คื น ธ ร ร ม ช า ติ
เป็นการสร้างจิตส�ำนึกการอนุรักษ์
สัตว์ป่าคุ้มครองทางกฎหมาย เป็นนก
ควบคุมประชากรสัตว์ท่ีเป็นศัตรูของ
เกษตรกร เช่น แมลง หนูนา หนูบ้าน
สัตว์มพี ษิ ชนดิ ต่าง ๆ ให้มจี �ำนวนลดลง
ศูนย์การเรียนรู้ฟื้นฟูนกล่าเหย่ือรักษา
และฟื้นฟูนกให้แข็งแรงก่อนปล่อยคืน
ส่ธู รรมชาติ

24

22

สถานีวิจัยประมงก�ำแพงแสน
คณะประมง มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
วิทยาเขตก�ำแพงแสน ได้เริ่มท�ำการ
เพาะพนั ธป์ุ ลานลิ แปลงเพศ นกั วชิ าการ
ประมง พร้อมทีมวิจัย ได้พัฒนาระบบ
และกระบวนการผลิตลูกพันธุ์ปลานิล
แปลงเพศ รวมทั้งการจัดการพ่อแม่
พนั ธป์ุ ลานลิ อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ท�ำให้
ลูกพันธุ์ปลามีการเจริญเติบโตดี อัตรา
รอดสูง อัตราแลกเน้ือตำ�่ เป็นท่ตี อ้ งการ
ของตลาด

25

23

ด้านการจัดการขยะอินทรีย์เพื่อการท่องเท่ียวที่เป็นมิตร
ต่อส่ิงแวดล้อม อบรมเชิงปฏิบัติการแปรรูปอาหารเพื่อเพ่ิมมูลค่า การเรียนรู้

ด้านสมาร์ตฟาร์มเพ่ือความย่ังยืนของวิถีเกษตรแนวใหม่ อบรมเชิงปฏิบัติการหลักการ
และทฤษฎีที่เก่ียวกับเทคโนโลยีสมัยใหม่และนวัตกรรมท่ีทันสมัยเพ่ือสร้างความยังยืน
ของวถิ เี กษตรแนวใหมร่ ะบบสรา้ งสภาวะฝนฟา้ คะนองเสมอื นเพอื่ ผลติ ไอออนธาตอุ าหาร
ส�ำคัญส�ำหรับพืชท่ีสามารถดูดซึมได้ทั้งรากและทางใบโดยไม่ท้ิงสารเคมีตกค้างระบบ
ควบคุมการจ่ายน�้ำแกแ่ ปลงเกษตรโดยหกั ลบปริมาณน�ำ้ ฝน ณ แปลงปลกู

26

24

กล้วยเป็นพชื ท่มี คี ณุ คา่ ทางอาหารสูง และมคี ุณประโยชน์

มากมาย นอกจากการบริโภคเป็นผลสดแล้ว กล้วยยังสามารถแปรรูปเป็นอาหาร
ขนมหวาน เครอื่ งดมื่ ฯลฯ จากประโยชนด์ งั กลา่ วของกลว้ ยแลว้ จงึ จดั ทำ� โครงการกลว้ ย
อาหารอนั ทรงคณุ คา่ ของไทย เพอ่ื การถา่ ยทอดองคค์ วามรดู้ า้ นพนั ธก์ุ ลว้ ยการปลกู กลว้ ย
และการพฒั นาผลติ ภัณฑ์ชนดิ ตา่ งๆ จากกลว้ ย

25

• สารสกัดจากธรรมชาติ เป็นผลิตภัณฑ์

ธรรมชาติที่มีทั้งประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย
ปราศจากสารเคมีพิษ ปลอดภัยต่อตนเองและส่ิงแวดล้อม
โดยภาคกีฏวิทยาค�ำนึงถึงความปลอดภัยดังกล่าว จึงน�ำสิ่ง
ท่ีอยู่ รอบตัวเหล่าน้ี มาสร้างมูลค่าเพ่ิม พร้อมสนับสนุน
องค์ความรดู้ ังกล่าวแกช่ มุ ชนและผู้สนใจทวั่ ไป ซึง่ ผลติ ภณั ฑ์
ดังกล่าว ได้แก่ สบู่จาก Sericin (Silk Protein Extract)
สเปรย์กันยุงจาก Essential Oil และโลชั่นจาก
Crude Extract

27

26

ศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ เป็นเแหล่งเรียนรู้

ดา้ นการอบรมวชิ าชพี ทช่ี ว่ ยเปน็ ชอ่ งทางทำ� กนิ และสรา้ งรายไดเ้ สรมิ แกก่ ลมุ่ Start up และ
คนรุ่นใหม่ท่ีอยากเป็นเจ้าของกิจการ มีการจัดมหกรรมอาชีพอิ่มเกษตร อ่ิมท้อง อ่ิมปัญญา
พัฒนาสู่ชุมชน นอกจากนี้จะได้สัมผัสบรรยากาศสวนปาล์มนานาพันธุ์ ท่ีรองรับผู้ใช้บริการ
ห้องพัก ห้องประชมุ สัมมนา และจัดเล้ยี งมากกว่า 1,000 คน

27

สำ� นกั หอสมดุ กำ� แพงแสน เปน็ แหลง่ รวบรวมและคน้ ควา้ องคค์ วามรใู้ นดา้ นตา่ ง ๆ
โดยเฉพาะดา้ นการเกษตร ทส่ี ำ� คญั แหง่ หนง่ึ ของประเทศ ผา่ นการบรกิ ารในรปู แบบสอ่ื สงิ่ พมิ พ์
และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่พร้อมให้บริการท้ังนิสิต บุคลากรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิทยาเขตก�ำแพงแสน และประชนทั่วไป นอกจากนี้มีบริการน�ำชมหอประวัติมหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำ� แพงแสน ทจ่ี ะทำ� ใหท้ กุ ทา่ นไดเ้ รยี นรเู้ รอ่ื งราวความเปน็ มา ความเพยี ร
พยายาม ในการส่ังสมองค์ความรู้ท่ีส่งต่อจากบูรพาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒสืบต่อมาจนถึง
ปจั จบุ ัน เรามสี ถานที่ทกี่ วา้ งขวาง โออ่ ่าพรอ้ มรองรับผสู้ นใจได้เขา้ ศกึ ษาหาความรูเ้ พิ่มเติมทัง้
ดา้ นวชิ าการและบันเทงิ โดยเปิดให้บริการทุกวันจนั ทร-์ วันพฤหสั บดี เวลา 08.30 - 20.00 น.
และวนั ศุกร์-วนั เสาร์ ตัง้ แต่เวลา 08.30 - 16.30 น.

28

ค....ณ.....ะ.ผ...จู้...ดั...ท...�ำ...ห...น...ัง..ส...ือ...................

โครงการทอ่ งเทย่ี วเชิงอนรุ กั ษ์การเกษตร
สร้างความย่งั ยนื ของวถิ ีเกษตรแนวใหม่

ท่ีปรกึ ษา แสงสุวรรณ รองอธิการบดวี ทิ ยาเขตกาำ แพงแสน
ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิจัย บรกิ ารวชิ าการ
• รศ.ดร.ตฤณ และประกนั คณุ ภาพ
ผ้อู ำานวยการสาำ นักงานวทิ ยาเขตกำาแพงแสน
คณะผจู้ ดั ทำา รักษาการแทนผอู้ าำ นวยการกองบรหิ ารการวจิ ัย
และบรกิ ารวชิ าการ
• ผศ.ดร.สุกัญญา รัตนทับทมิ ทอง รักษาการแทนผอู้ าำ นวยการกองบรหิ ารทัว่ ไป
รักษาการแทนผู้อาำ นวยการกองบริการกลาง
• นายวโิ รจน์ ทองสุพรรณ รกั ษาการแทนหวั หน้างานบริหารการวิจยั
• นางสาววรรณีย์ เล็กมณี กองบริหารการวิจยั และบริการวิชาการ
รกั ษาการแทนหวั หน้างานบรกิ ารวชิ าการ
• นายชยั วัฒน์ เทพสาร กองบริหารการวิจัยและบรกิ ารวชิ าการ
• นายสทิ ธิชัย อินนุรักษ์ เจ้าหนา้ ทบ่ี รหิ ารงานท่ัวไป กองบรหิ ารการวิจัย
• นางกชพรรณ ชมภนู ติ ย์ และบริการวิชาการ
เจา้ หนา้ ที่วิจยั
• นางจฬุ ารัตน์ ขนุ พรหม กองบรหิ ารการวิจัยและบรกิ ารวิชาการ
นักวิชาการพัสดุ ชาำ นาญการ กองบรหิ ารการวิจยั
• นางวาสนา มุสกิ ะรกั ษ์ และบริการวิชาการ
รกั ษาการแทนหวั หน้างานวิเทศ ประชาสมั พนั ธ์
• นางสณุ ี โสดา และชุมชนสมั พันธ์
นกั วเิ ทศสมั พนั ธ์
• นางพรลภสั สขุ สมรูป นกั วชิ าการโสตฯ ชำานาญการพิเศษ
เจ้าหนา้ ที่ธุรการ
• นางสาวกนกวรรณ เล้าอรุณ เจ้าหน้าท่ธี รุ การ

• นางสาวเฟือ่ งลัดดา เทพสถิตศลิ ป์
• นางพาณี สวาสด์ิ
• นางซอ่ นกล่นิ ปานดียง่ิ
• นางฐิตริ ัตน์ วงศเ์ ศรษฐกลุ


Click to View FlipBook Version