The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by waraporn taorach, 2020-09-19 22:47:08

SBM-ปโท-แก้ไข

SBM-ปโท-แก้ไข

สมาชิกในกลุม่ ที่ 6

1.นางวราภรณ์ จติ ชาญวิชัย รหสั 6314202007
2.นางสาวเพญ็ ลกั ษณ์ พลเกษตร รหัส 6314202014
3.นายธนาวฒุ ิ พงศ์ทองเมอื ง รหสั 6314202015
4.นางกิตตมิ า คงเพชร รหัส 6314202028
5.นางสาวนฤมล เดชะ รหสั 6314202029

เ ร่ื อ ง ก า ร บ ริ ห า ร ค ว า ม เ ส่ี ย ง แ ล ะ
ก า ร บ ริ ห า ร โ ด ย ใ ช้ โ ร ง เ รี ย น เ ป็ น ฐ า น

1 ความหมายของความเสี่ยง

ความเสี่ยงคือ โอกาสท่ีจะเกิดความผิดพลาดหรือ
เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่ทาให้งานไม่ประสบความสาเร็จ
ซง่ึ อาจจะเกิดในอนาคต สร้างความเสยี หายต่อเป้าหมายของ
องค์กรเพื่อเป็นการป้องกันความเสียหายหรือลดผลกระทบที่
เกดิ กบั องคใ์ ห้ เกดิ นอ้ ยทส่ี ุดจึงมกี ารบรหิ ารความเสยี่ ง

2 ประเภทของความเสี่ยง

ความเส่ียงแบง่ ออกเป็น 4 ด้าน
1. ความเสย่ี งดา้ นกลยทุ ธ์ (StrategicRisk: S)
2. ความเสยี่ งด้านการดาเนนิ งาน (OperationalRisk: O
3. ความเส่ียงดา้ นการเงนิ (FinancialRisk: F
4. ความเส่ียงด้านกฎระเบียบ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

(Compliance Risk : C) หรอื (Event Risk)

3 ความหมายการบริหารความเสี่ยง (RISK
MANAGEMENT)

การกาหนดแนวทางและกระบวนการในการบ่งช้ี วิเคราะห์
ประเมิน จัดการ และติดตามความเสี่ยงที่เก่ียวข้องกับกิจกรรม
หน่วยงาน หรือกระบวนการเนินงานขององค์กร รวมทั้งการ
กาหนดวิธกี ารในการบรหิ ารและควบคุมความเสยี่ งให้อยใู่ นระดบั ท่ี
ผบู้ ริหารระดับสงู ยอมรบั ได้

4 ความสาคัญของการบริหารความเส่ียง

1. เป็นการสร้างฐานข้อมูลความรู้ท่ีมีประโยชน์ต่อการบริหารและการ
ปฏบิ ัตงิ าน
2. ช่วยสะท้อนใหเ้ ห็นภาพรวมของความเสีย่ งตา่ ง ๆ
3. เป็นเคร่อื งมือสาคญั ในการ
4. ชว่ ยให้การพัฒนาองค์กรเป็นไปในทศิ ทางเดยี วกัน
5. ช่วยให้การพัฒนาการบริหารและจัดสรรทรัพยากรเป็นไปอย่างมี
ประสิทธภิ าพ และประสทิ ธิผล

5 กระบวนการบริหารความเสี่ยง

หลักการบริหารความเสย่ี ง
หลกั การบรหิ ารความเสยี่ งประกอบดว้ ยพ้นื ฐาน 2 ประการคือ
❑ หลกั การ ORCA
❑ ปจั จัยทท่ี าให้การนากรอบการบรหิ ารความเส่ยี งไปปฏบิ ัติประสบ

ผลสาเร็จ



1.6 ข้ันตอนการบริหารความเส่ียง

เพื่อให้สถานศึกษามีระบบใน
การบริหารความเส่ียง โดยการบริหาร
ปัจจัยและการควบคุมกิจกรรมรวมท้ัง
กระบวนการดาเนนิ งานตา่ ง ๆ

การประเมนิ ผล การสรา้ งความมี การคน้ หาความ
การกากับดูแล ส่วนรว่ มของคน เสย่ี งและระบุ
ในสถานศึกษา ความเสี่ยง

ขั้นตอนการ
บริหารความ

เสี่ยง

เลือกวธิ กี าร การประเมิน
จดั การกบั ความ ความเสี่ยง

เสย่ี ง

ประโยชน์ของการบริหารความเสี่ยง

1. ช3ว่. ยชสว่ ยรปา้ งกโปอ้อกงากสาแรลปะฏเปิบัตน็ ิงสาว่ นนปหรนบั ่ึงปขรองุงรกะาบรบงราหิ นารแงลาะนการวางแผน

2. ตระหนกั ถงึ ภัยคุกคามทีย่ ังมาไม่ถงึ และลดการสญู เสียทอ่ี าจ
เกิดขึน้ ได้
3. ชว่ ยปกป้องการปฏบิ ตั งิ าน ปรับปรงุ ระบบงาน และการ
วางแผน

4. สรา้ งฐานขอ้ มูลความร้ทู ่ีมปี ระโยชนต์ ่อการบริหาร และการ
ปฏบิ ัติงานในองค์กร

5. ชว่ ยสะท้อนใหเ้ ห็นภาพรวมของความเส่ียงต่าง ๆ ทสี่ าคัญ
ขององค์กรได้ทัง้ หมด

ประโยชน์ของการบรหิ ารความเส่ยี ง

6. ส3ร.้าชงค่วยณุ ปคก่าปใหอ้ ง้กกาารรทปาฏงิบานัติงแาลนะปสรบั้างปภรางุ รพะลบกั บษงณานท์ ี่ดแลใี หะอ้กงารควก์ ารงแผน

7. เปน็ เคร่ืองมือทสี่ าคญั ในการบรหิ ารงานและช่วยใหก้ ารพัฒนา
องค์กรเปน็ ไปในทศิ ทางเดียวกนั
8. ช่วยใหก้ ารพฒั นาการบรหิ ารและจดั สรรทรพั ยากรเปน็ ไป
อยา่ งมีประสิทธิภาพและประสทิ ธิผล
9. สนบั สนนุ การตัดสินใจของผู้บริหารและมองเปา้ หมายใน
ภาพรวม

10. ชว่ ยใหอ้ งค์กรสามารถบรรลุเปา้ หมาย

ตวั อยา่ ง

(1) (4) (5) (6) (7) (8) (9)
ความเสยี่ ง หน่วยงาน
ภารกิจตามกฎหมายทจ่ี ัดตั้งหน่วยงานของ ความเส่ียง การควบคมุ ภายใน การประเมนิ ผล ท่ียงั มีอยู่ การปรบั ปรงุ ท่ีรบั ผิดชอบ
รัฐหรอื ภารกจิ ตามแผนการดาเนินการหรือ
ภารกิจอน่ื ๆ ที่สาคัญของหนว่ ยงานของรฐั / ทม่ี อี ยู่ การควบคมุ การควบคุม
ภายใน ภายใน
วัตถปุ ระสงค์

งานบริหารงบประมาณ

งบประมาณในการบริหารจดั การ งบประมาณมี ใชจ้ า่ ยตามลาดับ มกี ารดาเนินการ งบประมาณไม่ ลดจานวน 1. ผู้บริหาร

วัตถปุ ระสงค์ ไม่เพยี งพอใน ความจาเปน็ ปรับ ควบคมุ การใช้ เพียงพอในการ โครงการ/ 2. หน.งาน
กิจกรรมที่ซ้าซอ้ น งบประมาณ
๑. เพือ่ ให้การบริหารงบประมาณเปน็ ไป การบริหาร ลดค่าใช้จา่ ยที่ จา่ ยงบประมาณ บรหิ ารจดั การ และใช้จา่ ยตาม
ตามวตั ถุประสงค์ละเพยี งพอ
จัดการ สน้ิ เปลือง ตามความจาเป็น ตามโครงการ/

ดาเนนิ การ ยังไมส่ ามารถลด กิจกรรม ความจาเป็น

ตามกจิ กรรม ความเสย่ี งไดค้ รบ

โครงการ ตามวตั ถปุ ระสงค์

ความเป็ นมาและความหมาย

การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็ นฐาน

(School - Based Management : SBM)

ความเป็ นมาของแนวคดิ การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็ นฐานได้รับ
อทิ ธิพลมาจากวงการธุรกจิ และอตุ สาหกรรมทปี่ ระสบผลสาเร็จ โดยมี
หลกั การ วธิ ีการ และกลยุทธ์ ในการทาให้องค์กร การมปี ระสิทธิภาพในการ
ทางาน ทาให้ผลการปฏบิ ัตงิ านสูงขึน้ มคี ุณภาพ สร้างกาไร และสร้างความ
พงึ พอใจแก่ลกู ค้า และผู้ทเ่ี กยี่ วข้องมากขนึ้ โดยเน้นให้มีการทางานแบบมสี ่วน
ร่วมและมอบอานาจให้มีการตัดสินใจเบด็ เสร็จทส่ี าขา หรือหน่วยงานย่อยใน
ประเทศหรือเมืองต่างๆ

ความเป็ นมาและความหมาย

สรุปว่า

การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็ นฐาน
(School - Based Management : SBM)

หมายถึง แนวคิดการกระจายอานาจการจดั การศึกษา จากส่วน
กลางไปยงั สถานศึกษา โดยตรงใหส้ ถานศึกษามีอานาจหนา้ ที่ความ
รับผดิ ชอบและความคล่องตวั ในการบริหารจดั การมากท่ีสุด

แนวคดิ เกยี่ วกบั
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็ นฐาน

กรอบแนวคดิ การบริหาร

กรอบแนวคิดที่มุ่งให้สถานศึกษาเป็ นองคก์ รหลกั ในการจดั การศึกษา
อย่างมีคุณภาพ ภายใต้กรอบของกฎหมายที่กาหนด โดยมีการกระจาย
อานาจการตัดสินใจท่ีจะพัฒนานโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ
เป้าประสงค์ของสถานศึกษา และร่วมมือดาเนินการท้ังด้านวิชาการ
งบประมาณ บุคคล และบริหารทวั่ ไป โดยบุคคลที่มีส่วนได้ส่วนเสีย อย่าง
เท่าเทียมกนั มุ่งเน้นผลผลิต ผลลพั ธ์ และผลกระทบท่ีเกิดกบั ผูเ้ รียนเป็ น
สาคญั ภายใตก้ รอบการมีส่วนร่วมและการตรวจสอบของผูม้ ีส่วนไดส้ ่วน
เสีย

แนวคดิ การบริหาร

หลกั สาคญั ในการบริหารแบบโรงเรียนเป็ นฐาน คือ
1. การกระจายอานาจการตัดสินใจไปสู่หน่วยปฏบิ ัตใิ ห้มากขนึ้
2. การมีส่วนร่วมของผู้เกยี่ วข้อง
3. มีอสิ ระในการบริหารจดั การตนเองอย่างมอี สิ ระภายใต้กรอบ
ของกฎหมาย
4. มอี งค์กรอสิ ระคอยตรวจสอบด้านคุณภาพ
5. มีมาตรฐานการจัดการศึกษามุ่งให้เกดิ ผลสาเร็จแก่สถานศึกษา

หลกั การพืน้ ฐานเกยี่ วกบั
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็ นฐาน

หลกั การพืน้ ฐาน

หลกั การสาคญั ของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็ นฐาน
ไว้ 5 ประการ ได้แก่

1. หลกั การกระจายอานาจ
2. หลกั การมีส่วนร่วม
3. หลกั การคืนอานาจจัดการศึกษาให้ประชาชน
4. หลกั การบริหารตนเอง
5. หลกั การตรวจสอบและถ่วงดลุ

รูปแบบการบริหาร
โดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน

9/20/2020

รปู แบบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐาน

มี 4 รูปแบบ ได้แก่
1)รปู แบบที่มผี ู้บรหิ ารโรงเรียนเป็นหลกั (Administration Control

SBM)
2) รปู แบบทม่ี คี รเู ป็นหลัก (Professional Control SBM)
3) รูปแบบทีม่ ชี มุ ชนมบี ทบาทหลัก (Community Control SBM)
4) รูปแบบทค่ี รูและชุมชนมีบทบาทหลัก (Professional

Community Control SBM)

9/20/2020

1) รูปแบบทม่ี ผี ู้บรหิ ารโรงเรียนเปน็ หลัก
(Administration Control SBM)

ผบู้ ริหารเปน็ ประธานคณะกรรมการ สว่ นกรรมการอน่ื ๆ ได้
จากการเลือกต้ังหรือคัดเลอื กจากกลมุ่ ผู้ปกครอง ครู และชุมชน
คณะกรรมการมีบทบาทให้คาปรึกษา แต่อานาจการตัดสนิ ใจยงั คง
อย่ทู ีผ่ บู้ ริหารโรงเรยี น

9/20/2020

2) รปู แบบที่มคี รูเป็นหลกั (Professional Control
SBM)

เกิดจากแนวคิดท่ีว่า ครูเป็นผู้ใกล้ชิดกับนักเรียนมากท่ีสุด
ย่อมรู้ปัญหาได้ดีกว่า และสามารถแก้ปัญหาได้ตรงจุด ตัวแทน
คณะครูจะมีสัดส่วนมากที่สุดในในคณะกรรมการ โรงเรียน
ผู้บริหารยังเป็นประธานคณะกรรมการ โรงเรียน บทบาทของ
คณะกรรมการโรงเรียนเปน็ คณะ กรรมการบริหาร

9/20/2020

3) รปู แบบท่มี ชี มุ ชนมบี ทบาทหลกั (Community Control SBM)

แนวคิดสาคญั คือ การจดั การศึกษาควรตอบสนองความ ตอ้ งการและ
ค่านิยมของผูป้ กครองและชุมชนมากท่ีสุด ตวั แทนของผปู้ กครอง และชุมชน
จึงมีสัดส่วนใน คณะกรรมการโรงเรียนมากที่สุด ตัวแทนผูป้ กครองและ
ชุมชนเป็ นประธานคณะกรรมการ โดยมีผบู้ ริหารโรงเรียน เป็ นกรรมการและ
เลขานุ การ บทบาท หน้าที่ของ คณะกรรมการ โรงเรี ยนเป็ นคณะ
กรรมการบริหาร

9/20/2020

4) รูปแบบทีค่ รแู ละชมุ ชนมบี ทบาทหลกั (Professional
Community Control SBM)

แนวคิดเรื่องน้ีเชื่อถือว่า ทั้งครูและผู้ปกครองนักเรียนต่างมีความสาคัญ
ในการจัดการศกึ ษาใหแ้ กน่ กั เรียน เน่อื งจากท้ัง 2 กลุ่มต่างใกล้ชิดนักเรียน มาก
ที่สุด รับรู้ปัญหาและความต้องการได้ดีท่ีสุด สัดส่วนของครูและผู้ปกครอง
(ชุมชน) ในคณะกรรมการโรงเรียนจะมีเท่า ๆ กัน แต่มากกว่าตัวแทน กลุ่ม อ่ืน
ๆ ผู้บริหารโรงเรียนเป็นประธาน บทบาทหน้าที่ของ คณะกรรมการโรงเรียน
เป็นคณะกรรมการบรหิ าร

9/20/2020

การนารูปแบบ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็ นฐาน

มาใช้ในประเทศไทย

เหตุผลในบริหารโรงเรียนโดยใช้โรงเรียนเป็ นฐาน

การเปลย่ี นแปลงและความเคลื่อนไหวในการจดั การศึกษา

ประการท่ี 1. รัฐบาลได้ออกพระราชกฤษฎกี า
ว่าด้วยหลกั เกณฑ์และวธิ ีการบริหารกจิ การบ้านเมืองทด่ี ี พ.ศ. 2546

ประการท่ี 2 การนาการบริหารจัดการโรงเรียนฐาน (School Based

Management: SBM) มาใช้ในการศึกษาข้นั พืน้ ฐานซ่ึงหลกั การ
บริหารโรงเรียนสอดคล้องกบั หลกั การของธรรมาภบิ าล เกือบท้งั หมดจงึ
เป็ นการสอดรับกบั พระราชบญั ญตั ิว่าด้วยหลกั เกณฑ์และวธิ ีการบริหาร
กจิ การบ้านเมืองทดี่ ี พ.ศ. 2546

การเปลยี่ นแปลงและความเคล่ือนไหวในการจดั การศึกษา

ประการที่ 3 ตามทมี่ ี พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
และแก้ไขเพม่ิ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 39 ซ่ึงบญั ญตั ิไว้ว่า

มาตรา 39 กาหนดให้กระทรวงกระจายอานาจการบริหาร
และการจดั การศึกษาท้งั ด้านวชิ าการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล
และการบริหารทัว่ ไป ไปยงั คณะกรรมการ และสานักงานเขตพืน้ ทก่ี าร
ศึกษาและ สถานศึกษาในเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาโดยตรง

การเปลยี่ นแปลงและความเคล่ือนไหวในการจดั การศึกษา

และใน พ.ร.บ. ระเบียบบริหารกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546
มาตรา 35 บัญญตั ิไว้ว่า “สถานศึกษาท่จี ัดการศึกษาข้นั พืน้ ฐานตาม
มาตรา 34 (2) เฉพาะทเี่ ป็ นโรงเรียนของรัฐมฐี านะเป็ นนิตบิ ุคคล เม่ือมี
การยุบเลกิ สถานศึกษาตามวรรคหนึ่ง ให้ความเป็ นนิตบิ ุคคลสิ้นสุดลง”

ลักษณะสาคัญของโรงเรียน ท่ีบริหารงานแบบ SBM

1. บุคลากรทุกคนมสี ่วนร่วมในการกาหนด วสิ ัยทัศน์ พนั ธกจิ ของโรงเรียน
2. ผู้บริหารมกี ารบริหารงานแบบเกือ้ หนุน
3. มกี ารพฒั นาท้งั ระบบอย่างต่อเน่ือง (Whole School Approach)

4. ผู้นามีการกระตุ้นบุคลากรในโรงเรียน
5. การบริหารเชิงกลยุทธ์ เน้นการแก้ปัญหาได้ทันการ
6. เน้นการทางานเป็ นทมี
7. ผู้ปกครองมีส่วนในการสนับสนุนโรงเรียนอย่างเต็มที่
8. ประเมินผลท้งั ระบบ ( Input , Process ,Output)

การนา SBM สู่การปฏบิ ัติ

สร้างความตระหนักถงึ ความสาคญั ของการมสี ่วนร่วม
การพฒั นาและให้ความรู้แก่บุคลากร

ร่วมกนั วเิ คราะห์สภาพโรงเรียน (SWOT) เพ่ือกาหนดวสิ ัยทศั น์โรงเรียน

ใช้ PDCA ในการบริหารงาน

แล้วให้มสี ่วนร่วมตรงไหน ?

1. งานบริหารวิชาการ
2. งานบริหารบุคลากร
3. งานบริหารงบประมาณ
4. งานบริหารท่ัวไป

9/20/2020



การวางแผน (Plan)

กระบวนการมสี ว่ นรว่ มในการวางระบบ
แผนงาน/โครงการ ขั้นตอนมวี ิธดี าเนินงาน
แผนการกากับ ติดตาม

9/20/2020

การดาเนินการ (DO)

มีส่วนร่วมสนับสนุนการปฏิบตั ิตามแผนทีก่ าหนด
• ร่วมรบั ผิดชอบโครงการ/กิจกรรม
• * ร่วมประเมินผล กากับ ติดตาม

9/20/2020

การตรวจสอบและ
ทบทวน (Check)

• ร่วมกนั ตรวจสอบและประเมินตนเอง
• ผลัดเปลี่ยนกันประเมินภายในระหว่างปฏิบตั ิงาน
• บันทึกผลการตรวจสอบ ปัญหาอปุ สรรค แนวทางแก้ไข
• สรุปผลการประเมินบนั ทึกข้อมูลในระบบสารสนเทศ

9/20/2020

การปรับปรุง พฒั นาระบบ
(ACT)

• ร่วมนาปัญหา อุปสรรค มาวิเคราะห์หาแนวทางแก้ไข
• ดาเนินการแก้ไข
• บันทึกผลการพฒั นาปรับปรงุ
• เปรียบเทียบผลกบั เป้าหมาย
• สรปุ ผลการประเมินผลการปรับปรุง และนาข้อมลู ไป
ปรับปรงุ ข้อมูลสารสนเทศ

9/20/2020

แบบของคณะกรรมการโรงเรียน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็ นฐาน

แบบของการบริหารงานโรงเรียน

การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็ นฐาน เป็ นการบริหารงานโดย
คณะกรรมการโรงเรียน (School Board )
หรือสภาโรงเรียน (School Council)

อานาจหน้าทข่ี องคณะกรรมการ
- ตัดสินใจเกยี่ วกบั เร่ืองการกาหนดเป้าหมายของโรงเรียน
- การกากบั สนับสนุน และส่งเสริมการบริหารงาน

วชิ าการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทวั่ ไป

องค์ประกอบของคณะกรรมการ

คณะกรรมการโรงเรียน โดยทวั่ ไปจะประกอบด้วย
- ตัวแทนผู้ปกครอง
- ตัวแทนครู
- ตวั แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- ตวั แทนองค์กรชุมชน
- ตวั แทนศิษย์เก่า
- ผู้ทรงคุณวุฒิ
- ผู้บริหารโรงเรียน

รูปแบบของคณะกรรมการ

แบบ (Forms) ของคณะกรรมการโรงเรียน ในการบริหาร
โดยใช้โรงเรียนเป็ นฐาน ที่สาคญั อย่างน้อย 4 แบบ ได้แก่
1. แบบทม่ี ผี ู้บริหารของโรงเรียนเป็ นหลกั
2. แบบทคี่ รูเป็ นหลกั
3. แบบทชี่ ุมชนเป็ นหลกั
4. แบบทค่ี รูและชุมชนเป็ นหลกั

ความสาคญั ของ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็ นฐาน

ความสาคญั ของการบริหาร

ความสาคญั ของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็ นฐานอยู่ทก่ี าร
บริหาร โรงเรียน ให้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลยงิ่ ขนึ้
เปิ ดโอกาส ให้สมาชิกทุกคนในโรงเรียนมีส่วนร่วมในการปรับปรุง
การศึกษา และเปิ ดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ

ปัจจยั ทเ่ี อือ้ ต่อความสาเร็จ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็ นฐาน

โรงเรียนที่บริหารโดยใช้โรงเรียนเป็ นฐานต้องมกี ารปรับ

โครงสร้างองค์การของโรงเรียนใหม่ เพ่ือให้บุคคลทเี่ กยี่ วข้อง
กบั โรงเรียนมี “อานาจหน้าทที่ ่แี ท้จริง” (Real Authority)
เกย่ี วกบั งบประมาณ บคุ ลากรและหลกั สูตร โดยมเี ปา้ หมาย
เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีประสิทธิผลสูงขึน้

ปัจจัยทเ่ี อือ้ ต่อความสาเร็จ

ปัจจยั ท่เี อือ้ ต่อความสาเร็จของการบิหารโดยใช้โรงเรียนเป็ นฐาน
ได้แก่

1. การกระจายอานาจให้โรงเรียนอย่างแท้จริง
2. การบริหารแบบมสี ่วนร่วม
3. การพฒั นาบุคลากร
4. การใช้สารสนเทศเพ่ือการบริหาร
5. ผู้บริหารโรงเรียนมีความรู้ความสามารถ
6. วสิ ัยทัศน์ร่วมทช่ี ัดเจน
7. การให้รางวลั อย่างเหมาะสม

ปัญหาและอุปสรรคของ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็ นฐาน


Click to View FlipBook Version