The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตัวอย่างแบบภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2017-05-26 02:32:31

ตัวอย่างแบบภาพ

ตัวอย่างแบบภาพ

รายงานการวจิ ยั
เรื่อง

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาเขียนแบบออกแบบดว้ ยคอมพิวเตอร์
ตามชิ้นงานที่กาหนดให้ เรื่องภาพไอโซเมตริก

โดย
นายวรเชษฐ์ หวานเสียง
นายอภิชาติ ชยั กลาง

ไดร้ ับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ภาคพายพั เชียงใหม่
งบประมาณผลประโยชน์ ประจาปี 2556

ช่ือโครงการวจิ ยั ก

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าเขียนแบบออกแบบดว้ ยคอมพิวเตอร์ ตามชิ้นงาน
ที่กาหนดให้ เรื่องภาพไอโซเมตริก

ผู้วจิ ยั นายวรเชษฐ์ หวานเสียง

นายอภิชาติ ชยั กลาง

บทคดั ย่อ

การวจิ ยั น้ีมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อศึกษาพฒั นาและหาประสิทธิภาพชุดการสอนรายวชิ า เขียนแบบ
ออกแบบดว้ ยคอมพิวเตอร์ เรื่องภาพไอโซเมตริกของนกั ศึกษา ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง ช้นั
ปี ที่ 1 สาขาวชิ าช่างโลหะ สาขาวศิ วกรรมอุตสาหการ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ การวจิ ยั คร้ังน้ีเกิดจากความ
ตอ้ งการแกไ้ ขปัญหานกั ศึกษาเรียนวชิ า เขียนแบบวศิ วกรรม เรื่อง ภาพไอโซเมตริก ซ่ึงอยใู่ นระดบั ต่า
โดยการจดั ชุดการสอนเรื่องภาพไอโซเมตริก เพ่อื ใหน้ กั ศึกษาสามารถนาไปศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง
เป็นการเสริมองคค์ วามรู้และเพิม่ ทกั ษะในการปฏิบตั ิการเขียนแบบทางวศิ วกรรม ผวู้ จิ ยั ไดท้ าวจิ ยั ในช้นั
เรียน โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ืองภาพไอโซเมตริก ของนกั ศึกษา
ก่อนและหลงั การศึกษาบทเรียนโดยกาหนดเกณฑห์ ลงั การเรียนไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 กลุ่มตวั อยา่ งวจิ ยั
เป็นนกั ศึกษา สาขาวชิ าช่างโลหะ ปี ท่ี 1 ในระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง ท่ีลงทะเบียนเรียนเขียน
แบบวศิ วกรรม ในปี การศึกษา 2555 จานวน 25 คน เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการวจิ ยั ประกอบดว้ ย บทเรียนชุด
การสอน เรื่องภาพไอโซเมตริก เขียนแบบออกแบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์ แบบทดสอบก่อนและหลงั
การศึกษาบทเรียนชุดการสอน การวิเคราะห์ขอ้ มูลใชค้ า่ เฉล่ียเลขาคณิต ( ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
(S.D.) และการทดสอบสมมุติฐาน ผลการใชส้ ื่อชุดการสอน วชิ าเขียนแบบออกแบบดว้ ยคอมพิวเตอร์
ตามชิ้นงานท่ีกาหนดให้ เร่ืองภาพไอโซเมตริก นกั ศึกษามีผลผลสมั ฤทธ์ิเพ่มิ ข้ึน ร้อยละ 15.20

ดงั น้นั สรุปไดว้ า่ ผลการใชส้ ่ือชุดการสอนเรื่องภาพไอโซเมตริก ทาใหน้ กั ศึกษาเขา้ ใจในการ
เรียนในรายวชิ าเขียนแบบออกแบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์มากยง่ิ ข้ึน

Research Title ข
Researcher
Achievement in learning computer Aided design According to the work
Piece course: isometric

Mr. Worachet Wansiang
Mr. Apichart chaiklang

Abstract

The research was aimed to study, develop, and find the efficiency of the instructional package
for computer aided design : isometric for Higher Vocational Certificate Curriculum students
majoring in Metal Technology, faculty of Engineering. The main reason for this research was the need
to improve students who enrolled the course “Engineering Drawing : isometric” which they had low
competency. Therefore, the instructional package for computer-aided design and drawing:
orthographic reading leaded to the self-directed learning which strengthen students’ knowledge and
enhance their practical skill in Engineering Drawing. The researcher conducted the classroom
research purposed to compare the learning achievement of the isometric before and after the
instructional process which would not be less than the 80/80 criterion. The sample group was 25 first-
year students majoring in the Metal Technology who enrolled the course “computer aided design ” in
the academic year 2012. The instruments used in this research were the instructional packages of the
isometric, Pretest/ Posttest, and the behavior form. The statistical analyses used in this research were
means ( , the standard deviation (S.D.)

The research was found that the students’ learning achievement were increased 15.20 %.
Therefore, the instructional package for the Pictorial View reading enhanced student’s understanding
in the course “computer aided design ”.



กติ ตกิ รรมประกาศ

โครงการวจิ ยั เร่ือง ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าเขียนแบบออกแบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์ ตาม
ชิ้นงานท่ีกาหนดให้ เร่ืองภาพไอโซเมตริกน้ี มีวตั ถุประสงคเ์ พื่อศึกษา พฒั นาสื่อชุดการสอนเร่ืองเขียน
แบบวศิ วกรรมใหม้ ีประสิทธิภาพมากยง่ิ ข้ึน

การทาวจิ ยั ไดส้ าเร็จลุล่วงดว้ ยดี เน่ืองจากไดร้ ับความร่วมมือช่วยเหลือจากบุคคลหลายฝ่ าย
ผทู้ าวจิ ยั ขอขอบคุณท่ีไดค้ อยช่วยเหลือใหค้ าแนะนาคาปรึกษาต่างๆ และขอขอบคุณคณาจารยส์ าขาวชิ า
ช่างโลหะ สาขาวศิ วกรรมอุตสาหการ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ ทุกทา่ นในการใหค้ าแนะนาและขอ้ มูลที่
เป็นประโยชน์ต่อการวจิ ยั ขอขอบคุณมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ภาคพายพั เชียงใหม่ ที่
ส่งเสริม สนบั สนุนและพิจารณาอนุมตั ิทุนอุดหนุนการวิจยั

นายวรเชษฐ์ หวานเสียง
นายอภิชาต ชยั กลาง

ผทู้ าวจิ ยั

สารบัญ ง

บทคดั ยอ่ หน้า
ABSTRACT ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบญั ค
สารบญั ตาราง ง
สารบญั ภาพ จ
บทที่ 1 บทนา ฉ
1
1. ความเป็นมาและความสาคญั ของงานวจิ ยั 1
2. วตั ถุประสงคข์ องงานวจิ ยั 2
3. กรอบแนวความคิดการวจิ ยั 3
4. ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 3
5. สมมติฐานการวิจยั 3
6. ขอบเขตการวจิ ยั 3
7. นิยามศพั ทแ์ ละนิยามศพั ทป์ ฏิบตั ิการ 3
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีและงานวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ้ ง 5
1. ความหมายของชุดส่ือการสอน 5
2. ความหมายของภาพไอโซเมตริก 7
บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินการวจิ ยั 16
1. ข้นั เตรียมการวิจยั 16
2. ออกแบบและสร้างเคร่ืองมือ 16
3. กาหนดกลุ่มประชากรและเลือกกลุ่มตวั อยา่ ง 16
4. ข้นั การดาเนินการและเกบ็ ขอ้ มูล 16
5. วเิ คราะห์ขอ้ มูลและสรุป 17
บทที่ 4 ผลการวจิ ยั 18
1. วเิ คราะห์ความสามารถของผเู้ รียน 18
2. วเิ คราะห์ขอ้ มูล กระบวนการเรียนรู้ และความรู้ท่ีนกั ศึกษาไดร้ ับ 19
3. วเิ คราะห์ผลการเรียนก่อนเรียนและหลงั เรียน 21
บทท่ี 5 สรุปผลการวจิ ยั อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ 24

1. สรุปผลการวจิ ยั จ
2. อภิปรายผล
3. ขอ้ เสนอแนะ 24
บรรณานุกรม 24
ภาคผนวก 25
ประวตั ิผวู้ จิ ยั 26
27
34

สารบัญตาราง ฉ

ตารางที่ 1 ขอ้ มูลการแบ่งกลุ่ม หน้า
ตารางที่ 2 ผลการฝึกปฏิบตั ิและทดสอบภาคทฤษฎี ของกลุ่มเก่ง 18
ตารางท่ี 3 ผลการฝึกปฏิบตั ิและทดสอบภาคทฤษฎี กลุ่มปานกลาง 19
ตารางที่ 4 ผลการฝึกปฏิบตั ิและทดสอบภาคทฤษฎี กลุ่มอ่อน 20
ตารางที่ 5 ผลของการเก็บขอ้ มูลก่อนและหลงั การเรียน ของกลุ่มเก่ง 21
ตารางท่ี 6 ผลของการเก็บขอ้ มูลก่อนและหลงั การเรียน ของกลุ่มปานกลาง 21
ตารางท่ี 7 ผลของการเก็บขอ้ มูลก่อนและหลงั การเรียน ของกลุ่มออ่ น 22
23

สารบัญภาพ ช

ภาพท่ี 1 ลกั ษณะของภาพ TRIMETRIC หน้า
ภาพที่ 2 ลกั ษณะของภาพ DIMETRIC 8
ภาพที่ 3 ลกั ษณะของภาพ ISOMETRIC 8
ภาพท่ี 4 ภาพสามมิติแบบ Cavalier และแบบ Cabinet 8
ภาพท่ี 5 แสดงภาพ PERSPECTIVE แบบต่างๆ 9
ภาพท่ี 6 แสดงการวางแกนไอโซเมตริก 9
ภาพที่ 7 การเขียนภาพ ISOMETRIC 10
ภาพท่ี 8 ลกั ษณะชิ้นงานรูกลม 10
ภาพท่ี 9 ลกั ษณะของรูปวงรี ISOMETRI 11
12

1

บทท่ี 1
บทนำ

1. ควำมเป็ นมำและควำมสำคญั ของกำรวจิ ัย
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา เป็นมหาวทิ ยาลยั ที่มุง้ เนน้ กระบวนการเรียนการสอนทาง

เทคโนโลยที ่ีทนั สมยั เพอ่ื ใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ ชุมชนและภาคอุตสาหกรรมของชาติ ในกระบวนการการ
จดั การเรียนการสอนไดใ้ หค้ วามสาคญั กบั การประกนั คุณภาพการศึกษา ตามพระราชบญั ญตั ิการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ.2542 แกไ้ ขเพิม่ เติม(ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 ที่มุง่ เนน้ ใหก้ ารจดั การศึกษามีคุณภาพมาตรฐาน
ตอบสนองความตอ้ งการของสงั คมซ่ึงพฒั นาอยา่ งต่อเน่ือง ดงั จะเห็นจากยทุ ธศาสตร์ดา้ นการเรียนการสอน
ไดส้ นบั สนุนใหจ้ ดั รูปแบบการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมและยดื หยนุ่ ตลอดจนการจดั กระบวนการเรียนรู้ที่
คานึงถึงความแตกตา่ งเฉพาะตวั ของนกั ศึกษาซ่ึงส่งผลตอ่ สมรรถนะในการเรียนรู้ของนกั ศึกษา

พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติไดใ้ หค้ วามสาคญั กบั การเรียนการสอนไดส้ ่งเสริมให้มีการจดั การ
เรียนการสอนโดยเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ดงั จะเห็นจากมาตราที่ 22 มีใจความวา่ “การจดั การศึกษาตอ้ งยดึ หลกั
วา่ ผเู้ รียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเองได้ และถือวา่ ผเู้ รียนมีความสาคญั ท่ีสุด กระบวนการ
จดั การศึกษาตอ้ งส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนสามารถพฒั นาตามธรรมชาติและเตม็ ศกั ยภาพ” และไดม้ ีการสนบั สนุน
ใหใ้ ชเ้ ทคโนโลยที างการศึกษาในการเรียนการสอน ดงั หมวดท่ี 9 เทคโนโลยดี า้ นการศึกษา มาตราที่ 67
กล่าวไวว้ า่ “รัฐตอ้ งส่งเสริมใหม้ ีการวจิ ยั และพฒั นา การผลิตและการพฒั นาเทคโนโลยเี พื่อการศึกษา รวมท้งั
การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการใชเ้ ทคโนโลยเี พือ่ การศึกษา เพือ่ ใหเ้ กิดการใชท้ ี่คุม้ คา่ และ
เหมาะสมกบั กระบวนการเรียนรู้ของคนไทยเป็นเวลาเกือบ 30 ปี มาแลว้ ที่นกั การศึกษาของไทยไดพ้ ยายามที่
จะแสวงหาวธิ ีการปรับปรุงการเรียนการสอน ใหม้ ีประสิทธิภาพสูงข้ึน ดว้ ยการคิดคน้ หาวธิ ีการสอนเพื่อ
เปลี่ยนบทบาทของครูและผเู้ รียน รวมท้งั พยายามเสาะแสวงหาส่ือการสอนมาช่วยใหก้ ารเปล่ียนพฤติกรรม
ของครู และผเู้ รียนเป็ นไปตามจุดมุง่ หมายปลายทาง นวตั กรรมทางการศึกษาท่ีกาลงั เป็นที่สนใจของนกั
การศึกษาในปัจจุบนั คือ นวตั กรรมการจดั สภาพส่ิงแวดลอ้ มการเรียนรู้ ซ่ึงเรียกวา่ "ศูนยก์ ารเรียน" และ
นวตั กรรมการใชส้ ื่อการสอนแบบประสมที่เรียกวา่ "ชุดการสอน" (ชยั ยงค์ พรหมวงศส์ มเชาว์ เนตร
ประเสริฐ และสุดา สินสกลุ , 2520 : 101) ทาใหม้ ีการพฒั นาชุดการสอนเพื่อใหเ้ กิดประโยชน์ต่อตวั ผสู้ อน
และผเู้ รียนการจดั การศึกษาในระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สูง มีจุดหมายเพื่อผลิตช่างนกั ปฏิบตั ิการที่มี
ความสามารถในการแกป้ ัญหางานดา้ นช่างเทคนิค รวมท้งั มีทกั ษะในงานการผลิตงานทางวศิ วกรรม

ปัจจุบนั ภาคอุตสาหกรรมการผลิตมีการแข่งขนั กนั สูงมาก เนื่องจากมีการกาหนดมาตรฐานตา่ ง ๆ
มา บงั คบั ในการผลิตสินคา้ ใหไ้ ดม้ าตรฐานถูกตอ้ งตามความตอ้ งการของผบู้ ริโภค ตอ้ งมีขบวนการกาหนด
ขนาดรูปทรง ชนิดของวสั ดุที่จะนามาผลิต ซ่ึงขบวนการดงั กล่าวเป็นส่ิงสาคญั ท่ีมีส่วนทาใหก้ ารผลิตสินคา้
มีประสิทธิภาพและคุณภาพไดม้ าตรฐาน ในภาคธุรกิจอุตสาหกรรมการผลิต จึงไดน้ าเอาโปรแกรมท่ี

2

ออกแบบสาหรับการเขียนแบบและออกแบบผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมเขา้ มาช่วยเพอ่ื ให้เกิดความรวดเร็วและ
มีความถูกตอ้ งตามความตอ้ งการของผบู้ ริโภค

จากขอ้ มูลการวดั ผลประเมินผลในรายวชิ า Engineering Drawing ของนกั ศึกษาประกาศนียบตั ร
วชิ าชีพช้นั สูงปี ที่ 1 สาขาวชิ าช่างโลหะในปี การศึกษา 2555 พบวา่ นกั ศึกษาส่วนใหญ่ ยงั มีผลสัมฤทธ์ิในการ
เรียนวชิ า Engineering Drawing ในเร่ือง ภาพ ไอโซเมตริกอยใู่ นระดบั ต่า ท้งั น้ีนกั ศึกษามีเวลาในการศึกษา
เน้ือหาในหอ้ งนอ้ ยเกินไปทาใหก้ ารเขา้ ใจ ภาพไอโซเมตริก ผดิ จากมาตรฐานการเขียนแบบวศิ วกรรมที่จะ
นาไปใชเ้ ป็นพ้นื ฐานในการศึกษาตอ่ และในงานปฏิบตั ิงานในดา้ นการเขียนแบบทางวศิ วกรรมในอนาคต

ดงั น้นั เพื่อเป็ นการเสริมความรู้ความเขา้ ใจในการเขียนแบบทางวศิ วกรรมในเร่ือง ภาพไอโซเมตริก
ของนกั ศึกษาประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง ปี ท่ี 1 สาขาวชิ าช่างโลหะ สาขาวศิ วกรรมอุตสาหการ คณะ
วศิ วกรรมศาสตร์ใหส้ ูงข้ึน ผวู้ จิ ยั จึงไดศ้ ึกษา ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าเขียนแบบออกแบบดว้ ย
คอมพวิ เตอร์ ตามชิ้นงานที่กาหนดให้ เร่ืองภาพไอโซเมตริก ผทู้ าวิจยั จึงมุ่งเนน้ ที่จะนาเอาส่ือการสอนท่ีจะ
สร้างข้ึนน้ีมาใชก้ บั การเรียนการสอนในเขียนแบบออกแบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์ ตามชิ้นงานที่กาหนดให้ เร่ือง
ภาพไอโซเมตริก สาหรับนกั ศึกษาระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สูง สาขาวชิ าช่างโลหะ สาขาวศิ วกรรม
อุตสาหการ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ภาคพายพั เชียงใหม่ จานวน 30
คน เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนไดม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจในหลกั การและมีทกั ษะในการเขียนแบบภาพไอโซเมตริกให้
เป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพมากยงิ่ ข้ึน

2. วตั ถุประสงค์ของโครงกำรวจิ ัย
2.1 เพื่อศึกษาวธิ ีการเขียนแบบออกแบบดว้ ยคอมพิวเตอร์ ตามชิ้นงานที่กาหนดให้
เรื่องภาพไอโซเมตริก
2.2 เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการสร้างองคค์ วามรู้ของนกั ศึกษา สาขาวชิ าช่างโลหะ
ก่อนเรียนและหลงั เรียนเทียบกบั เกณฑ์ โดยกาหนดเกณฑห์ ลงั การเรียนไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80
2.3 เพ่อื พฒั นากระบวนการเรียนการสอนในรายวชิ า เขียนแบบออกแบบดว้ ยคอมพิวเตอร์
เร่ืองภาพไอโซเมตริก

3. กรอบแนวคิดกำรวจิ ัย
1 กลุ่มตวั อยา่ งเป็นนกั ศึกษาในระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูงปี ที่ 1 สาขาวชิ าช่างโลหะ

มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ภาคพายพั เชียงใหม่ ท่ีลงทะเบียนเรียนวชิ าการออกแบบเขียนแบบ
ดว้ ยคอมพวิ เตอร์ ใน ปี การศึกษา 2555

2 ตวั แปรท่ีศึกษาในการวจิ ยั คร้ังน้ี
2.1 ตวั แปรหลกั คือ การสอนโดยการใชส้ ่ือการสอนชิ้นงานที่กาหนดใหใ้ นหวั ขอ้ เร่ือง

ภาพไอโซเมตริก

3

2.2 ตวั แปรรอง คือ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ า เขียนแบบออกแบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์ ใน
หวั ขอ้ เรื่องภาพไอโซเมตริกของนกั ศึกษาในระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูงปี ท่ี 1 สาขาวชิ าช่างโลหะ
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ภาคพายพั เชียงใหม่ ท่ีลงทะเบียนเรียน เขียนแบบ ออกแบบดว้ ย
คอมพวิ เตอร์ ใน ปี การศึกษา 2555

3 การวจิ ยั คร้ังน้ีดาเนินการใน เดือนตุลาคม 2555 – เดือนกนั ยายน 2556

4. ประโยชน์ทค่ี ำดว่ำจะได้รับ
4.1 เพอื่ สร้างส่ือการสอนวชิ า เขียนแบบออกแบบดว้ ยคอมพิวเตอร์ เรื่อง ภาพไอโซเมตริก
4.2 เพ่อื สร้างองคค์ วามรู้ของนกั ศึกษา สาขาวชิ าช่างโลหะในเร่ือง ภาพไอโซเมตริก
4.3 เพ่อื พฒั นากระบวนการเรียนการสอนในรายวชิ า เขียนแบบออกแบบดว้ ยคอมพิวเตอร์
เร่ือง ภาพไอโซเมตริก
4.4 ผเู้ รียนมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าเขียนแบบออกแบบดว้ ยคอมพิวเตอร์ตามเกณฑท์ ี่กาหนด

5. สมมตฐิ ำนกำรวจิ ัย

ส่ือการสอนท่ีจะสร้างข้ึนน้ีมาใชก้ บั การเรียนการสอน ในรายวชิ าเขียนแบบออกแบบดว้ ย

คอมพิวเตอร์ หวั ขอ้ เรื่อง ภาพไอโซเมตริก สาหรับของนกั ศึกษาในระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูงปี ท่ี

1 สาขาวชิ าช่างโลหะ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ภาคพายพั เชียงใหม่ เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนไดม้ ี

ความรู้ ความเขา้ ใจในหลกั การและมีทกั ษะในการอ่านภาพและเขียนภาพไอโซเมตริกใหเ้ ป็ นไปอยา่ งมี

ประสิทธิภาพไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 ของแบบทดสอบท่ีสร้างข้ึน

6. ขอบเขตกำรวจิ ัย
การวจิ ยั คร้ังน้ีเป็นการมุง่ เนน้ ที่จะนาเอาสื่อการสอนที่จะสร้างข้ึนมาใชท้ ดลองในหวั ขอ้ เรื่องภาพไอ

โซเมตริกในรายวชิ า เขียนแบบออกแบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์ สาหรับของนกั ศึกษาในระดบั ประกาศนียบตั ร
วชิ าชีพช้นั สูงปี ที่ 1 สาขาวชิ าช่างโลหะ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ภาคพายพั เชียงใหม่ เพื่อ
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าเขียนแบบออกแบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์ เรื่องภาพไอโซเมตริก ในงานเขียนแบบ

7. นิยำมศัพท์และนิยำมศัพท์ปฎบิ ัติกำร

คาจากดั ความท่ีใชใ้ นการวิจยั มีดงั น้ี
7.1 ภาพไอโซเมตริก หมายถึง การเขียนภาพโดยการนาพ้ืนผวิ แต่ละดา้ นของชิ้นงานมาเขียนประกอบกนั
เป็นรูปเดียว ทาใหส้ ามารถมองเห็นลกั ษณะรูปร่าง พ้ืนผิว ไดท้ ้งั ความกวา้ ง ความยาว และความหนาของ
ชิ้นงาน ทาใหภ้ าพไอโซเมตริกมีลกั ษณะคลา้ ยกบั การมองชิ้นงานจริง ภาพไอโซเมตริกท่ีเขียนในงานเขียน

4

แบบมีหลายประเภท แตล่ ะประเภทก็มีความแตกต่างกนั ในการวางมุมการเขียน และขนาดของชิ้นงานจริง
กบั ขนาดชิ้นงานในการเขียนแบบซ่ึงผเู้ ขียนแบบตอ้ งศึกษาลกั ษณะของภาพไอโซเมตริกแตล่ ะประเภทต่างๆ
ใหเ้ ขา้ ใจ เพอ่ื สามารถปฏิบตั ิการเขียนแบบไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง

7.2 Computer aided Design หมายถึง รายวชิ าเขียนแบบออกแบบดว้ ยคอมพิวเตอร์
7.3 ชุดการสอน หมายถึง สื่อการสอนท่ีจะสร้างข้ึนน้ีมาใชท้ ดลองในหวั ขอ้ เร่ืองภาพไอโซเมตริก ใน
รายวชิ า เขียนแบบออกแบบดว้ ยคอมพิวเตอร์ สาหรับของนกั ศึกษาในระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูงปี
ท่ี 1 สาขาวชิ าช่างโลหะที่ผวู้ จิ ยั สร้างข้ึน

5

บทท่ี 2
แนวคดิ ทฤษฎแี ละงำนวจิ ยั ที่เกยี่ วข้อง

แนวคดิ ทฤษฎที เี่ กย่ี วข้อง

ควำมหมำยของชุดส่ือกำรสอน
จากการศึกษาเกี่ยวกบั รายละเอียดของชุดการสอน หรือชุดส่ือการเรียนการสอน (Instructional

Packages) นกั การศึกษาหลายๆ ทา่ นไดก้ ล่าวถึง ความหมายของชุดการสอนไวด้ งั ต่อไปน้ี
ชุดการเรียนการสอน คือการจดั โปรแกรมการเรียนการสอน โดยใชร้ ะบบส่ือประสม(Multi Media

System) เพ่ือสนองจุดมุ่งหมายในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ท่ีต้งั ไวใ้ นเร่ืองใดเรื่องหน่ึงใหส้ ะดวก
ตอ่ การใชใ้ นการเรียนการสอน( นิพนธ์, 2520 : 62 )

ชุดการสอน เป็นสื่อประสมที่ไดจ้ ากระบบการผลิต และการนาส่ือการสอนท่ีสอดคลอ้ งกบั
เน้ือหาวชิ า หน่วย หวั เรื่อง และวตั ถุประสงค์ เพือ่ ช่วยใหก้ ารเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการเรียนอยา่ งมี
ประสิทธิภาพ (ชยั ยงคแ์ ละคณะ , 2526 : 118 )

ชุดการสอน เป็ นนวตั กรรมการใชส้ ่ือการสอนแบบประสม(Multi Media) ท่ีจดั ข้ึนสาหรับหน่วยการ
เรียนตามหวั ขอ้ เน้ือหา และประสบการณ์ของแต่ละหน่วยมาใชใ้ นการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู้ให้
เป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพยง่ิ ข้ึน ซ่ึงนิยมจดั สื่อการสอนประสมรวมไวเ้ ป็ นกล่อง ซอง หรือเป็นกระเป๋ า
แลว้ แตผ่ สู้ ร้างจะจดั ทา (อญั ชลีและสุกญั ญา , 157)

ชุดการเรียนการสอน หมายถึง การวางแผนการเรียนการสอนโดยใชส้ ่ือตา่ งๆ ร่วมกนั ( Multi Media
Approach) หรือหมายถึง การใชส้ ่ือประสม ( Multi Media) เพื่อสร้างประสบการณ์การเรียนรู้อยา่ งกวา้ งขวาง
และเป็นไปตามจุดมุ่งหมายที่วางไว้ โดยจดั เป็นชุดในลกั ษณะ ซอง หรือกล่อง
(วาสนา , 2526 : 138)

ชุดการสอน หมายถึง ชุดของวสั ดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบกนั ข้ึนเพอื่ ใชส้ อน จะมีส่ือมากกวา่ 1 ชิ้น
ส่ือจะอยใู่ นรูปของส่ือประสม ( สมหญิง , 2529 : 66)

จากความหมายของชุดส่ือการสอน ท่ีนกั การศึกษาหลายๆ ทา่ น กล่าวไว้ สรุปไดว้ า่ ชุดสื่อการสอน
หมายถึง ระบบการผลิตและการนาส่ือการเรียนการสอนแบบประสมที่สมั พนั ธ์กบั เน้ือหาวชิ า มาส่งเสริม
ใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู้ตามวตั ถุประสงค์ อยา่ งมีประสิทธิภาพมากข้ึน

6

วรรณคดีและงำนวจิ ัยทเ่ี กยี่ วข้อง (Literature Review)

ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ( leaning achievement ) เป็ นผลท่ีเกิดจากปัจจยั ต่าง ๆ ในการจดั การศึกษา
นกั ศึกษาไดใ้ หค้ วามสาคญั กบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และเน่ืองจากผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเป็นดชั นี
ประการหน่ึงที่สามารถบอกถึงคุณภาพการศึกษา ดงั ที่

ไพศาล หวงั พานิช ( 2536 : 89 ) ท่ีใหค้ วามหมายผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวา่ หมายถึงคุณลกั ษณะ
และความสามารถของบุคคลอนั เกิดจากการเรียนการสอนเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและประสบการณ์
การเรียนที่เกิดข้ึนจากการฝึกอบรมหรือการสอบ จึงเป็ นการตรวจสอบระดบั ความสามารถของบุคคลวา่ เรียน
แลว้ มีความรู้เทา่ ใด สามารถวดั ไดโ้ ดยการใชแ้ บบทดสอบต่าง ๆ เช่น ใชข้ อ้ สอบวดั ผลสัมฤทธ์ิ ขอ้ สอบวดั
ภาคปฏิบตั ิ เป็นตน้ จากความหมายขา้ งตน้ สรุปไดว้ า่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหมายถึง ผลการวดั การเปลี่ยน
แปลงและประสบการณ์การเรียนรู้ ในเน้ือหาสาระที่เรียนมาแลว้ วา่ เกิดการเรียนรู้เทา่ ใดมีความสามารถชนิด
ใด โดยสามารถวดั ไดจ้ ากแบบทดสอบวดั สมั ฤทธ์ิในลกั ษณะต่าง ๆและการวดั ผลตามสภาพจริง เพ่ือบอกถึง
คุณภาพการศึกษา

สุรชยั ขวญั เมือง ( 2522 : 232 ) กล่าววา่ การวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึงการตรวจสอบดูวา่
ผเู้ รียนไดบ้ รรลุถึงจุดมุง่ หมายทางการศึกษาตามท่ีหลกั สูตรกาหนดไวแ้ ลว้ เพยี งใดท้งั น้ี ยกเวน้ ในทางดา้ น
อารมณ์ สังคมและการปรับตวั นอกจากน้ีแลว้ ยงั หมายรวมไปถึงการประเมินผลความสาเร็จตา่ ง ๆท้งั ที่เป็น
การวดั โดยใชแ้ บบทดสอบ แบบใหป้ ฏิบตั ิการ และแบบที่ไมใ้ ชแ้ บบทดสอบดว้ ย

เสริมศกั ด์ิ วศิ าลาภรณ์ และ เอนกกุล กรีแสง (2522 : 22 ) ใหค้ วามหมายการวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
วา่ เป็นกระบวนการวดั ปริมาณของผลการศึกษาเล่าเรียนวา่ เกิดข้ึนมากนอ้ ยเพยี งใดคานึงถึงเฉพาะการ
ทดสอบทาน้นั

ภทั รา นิคมานนท์ ( 2534 : 23 ) ไดก้ ล่าวไวว้ า่ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง
แบบทดสอบที่ใชว้ ดั ปริมาณความรู้ ความสามารถ ทกั ษะเกี่ยวกบั ดา้ นวชิ าการที่เดก็ ไดเ้ รียนรู้มาในอดีตวา่
รับรู้ไดม้ ากนอ้ ยเพียงใด โดยทวั่ ไปแลว้ มกั ใชห้ ลงั จากทากิจกรรมเรียบร้อยแลว้ เพื่อประเมินการเรียนการ
สอนวา่ ไดผ้ ลเพยี งใด

เกรียงศกั ดิ เลขตะระโก (2552) ไดท้ าการวิจยั เร่ืองการแกป้ ัญหาการเขียนแบบไม่เรียบร้อย มีกลุ่ม
ตวั อยา่ งเป็ นนกั ศึกษา ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ กลุ่ม 4 แผนกวชิ าช่างอิเลก็ ทรอนิกส์ จานวน 17 คน
นกั ศึกษามีคะแนนเพิม่ ข้ึน 13 คะแนน คิดเป็ น 13 % ในการวเิ คราะห์ผลท้งั ช้นั เรียน และ ผลการวจิ ยั ในคร้ังน้ี
ไมไ่ ดผ้ ลถา้ วเิ คราะห์ผลเป็นรายบุคคล

สุกิจ สุฉนั ทบุตร (2548) ไดท้ าการวจิ ยั เรื่องการแกป้ ัญหาเรื่องการเขียนเส้น ในวชิ าเขียนแบบเครื่องกล
ของนกั ศึกศึกษาช้นั ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง ช้นั ปี ท่ี 1 (ม.6)แผนกวชิ าช่างเขียนแบบเคร่ืองกล
วทิ ยาลยั เทคนิคราชบุรี สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคกลาง 1 จานวน 8 คน ผเู้ รียนท่ีเรียนวชิ าเขียนแบบ
เคร่ืองกล ท่ีมีปัญหาในการเขียนเส้นต่างๆจากการเขียนแบบตามใบงาน ไดฝ้ ึกหดั ปฏิบตั ิจากแบบฝึกเพิ่ม

7

ทกั ษะแลว้ พบวา่ ในสปั ดาหท์ ่ี 3ผเู้ รียนเกิดทกั ษะในการเขียนเส้นตา่ งๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง เพ่มิ ข้ึน เป็น 70 % และใน
สปั ดาห์ท่ี 4ใหผ้ เู้ รียนไดฝ้ ึกปฏิบตั ิจากแบบฝึกหดั เพิม่ ทกั ษะแลว้ พบวา่ ผเู้ รียนท้งั หมด มีทกั ษะในการเขียน
เส้นต่างๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง 100%

ปัญญาไผท่ อง (2547) ไดท้ าการวจิ ยั เรื่องการสร้างและหาประสิทธิภาพชุดการสอนเรื่องการตดั เฉือน
ดว้ ยแม่พิมพม์ ีกลุ่มตวั อยา่ งเป็ นนกั ศึกษา สาขาวชิ าเทคนิคการผลิต ช้นั ปี ที่ 1 วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบุรี ในภาค
เรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2549 จานวน 25 คน มีประสิทธิภาพ 85.80/80.60 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑท์ ่ีกาหนดไว้ 80/80
และวเิ คราะห์หาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดว้ ยสถิติที (t-test) พบวา่ ชุดการสอนท่ีสร้างข้ึนทาใหผ้ เู้ รียนมี
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนเพิ่มข้ึนอยา่ งมีนยั สาคญั ท่ีระดบั .01

ชาญชยั ทองประสิทธ์ิ (2546) ไดท้ าการวจิ ยั เร่ืองการสร้างและหาประสิทธิภาพชุดการสอนเรื่องระบบ
สตาร์ทรถยนต์ ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ มีกลุ่มตวั อยา่ งเป็ นนกั ศึกษา สาขาช่างยนต์ ระดบั
ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ช้นั ปี ที่2 แผนกช่างยนต์ โรงเรียนเทคโนโลยนี ครปฐม จานวน 35 คน ซ่ึงไดผ้ ล
มีประสิทธิภาพ 82.19/81.23 ซ่ึงเป็นไปตามเกณฑท์ ่ีกาหนด 80/80

ทฤษฎี
ในงานช่างอุตสาหกรรมจะนาแบบงานไปเป็นแบบที่ใชส้ าหรับสร้างชิ้นส่วนเคร่ืองจกั รกลหรือ

ผลิตภณั ฑต์ ่างๆ ซ่ึงจะตอ้ งเป็ นแบบท่ีเขียนไดง้ ่าย มีรายละเอียดของแบบงานครบถว้ นสมบูรณ์ชดั เจน เพ่ือให้
ผปู้ ฏิบตั ิงานสามารถนาไปปฏิบตั ิตามแบบไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง แบบงานท่ีนิยมจะเขียนเป็นแบบภาพไอโซเมตริก
เพราะการเขียนแบบงานบางคร้ังนอกจากเขียนแบบเป็นภาพฉายแลว้ อาจตอ้ งเขียนภาพชิ้นงานเป็นไอโซ
เมตริกดว้ ย เพราะภาพไอโซเมตริกสามารถแสดงใหเ้ ห็นพ้ืนผวิ ของชิ้นงานไดค้ รบท้งั สามมิติในภาพเดียวกนั
คือ ความกวา้ ง ความยาว และความสูง ซ่ึงมีลกั ษณะรูปร่างใกลเ้ คียงกบั งานจริงทาใหเ้ ขา้ ใจแบบงานง่ายข้ึน

1. ควำมหมำยของภำพ
ภาพไอโซเมตริกหมายถึง การเขียนภาพโดยการนาพ้นื ผวิ แตล่ ะดา้ นของชิ้นงานมาเขียนประกอบกนั
เป็นรูปเดียว ทาใหส้ ามารถมองเห็นลกั ษณะรูปร่าง พ้ืนผิว ไดท้ ้งั ความกวา้ ง ความยาว และความหนาของ
ชิ้นงาน ทาใหภ้ าพไอโซเมตริกมีลกั ษณะคลา้ ยกบั การมองชิ้นงานจริง ภาพไอโซเมตริกท่ีเขียนในงานเขียน
แบบมีหลายประเภท แตล่ ะประเภทก็มีความแตกตา่ งกนั ในการวางมุมการเขียน และขนาดของชิ้นงานจริง
กบั ขนาดชิ้นงานในการเขียนแบบซ่ึงผเู้ ขียนแบบตอ้ งศึกษาลกั ษณะของภาพไอโซเมตริกแตล่ ะประเภทตา่ งๆ
ใหเ้ ขา้ ใจ เพอ่ื สามารถปฏิบตั ิการเขียนแบบไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง

2. ประเภทของภำพไอโซเมตริก
ภาพไอโซเมตริกสามารถแบ่งออกไดห้ ลายประเภท ดงั น้ี

8

2.1 ภำพไอโซเมตริกแบบ TRIMETRIC เป็นภาพไอโซเมตริกท่ีมีความสวยงาม และลกั ษณะคลา้ ยของจริง
มากที่สุดและเป็นภาพท่ีง่ายตอ่ การอ่านแบบเพราะเป็นภาพท่ีเขียนไดย้ าก เนื่องจากมุมท่ีใชเ้ ขียนเอียง 12 องศา และ 23
องศา และอตั ราความยาวของแต่ละดา้ นไม่เท่ากนั (ดงั รูป 1)

รูปที่ 1 ลกั ษณะของภาพ TRIMETRIC
2.2 ภำพไอโซเมตริกแบบ DIMETRIC เป็ นภาพไอโซเมตริกที่มีลกั ษณะคลา้ ยกบั ภาพถา่ ยและง่าย
ต่อการอา่ นแบบ แต่ไมค่ ่อยนิยมในการเขียนแบบเพราะเป็ นภาพที่เขียนไดย้ าก เนื่องจากมุมที่ใชเ้ ขียน เอียง 7
องศา และ 42 องศา และขนาดความหนาของภาพที่เขียนจะลดขนาดลงคร่ึงหน่ึงของความหนาจริง (ดงั รูป 2)

รูปที่ 2 ลักษณะของภาพ DIMETRIC
2.3 ภำพไอโซเมตริกแบบ ISOMETRIC เป็นภาพไอโซเมตริกที่นิยมเขียนมาก เพราะภาพที่เขียน
ง่าย เนื่องจากภาพมีมุมเอียง 30 องศา ท้งั สองขา้ งเทา่ กนั และขนาดความยาวของภาพทุกดา้ นจะมีขนาดเท่า
ขนาดงานจริง ภาพที่เขียนจะมีขนาดใหญ่มากทาให้เปลืองเน้ือที่กระดาษ (ดงั รูป 3)

รูปที่ 3 ลกั ษณะของภาพ ISOMETRIC

9

2.4 ภำพไอโซเมตริกแบบ OBQIUE เป็นภาพไอโซเมตริกท่ีนิยมเขียนมาก สาหรับงานที่มีรูปร่าง
เป็นส่วนโคง้ หรือรูกลมเพราะสามารถเขียนไดง้ ่ายและรวดเร็วเนื่องจากภาพ OBQIUE จะวางภาพดา้ นหน่ึง
อยใู่ นแนวระดบั เอียงทามุมเพียงดา้ นเดียว โดยเขียนเป็นมุม 45 องศา สามารถเขียนเอียงไดท้ ้งั ดา้ นซา้ ยและ
ขวาความหนาของงานดา้ นเอียงขนาดลดลงคร่ึงหน่ึง ภาพ OBQIUE มี 2 แบบ คือ แบบคาวาเลียร์
(CAVALIER) และแบบคาบิเนต (CABINET) (ดงั รูป 4)

ภาพไอโซเมตริกแบบ Cavalier ภาพไอโซเมตริกแบบ Cabinet

รูปที่ 4 ภาพไอโซเมตริกแบบ Cavalier และแบบ Cabinet

2.5 ภำพไอโซเมตริกแบบ PERSPECTIVE หรือ ภำพทัศนียภำพ
เป็นภาพไอโซเมตริกที่มีมุมในลกั ษณะการมองไกล โดยจะเขียนภาพเขา้ สู่จุดรวมของสายตา การเขียนภาพ
ไอโซเมตริกชนิดน้ีมีอยดู่ ว้ ยกนั หลายชนิด (ดงั รูป 5)

แบบ 1จุด แบบ 2จุด

รูปท่ี 5 แสดงภาพ PERSPECTIVE แบบต่างๆ

3. กำรเขยี นภำพไอโซเมตริก

แกนไอโซเมตริก (ISOMETRIC AXIS) เส้น XO, YO, ZO ทามุมระหวา่ งกนั 120 องศา เทา่ กนั ท้งั สามมุม
เส้นท้งั สามน้ีเรียกวา่ แกนไอโซเมตริก ซ่ึงแกนไอโซเมตริกน้ีสามารถวางไดห้ ลายทิศทาง ข้ึนอยกู่ บั รูปร่าง
ของชิ้นงานท่ีตอ้ งการแสดงรายละเอียด ดงั รูป 6

10

รูปที่ 6 แสดงการวางแกนไอโซเมตริก
3.1 กำรเขียนภำพ ISOMETRIC ทุกภาพจะเร่ิมจากการเขียนเส้นร่างจากกล่องสี่เหลี่ยม โดยมี
ขนาดความกวา้ ง ความยาว และความสูง ซ่ึงจะไดจ้ ากการกาหนดขนาดจากภาพฉาย จากน้นั เขียน
รายละเอียดส่วนต่างๆ ของชิ้นงาน (ดงั รูป 7)

ขนั้ ที่ 1 ขน้ั ท่ี 2 ขนั้ ท่ี 3
รูปที่ 7 การเขยี นภาพ ISOMETRIC

11

ลำดบั ขัน้ ตอนกำรเขยี นภำพ ISOMETRIC
ข้นั ท่ี 1 ขีดเส้นร่างแกนหลกั ท้งั สามแกน

ข้นั ที่ 2 เขียนเส้นร่างกล่องส่ีเหลียม โดยใชข้ นาด
ความ กวา้ ง ยาว และความหนาของชิ้นงาน

ข้นั ท่ี 3 เขียนเส้นร่างรายละเอียดของภาพดา้ นหนา้
ภาพดา้ นขา้ ง และภาพดา้ นบน ลงบนกล่อง
ส่ีเหลียม

ข้นั ที่ 4 ขีดเส้นเตม็ หนาทบั ขอบเส้นร่างของ ดา้ นหนา้
ดา้ นขา้ ง และดา้ นบน ของกล่องสี่เหลียม
ISOMETRIC

4. กำรเขยี นวงรีภำพไอโซเมตริก

4.1 กำรเขยี นวงรี แบบ ISOMETRIC
ชิ้นงานท่ีมีลกั ษณะเป็นทรงกระบอก หรืองานท่ีมีหนา้ ตดั กลม เช่น รูปกลม ส่วนโคง้ เมื่อเขียนเป็นภาพ

ไอโซเมตริกแลว้ หนา้ ตดั ของรูปทรงกระบอกหรือรูกลมน้นั จะเอียงเป็ นมุม 30 องศา หรือทาใหม้ องเห็นเป็น
ลกั ษณะวงรี ดงั รูป 8

รูปท่ี 8 ลกั ษณะชิน้ งานรูกลม

12

รูปที่ 9 ลักษณะของรูปวงรี ISOMETRI

13

ข้นั ตอนกำรเขียนวงรี ISOMETRIC ด้ำนหน้ำ

ข้นั ตอนกำรเขียน

1.เขียนสี่เหลียมขนมเปี ยกปูน เอียงทามุม 30 องศา กบั เส้นในแนวระดบั ดงั รูปในช่องที่ 1
2.ลากเส้นแบง่ คร่ึงท้งั สี่ดา้ น ท่ีจุด 1-3 และ 2-4 ดงั รูปในช่องที่ 2
3.ลากเส้นทะแยงมุมจากจุด D ไปยงั จุดท่ี 1 และ 2 ดงั รูปในช่องที่ 3
4.ลากเส้นทะแยงมุมจากจุด B ไปยงั จุดท่ี 3 และ 4 จะไดเ้ ส้นตดั กนั ที่จุด E และจุด F ดงั รูปในช่องที่ 4
5.จุด E และ จุด F เป็นจุดศูนยก์ ลางของส่วนโคง้ เล็ก กางวงเวยี นออก รัศมี E-1 เขียนส่วนโคง้ วงเล็กจากจุดที่
1 ไปจุดที่ 4 และใชร้ ัศมีเท่าเดิม เขียนส่วนโคง้ โดยใชจ้ ุด F เป็นจุดศูนยก์ ลาง เขียนส่วนโคง้ เลก็ ดงั รูปใน
ช่องที่ 5
6.ที่จุด B กางวงเวยี นรัศมี B-4 เขียนส่วนโคง้ วงใหญ่จากจุดที่ 4 ไปจุดที่ 3 และท่ีจุด D เป็นจุดศูนยก์ ลาง รัศมี
เท่าเดิม เขียนส่วนโคง้ วงใหญ่ จะไดว้ งรีของภาพไอโซเมตริก ดงั รูปในช่องที่ 6

14

ข้นั ตอนกำรเขียนวงรี ISOMETRIC ด้ำนข้ำง

ข้นั ตอนกำรเขียน
1. เขียนสี่เหลียมขนมเปี ยกปูน เอียงทามุม 30 องศา กบั เส้นในแนวระดบั ดงั รูปในช่องท่ี 1
2. ลากเส้นแบง่ คร่ึงท้งั สี่ดา้ น ที่จุด 1-3 และ 2-4 ดงั รูปในช่องที่ 2
3. ลากเส้นทะแยงมุมจากจุด B ไปยงั จุดที่ 3 และ 4 ดงั รูปในช่องที่ 3
4. ลากเส้นทะแยงมุมจากจุด D ไปยงั จุดที่ 1 และ 2 จะไดเ้ ส้นตดั กนั ท่ีจุด E และจุด F ดงั รูปในช่องท่ี 4
5. จุด E และ จุด F เป็นจุดศูนยก์ ลางของส่วนโคง้ เล็ก กางวงเวยี นออก รัศมี E-1 เขียนส่วนโคง้ วงเล็กจากจุดท่ี
1 ไปจุดที่ 4 และใชร้ ัศมีเทา่ เดิม เขียนส่วนโคง้ โดยใชจ้ ุด F เป็นจุดศูนยก์ ลาง เขียนส่วนโคง้ เล็ก ดงั รูปในช่อง
ท่ี 5
6. ที่จุด B กางวงเวยี นรัศมี B-4 เขียนส่วนโคง้ วงใหญ่จากจุดที่ 4 ไปจุดที่ 3 และท่ีจุด D เป็นจุดศูนยก์ ลาง รัศมี
เทา่ เดิม เขียนส่วนโคง้ วงใหญ่ จะไดว้ งรีของภาพไอโซเมตริก ดงั รูปในช่องท่ี 6

15

ข้นั ตอนกำรเขียนวงรี ISOMETRIC ด้ำนบน

ข้นั ตอนกำรเขียน
1. เขียนสี่เหลียมขนมเปี ยกปูน เอียงทามุม 30 องศา กบั เส้นในแนวระดบั ดงั รูปในช่องท่ี 1
2. ลากเส้นแบ่งคร่ึงท้งั ส่ีดา้ น ที่จุด 1-3 และ 2-4 ดงั รูปในช่องที่ 2
3. ท่ีจุด A ลากเส้นทะแยงมุมไปยงั จุดท่ี 2 และ 3 ดงั รูปในช่องที่ 3
4. ลากเส้นทะแยงมุมจากจุด C ไปยงั จุดที่ 4 ไปตดั กบั เส้นตรงอีกเส้นหน่ึงท่ีจุด F และลากเส้นจากจุด C ไป
จุดที่ 1 ไปตดั กบั เส้นตรงอีกเส้นหน่ึงท่ีจุด E ดงั รูปในช่องท่ี 4
5. ที่จุด E กางวงเวยี น รัศมี E-1 เขียนส่วนโคง้ วงเล็กจากจุดท่ี 1 ไปจุดที่ 2 และที่จุด F จากจุด 3 ไปจุดท่ี 4 ดงั
รูปในช่องท่ี 5
6. ที่จุด A กางวงเวยี นรัศมี A-3 เขียนส่วนโคง้ วงใหญ่จากจุดท่ี 3 ไปจุดที่ 2 และท่ีจุด C จากจุด 4 ไปจุดที่ 1
จะไดว้ งรีแบบไอโซเมตริกดา้ นบน ดงั รูปในช่องที่ 6

16

บทที่ 3
วธิ ีดำเนินกำรวจิ ยั

วธิ ีกำรดำเนินกำรวจิ ัย
การดาเนินการวจิ ยั เรื่องผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าเขียนแบบออกแบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์ ตาม

ชิ้นงานท่ีกาหนดให้ เรื่องภาพไอโซเมตริกของนกั ศึกษาประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูงปี ที่ 1 สาขาวชิ าช่าง
โลหะ สาขาวศิ วกรรมอุตสาหการ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ภาค
พายพั เชียงใหม่ ในภาคปี การศึกษา 2555 ผวู้ จิ ยั ไดด้ าเนินการตามข้นั ตอนดงั น้ี

1. ข้นั เตรียมการวจิ ยั
2. ออกแบบและสร้างอุปกรณ์
3. กาหนดกลุ่มประชากรและเลือกกลุ่มตวั อยา่ ง
4. ดาเนินการ และเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
5. วเิ คราะห์ขอ้ มูลและสรุปและรายงานผล

1. ข้นั เตรียมกำรวจิ ัย
1.1 ศึกษาขอ้ มูลผวู้ จิ ยั ไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ ทดลอง สงั เกตและทดสอบ เกี่ยวกบั ความรู้ ทกั ษะของ

นกั ศึกษา โดยศึกษาขอ้ มูลดงั น้ี
1.1.1 ทดสอบความรู้ก่อนการเรียนท้งั ภาคทฤษฎีและปฏิบตั ิ
1.1.2 แบ่งกลุ่มนกั ศึกษาตามความสามารถ เป็นกลุ่มเก่ง กลุ่มปานกลาง กลุ่มอ่อน
1.1.3 วเิ คราะห์ผลการทดสอบก่อนการเรียน เพอ่ื ปรับปรุง ออกแบบฝึกทกั ษะ

2. ออกแบบและสร้ำงอุปกรณ์
2.1 สร้างแบบฝึกทกั ษะการเรียนโดยคานึงถึงความสามารถ ความรู้เดิมของนกั ศึกษา
2.2 สร้างแบบสงั เกต
2.3 สร้างแบบบนั ทึก

3. กำหนดกล่มุ ประชำกรและเลือกกลุ่มตัวอย่ำง
ประชากรท่ีใชใ้ นการวจิ ยั คร้ังน้ี ไดแ้ ก่ นกั ศึกษาประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูงปี ที่ 1 สาขาวชิ าช่าง

โลหะ สาขาวศิ วกรรมอุตสาหการ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ภาค
พายพั เชียงใหม่ ในภาคปี การศึกษา 2555 จานวน 25 คน

4. ดำเนินกำร และเกบ็ รวบรวมข้อมูล
4.1 ทดสอบก่อนการเรียนท้งั ภาคทฤษฎี และภาคปฏิบตั ิ
4.2 สงั เกต บนั ทึกคะแนนขณะปฏิบตั ิงาน

17

4.3 ชิ้นงานท่ีมอบหมายใหด้ าเนินการ
4.4 ทดสอบหลงั การเรียนท้งั ภาคภาคทฤษฎี และภาคปฏิบตั ิ
5. วเิ ครำะห์ข้อมูลและสรุปและรำยงำนผล
การวเิ คราะห์ขอ้ มูล กาหนดค่าสถิติที่ตอ้ งการศึกษาและแปรคา่ ดงั รายละเอียดดงั น้ี
1. หาค่าเฉลี่ย

2. หาร้อยละ

3. หาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s.d.)

4. หาค่าสัมประสิทธิภาพนวตั กรรม E1/E2

E1 คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการ

x คือ ผลรวมของคะแนนผูเ้ รียนที่ไดจ้ ากการวดั ระหวา่ งเรียน
A คือ คะแนนเตม็ ของแบบวดั
N คือ จานวนนกั เรียน
E2 คือ ประสิทธิภาพของผลลพั ธ์ท่ีไดจ้ ากคะแนนเฉล่ียของการทาแบบทดสอบหลงั เรียนของผูเ้ รียน

ท้งั หมด
y คือ คะแนนรวมของผลลพั ธ์หลงั เรียน
B คือ คะแนนเตม็ ของการสอบหลงั เรียน

18

บทท่ี 4
ผลกำรวจิ ยั

จากการศึกษาการวจิ ยั เร่ืองผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าเขียนแบบออกแบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์ ตาม
ชิ้นงานท่ีกาหนดให้ เร่ืองภาพไอโซเมตริกในคร้ังน้ี ใชก้ บั กลุ่มประชากร ซ่ึงเป็นนกั ศึกษาระดบั
ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูงปี ที่ 1 สาขาวชิ าช่างโลหะ สาขาวศิ วกรรมอุตสาหการ คณะวศิ วกรรมศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ภาคพายพั เชียงใหม่ โดยไดน้ าเสนอผลวเิ คราะห์ขอ้ มูลดงั น้ี

1. วเิ คราะห์ความสามารถของผเู้ รียน
2. วเิ คราะห์ขอ้ มูล กระบวนการเรียนรู้ และความรู้ที่นกั ศึกษาไดร้ ับ
3. วเิ คราะห์ผลการเรียนก่อนเรียนและหลงั เรียน

1. วเิ ครำะห์ควำมสำมำรถของผ้เู รียน
ตารางท่ี 1 ขอ้ มูลการแบง่ กลุ่ม

ลำดบั รหสั นักศึกษำ คะแนนก่อนศึกษำ แบ่งกล่มุ ตำมควำมสำมำรถ
นักศึกษำคนท่ี (N) บทเรียน(10คะแนน)
ปานกลาง
1 55593452001-9 7 ปานกลาง
2 55593452002-7 6
3 55593452003-5 9 เก่ง
4 55593452006-8 8 เก่ง
5 55593452007-6 4 อ่อน
6 55593452008-4 6 ปานกลาง
7 55593452009-2 3 อ่อน
8 55593452010-0 5 ปานกลาง
9 55593452011-8 5 ปานกลาง
10 55593452012-6 6 ปานกลาง
11 55593452013-4 4 ออ่ น
12 55593452014-2 6 ปานกลาง
13 55593452015-9 8 เก่ง
14 55593452016-7 4 อ่อน
15 55593452019-1 4 อ่อน

19

ลำดบั รหัสนักศึกษำ คะแนนก่อนศึกษำ แบ่งกลุ่มตำมควำมสำมำรถ
นักศึกษำคนที่ (N) บทเรียน(10คะแนน)

16 55593452020-9 4 ออ่ น
17 55593452021-7 6 ปานกลาง
18 55593452023-3 4
19 55593452024-1 6 ออ่ น
20 55593452025-8 6 ปานกลาง
21 55593452026-6 5 ปานกลาง
22 55593452027-4 5 ปานกลาง
23 55593452028-2 7 ปานกลาง
24 55593452029-0 8 ปานกลาง
25 55593452030-8 8
เก่ง
เก่ง

หมำยเหตุ คะแนน 8-10 (กลุ่มเก่ง) คะแนน 5-7 (กลุ่มปานกลาง) คะแนน 1-4 (กลุ่มอ่อน)

2. วเิ ครำะห์ข้อมูล กระบวนกำรเรียนรู้ และควำมรู้ทน่ี ักศึกษำได้รับ
เพ่อื ศึกษาวธิ ีการฝึกปฏิบตั ิจริงดว้ ยตนเอง โดยกาหนดชิ้นงานตวั อยา่ งท่ีมีวธิ ีการปฏิบตั ิหลายๆ

อยา่ งของนกั ศึกษาสาขาวชิ าช่างโลหะ สาขาวศิ วกรรมอุตสาหการ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั
เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ภาคพายพั เชียงใหม่

ตารางที่ 2 ผลการฝึกปฏิบตั ิและทดสอบภาคทฤษฎี ของกลุ่มเก่ง

ลำดับ รหสั นักศึกษำ ขบวนกำร คะแนนหลัง E1 E2 E1/E2
(60 คะแนน) ศึกษำบทเรียน
1 55593452003-5
2 55593452006-8 (20 คะแนน)
3 55593452015-9 56 18 93.33 90 93.33/90
4 55593452029-0 52 16 86.67 80 86.67/80
5 55593452030-8 48 16 80.00 80 80.00/80
50 17 83.33 85 83.33/85
ค่ำเฉลยี่ ท้งั กล่มุ 54 17 90.00 85 90.00/85
52 16.4 86.67 84 86.67/84

20

จากขอ้ มูลตามตารางท่ี 2 สรุปผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลไดว้ า่ ประสิทธิภาพของเครื่องที่ใชก้ บั กลุ่มเก่ง
เทา่ กบั 86.67/84 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑท์ ่ีกาหนดคือ 80/80

ตารางท่ี 3 ผลการฝึกปฏิบตั ิและทดสอบภาคทฤษฎี กลุ่มปานกลาง

ลำดับ รหัสนักศึกษำ ขบวนกำร คะแนนหลัง E1 E2 E1/E2
(60 คะแนน) ศึกษำบทเรียน
1 55593452001-9
2 55593452002-7 (20คะแนน)
3 55593452008-4 47 17 78.33 85 78.33/85
4 55593452010-0 52 16 86.67 80 86.67/80
5 55593452011-8 45 18 75.00 90 75.00/90
6 55593452012-6 44 17 73.33 85 73.33/85
7 55593452014-2 50 16 83.33 80 83.33/80
8 55593452021-7 57 16 95.00 80 95.00/80
9 55593452024-1 44 17 73.33 85 73.33/85
10 55593452025-8 48 16 80.00 80 80.00/80
11 55593452026-6 47 15 78.33 75 78.33/75
12 55593452027-4 47 18 78.33 90 78.33/90
13 55593452028-2 55 16 91.67 80 91.67/80
47 17 78.33 85 78.33/85
ค่ำเฉลย่ี ท้งั กล่มุ 45 16 75.00 80 75.00/80

48.31 16.54 80.51 82.69 80.51/82.69

จากขอ้ มูลตามตารางที่ 3 สรุปผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลไดว้ า่ ประสิทธิภาพของเคร่ืองมือที่ใชก้ บั กลุ่มปาน
กลาง เทา่ กบั 80.51/82.69 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑท์ ี่กาหนดคือ 80/80

21

ตารางท่ี 4 ผลการฝึกปฏิบตั ิและทดสอบภาคทฤษฎี กลุ่มออ่ น

ลำดับ รหสั นักศึกษำ ขบวนกำร คะแนนหลัง E1 E2 E1/E2
(60 คะแนน) ศึกษำบทเรียน
1 55593452007-6 (20คะแนน) 75.00 75 75.00/75
2 55593452009-2 45
3 55593452013-4 47 15 78.33 80 78.33/80
4 55593452016-7 46 16 76.67 85 76.67/85
5 55593452019-1 45 17
6 55593452020-9 46 17 75.00 85 75.00/85
7 55593452023-3 44 16
50 17 76.67 80 76.67
ค่ำเฉลย่ี ท้งั กล่มุ 47.67 16 73.33 85 73.33
ค่ำเฉลยี่ ท้งั หมด 48.44 83.33 80 83.33
3.91 16.42
ค่ำเบีย่ งเบนมำตรฐำน (S.D.) 79.44 82.11 79.44/82.11
16.52
80.73 82.6 80.73/82.6
0.82
6.51 4.11

จากขอ้ มูลตามตารางท่ี 4 สรุปผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลไดว้ า่ ประสิทธิภาพของเคร่ืองมือท่ีใชก้ บั กลุ่มอ่อน
เทา่ กบั 79.44/82.11 แสดงวา่ เคร่ืองมือไมเ่ หมาะสมที่จะนามาใชก้ บั กลุ่มอ่อน เพราะต่ากวา่ เกณฑท์ ี่กาหนด

สรุปผลการวจิ ยั ประสิทธิภาพของเครื่องมือท่ีนามาใชก้ บั นกั ศึกษาระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูงปี
ท่ี 1 สาขาวชิ าช่างโลหะเท่ากบั 80.73/82.6 แสดงวา่ เครื่องมือดา้ นทกั ษะกระบวนการและเคร่ืองมือดา้ นทกั ษะ
ความรู้ ความจา มีประสิทธิภาพซ่ึงสูงกวา่ เกณฑท์ ี่กาหนดคือ 80/80

3. วเิ ครำะห์ผลกำรเรียนก่อนเรียนและหลงั เรียน

เพ่ือเปรียบเทียบความสามารถในการสร้างองคค์ วามรู้ของนกั ศึกษาระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง
ปี ที่ 1 สาขาวชิ าช่างโลหะ ก่อนเรียนและหลงั เรียน

ตารางท่ี 5 ผลของการเกบ็ ขอ้ มูลก่อนและหลงั การเรียน ของกลุ่มเก่ง

ลำดบั รหัสนักศึกษำ ก่อนเรียน รวมหลงั เรียน เฉลย่ี หลงั เรียน ผลต่ำง

10 20 10

22

1 55593452003-5 8 18 91
8.5 0.5
2 55593452006-8 8 17 92
81
3 55593452015-9 7 18 8.5 0.5

4 55593452029-0 7 16 8.60 1.00

5 55593452030-8 8 17

เฉลย่ี ท้งั กล่มุ 7.60 17.20

จากขอ้ มูลตามตารางที่ 5 สรุปผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลไดว้ า่ ทกั ษะดา้ นความรู้ ความจา ของนกั ศึกษากลุ่ม
เก่งเพ่มิ เติม เป็นร้อยละ 10

ตารางท่ี 6 ผลของการเก็บขอ้ มูลก่อนและหลงั การเรียน ของกลุ่มปานกลาง

ลำดบั รหัสนักศึกษำ ก่อนเรียน รวมหลงั เรียน เฉลย่ี หลงั เรียน ผลต่ำง
10 20 10
1 55593452001-9 7 15 7.5 0.5
2 55593452002-7 7 16 8 1
3 55593452008-4 6 15 7.5 1.5
4 55593452010-0 7 16 8 1
5 55593452011-8 8 17 8.5 0.5
6 55593452012-6 8 17 8.5 0.5
7 55593452014-2 8 17 8.5 0.5
8 55593452021-7 6 17 8.5 2.5
9 55593452024-1 6 17 8.5 2.5
10 55593452025-8 7 16 8 1
11 55593452026-6 7 15 7.5 0.5
12 55593452027-4 6 18 9 3
13 55593452028-2 6 14 7 1
1.23
เฉลยี่ ท้งั กล่มุ 6.85 16.15 8.08

จากขอ้ มูลตามตารางท่ี 6 สรุปผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลไดว้ า่ ทกั ษะดา้ นความรู้ ความจาของนกั ศึกษา
กลุ่มปานกลางเพม่ิ ข้ึน ร้อยละ 12.3

23

ตารางท่ี 7 ผลของการเกบ็ ขอ้ มูลก่อนและหลงั การเรียน ของกลุ่มออ่ น

ลำดบั รหสั นักศึกษำ ก่อนเรียน รวมหลงั เรียน เฉลย่ี หลงั เรียน ผลต่ำง
10 20 10
1 55593452007-6 5 16 8 3
2 55593452009-2 6 16 8 2
3 55593452013-4 6 16 8 2
4 55593452016-7 5 15 7.5 2.5
5 55593452019-1 5 15 7.5 2.5
6 55593452020-9 4 17 8.5 4.5
7 55593452023-3 7 15 7.5 0.5
2.43
เฉลย่ี ท้งั กล่มุ 5.43 15.71 7.86 1.52
เฉลย่ี ท้งั หมด 1.08
6.60 16.24 8.12
ค่ำเบีย่ งเบนมำตรฐำน (S.D.)
1.12 1.09 0.55

จากขอ้ มูลตามตารางที่ 6 สรุปผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลไดว้ า่ ทกั ษะดา้ นความรู้ ความจาของนกั ศึกษา
กลุ่มอ่อน เพม่ิ ข้ึนร้อยละ 24.3

สรุปผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลไดว้ า่ นกั ศึกษาระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูงปี ท่ี 1 สาขาวชิ าช่าง
โลหะ มีทกั ษะดา้ นความรู้ ความจาจากเดิมร้อยละ 15.2

24

บทที่ 5
สรุปผลกำรวจิ ยั อภปิ รำยผลและข้อเสนอแนะ

การศึกษาวจิ ยั เรื่องผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าเขียนแบบออกแบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์ ตามชิ้นงานท่ี
กาหนดให้ เรื่องภาพไอโซเมตริก เป็นการศึกษาหาประสิทธิภาพของสื่อการสอนท่ีไดจ้ ดั ทาข้ึนมาเพ่ือ
พฒั นาการเรียนการสอนในระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง สาขาวชิ าช่างโลหะ ช้นั ปี ที่ 1 สาขา
วศิ วกรรมอุตสาหการ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ภาคพายพั เชียงใหม่
ซ่ึงสรุปผลการศึกษาไดด้ งั น้ี

1. สรุปผลกำรวจิ ัย

จากการผลการศึกษาการนาชุดส่ือการสอนตามชิ้นงานที่กาหนดให้ เรื่องภาพไอโซเมตริก ให้
นกั ศึกษาระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูงปี ท่ี 1 สาขาวชิ าช่างโลหะ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล
ลา้ นนา ภาคพายพั เชียงใหม่ จานวน 25 คนไดศ้ ึกษาเร่ืองภาพไอโซเมตริก ในรายวชิ า การออกแบบเขียนแบบ
ดว้ ยคอมพิวเตอร์ พบวา่ ผเู้ รียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคต์ ามแผนการ
เรียนผเู้ รียนมีพฤติกรรมการร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการศึกษาบทเรียนอยใู่ นระดบั ดี

2. อภปิ รำยผล

ผลการศึกษาจะเห็นไดว้ า่ การใชส้ ่ือชุดการสอนตามชิ้นงานที่กาหนดให้ เรื่องภาพไอโซเมตริก ใน
รายวชิ าการออกแบบเขียนแบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์ แลว้ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผเู้ รียนก่อนและหลงั เรียน
ดว้ ยบทเรียน โดยมีค่าคะแนนรวมของนกั ศึกษาก่อนการศึกษาบทเรียนเรื่องภาพไอโซเมตริก เทา่ กบั 165
คะแนนจากคะแนนเตม็ 250 คะแนน และค่าคะแนนรวมของนกั ศึกษาหลงั การศึกษาบทเรียนเร่ืองภาพไอโซ
เมตริก เทา่ กบั 371 คะแนนจากคะแนนเตม็ 500 คะแนน ค่าเฉลี่ยของนกั ศึกษาก่อนศึกษาบทเรียนละหลงั
ศึกษาบทเรียนเป็น 6.60 จาก 10 คะแนนและ16.24 จาก 20 ค่าเฉล่ียหลงั เรียนเทา่ กบั 8.12 หลงั การศึกษา
บทเรียนเรื่องการอ่านภาพไอโซเมตริก ดงั น้นั สรุปไดว้ า่ ภายหลงั การใชส้ ื่อชุดการสอนตามชิ้นงานท่ี
กาหนดให้ แลว้ ทาให้นกั ศึกษาระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง ช้นั ปี ท่ี 1 สาขาวชิ าช่างโลหะ สาขา
วศิ วกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ภาคพายพั เชียงใหม่
เขา้ ใจในการเรียนในรายวชิ า ออกแบบเขียนแบบดว้ ยคอมพิวเตอร์ ไดด้ ีมากยงิ่ ข้ึน

สรุปผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลไดว้ า่ นกั ศึกษาระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูงปี ที่ 1 สาขาวชิ าช่างโลหะ
มีทกั ษะดา้ นความรู้ ความจาเพ่มิ ข้ึนจากเดิมร้อยละ 15.2

25

3. ข้อเสนอแนะ

3.1 ขอ้ เสนอแนะ
เป็นขอ้ เสนอแนะท่ีสาคญั เพื่อเกิดประโยชน์ตอ่ ผใู้ ชง้ านวจิ ยั
3.1.1 ในการจดั ทาชุดการสอนควรใช้เวลาในการทาต่อเน่ืองกนั เพื่อให้ผูเ้ รียนเกิดการเชื่อมโยง

ความรู้จากหน่วยก่อน มาเป็นพ้ืนฐานในการศึกษาเน้ือหาในหน่วยต่อไป
3.1.2 ในกรณีท่ีนาชุดการสอนไปศึกษาดว้ ยตนเองน้นั ผูใ้ ชต้ อ้ งศึกษาคู่มือการใชช้ ุดการสอนอยา่ ง

ละเอียด และปฏิบัติกิจกรรมให้ครบทุกข้นั ตอน ในกรณีที่เป็ นกิจกรรมกลุ่ม ผูใ้ ช้สามารถปฏิบัติแบบ
รายบุคคลได้ ท้งั น้ีตอ้ งปฏิบตั ิกิจกรรมตามลาดบั ข้นั ตอนที่กาหนดไวใ้ นคู่มือการใช้ จึงจะเกิด ประสิทธิผล
อยา่ งเตม็ ท่ี

3.1.3 ในกรณีที่นาไปใช้ในการสอนกลุ่มใหญ่นอกจากจะตอ้ งศึกษาคู่มือการใช้อยา่ งละเอียดแลว้
ผูน้ าไปใชจ้ ะตอ้ งทดลองศึกษาดว้ ยตนเองก่อน เพื่อให้เกิดความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การใชช้ ุดการสอนและก่อน
การสอนจะตอ้ งจดั เตรียมอุปกรณ์ที่จาเป็ นทุกอย่างให้พร้อม และตรวจสอบดูว่าอยู่ในสภาพท่ีใช้การได้
หรือไม่

3.2 ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การวจิ ยั ต่อไป
3.2.1 ควรมีการพฒั นาชุดการสอนในเน้ือหาหน่วยอื่นๆ เพ่ือให้ไดช้ ุดการสอนที่สมบูรณ์ครบทุก

หน่วย ซ่ึงจะเป็นประโยชนต์ ่อผทู้ ่ีนาไปใชม้ ากข้ึน

26

บรรณำนุกรรม

[1] ชาญชยั ทองประสิทธ์ิ (2546) ไดท้ าการวจิ ยั เรื่อง”การสร้างและหาประสิทธิภาพชุดการสอนเรื่อง
ระบบสตาร์ทรถยนต”์ วทิ ยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าเคร่ืองกล
ภาควชิ าครุศาสตร์ บณั ฑิตวทิ ยาลยั สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ , 2546

[2] ชยั ยงค์ พรหมวงศ,์ สมเชาว์ เนตรประเสริฐ,สุดา สินสกุล. ระบบสื่อการสอน. คณะครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , 2520

[3] ลดั ดา ศุขปรีดี. เทคโนโลยกี ารเรียนการสอน. พมิ พค์ ร้ังที่ 3 โรงพมิ พพ์ ิฆเณศ, 2522.
[4] ทรรษพฒั นกุล. เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทางการศึกษา. บุรีรัมษ์ เรวตั การพมิ พ,์ 2539 .
[5] ปัญญาไผท่ อง (2549) ไดท้ าการวจิ ยั เร่ือง”การสร้างและหาประสิทธิภาพชุดการสอนเรื่องการตดั
เฉือนดว้ ยแมพ่ ิมพ”์ .วทิ ยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบณั ฑิต สาขาวิชาเครื่องกลภาควชิ าครุ
ศาสตร์ บณั ฑิตวทิ ยาลยั สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ, 2549.
[6] วาสนา ชาวหา. เทคโนโลยที างการศึกษา. พิมพค์ ร้ังที่ 2 สานกั พิมพก์ ราฟิ คอาร์ต, 2525.
[7] สมปอง มากแจง้ . เทคโนโลยกี ารศึกษา. กรุงเทพมหานคร : สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้

พระนครเหนือ, 2543.
[8] อานวย เดชชยั ศรี. นวตั กรรมและเทคโนโลยกี ารศึกษา. พิมพค์ ร้ังที่ 1 , 2544.

27

ภำคผนวก ก

ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าเขียนแบบออกแบบดว้ ยคอมพวิ เตอร์ ตามชิ้นงานที่
กาหนดให้ เร่ืองภาพไอโซเมตริก

วเิ ครำะห์ควำมสำมำรถของผู้เรียน 28
ตาราง ขอ้ มูลการแบ่งกลุ่ม
แบ่งกล่มุ ตามความสามารถ
ลาดบั รหสั นกั ศึกษา คะแนนก่อนศึกษา
นกั ศึกษาคนที่ (N) บทเรียน(10คะแนน)

วเิ ครำะห์ข้อมูล กระบวนกำรเรียนรู้ และควำมรู้ทนี่ ักศึกษำได้รับ

ตาราง ผลการฝึกปฏิบตั ิและทดสอบภาคทฤษฎี ของกลุ่ม

ลาดบั รหสั นกั ศึกษา ขบวนการ คะแนนหลงั ศึกษา E1 E2 E1/E2

(60 คะแนน) บทเรียน(20

คะแนน)

ค่าเฉล่ียท้งั กล่มุ

วเิ ครำะห์ผลกำรเรียนก่อนเรียนและหลงั เรียน

ตาราง ผลของการเกบ็ ขอ้ มูลก่อนและหลงั การเรียน ของกลุ่ม

ลาดบั รหสั นกั ศึกษา ก่อนเรียน รวมหลงั เรียน เฉล่ียหลงั เรียน ผลตา่ ง

10 20 10

เฉลี่ยท้งั กล่มุ

29

ภำคผนวก ข

วเิ คราะห์ความสามารถของผเู้ รียน
วเิ คราะห์ขอ้ มูล กระบวนการเรียนรู้ และความรู้ที่นกั ศึกษาไดร้ ับ

วเิ คราะห์ผลการเรียนก่อนเรียนและหลงั เรียน

30

1.วเิ ครำะห์ควำมสำมำรถของผ้เู รียน
ตารางที่ 1 ขอ้ มูลการแบ่งกลุ่ม

ลำดับ รหัสนักศึกษำ คะแนนก่อนศึกษำ แบ่งกลุ่มตำมควำมสำมำรถ
นักศึกษำคนท่ี (N) บทเรียน(10คะแนน)

1 55593452001-9 7 ปานกลาง
2 55593452002-7 6 ปานกลาง
3 55593452003-5 9
4 55593452006-8 8 เก่ง
5 55593452007-6 4 เก่ง
6 55593452008-4 6 อ่อน
7 55593452009-2 3 ปานกลาง
8 55593452010-0 5 อ่อน
9 55593452011-8 5 ปานกลาง
10 55593452012-6 6 ปานกลาง
11 55593452013-4 4 ปานกลาง
12 55593452014-2 6 อ่อน
13 55593452015-9 8 ปานกลาง
14 55593452016-7 4 เก่ง
15 55593452019-1 4 ออ่ น
16 55593452020-9 4 ออ่ น
17 55593452021-7 6 อ่อน
18 55593452023-3 4 ปานกลาง
19 55593452024-1 6 อ่อน
20 55593452025-8 6 ปานกลาง
21 55593452026-6 5 ปานกลาง
22 55593452027-4 5 ปานกลาง
23 55593452028-2 7 ปานกลาง
24 55593452029-0 8 ปานกลาง
25 55593452030-8 8 เก่ง
เก่ง

หมำยเหตุ คะแนน 8-10 (กลุ่มเก่ง) คะแนน 5-7 (กลุ่มปานกลาง) คะแนน 1-4 (กลุ่มอ่อน)

31

2. วเิ ครำะห์ข้อมูล กระบวนกำรเรียนรู้ และควำมรู้ทนี่ ักศึกษำได้รับ

ตารางท่ี 2 ผลการฝึกปฏิบตั ิและทดสอบภาคทฤษฎี ของกลุ่มเก่ง

ลำดบั รหสั นกั ศึกษำ ขบวนกำร คะแนนหลงั ศึกษำ E1 E2 E1/E2

1 55593452003-5 (60 คะแนน) บทเรียน(20
2 55593452006-8
3 55593452015-9 คะแนน)
4 55593452029-0
5 55593452030-8 56 18 93.33 90 93.33/90

ค่ำเฉลย่ี ท้งั กล่มุ 52 16 86.67 80 86.67/80

48 16 80.00 80 80.00/80

50 17 83.33 85 83.33/85

54 17 90.00 85 90.00/85

52 16.4 86.67 84 86.67/84

ตารางท่ี 3 ผลการฝึกปฏิบตั ิและทดสอบภาคทฤษฎี กลุ่มปานกลาง

ลำดบั รหัสนกั ศึกษำ ขบวนกำร คะแนนหลงั ศึกษำ E1 E2 E1/E2

1 55593452001-9 (60 คะแนน) บทเรียน
2 55593452002-7
3 55593452008-4 (20คะแนน)
4 55593452010-0
5 55593452011-8 47 17 78.33 85 78.33/85
6 55593452012-6
7 55593452014-2 52 16 86.67 80 86.67/80
8 55593452021-7
9 55593452024-1 45 18 75.00 90 75.00/90
10 55593452025-8
11 55593452026-6 44 17 73.33 85 73.33/85
12 55593452027-4
13 55593452028-2 50 16 83.33 80 83.33/80

ค่ำเฉลยี่ ท้งั กล่มุ 57 16 95.00 80 95.00/80

44 17 73.33 85 73.33/85

48 16 80.00 80 80.00/80

47 15 78.33 75 78.33/75

47 18 78.33 90 78.33/90

55 16 91.67 80 91.67/80

47 17 78.33 85 78.33/85

45 16 75.00 80 75.00/80

48.31 16.54 80.51 82.69 80.51/82.69

32

ตารางที่ 4 ผลการฝึกปฏิบตั ิและทดสอบภาคทฤษฎี กลุ่มออ่ น

ลำดับ รหสั นักศึกษำ ขบวนกำร คะแนนหลัง E1 E2 E1/E2
(60 คะแนน) ศึกษำบทเรียน
1 55593452007-6 (20คะแนน) 75.00 75 75.00/75
2 55593452009-2 45
3 55593452013-4 47 15 78.33 80 78.33/80
4 55593452016-7 46 16 76.67 85 76.67/85
5 55593452019-1 45 17
6 55593452020-9 46 17 75.00 85 75.00/85
7 55593452023-3 44 16
50 17 76.67 80 76.67
ค่ำเฉลย่ี ท้งั กล่มุ 47.67 16 73.33 85 73.33
ค่ำเฉลย่ี ท้งั หมด 48.44 83.33 80 83.33
3.91 16.42
ค่ำเบ่ยี งเบนมำตรฐำน (S.D.) 79.44 82.11 79.44/82.11
16.52
80.73 82.6 80.73/82.6
0.82
6.51 4.11

3. วเิ ครำะห์ผลกำรเรียนก่อนเรียนและหลงั เรียน

ตารางท่ี 5 ผลของการเกบ็ ขอ้ มูลก่อนและหลงั การเรียน ของกลุ่มเก่ง

ลำดบั รหสั นักศึกษำ ก่อนเรียน รวมหลงั เรียน เฉลยี่ หลงั เรียน ผลต่ำง
10 20 10
1 55593452003-5 8 18 9 1
2 55593452006-8 8 17 8.5 0.5
3 55593452015-9 7 18 9 2
4 55593452029-0 7 16 8 1
5 55593452030-8 8 17 8.5 0.5
1.00
เฉลย่ี ท้งั กล่มุ 7.60 17.20 8.60

33

ตารางท่ี 6 ผลของการเก็บขอ้ มูลก่อนและหลงั การเรียน ของกลุ่มปานกลาง

ลำดบั รหัสนักศึกษำ ก่อนเรียน รวมหลงั เรียน เฉลยี่ หลงั เรียน ผลต่ำง
10 20 10
1 55593452001-9 7 15 7.5 0.5
2 55593452002-7 7 16 8 1
3 55593452008-4 6 15 7.5 1.5
4 55593452010-0 7 16 8 1
5 55593452011-8 8 17 8.5 0.5
6 55593452012-6 8 17 8.5 0.5
7 55593452014-2 8 17 8.5 0.5
8 55593452021-7 6 17 8.5 2.5
9 55593452024-1 6 17 8.5 2.5
10 55593452025-8 7 16 8 1
11 55593452026-6 7 15 7.5 0.5
12 55593452027-4 6 18 9 3
13 55593452028-2 6 14 7 1
6.85 16.15 8.08 1.23
เฉลยี่ ท้งั กล่มุ

ตารางที่ 7 ผลของการเก็บขอ้ มูลก่อนและหลงั การเรียน ของกลุ่มอ่อน

ลำดบั รหัสนกั ศึกษำ ก่อนเรียน รวมหลงั เรียน เฉลยี่ หลงั เรียน ผลต่ำง
10 20 10
1 55593452007-6 5 16 8 3
2 55593452009-2 6 16 8 2
3 55593452013-4 6 16 8 2
4 55593452016-7 5 15 7.5 2.5
5 55593452019-1 5 15 7.5 2.5
6 55593452020-9 4 17 8.5 4.5
7 55593452023-3 7 15 7.5 0.5
5.43 15.71 7.86 2.43
เฉลย่ี ท้งั กล่มุ 6.60 16.24 8.12 1.52
เฉลยี่ ท้งั หมด 1.12 1.09 0.55 1.08
ค่ำเบย่ี งเบนมำตรฐำน (S.D.)

34

ประวตั ผิ ู้วจิ ัย

หวั หน้ำโครงกำรวจิ ัย

ช่ือ นายวรเชษฐ์ หวานเสียง

วนั เดือน ปี เกิด 18 มกราคม 2519

ประวตั ิการศึกษา สาเร็จการศึกษาประกาศนียบตั รวชิ าชีพ สาขาวชิ าช่างเช่ือมโลหะ
วทิ ยาลยั เทคนิคพะเยา ปี การศึกษา 2538
สาเร็จการศึกษาประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง สาขาวชิ าเทคนิคอุตสาหกรรม
สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล วทิ ยาเขตภาคพายพั ปี การศึกษา 2540
สาเร็จการศึกษาปริญญาครุศาสตร์อุตสาหกรรมบณั ฑิต สาขาวชิ า
วศิ วกรรมอุตสาหการ สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล วทิ ยาเขตเทคนิคกรุงเทพ ปี
การศึกษา 2542
สาเร็จการศึกษาวศิ วกรรมศาสตร์มหาบณั ฑิต สาขาวศิ วกรรมอุตสาหการ
มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ ปี การศึกษา 2553

ประสบการณ์ หวั หนา้ สาขาวชิ าช่างโลหะ สาขาวชิ าวศิ วกรรมอุตสาหการ
คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ภาคพายพั
เชียงใหม่ (ปี 2553 – ปัจจุบนั )
อาจารยส์ อนประจาสาขาวชิ าช่างโลหะ สาขาวชิ าวศิ วกรรมอุตสาหการ
คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ภาคพายพั
เชียงใหม่ (ปี 2542 – ปัจจุบนั )

35

ผ้รู ่วมโครงกำร/ผ้ชู ่วยวจิ ัย

ช่ือ นายอภิชาติ ชยั กลาง

วนั เดือน ปี เกิด

ประวตั ิการศึกษา

สาเร็จการศึกษาประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง สาขาวชิ าเทคนิคอุตสาหกรรม
สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล วทิ ยาเขตภาคพายพั ปี การศึกษา 2540
สาเร็จการศึกษาปริญญาครุศาสตร์อุตสาหกรรมบณั ฑิต สาขาวชิ า
วศิ วกรรมอุตสาหการ สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล วทิ ยาเขตภาคพายพั เชียงใหม่
ปี การศึกษา 2535
สาเร็จการศึกษาวศิ วกรรมศาสตร์มหาบณั ฑิต สาขาเทคโนโลยวี สั ดุ
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรี ปี การศึกษา 25

ประวตั ิการทางาน

หวั หนา้ สาขาวศิ วกรรมอุตสาหการ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี
ราชมงคลลา้ นนา ภาคพายพั เชียงใหม่ พ.ศ.2551-ปัจจุบนั
อาจารยป์ ระจาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ(แผนกโลหะ) คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ภาคพายพั เชียงใหม่ พ.ศ.2539-พ.ศ.2551
อาจารยป์ ระจาแผนกอุตสาหกรรม โรงเรียนบวั งามวทิ ยา อุบลราชธานี พ.ศ.2531-
พ.ศ.2539
อาจารยแ์ ผนกเทคนิคพ้ืนฐาน วทิ ยาลยั เทคนิคสระบุรี พ.ศ.2530-พ.ศ.2531
ฝ่ ายซ่อมบารุง หอกลน่ั แอลกอฮอล์ บ.ไพโอเนียร์ อินดสั ตรีจากดั นวนครปทุมธานี
พ.ศ.2530-พ.ศ.2530

ประวตั ิการทาวจิ ยั

สาขาวชิ าการที่มีความชานาญพิเศษ (แตกตา่ งจากวฒุ ิการศึกษา) ระบุสาขาวชิ าการ
Materials, Material Testing, Metallurgy , Heat treatment of Metals , Air Duct
design

36

ประสบการณ์ที่เก่ียวขอ้ งกบั การบริหารงานวิจยั ท้งั ภายในและภายนอกประเทศ โดย
ระบุสถานภาพในการทาการวิจัยว่าเป็ นผู้อานวยการแผนงานวิจัย หัวหน้า
โครงการวจิ ยั หรือผรู้ ่วมวจิ ยั ในแตล่ ะ ผลงานวจิ ยั

ผอู้ านวยการแผนงานวจิ ยั : ช่ือแผนงานวจิ ยั
หวั หนา้ โครงการวจิ ยั : ชื่อ โครงการวจิ ยั

“การพฒั นาเตาอบโลหะควบคุมดว้ ย PLC” ทุนวจิ ยั เขตพ้ืนท่ีภาคพายพั
งานวจิ ยั ที่ทาเสร็จแลว้ :

1. การพฒั นาเตาอบโลหะควบคุมดว้ ย
แหล่งทุน : ทุนวจิ ยั เขตพ้ืนที่ภาคพายพั

2.การพฒั นาเคร่ืองข้ึนรูปขา้ วแต๋นแบบกลมและแบบส่ีเหล่ียม
แหล่งทุน: สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งประเทศไทย

3.การศึกษาการอบแหง้ ลาไยดว้ ยวธิ ีเยอื กแขง็ (Freeze drying)
แหล่งทุน : ทุนส่วนตวั

4.การพฒั นาเคร่ืองตดั โลหะแผน่ ดว้ ยการใชไ้ ฮโดรเจนท่ีแยกจากน้าดว้ ยกระแสไฟฟ้า
แหล่งทุน : ทุนส่วนตวั

ผรู้ ่วมวจิ ยั :
1.การออกแบบและพฒั นาเคร่ืองอดั รีดพอลีเมอร์แบบเกลียวหนอนเด่ียวเพื่อรีไซเคิลแผน่

พลาสติกฟี ลม์ ใสทวั่ ไป
แหล่งทุน: กระทรวงวทิ ยาศาสตร์
2.การสร้างบทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนวชิ าเขียนแบบช่างกลโรงงาน
แหล่งทุน : ทุนวจิ ยั เขตพ้ืนท่ีภาคพายพั

ประวตั ิการบริการวชิ าการ
หวั หนา้ โครงการ CF โดยศูนยส์ ่งเสริมอุตสาหกรรมภาค1 ร่วมกบั หจก.ขา้ วแต๋นทวีพรรณ ปี 2551

เรื่อง “การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตขา้ วแต๋น”

ที่ปรึกษาการทดสอบวสั ดุ aluminum Extrusion บ. SUS(Thailand) จากดั จงั หวดั ลาพูน
ที่ปรึกษาการทดสอบวสั ดุ เสาไฟส่องสวา่ งอลูมิเนียม เทศบาลเมืองฝาง
ที่ปรึกษาการทดสอบวสั ดุความแขง็ แรงของโลหะแผน่ ผลิตตูค้ อนโทรล บ.Egiztech จากดั เชียงใหม่


Click to View FlipBook Version