The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Niyom Prathumma, 2022-11-10 21:24:06

CEIT-Annual2021

CEIT-Annual2021

รายงานประจำปงบประมาณ

ÁËÒÇ·Ô ÂÒÅÂÑ à·¤â¹âÅÂÕÊØùÒÃÕ



สารบญั /CONTENTS

สารจากผู้อำ�นวยการ 04

ปณธิ าน วิสัยทัศน์ พันธกิจ 06

ภารกจิ ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นา 07

คา่ นยิ ม 08

ประวัตคิ วามเปน็ มา 09

โครงสรา้ งองคก์ ร 10

โครงสร้างการบริหารงาน 11

คณะกรรมการประจำ�ศนู ย์นวตั กรรมและเทคโนโลยีการศกึ ษา 12

ภาระหน้าท่แี ละความรบั ผดิ ชอบ 13

บคุ ลากร 15

วฒุ ิการศกึ ษา 16

การพฒั นาบคุ ลากร 16

การสง่ บคุ ลากรเข้ารับการฝกึ อบรม สมั มนา การประชุมวชิ าการฯ 17

รางวัลเกียรตยิ ศเชิดชทู ี่บุคลากรไดร้ บั 18

มาตรการป้องกันและแนวทางแกป้ ญั หาการทุจริต 18

การเงินและงบประมาณ 19

ผลการดำ�เนินงานตามแผนปฏิบัติการ 23

ผลการดำ�เนินงานตามภารกจิ และงานสนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การองคก์ ร 24

ภาพบคุ ลากร 37

PAGE 4 CEIT ANNUAL REPORT 2021

สารจากผู้�อำ�นวยการ

(1 ตุุลาคม 2563 - 30 กันั ยายน 2564)

ศููนย์์นวััตกรรมและเทคโนโลยีีการศึึกษา เป็็นหน่่วยงานสนัับสนุุนการเรีียน
การสอนที่่�สำำคััญและมีีบทบาทอย่่างมากในช่่วงวิิกฤติิการระบาดของโรคติิดเชื้�้อไวรััส
โคโรนา (COVID-19) ช่่วยสนัับสนุุนให้้ คณาจารย์์ นัักศึึกษา และบุุคลากรสามารถ
ปรัับตััวตามวิิถีี New Normal ส่่งผลให้้มหาวิิทยาลััยสามารถก้้าวผ่่านวิิกฤติิใน
สถานการณ์์ไม่่ปกติิได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ อาทิิ สนัับสนุุนการจััดการเรีียนการสอน
และการประเมิินผลออนไลน์์ผ่่าน SUT e-Learning สนัับสนุุนการศึึกษาตลอดชีีวิิต
ผ่่าน SUT X-lane และสื่�อ e-Courseware สนัับสนุุนการจััดประชุุมและจััดกิิจกรรม
ต่่าง ๆ ในรููปแบบออนไลน์์ รวมถึึงการประยุุกต์์ใช้้เทคโนโลยีีจัักรวาลนฤมิิต (Metaverse)
เพื่�อสนัับสนุุนการดำำเนิินการในทุุกมิิติิของมหาวิิทยาลััย ผมขอแสดงความยิินดีีกัับผู้�บริิหาร
ศููนย์์นวััตกรรมและเทคโนโลยีีการศึึกษาชุุดปััจจุุบััน และขอแสดงความชื่�นชมกัับบุุคลากรทุุก
ท่า่ นที่�ได้ทุ้่�มเทในการทำำงาน จนผลงานเป็น็ ที่�ประจักั ษ์แ์ ก่ป่ ระชาคมชาวมหาวิทิ ยาลัยั เทคโนโลยีี

(รองศาสตราจารย์์ ดร.ธรา อั่่�งสกุลุ )
อดีตี ผู้้�อำำนวยการศูนู ย์น์ วััตกรรมและเทคโนโลยีกี ารศึึกษา

CEIT ANNUAL REPORT 2021 PAGE 5

สารจากผู้�อำ�นวยการ

(1 ตุลุ าคม 2564 - ปััจจุบุ ััน)

ตลอดปีที ี่่�ผ่า่ นมา ศูนู ย์น์ วัตั กรรมและเทคโนโลยีกี ารศึกึ ษาทุ่�มเทในการปฏิบิ ัตั ิภิ ารกิจิ เพื่�อ
สนับั สนุนุ การเรียี นการสอนและการดำำเนินิ งานของมหาวิทิ ยาลัยั ผลการปฏิบิ ัตั ิงิ านในรายงาน
ประจำำปีฉี บับั นี้้เ� ป็น็ เครื่�องยืืนยันั ว่า่ ศูนู ย์น์ วัตั กรรมและเทคโนโลยีกี ารศึกึ ษาเป็น็ กลไกสำำคัญั ที่่�ทำำให้้
มหาวิทิ ยาลัยั เทคโนโลยีสี ุรุ นารีสี ามารถจัดั การเรียี นการสอนในภาวะวิกิ ฤตโรคติดิ เชื้อ�้ ไวรัสั โคโรนา
2019 (COVID-19) ได้อ้ ย่า่ งมีปี ระสิทิ ธิภิ าพเพิ่�มมากขึ้น�
ผู้้�บริหิ ารและบุคุ ลากรศูนู ย์น์ วัตั กรรมและเทคโนโลยีกี ารศึกึ ษา ยังั คงมุ่�งมั่�นในการปฏิบิ ัตั ิิ
ทุกุ ภารกิจิ เพื่�อยกระดับั การสนับั สนุนุ การจัดั การเรียี นการสอนของมหาวิทิ ยาลัยั ส่ง่ เสริมิ การ
ศึึกษาตลอดชีีวิิต และพััฒนานวััตกรรมเพื่�อการศึึกษาของมหาวิิทยาลััยและของประเทศ เพื่�อ
ประโยชน์แ์ ก่น่ ักั ศึกึ ษา ผู้้�เรียี น อาจารย์์ และมหาวิทิ ยาลัยั เพื่�อก้า้ วสู่่� SUT 2025 Innovation
and Sustainable University

(อาจารย์์ ดร.สรชัยั กมลลิ้้�มสกุลุ )
รักั ษาการแทนผู้้�อำำนวยการศููนย์์นวัตั กรรมและเทคโนโลยีีการศึึกษา

PAGE 6 CEIT ANNUAL REPORT 2021

ปณิิธาน

ศูนู ย์์นวัตั กรรมและเทคโนโลยีีการศึึกษา
จ ะ ดำำ ร ง ค ว า ม เ ป็็ น เ ลิิ ศ ใ น ก า ร พัั ฒ น า คุุ ณ ภ า พ สื่ � อ ก า ร ศึึ ก ษ า ใ ห้้ ไ ด้้
ม า ต ร ฐ า น เ พื่ � อ พัั ฒ น า สู่ � ก า ร เ ป็็ น อ ง ค์์ ก ร แ ห่่ ง ก า ร เ รีี ย น รู้ �

วิิสัยั ทััศน์์

ศูนู ย์์นวััตกรรมและเทคโนโลยีีการศึึกษาเป็น็ เลิศิ ในการผลิิตและพััฒนา
สื่�อการศึึกษาสนับั สนุุนการเรีียนรู้�ในศตวรรษที่่� 21

พันั ธกิิจ

ศูนู ย์น์ วัตั กรรมและเทคโนโลยีกี ารศึกึ ษา เป็น็ หน่ว่ ยงานหลักั ในการผลิติ และ
พัฒั นานวัตั กรรมสื่�อสนับั สนุนุ การเรียี นการสอน พัฒั นาระบบการเรียี น
การสอนโดยใช้เ้ ทคโนโลยีสี ารสนเทศ สนับั สนุนุ การฝึกึ ประสบการณ์ข์ั้น� สูงู
สำำหรัับนัักศึึกษา และผลิิตสื่�อประชาสััมพัันธ์์มหาวิิทยาลััยในทุุกรููปแบบ
โดยยึึดหลักั “รวมบริกิ าร ประสานภารกิิจ”

CEIT ANNUAL REPORT 2021 PAGE 7

ภารกิิจ

ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศกึ ษา มภี ารกิจหลัก 6 ประการ ดงั นี้
1. ผลิติ และพััฒนาสื่�อสนัับสนุนุ การเรีียนการสอน
2. พัฒั นาระบบการเรีียนการสอนโดยใช้เ้ ทคโนโลยีสี ารสนเทศ
3. วิิจัยั และพัฒั นานวััตกรรมสื่�อการเรียี นการสอน
4. ฝึึกประสบการณ์์ขั้�นสููงให้้แก่น่ ักั ศึกึ ษาสำำหรัับการเรียี นการสอนหลักั สููตร
วิิทยาการสารสนเทศ
5. ผลิติ สื่�อเพื่�อการประชาสััมพัันธ์์
6. ดำำเนิินงานสำำนักั พิิมพ์์

ยุทุ ธศาสตร์ก์ ารพัฒั นา

แผนยุุทธศาสตร์์การพััฒนาศููนย์น์ วััตกรรมและเทคโนโลยีีการศึกึ ษา พ.ศ. 2561 - 2564
มียี ุุทธศาสตร์์ 4 ประการ ได้้แก่่
1. การพัฒั นาสื่�อการศึกึ ษาเพื่�อสนับั สนุุนการเรียี นรู้�ในศตวรรษที่่� 21
2. การประยุุกต์ใ์ ช้้เทคโนโลยีดี ิจิ ิิทััลเพื่�อเพิ่�มศักั ยภาพการเรีียนรู้�ในศตวรรษที่่� 21
3. การพัฒั นาศูนู ย์น์ วััตกรรมและเทคโนโลยีกี ารศึกึ ษาให้้เป็็นหน่่วยงานคุุณภาพ
4. การสร้้างเครืือข่่ายความร่ว่ มมืือด้า้ นนวััตกรรมและเทคโนโลยีีการศึึกษา

PAGE 8 CEIT ANNUAL REPORT 2021

THE CENTER FOR EDUCATIONAL INNOVATION AND TECHNOLOGY

ค่่านิยิ ม

C Creativity สรา้ งสรรค์

ควาคิริ ิ�ริ่�ม่ ร้า้ งสรค์�ก้�าทัันเทคโนโยี�มุ่��งแสวงหาควารู้��วิธิ ีกี ารและวัตั กรรม
เพื่� อสนั�บสนุ�นการทำำงาน

E Efficiency ประสิทธิภาพ

ความสามารถที่��ทําาให้�เกิ�ดผลในการงานอย่�างมี�ประสิ�ทธิ�ภาพ
โดยคำ�นึ�งถึ�งความประหยั�ด คุ้��มค่�า รวดเร็ว� ตรงเวลา และมี�คุ�ณภาพ

Intention & Development มงุ่ มน่ั พัฒนา

I ความุ่��มั่�น่ ตั้�้งใจ พื่�ก่ ้�าสู่��ป้�าหมายห่�งความสำ�ร็็จ รวถึ�งความีรี ะบี�ยวินิ ัยั
ในการทำำงาน และการพั�ฒนางานบริ�การที่�เปี่��ยมด้�วยคุ�ณภาพ

T Teamwork ทำ�งานเปน็ ทีม
การทำ�งานป็ท็ ีมี ร่�วคิดิ ร่�วมทำ�ร่�วมก้ป้ ัญั หามีีน้ำ�ำใจ ห้�กีียติิซึ่��กัันแลกััน
และพร้�อมจะแลกเปลี่� ยนเรี�ยนรู้�� โดยคำ�นึ�งถึ�งผลประโยชน์�ของส่�วนรวมเป็�นสำ�คั�ญ

CEIT ANNUAL REPORT 2021 PAGE 9

ประวัตั ิคิ วามเป็น็ มา

Background

ศููนย์์นวััตกรรมและเทคโนโลยีีการศึึกษา จััดตั้้�งโดยการบููรณาการทรััพยากรบุุคคล อุุปกรณ์์เครื่ �องมืือ
และเทคโนโลยีี ที่่�เกี่ �ยวข้้องของโครงการการศึึกษาไร้้พรมแดน ที่่�มีีภารกิิจด้้านการวางแผนเตรีียมการ ดำำเนิิน
การผลิิต และประเมิินชุุดสื่�อประสมสำำหรัับการศึึกษาไร้้พรมแดนในสาขาวิิชาต่่าง ๆ และ โครงการพััฒนาและ
ผลิิตสื่�อการศึึกษา ที่่�มีีภารกิิจด้้านการผลิิตและพััฒนาสื่�อการเรีียนการสอน และผลิิตสื่�อเพื่่�อการประชาสััมพัันธ์์
รวมทั้้�งเป็็นห้้องปฏิิบััติิการเพื่่�อฝึึกประสบการณ์์ขั้้�นสููงให้้แก่่นัักศึึกษาหลัักสููตรวิิทยาการสารสนเทศตามข้้อกำำหนด
มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีสุุรนารีีว่่าด้้วย การจััดตั้้�ง ศููนย์์นวััตกรรมและเทคโนโลยีีการศึึกษา พ.ศ. 2551 ตั้้�งแต่่
วันั ที่่� 11 มิถิ ุุนายน พ.ศ. 2551 โดยมีีหน้้าที่�เป็น็ หน่่วยงานกลางของมหาวิทิ ยาลััยในการผลิิตและพััฒนาสื่�อสนับั สนุนุ
การเรีียนการสอน การพััฒนาระบบการเรีียนการสอนโดยใช้้เทคโนโลยีีสารสนเทศการวิิจััยและพััฒนานวััตกรรม
สื่�อการเรียี นการสอนการฝึกึ ประสบการณ์ข์ ั้้น� สูงู ให้แ้ ก่น่ ักั ศึกึ ษาหลักั สูตู รวิทิ ยาการสารสนเทศ การผลิติ สื่�อเพื่่�อการ
ประชาสััมพันั ธ์ ์ การดำำเนิินงานสำำนัักพิิมพ์์และอื่�น ๆ ตามภารกิิจของมหาวิทิ ยาลัยั ภายใต้ห้ ลัักการบริหิ ารจััดการ
แบบ “รวมบริิการ ประสานภารกิจิ ”
ศูนู ย์น์ วัตั กรรมและเทคโนโลยีกี ารศึกึ ษาได้จ้ ัดั องค์ก์ รรองรับั การดำำเนินิ งานตามภารกิจิ ในด้า้ นการวางแผน
ออกแบบและพััฒนาสื่ �อการศึึกษา การผลิิตสื่ �อโสตทััศน์์ การผลิิตสื่ �อคอมพิิวเตอร์์ในรููปแบบออนไลน์์และออฟไลน์์
การผลิติ สื่�อสิ่�งพิมิ พ์ ์ การทดสอบประสิทิ ธิภิ าพและประเมินิ สื่�อ การวิจิ ัยั เพื่่�อพัฒั นาสื่�อให้ ้ มีคี ุณุ ภาพ การพัฒั นาระบบ
และบริิหารจััดการฐานความรู้้� การพััฒนาระบบการเรีียนการสอนผ่่านเครืือข่า่ ย เพื่�อเตรียี มความพร้อ้ มรองรับั การ
เรียี นการสอนการให้บ้ ริกิ ารการเรียี นการสอนผ่า่ นเครืือข่า่ ย และการให้บ้ ริกิ ารฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิกิ ารขั้้น� สูงู สำำหรับั นักั ศึกึ ษา
หลักั สูตู รวิิทยาการสารสนเทศ
จากการดำำเนิินงานของศููนย์์นวััตกรรมและเทคโนโลยีีการศึึกษา ได้้ส่่งผลให้้นัักศึึกษาสามารถศึึกษา
หาความรู้�จากสื่�อการเรีียนที่่�มีีคุุณภาพ และทบทวนบทเรีียนได้้สะดวกยิ่�งขึ้้�นโดยใช้้บริิการเรีียนผ่่านระบบเครืือข่่าย
ของมหาวิิทยาลััย นัักศึึกษาหลัักสููตรวิิทยาการสารสนเทศจะได้้รัับประสบการณ์์จากการฝึึกปฏิิบััติิด้้วยเครื่ �องมืือ
อุุปกรณ์์ขั้้�นสููงเทีียบเท่่าสถานประกอบการ นอกจากนี้้� ยัังสนัับสนุุนให้้คณาจารย์์ได้้พััฒนาสื่�อการเรีียนการสอน
ด้้วยเทคโนโลยีสี ารสนเทศเพื่่�อแบ่่งเบาภาระในการเตรีียมการสอน ส่ง่ ผลให้้คณาจารย์ม์ ีสีื่�อที่่�มีีคุุณภาพได้ม้ าตรฐาน
ใช้้ประกอบการสอนและมีีเวลาในการวิิจััยเพิ่่�มขึ้้�นจึึงถืือได้้ว่่าการดำำเนิินงานของศููนย์์นวััตกรรมและเทคโนโลยีีการ
ศึึกษา มีีส่่วนสำำคััญในการเพิ่่�มประสิิทธิิภาพการจััดการเรีียนการสอนของมหาวิิทยาลััย ทั้้�งยัังสะท้้อนภาพลัักษณ์์
ในการเป็็นผู้้�นำำด้้านนวััตกรรมและเทคโนโลยีีการศึึกษา ที่่�มีีความพร้้อมด้้านการผลิิตสื่ �อสนัับสนุุนการจััดการเรีียน
การสอน มีีฐานความรู้้�ที่่�มีีคุุณภาพเพื่่�อให้้ผู้�เรีียนเข้้าถึึงโดยไม่ม่ ีขี ้อ้ จำำกัดั และสามารถผลิติ สื่�อประชาสัมั พัันธ์ต์ าม
ภารกิจิ ของมหาวิิทยาลััยได้อ้ ย่า่ งมีคี ุณุ ภาพ

PAGE 10 CEIT ANNUAL REPORT 2021

โครงสร้้างองค์ก์ ร

ศููนย์์นวััตกรรมและเทคโนโลยีกี ารศึกึ ษา

½า† ยºรËÔ าร§าน·Ñวè ä»

§าน¸รØ การ
§านการà§ÔนáÅоสÑ ´Ø
§านáผน§านáÅЧº»รÐÁา³
§าน»รÐสาน§านáÅкรกÔ าร

½†ายวÔจÑยáÅоѲนาส×อè การÈÖกÉา

§านจ´Ñ รкºáÅÐออกẺส×èอการÈÖกÉา
§านวจÔ ÑยáÅлรÐàÁนÔ สอè× การÈÖกÉา
§านºรÔการáÅÐàผยá¾รส‹ อ×è การÈกÖ Éา
§Ò¹¨´Ñ ¡Òðҹ¤ÇÒÁÃÙŒ

½†Ò¼ÅÔµÊè×ͤÍÁ¾ÔÇàµÍÏ

§Ò¹¼ÅÔµÊÍ×è º·àÃÕ¹¤ÍÁ¾ÇÔ àµÍÏ
§านผÅµÔ สอ×è ผสÁ
§Ò¹¼ÅÔµÊ×èÍ¡ÃÒ¿¡

½Ò† Â¼ÅµÔ Ê×Íè âʵ·ÈÑ ¹

§Ò¹¼ÅÔµÇÕ´Ô·Ñȹ
§Ò¹¼ÅµÔ ´ŒÒ¹àÊÕ§
§านÈÔÅ»กรรÁ

½†Ò¼ÅÔµÊ×èÍâʵ·ÈÑ ¹

§าน¾²Ñ นารкº»¯ÔºµÑ กÔ าร
§Ò¹à·¤¹Ô¤áÅкÓÃ§Ø Ã¡Ñ ÉÒ
§Ò¹Ê¶Ò¹ÇÕ Ô·Â-Ø â·Ã·ÈÑ ¹
§Ò¹¼ÅµÔ Ê×èÍÍÔàÅ¡ç ·Ã͹ԡÊᏠºº¼ÊÁ¼ÊÒ¹

Êӹѡ¾ÁÔ ¾

§านวÔªาการ
§านการµÅา´

½า† ย¾Ñ²นานวµÑ กรรÁ

§าน¾²Ñ นานวѵกรรÁ
§านผÅµÔ สè×อ੾าзา§

CEIT ANNUAL REPORT 2021 PAGE 11

ศโูคูนรยง์์นสวรั้้ตั ากงกรรารมบแรลิหิะเาทรคงโานนโลยีีการศึกึ ษา

อธิการบดี

รองอธิการบดี
ฝา ยวชิ าการและประกันคุณภาพ

คณะกรรมการประจำศูนยฯ

ผอู ำนวยการ
รองผอู ำนวยการ

หวั หนาสำนกั งาน

หัวหนาฝา ย หวั หนา ฝา ย หวั หนาฝา ย หวั หนาฝา ย
บริหารงานทัว่ ไป ผลติ สอ่ื คอมพิวเตอร เทคนคิ วิศวกรรม พฒั นานวตั กรรม

• เจาหนา ท่ีบรหิ ารงานทวั่ ไป • นักเทคโนโลยีการศึกษา • วศิ วกร Lo
• พนกั งานธุรการ • เจา หนาทวี่ เิ คราะห • เจา หนาที่วิเคราะห
• นกั เทคโนโลยกี ารศึกษา
ระบบคอมพิวเตอร ระบบคอมพวิ เตอร • เจา หนา ท่วี ิเคราะห
• นายชางเทคนคิ
ระบบคอมพวิ เตอร

หวั หนา ฝาย หัวหนาฝา ย หัวหนา สำนักพมิ พ
วิจยั และพัฒนาส่อื การศกึ ษา ผลติ สอื่ โสตทศั น
• บรรณาธิการ
• นักเทคโนโลยีการศกึ ษา • นกั เทคโนโลยกี ารศึกษา • เจาหนาที่บริหารงานทัว่ ไป
• เจา หนา ที่วิเคราะหร ะบบคอมพวิ เตอร • พนักงานโสตทศั นปู กรณ
• นายชา งศิลป

PAGE 12 CEIT ANNUAL REPORT 2021

คปรณะะจำกำศรููรนมย์กน์ าวรััตกรรมและเทคโนโลยีกี ารศึึกษา

การดำ�เนินงานของศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษายึดหลักบริหารโดยองค์คณะบุคคลซึ่งมีคณะกรรมการ
ประจำ�ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาเป็นคณะผู้บริหารสูงสุด มีอำ�นาจหน้าที่ในการกำ�หนดนโยบายและแผนการ
ดำ�เนินงานของศูนย์ให้สอดคล้องกับมหาวิทยาลัย พิจารณาหาแนวทางการประสานภารกิจระหว่างศูนย์กับหน่วยงาน
ต่าง ๆ ทงั้ ภายในและภายนอก ใหค้ ำ�ปรกึ ษาแก่ผู้อำ�นวยการศูนยน์ วัตกรรมและเทคโนโลยีการศกึ ษา และปฏบิ ตั ิงานตามที่
ได้รบั มอบหมายจากสภามหาวทิ ยาลยั

คณะกรรมการประจำ�ศนู ยน์ วัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา ประกอบด้วย
1. อธกิ ารบดี ประธาน
2. รองอธกิ ารบดฝี ่ายวิชาการและประกนั คุณภาพ รองประธาน
3. คณบดีสำ�นกั วชิ าวทิ ยาศาสตร์ หรอื ผแู้ ทน กรรมการ
4. คณบดสี ำ�นกั วิชาเทคโนโลยีการเกษตร หรอื ผู้แทน กรรมการ
5. คณบดีสำ�นักวิชาเทคโนโลยสี งั คม หรือผูแ้ ทน กรรมการ
6. คณบดีสำ�นกั วิชาวิศวกรรมศาสตร์ หรอื ผแู้ ทน กรรมการ
7. คณบดีสำ�นักวิชาแพทยศาสตร์ หรือผแู้ ทน กรรมการ
8. คณบดสี ำ�นักวชิ าพยาบาลศาสตร์ หรอื ผแู้ ทน กรรมการ
9. คณบดสี ำ�นักวิชาทันตแพทยศ์ าสตร์ หรอื ผ้แู ทน กรรมการ
10. คณบดสี ำ�นกั วชิ าสาธารณสุขศาสตร์ หรือผู้แทน กรรมการ
11. ผอู้ ำ�นวยการศูนยเ์ ครื่องมอื วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หรือผู้แทน กรรมการ
12. ผู้อำ�นวยการศูนยก์ ิจการนานาชาติ หรือผู้แทน กรรมการ
13. ผู้อำ�นวยการศนู ยบ์ รรณสารและส่อื การศกึ ษา หรอื ผูแ้ ทน กรรมการ
14. ผอู้ ำ�นวยการศนู ย์บริการการศึกษา หรือผแู้ ทน กรรมการ
15. ผูอ้ ำ�นวยการศนู ย์คอมพวิ เตอร์ หรอื ผูแ้ ทน กรรมการ
16. ผ้อู ำ�นวยการศูนยส์ หกิจศึกษาและพฒั นาอาชพี หรอื ผู้แทน กรรมการ
17. ผอู้ ำ�นวยการสถาบันวิจยั และพัฒนา หรอื ผูแ้ ทน กรรมการ
18. ผอู้ ำ�นวยการเทคโนธานี หรอื ผแู้ ทน กรรมการ
19. ผู้อำ�นวยการศูนย์นวตั กรรมและเทคโนโลยกี ารศกึ ษา กรรมการและเลขานกุ าร
20. รองผอู้ ำ�นวยการศูนยน์ วตั กรรมและเทคโนโลยกี ารศึกษา กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร

CEIT ANNUAL REPORT 2021 PAGE 13

ภาระหน้้าที่�และความรับั ผิดิ ชอบ

ศนู ย์นวัตกรรมและเทคโนโลยกี ารศกึ ษา จดั โครงสร้างองคก์ รประกอบดว้ ย 7 ฝ่าย ดงั นี้
1. ฝ่ายบรหิ ารงานทัว่ ไป
2. ฝ่ายวจิ ยั และพฒั นาส่ือการศึกษา
3. ฝ่ายผลิตส่ือคอมพวิ เตอร์
4. ฝา่ ยผลิตสื่อโสตทศั น์
5. ฝา่ ยเทคนิควศิ วกรรม
6. สำ�นักพิมพ์
7. ฝา่ ยพฒั นานวตั กรรม

หน้าที่และความรบั ผิดชอบ

1. ฝา่ ยบริหารงานท่ัวไป
มีหน้าที่รับผิดชอบงานธุรการและสารบรรณ งานบุคคล งานแผนงานและงบประมาณ
งานตดิ ตามและรายงานผลการดำ�เนินงาน งานการเงินและพัสดุ งานประชาสมั พนั ธ์ ตลอดจนการ
ประสานงานด้านบรกิ ารและการประชมุ ตา่ ง ๆ แบง่ เปน็ 4 งาน ได้แก่
- งานธรุ การ
- งานการเงินและพัสดุ
- งานแผนงานและงบประมาณ
- งานประสานงานและบรกิ าร

2. ฝ่ายวจิ ยั และพัฒนาสอื่ การศกึ ษา
มหี นา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบดา้ นการวางแผน ออกแบบและพฒั นาสอ่ื การศกึ ษา ประสานงานควบคมุ
กำ�กับดูแลการผลิตสื่อแต่ละประเภท ดำ�เนินการทดสอบประสิทธิภาพและประเมินส่ือท่ีผลิตข้ึน
ศึกษา ค้นคว้า วิจัยเพื่อพัฒนาส่ือให้มีคุณภาพ จัดฝึกอบรมและให้คำ�ปรึกษาแนะนำ�เกี่ยวกับ
การผลติ และการใช้ส่อื การศกึ ษา เผยแพรผ่ ลงานและความร้ทู างเทคโนโลยกี ารศึกษารวบรวมจดั
ทำ�ระบบฐานขอ้ มลู สื่อการศกึ ษา พฒั นาระบบบริหารจัดการฐานความรู้ อันไดแ้ กก่ ารระบคุ วามรู้
การคดั เลือก การรวบรวม การจดั ระบบจดั เกบ็ ความร้ ู การเข้าถงึ ข้อมลู เพ่ือสรา้ งเป็นความรู้
การแลกเปลี่ยนความรู้ และพัฒนาระบบการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายเพ่ือเตรียมความพร้อม
รองรบั การเรยี นการสอน และใหบ้ รกิ ารการเรยี นการสอนผา่ นเครอื ขา่ ย รวมทง้ั งานประกนั คณุ ภาพ
การศึกษาของหน่วยงาน แบง่ เป็น 4 งาน ไดแ้ ก่
- งานจัดระบบและออกแบบสอ่ื การศึกษา
- งานวิจัยและประเมนิ สื่อการศกึ ษา
- งานบริการและเผยแพร่ส่อื การศึกษา
- งานจดั การฐานความรู้
3. ฝ่ายผลิตส่ือคอมพวิ เตอร์
มีหน้าท่รี ับผิดชอบวางแผน เตรยี มการ ดำ�เนนิ การผลติ สอื่ คอมพวิ เตอร์ในรปู แบบออนไลน์
และออฟไลน์ สนับสนนุ การเรยี นการสอน งานบริการทางวชิ าการ งานฝกึ อบรม และกจิ กรรมของ
มหาวิทยาลัย เชน่ ผลิตสอื่ บทเรียนคอมพิวเตอรผ์ ลิตสื่อประสม ผลิตภาพเคลื่อนไหว ผลิตงาน
กราฟิกต่าง ๆ เพื่อประกอบรายการโทรทัศน์ วีดิทัศน์ และเพื่อประกอบสื่อสงิ่ พิมพ ์ รวมท้งั
ใหบ้ ริการฝกึ ปฏิบตั ิการข้ันสงู สำ�หรับนกั ศึกษาหลกั สตู รวิทยาการสารสนเทศแบง่ เปน็ 3 งาน ได้แก่

PAGE 14 CEIT ANNUAL REPORT 2021

- งานผลิตสอ่ื บทเรียนคอมพวิ เตอร์
- งานผลติ สื่อประสม
- งานผลติ สอ่ื กราฟิก
4. ฝ่ายผลติ สอื่ โสตทัศน์
มหี นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบวางแผน เตรยี มการ ดำ�เนนิ การผลติ สอ่ื โสตทศั นส์ นบั สนนุ การเรยี นการสอน
งานบริการวิชาการ และกิจกรรมของมหาวิทยาลัย เช่น การผลิตรายการโทรทัศน์ ผลิตสื่อวีดิทัศน์
ผลติ รายการด้านเสยี ง รวมทงั้ การถา่ ยภาพน่งิ ประกอบสือ่ สงิ่ พิมพ์ ถ่ายภาพเพ่ือการเรยี นการสอน
ถา่ ยภาพบริการทางวชิ าการ และกิจกรรมตา่ ง ๆ ของมหาวิทยาลยั และให้บรกิ ารฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารขั้นสูง
สำ�หรบั นักศึกษาหลักสูตรวทิ ยาการสารสนเทศ แบ่งเป็น 3 งาน ได้แก่
- งานผลิตวีดทิ ัศน์
- งานผลิตดา้ นเสียง
- งานศิลปกรรม
5. ฝา่ ยเทคนิควศิ วกรรม
มีหน้าท่ีรบั ผดิ ชอบวางแผน เตรยี มการ ดำ�เนินการพฒั นาระบบปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ ให้บรกิ าร
ฝึกปฏิบัติการข้ันสูงสำ�หรับนักศึกษา จัดระบบการปฏิบัติงานทางเทคนิค ควบคุม และใช้อุปกรณ์
ในการผลิตสื่อ จัดหา พัฒนาและบำ�รุงรักษาเครื่องมืออุปกรณ์การผลิตส่ือให้มีประสิทธิภาพ ควบคุม
ดแู ลระบบโทรทัศน์เพอ่ื การศกึ ษา ระบบบริหารจัดการทรพั ยากรส่อื ระบบบันทกึ การสอนในหอ้ งเรยี น
ระบบโทรทศั นว์ งจรปดิ เพ่อื การเรียนการสอน และดา้ นเทคนคิ สถานีวทิ ยกุ ระจายเสยี ง รวมถึงผลติ ส่อื
อิเล็กทรอนิกส์แบบผสมผสาน และใหบ้ รกิ ารระบบสื่อสารสองทางผ่านจอภาพ แบ่งเป็น 4 งาน ไดแ้ ก่
- งานพฒั นาระบบปฏิบัติการ
- งานเทคนิคและบำ�รุงรกั ษา
- งานสถานีวิทยโุ ทรทศั น์
- งานผลติ สอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ บบผสมผสาน

6. สำ�นักพมิ พ์
มหี นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบสนบั สนนุ ใหม้ กี ารแตง่ แปล เรยี บเรยี งตำ�รา หนงั สอื ผลงานทางวชิ าการ และ
สง่ิ พมิ พป์ ระเภทอน่ื ๆ เพอ่ื การเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการของมหาวทิ ยาลยั รวมทง้ั สนบั สนนุ ภารกจิ ของ
มหาวทิ ยาลัยในด้านการผลิตส่ือสงิ่ พิมพ์ทมี่ ีคณุ ภาพและราคายุตธิ รรม แบ่งเป็น 2 งาน ไดแ้ ก่
- งานวชิ าการ
- งานการตลาด
7. ฝา่ ยพฒั นานวัตกรรม
มหี นา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบวางแผน ออกแบบและพฒั นานวตั กรรมดา้ นเครอื่ งมอื อปุ กรณ์ และโปรแกรม
ประยกุ ต์สนบั สนนุ การเรยี นการสอน งานบริการทางวชิ าการ และกิจกรรมของมหาวิทยาลยั รวมทง้ั ให้
บริการผลิตสอ่ื เฉพาะทางแบง่ เปน็ 2 งาน ได้แก ่
- งานพัฒนานวัตกรรมการศกึ ษา
- งานผลิตสื่อเฉพาะทาง

CEIT ANNUAL REPORT 2021 PAGE 15

บุคุ ลากร

¼ŒÙºÃËÔ Òà 3 ¤¹ ½Ò† ÂÇÔ¨ÂÑ áÅо²Ñ ¹ÒÊè×Í¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ 4 ¤¹
¼ÍÙŒ ӹǡÒà 1 ½†ÒºÃËÔ Òçҹ·ÇÑè ä» 8 ¤¹
Ãͧ¼ŒÍ٠ӹǡÒà 1
ËÑÇ˹ŒÒÊӹѡ§Ò¹ 1 à¨ÒŒ ˹Ҍ ·Õºè ÃÔËÒçҹ·ÑÇè ä» 7 ¹¡Ñ à·¤â¹âÅÂ¡Õ ÒÃÈÖ¡ÉÒ 3
¾¹¡Ñ §Ò¹¸ØáÒà 1 à¨ÒŒ ˹ŒÒ·ÕèÇàÔ ¤ÃÒÐˏÃкº¤ÍÁ¾ÔÇàµÍÏ 1

½†Ò¾Ѳ¹Ò¹Çѵ¡ÃÃÁ 3 ¤¹ ½Ò† Â¼ÅµÔ Ê×Íè ¤ÍÁ¾ÇÔ àµÍÏ 5 ¤¹

¹¡Ñ à·¤â¹âÅÂÕ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ 3* ¹¡Ñ à·¤â¹âÅÂ¡Õ ÒÃÈÖ¡ÉÒ 4

਌Ò˹ŒÒ·èÕÇàÔ ¤ÃÒÐˏÃкº¤ÍÁ¾ÔÇàµÍÏ 1

½†ÒÂ¼ÅµÔ Ê×èÍâʵ·Ñȹ 10 ¤¹
¹¡Ñ à·¤â¹âÅÂÕ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ 7*
¾¹¡Ñ §Ò¹âʵ·ÈÑ ¹»Ù ¡Ã³ 1
Êӹѡ¾ÔÁ¾ 2 ¤¹ ¾¹¡Ñ §Ò¹ºÃÔ¡ÒÃâʵ·ÈÑ ¹Ù»¡Ã³ 2*

ºÃóҸ¡Ô Òà 1
¹¡Ñ à·¤â¹âÅÂ¡Õ ÒÃÈÖ¡ÉÒ 1

½†ÒÂà·¤¹Ô¤ÇÔÈÇ¡ÃÃÁ 8 ¤¹
ÇÈÔ ¡Ã 2
਌Ò˹ŒÒ·ÇèÕ Ôà¤ÃÒÐˏÃкº¤ÍÁ¾ÔÇàµÍÏ 3
¹Òª‹Ò§à·¤¹¤Ô 3

ËÁÒÂà赯 : * ºØ¤ÅÒ¡ÃʶҹÐÅ¡Ù ¨ÒŒ §ªÑÇè ¤ÃÒÇÃÒÂà´×͹ µÓá˹‹§¹Ñ¡à·¤â¹âÅÂ¡Õ ÒÃÈ¡Ö ÉÒ ¨Ó¹Ç¹ 2 ¤¹
áÅо¹Ñ¡§Ò¹ºÃ¡Ô ÒÃâʵ·Ñȹ»Ù ¡Ã³ ¨Ó¹Ç¹ 1 ¤¹ (¢ÍŒ ÁÙÅ ³ Çѹ·Õè 30 ¡¹Ñ ÂÒ¹ 2564)

PAGE 16 CEIT ANNUAL REPORT 2021

วุฒุ ิกิ ารศึกึ ษา

วฒุ กิ ารศกึ ษาของบคุ ลากรศนู ยน์ วตั กรรมและเทคโนโลยกี ารศกึ ษา จำ�แนกตามระดบั การศกึ ษา ไดด้ งั น้ี ระดบั ต่ำ�
กวา่ ปรญิ ญาตรี จำ�นวน 1 คน ระดบั ปรญิ ญาตรี จำ�นวน 28 คน ระดบั ปรญิ ญาโท จำ�นวน 9 คน และระดบั ปรญิ ญาเอก
จำ�นวน 2 คน รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 1

ตารางที่ 1 ข้อมูลบุคลากรจำ�แนกตามวุฒิการศกึ ษา

วุฒิการศึกษา

ฝา่ ย ต่ำ�กว่า ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท ปรญิ ญาเอก รวม
ปริญญาตรี
1
ผู้อำ�นวยการ ---1 1
1
รองผู้อำ�นวยการ ---1 8
4
หัวหน้าสำ�นักงาน --1- 5
10
ฝ่ายบรหิ ารงานทัว่ ไป -8-- 8
2
ฝา่ ยวิจยั และพัฒนาสอื่ การศกึ ษา -13- 3
43
ฝ่ายผลิตส่ือคอมพิวเตอร์ -23-

ฝา่ ยผลิตสอ่ื โสตทศั น์ 19--

ฝ่ายเทคนิควิศวกรรม -71-

สำ�นักพมิ พ์ -11-

ฝ่ายพฒั นานวัตกรรม -3--

รวม 1 31 9 2

ขอ้ มลู ณ วันท่ี 30 กันยายน 2564

การพััฒนาบุุคลากร

ศูนู ย์น์ วัตั กรรมและเทคโนโลยีกี ารศึกึ ษาได้ส้ ่่งเสริมิ การเพิ่่�มพููนความรู้้� การพััฒนาทัักษะ และประสบการณ์ข์ อง
บุคุ ลากร เพื่่�อเพิ่่�มประสิทิ ธิิภาพในการทำำงาน โดยในปีงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ได้ส้ นัับสนุุนการศึกึ ษาต่่อ การฝึึกอบรม
สัมั มนา การศึึกษาดูงู าน และการเข้า้ ร่ว่ มประชุุมทางวิชิ าการต่า่ ง ๆ อย่า่ งต่อ่ เนื่�อง ดัังนี้้�

การฝึึกอบรมสััมมนาเพื่่�อพััฒนาบุุคลากร จัดั การฝึกึ อบรมเชิิงปฏิิบัตั ิกิ ารด้า้ นการเรียี นการสอน ดัังนี้้�
1. อบรมการใช้ง้ านระบบ SUT e-Learning สำำหรับั ผู้�สอน ให้ก้ ับั คณาจารย์ส์ าขาวิชิ าภาษาต่่าง
ประเทศ (ภาษาอังั กฤษ) สำำนักั วิชิ าเทคโนโลยีสี ังั คม ในวันั ที่่� 17 พฤศจิกิ ายน 2563 เวลา 13.00-15.00 น. ณ ห้อ้ งคอมพิวิ เตอร์์
หน่่วยการเรียี นรู้�ภาษาต่่างประเทศด้ว้ ยตนเอง (FLRU) มีผีู้�เข้า้ อบรม จำำนวน 20 คน
2. อบรมการใช้ง้ านระบบ SUT e-Learning สำำหรับั ผู้�สอน ให้ก้ ับั คณาจารย์ส์ าขาวิชิ าภาษาต่า่ งประเทศ
(ภาษาจีนี ) สำำนักั วิชิ าเทคโนโลยีีสัังคม ในวัันที่่� 17 พฤศจิกิ ายน 2563 เวลา 15.30-17.30 น. ณ ห้อ้ งคอมพิิวเตอร์์ หน่ว่ ย
การเรีียนรู้�ภาษาต่่างประเทศด้้วยตนเอง (FLRU) มีีผู้�เข้้าอบรม จำำนวน 7 คน
3. อบรมวิธิ ีกี ารใช้อ้ ุปุ กรณ์ก์ ารสอนในห้อ้ งเรียี น สำำหรับั การสอนแบบไฮบริดิ ครั้ง� ที่่� 1 ในวันั ที่่� 7 มกราคม 2564
ณ ห้อ้ งเรียี นทางไกลศูนู ย์น์ วัตั กรรมและเทคโนโลยีกี ารศึกึ ษา มีผีู้�เข้า้ อบรม จำำนวน 17 คน
4. อบรมวิธิ ีีการใช้อ้ ุปุ กรณ์ก์ ารสอนในห้อ้ งเรีียน สำำหรัับการสอนแบบไฮบริดิ ครั้้ง� ที่่� 2 ในวัันที่่�
8 มกราคม 2564 ณ ห้้องเรียี นทางไกลศูนู ย์์นวััตกรรมและเทคโนโลยีกี ารศึึกษา มีีผู้�เข้้าอบรม จำำนวน 16 คน
5. อบรมแบบไฮบริดิ เรื่�อง “การสร้า้ งข้้อสอบออนไลน์์บนระบบ SUT e-Learning อย่่างปลอดภััยและ
ใช้้สอบได้จ้ ริิง” ครั้้�งที่่� 1 ในวันั ที่่� 15 มกราคม 2564 เวลา 9.00 - 12.00 น.

CEIT ANNUAL REPORT 2021 PAGE 17

ณ ห้อ้ งเรีียนทางไกลศูนู ย์น์ วััตกรรมและเทคโนโลยีกี ารศึกึ ษา และออนไลน์์ผ่่านโปรแกรม ZOOM มีีผู้�เข้้าอบรม จำำนวน
141 คน
6. จััดอบรมร่่วมกับั สาขาวิชิ าภาษาต่่างประเทศ สำำนัักวิิชาเทคโนโลยีสี ัังคม เรื่�อง การสร้า้ งข้้อสอบ
ออนไลน์ ์ ผ่า่ นระบบ SUT e-Learning และ SUT OnlineExam ในวันั ที่่� 4 มิถิ ุนุ ายน 2564 เวลา 10.00-12.00 น. ณ
ห้อ้ งคอมพิวิ เตอร์์ หน่่วยการเรียี นรู้�ภาษาต่า่ งประเทศด้้วยตนเอง (FLRU) มีผีู้�เข้้าอบรม จำำนวน 10 คน
7. อบรมออนไลน์์ เรื่�อง “การสร้้างข้อ้ สอบออนไลน์์บนระบบ SUT e-Learning อย่่างปลอดภััยและใช้้
สอบได้้จริงิ ” ครั้้ง� ที่่� 2 ในวัันที่่� 14 มิถิ ุุนายน 2564 เวลา 10.00-12.00 น. เป็น็ รููปแบบการอบรมเชิงิ ปฏิิบััติิการออนไลน์์
ผ่่านโปรแกรม ZOOM มีผีู้�เข้า้ อบรม จำำนวน 121 คน

การส่ง่ บุุคลากรเข้า้ รัับการฝึึกอบรม สััมมนา การ
ประชุมุ ทางวิชิ าการ และการศึกึ ษาดููงาน

บุุคลากรศููนย์น์ วัตั กรรมและเทคโนโลยีกี ารศึึกษาเข้้ารับั การฝึกึ อบรม จำำนวนทั้้ง� สิ้้น� 19 คน โดยเป็็นการฝึกึ
อบรมในหลัักสูตู รต่่าง ๆ จำำนวน 6 หลักั สููตร และเข้า้ ร่่วมการสัมั มนา การประชุุมทางวิชิ าการ และการศึึกษาดูงู าน
หน่ว่ ยงานภายนอก จำำนวน 7 กิิจกรรม โดยใช้้จ่า่ ยงบประมาณ ทั้้ง� สิ้้�นจำำนวน 3,249.25 บาท (สามพันั สองร้้อยสี่่�สิบิ เก้้า
บาทยี่่�สิบิ ห้้าสตางค์์) ได้้แก่่

ลำำดับั วัันที่� การฝึึกอบรมหลัักสูตู ร (6 หลัักสูตู ร)

1 7-8 มค. 64 อบรมเชิงิ ปฏิิบัตั ิิการ หลักั สูตู ร "การใช้้อุุปกรณ์์การสอนในห้อ้ งเรีียนสำำหรัับการสอนแบบไฮบริิด"
2 15 มค. 64 อบรม เรื่�อง "การสร้า้ งข้อ้ สอบออนไลน์์บนระบบ SUT e-Learning อย่่างปลอดภััยและใช้้สอบได้้จริิง"
3 23 ก.พ. 64 อบรมผู้�สอนปฏิิบััติกิ ารกลุ่�มสาขาวิิทยาศาสตร์์กายภาพ
4 22 มิิ.ย. 64 อบรมเกี่�ยวกับั การปฏิิบัตั ิหิ น้้าที่�กรรมการคุมุ สอบออนไลน์์
5 24 ส.ค. 64 อบรมออนไลน์์ "สร้า้ ง Video Content อย่า่ งไร? ให้้ Touch ใจลูกู เพจ"
6 16-27 ส.ค.64 อบรมคอร์์สออนไลน์์ "การพััฒนาเกมแบบใช้้งานจริงิ เพื่�อการพัฒั นาสื่�อการเรีียนการสอนรููปแบบเกม

ลำำดัับ วัันที่� กิิจกรรม (7 กิิจกรรม)

1 21 ม.ค. 64 เข้า้ ร่่วมกิจิ กรรม Show & Share แนวปฏิบิ ััติติ ามมาตรการส่่งเสริิมคุณุ ธรรมและความโปร่ง่ ใส
2 22 ม.ค. 64 ประชุมุ รับั ฟังั การจัดั ทำำแผนกิจิ กรรมของ PBM ให้ม้ ีคี วามสอดคล้อ้ งกัับ KPI
3 11 ก.พ. 64 ประชุมุ เพื่�อประเมินิ ภารกิจิ การจััดการเรีียนการสอน ประจำำภาค 1/2563
4 17 มีี.ค. 64 เข้า้ ร่่วมกิจิ กรรม Show&share ชี้้�แจงแนวปฏิิบัตั ิิและขั้น� ตอนการให้บ้ ริกิ าร สถานที่�แก่่หน่่วยงานภายนอก
5 20 พ.ค. 64 เข้า้ ร่่วมกิจิ กรรมแลกเปลี่�ยนเรียี นรู้�โครงการถอดบทเรียี นโอกาสการเกิิดทุุจริิตในหน่่วยงาน
6 21 ก.ย. 64 เข้้าร่่วมการประชุมุ การนำำเสนอโครงการคุุมสอบระยะไกลด้ว้ ยไบโอเมตริกิ ส์์และปััญญาประดิิษฐ์์
7 23 ก.ย. 64 กิจิ กรรม Show & Share "การตรวจสอบ SOP และระบบบริหิ ารคุุณภาพ ISO"

PAGE 18 CEIT ANNUAL REPORT 2021

รางวััลเกีียรติยิ ศเชิิดชููที่่�บุคุ ลากรได้้รัับ

นายธิิตินิ ์์ แก้้วอุุดร พนักั งานดีเี ด่่น ประจำำปีี พ.ศ. 2564 สายปฏิิบััติิการวิชิ าชีีพ
และบริหิ ารทั่�วไป กลุ่�มตำำแหน่่งงานเชิิงวิิชาชีพี ระดับั ปฏิบิ ััติกิ าร

นายวุฒุ ินิ ันั ท์์ วามะกันั พนัักงานดีีเด่น่ ประจำำปีี พ.ศ. 2564 สายปฏิบิ ัตั ิกิ ารวิชิ าชีีพ
และบริิหารทั่�วไป กลุ่�มผู้้�มีีผลงานที่่�ก่่อให้เ้ กิดิ ประโยชน์์ต่อ่ การพัฒั นางาน และ/หรืือ
ช่่วยลดต้้นทุนุ ค่่าใช้้จ่า่ ยในการดำำเนินิ งานของหน่ว่ ยงาน และมหาวิทิ ยาลััย ระดัับ
ปฏิิบััติิการ

มาตรการป้อ้ งกันั และแนวทางแก้้ปัญั หาการทุจุ ริติ

ศนู ยน์ วตั กรรมและเทคโนโลยกี ารศกึ ษา ไดด้ ำ�เนนิ การเพอ่ื รองรบั และสนบั สนนุ การประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใส
ในการดำ�เนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั (Integrity and Transparency Assessment: ITA) โดยไดด้ ำ�เนนิ การดงั น้ี
1. จดั ทำ�ประกาศศนู ยน์ วตั กรรมและเทคโนโลยกี ารศกึ ษา เรอ่ื ง มาตรการปอ้ งกนั และแนวทางแกป้ ญั หาการทจุ รติ
2. กำ�หนดมาตรการปอ้ งกนั อนั ไดแ้ ก่ มาตรการจดั การเรอ่ื งรอ้ งเรยี นการทจุ รติ มาตรการใหผ้ มู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี มสี ว่ น
รว่ มในการดำ�เนนิ งาน มาตรการปอ้ งกนั การขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ประโยชนส์ ว่ นรวม มาตรการปอ้ งกนั การรบั
สนิ บน
3. จดั ทำ�แผนปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั และปราบปรามทจุ รติ ศนู ยน์ วตั กรรมและเทคโนโลยกี ารศกึ ษา
4. รายงานสรปุ ขอ้ รอ้ งเรยี น/ขอ้ เสนอแนะประจำ�เดอื น

CEIT ANNUAL REPORT 2021 PAGE 19

การเงิินและงบประมาณ



ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ศนู ยน์ วตั กรรมและเทคโนโลยกี ารศกึ ษาไดร้ บั การจดั สรรงบประมาณ เพอ่ื ใชใ้ นการ

ดำ�เนนิ งานตามกจิ กรรมตา่ ง ๆ รวมเปน็ เงนิ 3,547,100 บาท แบง่ เปน็ หมวดคา่ ตอบแทน ใชส้ อย วสั ด ุ 2,978,300 บาท

(รอ้ ยละ 83.96) หมวดคา่ สาธารณปู โภค 21,600 บาท (รอ้ ยละ 0.61) และหมวดคา่ ครภุ ณั ฑ์ 547,200 บาท (รอ้ ยละ 15.43)

รายละเอยี ดดงั น ้ี

ตารางที่ 2 งบประมาณท่ีได้รบั จัดสรร ประจำ�ปี พ.ศ. 2564 หน่วย : บาท

รายการ ปี 2563
วงเงนิ ร้อยละ

ยทุ ธศาสตร์การสร้างความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ 3,547,100 100

งานสนับสนนุ และพัฒนาด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยีการศกึ ษา เพ่ือการเรียนการสอน 1,521,600 42.90

- หมวดคา่ ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ 1,195,000 33.69

- หมวดค่าสาธารณูปโภค 21,600 0.61

- หมวดค่าครุภณั ฑ์ 305,000 8.60

โครงการตามแผนปฏิบตั ิการ 1,000,000 28.19

- หมวดค่าตอบแทน ใช้สอย วสั ดุ 1,000,000 28.19

งบกลาง 1,025,500 28.91

- หมวดค่าตอบแทน ใชส้ อยและวัสดุ 783,300 22.08

- หมวดคา่ ครุภณั ฑ์ 242,200 6.83

โดยสามารถแสดงเปน็ แผนภูมไิ ด้ดงั นี้

28.19% 42.90% งานสนับสนุนและพัฒนาดานนวัตกรรมและ
เทคโนโลยกี ารศึกษาเพือ่ การเรียนการสอน
งบกลาง

โครงการตามแผนปฏิบตั กิ าร

28.91%
ยทุ ธศาสตรก์ ารสร้างความเปน็ เลิศทางวชิ าการ

42.90% งานสนับสนุนและพฒั นาดา นนวตั กรรมและเทคโนโลยกี ารศกึ ษาเพ่ือการเรยี นการสอน

33.69% หมวดคา ตอบแทน ใชส อย วัสดุ
หมวดคา ครุภัณฑ
8.60% หมวดคา สาธารณูปโภค
0.61%

PAGE 20 งบกลาง
โครงการตามแผนปฏิบัติการ
28.91%
CEIT ANNUAL REPORT 2021

28.19% 28.91% 42.90% งานสนับสนุนและพฒั นาดานนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศกึ ษาเพ่อื การเรียนการสอน

33.69% หมวดคา ตอบแทน ใชส อย วสั ดุ
หมวดคาครุภัณฑ
8.60% หมวดคา สาธารณปู โภค
0.61%

งบกลาง

22.08% หมวดคาตอบแทน ใชส อย วัสดุ
หมวดคาครุภัณฑ
6.83%

งานสนับสนนุ และพัฒนาดา นนวตั กรรมและเทคโนโลยีการศึกษาเพ่ือการเรยี นการสอน

28.19% หมวดคา ตอบแทน ใชส อย วสั ดุ

ตารางที่ 3 ข้อมลู การเปรยี บเทยี บงบประมาณทไี่ ด้รบั จดั สรรปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

และปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จำ�แนกตามหมวดรายจา่ ย

หนว่ ย : บาท

หมวดรายจา่ ย งบประมาณทไ่ี ดร้ บั จัดสรร จำ�นวนเงนิ ร้อยละ
ปี 2563 ปี 2564 เพม่ิ /(ลด)
คา่ ตอบแทน ใช้สอยและวสั ดุ
3,087,300 2,978,300 (109,000) (3.53)

ค่าสาธารณปู โภค 21,600 21,600 0 0.00

ค่าครภุ ณั ฑ์ - งบประมาณมหาวิทยาลัย 1,763,500 547,200 (1,216,300) (68.97)

- งบประมาณแผ่นดิน 76,406,500 0 (76,406,500) (100.00)

รวมท้ังส้นิ 81,278,900 3,547,100 (77,731,800) (95.64)

หมวดคาตอบแทน ใชสอย วัสดุ หมวดคา สาธารณูปโภค หมวดคา ครภุ ณั ฑ

-3.53% 76,406,500

21,600 547,200 -68.97%
21,600 1,763,500
-100%0
2,978,300
3,087,300 2563 2564
งบประมาณแผนดนิ
2563 2564 2563 2564 2563 2564
งบประมาณมหาวทิ ยาลัย

CEIT ANNUAL REPORT 2021 PAGE 21

ขอมูลการเปรยี บเทียบงบประมาณท่ีไดร บั จัดสรรปงบประมาณ พ.ศ. 2564
และปง บประมาณ พ.ศ. 2563 จำแนกตามหมวดรายจา ย (ภาพรวม)

3,547,100
81,278,900
-95.64%

2563 2564

ตารางที่ 4 ขอ้ มูลการบริหารงบประมาณ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
หนว่ ย : บาท

งบประมาณ การใชจ้ ่ายงบประมาณ ร้อยละ
ท่ีได้รับ หมวด หมวด การใชจ้ า่ ย
ฝ่าย หมวดคา่ งบ
1,025,500 ตอบแทน สาธารณูปโภค ค่าครภุ ณั ฑ์ รวม ประมาณ
บริหารงานทั่วไป (งบกลาง) 1,000,000 ใช้สอยและวสั ดุ
ผลติ สอื่ คอมพิวเตอร์ 241,890.00 560,154.35 54.62
เทคนิควศิ วกรรม 936,600 318,264.35
ผลิตสือ่ โสตทัศน์ 275,000 900,000.00 21,600.00 198,000.00 900,000.00 90.00
สำ�นักพมิ พ์ 250,000 650,816.04 61,500.00 870,416.04 92.93
วจิ ัยและพฒั นาสือ่ การศกึ ษา 50,000 188,525.28 250,025.28 90.92
พัฒนานวัตกรรม 10,000 248,798.00 248,798.00 99.52
0.00
9,664.60 0.00 96.65
9,664.60

รวม 3,547,100 2,316,068.27 21,600 501,390 2,839,058.27 80.04

ข้อมูล ณ วันท่ี 30 กันยายน 2564

ขอ มูลการเปรยี บเทียบการใชจ า ยงบประมาณทไ่ี ดร บั จดั สรรปง บประมาณ พ.ศ. 2564

96.65%
0%
99.52%

90.92%
92.93%
90.00%

54.62%

บริหารงานท่ัวไป ผลติ ส่อื คอมพิวเตอร เทคนคิ วศิ วกรรม ผลติ ส่อื โสตทัศน สำนักพมิ พ วจิ ัยและพฒั นาฯ พัฒนานวตั กรรม

PAGE 22 CEIT ANNUAL REPORT 2021

ตารางที่ 5 ข้อมูลการใช้จา่ ยงบประมาณ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จำ�แนกตามหมวดรายจา่ ย

หน่วย : บาท

หมวดรายจ่าย งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ ร้อยละ
ทไ่ี ดร้ บั ที่ใชไ้ ป คงเหลือ การใชจ้ า่ ย
งบประมาณ

คา่ ตอบแทน ใชส้ อยและวัสดุ 2,978,300 2,316,068.27 662,231.73 77.76

ค่าสาธารณูปโภค 21,600 21,600.00 0 100.00

ค่าครุภณั ฑ ์ 547,200 501,390.00 45,810.00 91.63

รวม 3,547,100 2,839,058.27 708,041.73 80.04

ขอ มูลการใชจ า ยงบประมาณ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 จำแนกตามหมวดรายจา ย

91.63%
100%

77.76%

คาตอบแทน ใชส อยและวสั ดุ คา สาธารณปู โภค คา ครภุ ัณฑ

จากตารางท่ี 5 พบว่า การบริหารงบประมาณของศนู ย์นวตั กรรมและเทคโนโลยกี ารศึกษา ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ไดใ้ ชจ้ า่ ยเงนิ ไปคดิ เปน็ รอ้ ยละ 80.04 ของงบประมาณที่ได้รับจดั สรร
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มรี ายได้จากการให้บรกิ าร จำ�นวนทัง้ สิ้น 402,755.60 บาท รายละเอียดดังตารางที่ 6

ตารางท่ี 6 รายไดจ้ ากการใหบ้ รกิ าร ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

หน่วย : บาท

รายการ จำ�นวนเงิน (บาท) ร้อยละ

ค่าจำ�หนา่ ยหนงั สือทีม่ หาวทิ ยาลยั จดั พมิ พ์ 268,535.60 66.67

ค่าบริการสำ�หรบั ผลิตส่ือวดี ทิ ัศน์ 128,460.00 31.90
ค่าบรกิ ารการพมิ พ์ 3,000.00 0.75
รายไดค้ า่ บรกิ ารระบบ SUT e-Learning สำ�หรบั
1,260.00 0.31
หลกั สูตร Upskill/Reskill

รายไดค้ า่ บริการสำ�หรับผลติ Presentation 1,000.00 0.25

ค่าบริการสำ�หรบั การบนั ทกึ เสยี ง 500.00 0.12

รวม 402,755.60 100.00

ข้อมลู ณ วันท่ี 30 กันยายน 2564

CEIT ANNUAL REPORT 2021 PAGE 23

ผลการดำ�เนนิ งานตามแผนปฏบิ ัติการ
ศนู ยน์ วตั กรรมและเทคโนโลยกี ารศกึ ษาไดด้ ำ�เนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 บรรลตุ ามเปา้ หมาย

ที่ตง้ั ไว้ โดยจำ�แนกตามผลผลิตดงั นี้ หนว่ ยนบั แผน ผล ร้อยละ

ผลผลิต ชน้ิ งาน 6 4 66.67
ชิ้นงาน 30 19 63.33
1. ผลิตส่ือการเรยี นการสอน ชิ้นงาน 4 3 75.00
1.1 สอื่ 3 มิติ เร่ือง 30 101 100.00*
1.2 สอ่ื กราฟกิ คอมพวิ เตอร์ เรอื่ ง 60 38 63.33
1.3 Education Application เรอ่ื ง 45 8 17.78
1.4 สอื่ วีดิทศั น์
1.5 สอ่ื วีดทิ ัศน์บันทึกการเรยี นการสอนในหอ้ งเรยี น เร่อื ง 14 19 100.00*
1.6 ส่อื เสยี ง ชน้ิ งาน 6 9 100.00*
2. ผลิตสือ่ บรกิ ารวิชาการ ประชาสัมพนั ธ์ และอ่นื ๆ ชิน้ งาน 50 67 100.00*
2.1 สื่อประสม เรอ่ื ง 6 25 100.00*
2.2 สื่อ 3 มติ ิ เร่ือง 56 71 100.00*
2.3 ส่ือกราฟกิ คอมพวิ เตอร์
2.4 สือ่ วดี ิทัศน์ กจิ กรรม 110 75 68.18
2.5 สอ่ื เสยี ง กจิ กรรม 132 61 46.21
3. การให้บรกิ ารสอื่ โสตทัศน์ กจิ กรรม 92 24 26.09
3.1 บันทกึ วดี ทิ ัศน์ตลอดกจิ กรรม
3.2 บันทึกวีดทิ ศั น์เชงิ ข่าว
3.3 บริการถา่ ยภาพนง่ิ เพอ่ื ประชาสัมพันธ์ และอืน่ ๆ
4. ผลิตหนังสอื ตำ�รา และเอกสารทางวชิ าการ

พมิ พห์ นังสอื ตำ�รา และเอกสารทางวิชาการ เรือ่ ง 4 1 25.00
5. การจัดการเรยี นการสอนผ่านเครอื ขา่ ย
รายวชิ าที่ใหบ้ รกิ ารผา่ นเครอื ขา่ ย รายวิชา - 958 -
6. การวจิ ยั และพฒั นานวัตกรรมสื่อการศึกษา
ผลงานนวตั กรรมส่ือการศึกษา ผลงาน 1 1 100.00
7. การบรหิ ารจดั การและการใหบ้ ริการ
ความพงึ พอใจผ้ใู ชบ้ ริการตามภารกจิ ของหน่วยงาน ระดับ 4.80 4.72 98.33
หมายเหตุุ : * ผลงานสููงกว่า่ เป้า้ หมายที่่�กำำหนด

การประเมินิ ความพึงึ พอใจของผู้้ร� ัับบริิการตามภารกิจิ ของหน่ว่ ยงาน

ศููนย์์นวััตกรรมและเทคโนโลยีีการศึึกษาได้้ให้้ความสำำคััญต่่อการมีีส่่วนร่่วมในการพััฒนาการบริิการ โดยดำำเนิินการ
ประเมิินความพึึงพอใจของผู้้�รัับบริิการเพื่�อนำำผลการประเมิินมาปรัับปรุุง พััฒนาภารกิิจในด้้านต่่าง ๆ ในปีีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ได้้มีีการปรัับปรุุงระบบการประเมิินความพึึงพอใจเพื่ �อให้้ครอบคลุุมการประเมิินการให้้บริิการในภารกิิจทุุกด้้าน ศููนย์์นวััตกรรมและ
เทคโนโลยีีการศึึกษา ได้้ประเมิินความพึึงพอใจของผู้้�รัับบริิการที่่�มีีต่่อบริิการด้้านต่่าง ๆ โดยใช้้แบบประเมิินออนไลน์์ที่่�พััฒนาขึ้�น
(https://ceit.sut.ac.th/questionnaire/qn/)
ผลการประเมิินความพึึงพอใจของผู้้�รัับบริิการที่่�มีีต่่อบริิการของศููนย์์นวััตกรรมและเทคโนโลยีีการศึึกษา ทั้้�ง 4 ด้้าน ได้้แก่่
1) ด้้านกระบวนการและขั้�นตอนการให้้บริิการ 2) ด้้านผลงานและชิ้�นงานของการให้้บริิการ 3) ด้้านเจ้้าหน้้าที่�ให้้บริิการ และ
4) ด้า้ นความตรงต่อ่ เวลาในการให้บ้ ริกิ าร จากจำำนวนผู้�ตอบแบบประเมิินทั้้ง� สิ้้�น 263 คน ผู้้�รับั บริิการมีคี วามพึงึ พออยู่�ในระดัับมาก
ที่่�สุุดในทุุกด้้าน และระดัับความพึึงพอใจในภาพรวมของการให้้บริิการผู้้�รัับบริิการมีีความพึึงพอใจต่่อการให้้บริิการอยู่�ในระดัับมากที่่�สุุด
( = 4.72)

PAGE 24 CEIT ANNUAL REPORT 2021

x = 4.71 ดา นกระบวนการและ
x = 4.75 ขนั้ ตอนการใหบริการ

x = 4.71 ดานผลงานและ
ช้ินงานของการใหบ รกิ าร

ดา นเจา หนาท่ใี หบ รกิ าร

x = 4.71 ดา นความตรงตอเวลา
ในการใหบรกิ าร

ผลการดำ�เนนิ งานตามภารกจิ และงานสนับสนุน
การบริหารจดั การองค์กร

ในรอบปีีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่่�ผ่่านมา ศููนย์์นวััตกรรมและเทคโนโลยีกี ารศึึกษาได้้ดำำเนินิ งานตามภารกิจิ และงานสนับั สนุุน
อื่�น ๆ โดยสรุุปดัังนี้้�
1. ผลิติ และพัฒั นาสื่�อสนัับสนุุนการเรียี นการสอน
2. พัฒั นาระบบการเรียี นการสอนโดยใช้เ้ ทคโนโลยีีดิิจิิทัลั
3. วิจิ ััยและพััฒนานวััตกรรมสื่�อการเรียี นการสอน
4. ฝึกึ ประสบการณ์์ให้้แก่น่ ักั ศึึกษา
5. ผลิตสือ่ การประชาสมั พันธ์
6. ดำ�เนินงานสำ�นกั พิมพ์
7. สนับสนุนการบริหารจัดการองคก์ ร

CEIT ANNUAL REPORT 2021 PAGE 25

1. ผลิิตและพััฒนาสื่�อสนับั สนุุนการเรีียนการสอน

1.1 การพัฒั นาสื่่�อ e-Courseware เพื่่�อการเรีียนรู้�ในศตวรรษที่� 21
การพัฒั นาและผลิติ e - Courseware ดำำเนิินงานภายใต้้ประเด็็นยุทุ ธศาสตร์์ การพััฒนามหาวิทิ ยาลััยที่�เป็็นเลิศิ
โดยการพัฒั นาระบบสื่�อการสอนในรูปู แบบอิเิ ล็็กทรอนิกิ ส์์ (e-Learning Courseware) เพื่�อสนัับสนุนุ การจัดั การเรียี นการสอน
แบบผสมผสาน (Blended Teaching and Learning) ในปีีงบประมาณ พ.ศ.2564 ศูนู ย์์นวัตั กรรมและเทคโนโลยีีการศึึกษา
ดำำเนิินการพััฒนา e–Courseware ร่่วมกัับคณาจารย์์ มีีรายละเอีียด ดัังนี้้�

ก. จำำนวนสื่่�อ : ผลิิตได้้ 9 รายวิชิ า จำำนวน 99 บทเรีียน
- เป็็นสื่�อการสอนในรายวิชิ าที่�ไม่น่ ้้อยกว่่า 3 หน่ว่ ยกิิต จำำนวน 6 รายวิชิ า
- เป็็นสื่�อการสอนในรายวิชิ าที่่�น้้อยกว่า่ 3 หน่่วยกิติ จำำนวน 3 รายวิิชา
ข. รููปแบบสื่่�อ : การเรีียนการสอนรูปู แบบวีดี ิิทัศั น์์แบบประสมประสาน ผ่า่ นระบบการจััดการเรีียนรู้�ออนไลน์์
(SUT e-Learning)
ค. การนำำไปใช้้ : นำำไปใช้้จััดการเรียี นการสอนในระบบ SUT e-Learning

รายวิิชาที่�ผลิิตและพัฒั นาสื่�อ e – Courseware เพื่�อการเรียี นรู้�ในศตวรรษที่่� 21 ปีงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ลำ�ดบั สำ�นกั วิชา/รหสั วิชา/ชื่อวิชา จำ�นวนบท
เรยี น
1 103102 แคลคลู สั 2 (CALCULUS II)
2 1101041 ภาษาองั กฤษเพ่อื การนำ�เสนอทางธรุ กิจ (ENGLISH FOR BUSINESS PRESENTATIONS) 12
3 335221 อาหารและโภชนาการ (FOOD AND NUTRITION) 12
4 525318 เครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน (INTERNAL COMBUSTION ENGINES) 12
5 529292 วศิ วกรรมไฟฟ้า (ELECTRICAL ENGINEERING) 12
618420 มาตรฐานระดับชาติ และสากล สำ�หรบั ระบบการจดั การดา้ นอาชีวอนามัย 12
6
ความปลอดภัย และส่ิงแวดล้อม (NATIONAL AND INTERNATIONAL STANDARDS FOR 12
7 OCCUPATIONAL HEALTH, SAFETY AND ENVIRONMENTAL MANAGEMENT SYSTEM)
618422 การประเมินและการจดั การความเสยี่ งดา้ นอาชวี อนามยั (RISK ASSESSMENTS AND 12
8 MANAGEMENT IN OCCUPATIONAL HEALTH AND SAFETY)
802305 การจดั การกากของเสยี อตุ สาหกรรมและของเสียอันตราย (INDUSTRIAL AND HAZARDOUS 12
9 WASTE MANAGEMENT)
การตรวจหาช่องโหว่โดยใช้ Nmap สำ�หรับผู้เรมิ่ ตน้ (VULNERABILITY ASSESSMENT USING Nmap FOR 3
BEGINNERS) ในโครงการจัดรปู แบบการบริหารวชิ าการด้านเทคโนโลยีดจิ ิทลั รปู ใหม่ (DIGITECH)
99
รวม

PAGE 26 CEIT ANNUAL REPORT 2021

1.2 การผลติ สือ่ วดี ทิ ัศนส์ นับสนุนการเรียนการสอน
ศนู ย์นวตั กรรมและเทคโนโลยกี ารศกึ ษา ไดผ้ ลติ ส่อื วีดทิ ัศนส์ นบั สนุนการเรียนการสอน ดงั นี้
1.2.1 ผลติ สอ่ื วดี ทิ ศั นใ์ นหลกั สตู รสมั ฤทธบิ ตั รดา้ นนเิ ทศศาสตรด์ จิ ทิ ลั และวทิ ยาการดจิ ทิ ลั จำ�นวน 6 หลกั สตู ร ไดแ้ ก่
- สัมฤทธิบัตรการสรา้ งสรรคเ์ นื้อหาออนไลน์
- สัมฤทธิบัตรการวเิ คราะห์ขอ้ มูลเชิงลกึ ทางธุรกิจ
- สมั ฤทธิบัตรการจัดการโครงการซอฟต์แวรส์ มัยใหม่
- สัมฤทธิบตั รอนิ เทอร์เน็ตของสรรพสง่ิ
- สัมฤทธบิ ัตรโปรแกรมประยุกต์บนอปุ กรณ์เคลื่อนที่
- สัมฤทธบิ ตั รการจดั การสารสนเทศดิจิทลั
1.2.2 ผลิตส่ือวีดิทัศน์ใน รายวิชา 102108 ปฏิบัติการเคมีสำ�หรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ (CHEMISTRY FOR
HEALTH SCIENCE LABORATORY) รายวชิ า 102132 ปฏบิ ตั กิ ารเคมวี เิ คราะห์ 1 (ANALYTICAL CHEMISTRY LABORATORY
I) และรายวชิ า 521344 ปฏบิ ตั กิ ารวศิ วกรรมเกษตรและอาหาร 1 (AGRICULTURAL AND FOOD ENGINEERING LABORATORY I)

1.3 การพัฒนา Chatbot สนับสนนุ การเรยี นการสอน
ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาร่วมกับ 1) อาจารย์ภัทรภร สฤษชสมบัติ สำ�นักวิชาพยาบาลศาสตร์
พัฒนา Chatbot ให้ความรู้ดูแลเดก็ ที่ป่วยเป็นโรคมะเรง็ เปน็ Chatbot ทช่ี ว่ ยใหค้ ำ�แนะนำ�สำ�หรับผู้ดแู ลเด็กที่ป่วยเปน็ มะเรง็ เชน่
การรกั ษา การดแู ลตนเอง วธิ คี ลายความกงั วล เปน็ ตน้ เปน็ สอ่ื การสอนประกอบรายวชิ า ฝกึ ปฏบิ ตั ปิ ระสบการณว์ ชิ าชพี /ปฏบิ ตั กิ าร
จัดการพยาบาล และไดร้ ว่ มกบั 2) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศภุ าพิชญ์ โฟน โบรแ์ มนน์ สำ�นักวิชาพยาบาลศาสตร์ พฒั นา Chatbot
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) และวัคซีน เป็น Chatbot ที่ให้ความรู้เก่ียวกับความรู้ท่ัวไปของ
โรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) แนวทางการปฏบิ ตั ิตัวและการปอ้ งกัน สมนุ ไพรตา้ นไวรัสในระบบทางเดนิ หายใจ และ
รายละเอียดของวัคซนี ป้องกนั ซ่ึงงานช้นิ น้ีเป็นส่อื การสอนประกอบรายวชิ า วิจัยทางการพยาบาล (Nursing Research)

1.4 การผลิตสอ่ื วิดที ัศน์แนะนำ�การสอบออนไลน์ และการสอนแบบไฮบริด
จากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19) ทำ�ใหม้ หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี รุ นารไี ด้
ปรบั เปลยี่ นรปู แบบการเรยี นการสอนเปน็ แบบออนไลน ์ ซงึ่ มคี วามจำ�เปน็ ตอ้ งจดั สอบเพอ่ื วดั ผลการเรยี นของนกั ศกึ ษาในสถานการณน์ ้ี
โดยใชร้ ะบบ SUT e-Learning ดำ�เนนิ การจดั สอบออนไลน์ ในภาคการศกึ ษาที่ 3/2563 และ 1/2564 ซงึ่ มอบหมายใหศ้ นู ยน์ วตั กรรม
และเทคโนโลยกี ารศกึ ษา เปน็ ผรู้ บั ผิดชอบดแู ลและใหบ้ ริการ เน่อื งจากเปน็ การปรับรูปแบบเปน็ การสอบออนไลน์ทผ่ี ู้เก่ียวข้องจะตอ้ งมี
ความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการจดั สอบ และเพอ่ื ใหก้ ารปฏิบตั ิหนา้ ท่ขี องหวั หน้าหอ้ งสอบ กรรมการคมุ สอบ และผู้เขา้ สอบ ดำ�เนนิ
ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย มคี วามโปรง่ ใส ไมเ่ กดิ ปญั หาและอปุ สรรคในการสอบออนไลนข์ องมหาวทิ ยาลยั ศนู ยน์ วตั กรรมและเทคโนโลยี
การศกึ ษาจงึ ไดจ้ ดั ทำ�คลปิ วดิ โี อแนะนำ�หนา้ ทกี่ รรมการคมุ สอบออนไลน์ จำ�นวน 1 คลปิ เพอ่ื ใหห้ วั หนา้ หอ้ งสอบ และกรรมการคมุ สอบ
ไดท้ ราบถึงแนวปฏบิ ตั ิ และขน้ั ตอนในการคมุ สอบ รวมท้ังคลปิ วดิ ีโอแนะนำ�การสอบออนไลนส์ ำ�หรบั นกั ศกึ ษา จำ�นวน 3 คลปิ แบง่ เป็น
1) ขัน้ ตอนการเตรียมตัวก่อนสอบออนไลน์ 2) การเตรยี มตัวก่อนเขา้ ห้องสอบ และ 3) การปฏิบตั ิตัวระหว่างการเขา้ สอบออนไลน์
โดยเผยแพร่คลปิ วดิ โี อบนระบบ SUT e-Learning ก่อนการจัดสอบ เพอ่ื ใหก้ รรมการคุมสอบและนักศกึ ษาทำ�ความเขา้ ใจและเตรียม
ความพร้อมก่อนการสอบออนไลน์ นอกจากน้ียังจัดทำ�คู่มือ และคลิปวิดีโอแนะนำ�การใช้อุปกรณ์การสอนในห้องเรียนสำ�หรับการ
สอนแบบไฮบรดิ สำ�หรบั หอ้ งเรียนทน่ี อ้ ยกวา่ 150 ท่ีน่ัง และ 300 ทน่ี ัง่ ข้นึ ไป เพื่อใหค้ ณาจารย์สามารถใช้เป็นแนวทางสำ�หรับสอน
ในห้องเรยี นพรอ้ มกบั ถา่ ยทอดสดผา่ นโปรแกรม Microsoft Team หรือ Zoom ได้

CEIT ANNUAL REPORT 2021 PAGE 27

PAGE 28 CEIT ANNUAL REPORT 2021

CEIT ANNUAL REPORT 2021 PAGE 29



2. พัฒนาระบบการเรยี นการสอนโดยใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ลั

2.1 การให้บริการและสนับสนุนการจัดการเรยี นการสอนผ่านเครอื ขา่ ย SUT e-Learning
ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศกึ ษาได้ใหบ้ ริการระบบ SUT e-Learning เพอื่ สนับสนุนการจดั การเรยี นการสอน
ผา่ นเครือข่าย ซ่งึ สามารถใชร้ ะบบสนบั สนุนการเรยี นแบบผสมผสาน (Hybrid Learning) ระหวา่ งการเรยี นในชนั้ เรียนปกติกับการ
เรยี นออนไลน์ โดยนกั ศกึ ษาสามารถเขา้ ศกึ ษาเนอื้ หา ทบทวนเนอ้ื หา สง่ การบา้ นออนไลน์ และทำ�แบบทดสอบไดท้ กุ ท่ี ทกุ เวลา เนอื่ งจาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในภาคการศึกษาที่ 3/2563 และ 1/2564 ไดม้ ีการใช้
ระบบเพื่อจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ โดยปกี ารศึกษา 2563 มรี ายวิชาทีใ่ ช้ระบบ SUT e-Learning จำ�นวน 1,147 วชิ า คดิ เปน็
ร้อยละ 49.42 ของจำ�นวนรายวิชาระดบั ปรญิ ญาตรีทเี่ ปดิ สอนทงั้ หมดในปกี ารศึกษา 2563 (2,321รายวิชา)

รอยละจำนวนรายวิชาทใี่ ช e-Learning

58.22
49.42
40.38
32.54

2561 2562 2563 2564

ปก ารศกึ ษา

กราฟแสดงรอ้ ยละของจำ�นวนรายวชิ าระดบั ปริญญาตรที ่ีเปิดสอนและใช้ระบบ SUT e-Learning จำ�แนกตามปีการศกึ ษา
หมายเหตุ ปีการศกึ ษา 2564 เปน็ ข้อมูลเฉพาะภาคการศึกษา 1/2564

นอกจากนไ้ี ดจ้ ดั สอบออนไลนบ์ นระบบเตม็ รปู แบบ โดยนำ�ขอ้ มลู จากศนู ยบ์ รกิ ารการการศกึ ษามาบรหิ ารจดั การ จดั หมวดหมู่
สำ�หรับรายวิชาที่สอบในตาราง สรา้ งรายวชิ าสำ�หรับสอบออนไลน์ สร้างเว็บไซต์ตารางสอบท่ีมลี ิงคเ์ ชอ่ื มไปยงั รายวิชาทมี่ กี ารสอบ
ในแต่ละวัน-เวลา ตรวจสอบและนำ�เข้ารายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบในแต่ละรายวิชา นำ�เข้าข้อสอบที่ได้รับการประสานงานจากผู้ประสาน
งานรายวิชา ตรวจสอบความถกู ต้องของข้อสอบ ตรวจสอบการตั้งคา่ ข้อสอบ กำ�หนดหลกั เกณฑ์การทำ�ข้อสอบตามเวลาที่กำ�หนด
ให้คำ�แนะนำ�และแก้ไขปัญหาในระหว่างการสอบสำ�หรับคณาจารย์ กรรมการคุมสอบ และนักศึกษา และภายหลังการสอบได้ให้
คำ�ปรกึ ษาผปู้ ระสานงานรายวชิ าในการจดั การผลการสอบบนระบบ โดยในภาคการศกึ ษาที่ 3/2563 มกี ารใชร้ ะบบจดั สอบรวม 14 วนั
จำ�นวนวชิ าท่จี ดั สอบรวม 155 วชิ า จำ�นวนนักศึกษาเขา้ สอบพรอ้ มกันสงู สดุ ต่อวัน จำ�นวน 1,731 คน ในภาคการศึกษาที่ 1/2564
มกี ารใช้ระบบจัดสอบ 14 วนั จำ�นวนวชิ าทีจ่ ัดสอบ 225 วชิ า จำ�นวนนักศึกษาเข้าสอบพร้อมกนั สูงสุดต่อวนั จำ�นวน 1,923 คน
ซง่ึ ตลอดการจัดสอบออนไลนท์ กุ วันระบบสามารถรองรับการสอบไดแ้ ละเปน็ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ย
2.2 การจดั การเรยี นการสอนออนไลนแ์ บบเปดิ SUT X-Lane รองรบั การเรยี นรตู้ ลอดชว่ งวยั (Lifelong Learning)
ศนู ยน์ วตั กรรมและเทคโนโลยกี ารศกึ ษาไดด้ ำ�เนนิ การพฒั นาระบบ SUT X-Lane ซง่ึ เปน็ ระบบบรหิ ารจดั การเรยี นการสอน
ออนไลน์แบบเปดิ สำ�หรับผเู้ รียนท่สี นใจไดเ้ รยี นรเู้ พอ่ื เพ่ิมทกั ษะ รับสมั ฤทธิบัตร และสะสมหน่วยกิตในการเรยี นระดบั ปรญิ ญา รองรับ
การเรยี นรตู้ ลอดชว่ งวยั (Lifelong Learning) โดยมรี ปู แบบใหเ้ รยี นรรู้ ายวชิ าหรอื ชดุ วชิ าของหลกั สตู รผา่ นทางเวบ็ ไซต์ ทงั้ รปู แบบมี
คา่ ใชจ้ า่ ยและไมม่ คี า่ ใชจ้ า่ ย โดยผเู้ รยี นตอ้ งสมคั รเปน็ สมาชกิ และเขา้ ศกึ ษาผา่ นชอ่ งทางออนไลนเ์ พอ่ื เขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรยี นรตู้ า่ ง ๆ

PAGE 30 CEIT ANNUAL REPORT 2021

เชน่ สอื่ วดี ทิ ศั น์ เอกสารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การทำ�แบบทดสอบ และการเเลกเปลย่ี นเรยี นรใู้ นรายวชิ า นอกจากนผ้ี เู้ รยี นจะไดส้ มั ฤทธบิ ตั ร
และสามารถเกบ็ รวบรวมเปน็ หนว่ ยกติ เพอื่ ใหไ้ ดค้ ณุ วฒุ ติ ามขอ้ กำ�หนดหลกั เกณฑข์ องแตล่ ะหลกั สตู ร โดยมคี ณะกรรมการบรหิ าร
บทเรยี นออนไลนด์ แู ลและตดิ ตามการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ และกำ�กบั การดำ�เนนิ การใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑแ์ ละขอ้ กำ�หนด
รวมท้ังให้บริการและสนับสนุนระบบสำ�หรับหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยท่ีต้องการเปิดอบรมหลักสูตรออนไลน์สำ�หรับเพิ่มพูน
ปรบั เปลยี่ น เรยี นรทู้ กั ษะใหม่ (Upskill/Reskill /New Skill) และรบั สมั ฤทธบิ ตั รเมอื่ สอบผา่ นเพอื่ ใชเ้ ปน็ ใบเบกิ ทางในการประกอบ
อาชีพ โดยศูนยน์ วัตกรรมเทคโนโลยีการศกึ ษาได้ให้บริการหนว่ ยงานและจัดการการเรียนการสอนออนไลน์แบบเปิด ดงั นี้
1) เปิดให้ทดลองเรียนตลอดทั้งปีโดยไม่มีค่าใช้จ่าย จำ�นวน 6 รายวิชา ของกลุ่มหลักสูตรศาสตร์และศิลป์ดิจิทัล
(DIGITECH)
2) เปิดให้เรียนในรายวิชาของกลุ่มหลักสูตรศาสตร์และศิลป์ดิจิทัล (DIGITECH) สำ�หรับนักศึกษาที่ศึกษาในระดับ
ปรญิ ญาโทและปริญญาเอก รายวชิ าทัง้ หมดในระบบ SUT X-Lane จำ�นวน 6 ชดุ วชิ า (24 รายวิชา) โดยสามารถสะสมในระบบ
คลังหนว่ ยกิต เพื่อรบั ปรญิ ญาในระดบั บณั ฑติ ศึกษาได้
3) รายวิชาหรือชุดวิชาที่เสนอจัดทำ�บทเรียนออนไลน์เพื่อเปิดสอนในระบบ X-Lane ในการประชุมคณะกรรมบริหาร
บทเรียนออนไลน์ จำ�นวน 5 ชุดวชิ า 20 รายวิชา ของกลมุ่ หลักสตู รศาสตรแ์ ละศลิ ปด์ ิจทิ ัล (DIGITECH)
4) เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี โครงการยกระดับเศรษฐกิจ และสังคมรายตำ�บลแบบบูรณาการ
U2T (มหาวทิ ยาลัยสู่ตำ�บล สร้างรากแกว้ ใหป้ ระเทศ) จำ�นวน 2 หลักสูตร

CEIT ANNUAL REPORT 2021 PAGE 31

5) เทคโนธานี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยสี รุ นารี โครงการยกระดับสมรรถนะกำ�ลังคนวัยแรงงานเพือ่ อนาคต
(Upskill/Reskill) จำ�นวน 16 ทักษะ 91 หลักสตู ร
6) สมาคมสหกิจศึกษาไทย หลกั สตู รคณาจารย์นเิ ทศสหกจิ ศึกษาและการศกึ ษาเชิงบูรณาการกับการทำ�งาน
(CWIE Advisor) จำ�นวน 1 หลักสูตร
7) โครงการพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร เพ่ือให้สามารถนำ�เทคโนโลยี 5G มาประยุกต์และต่อยอดในอุตสาหกรรมบรกิ าร
(5G NOW) จำ�นวน 2 หลกั สูตร
2.3 การส่งเสรมิ และสนบั สนุนการใชร้ ะบบ SUT e-Learning
ศูนยน์ วัตกรรมและเทคโนโลยีการศกึ ษาได้สง่ เสริมและสนบั สนุนการใชร้ ะบบ SUT e-Learning ในการจดั การเรยี น
การสอนสำ�หรับคณาจารย์ เพ่อื สร้างความเข้าใจและทกั ษะการใช้งานระบบ SUT e-Learning ในการสอนและการจัดทำ�ข้อสอบ
ออนไลนท์ ส่ี ามารถใชส้ อบวดั ผลการเรยี นจรงิ ในภาคการศกึ ษาที่ 3/2563 และ 1/2564 ไดจ้ ดั อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารดา้ นการใชง้ าน
ระบบ SUT e-Learning ท้ังการจัดการรายวิชาและการสร้างขอ้ สอบออนไลน์ โดยในชว่ งสถานการณ์แพร่ระบาดของเชอื้ ไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) มกี ารจดั อบรมในรูปแบบออนไซต์และออนไลนท์ งั้ ส้ินจำ�นวน 7 ครัง้ แบ่งเป็นการอบรมแบบไฮบริด
เกย่ี วกับการใชง้ านระบบ SUT e-Learning สำ�หรับการสอบออนไลนอ์ ย่างปลอดภัยและใชส้ อบได้จรงิ 2 ครั้ง การอบรมวิธกี าร
ใช้อปุ กรณ์การสอนในหอ้ งเรยี นสำ�หรบั การสอนแบบไฮบรดิ 2 ครั้ง รว่ มบรรยายแนวปฏิบตั ิการคมุ สอบออนไลน์ 1 ครง้ั รว่ มจัด
อบรมเกีย่ วกบั การปฏบิ ตั หิ น้าทีเ่ ปน็ กรรมการคมุ สอบออนไลน์ 1 คร้ัง และจดั สัมมนาเรือ่ ง การผลติ สอ่ื e-Courseware และร่วม
เป็นผสู้ อนบนระบบ SUT X-Lane 1 คร้ัง นอกจากน้ียังจัดทำ�แนวทาง คู่มือ และคลปิ วดิ โี อการสรา้ งข้อสอบออนไลนบ์ นระบบ
SUT e-Learning ซึ่งในการให้บริการการใช้งานระบบกับคณาจารย์และนักศึกษาให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยได้ให้คำ�แนะนำ�
แก้ปญั หา และให้ความชว่ ยเหลอื ในการใช้งานระบบผา่ นหลายชอ่ งทาง ได้แก่ โทรศพั ท์ เพจเฟซบุ๊ก อเี มล และไลน์แอด โดยผ้ใู ช้
ระบบได้ตดิ ต่อผ่านชอ่ งทางไลน์แอดเปน็ จำ�นวนมากทส่ี ดุ ซึง่ ในรอบปีที่ผ่านมามกี ารใหค้ ำ�แนะนำ�การใชง้ านระบบผา่ นไลนแ์ อดเป็น
จำ�นวน 947 ครง้ั

ตาราง กจิ กรรมสนับสนุนการจดั การเรียนการสอน/การสอบออนไลน์

ลำ�ดบั ท่ี หัวั ข้้อ/หลัักสููตร วััน เดือื น ปีี ผู้เข้าร่วมอบรม

1 อบรมวิิธีีการใช้อ้ ุปุ กรณ์ก์ ารสอนในห้อ้ งเรีียน สำำหรับั การสอนแบบไฮบริิด วัันที่่� 7 มกราคม 2564 คณาจารย์/์ ผู้้�ช่ว่ ยสอน
ครั้ง� ที่่� 1 จำำนวน 17 คน
วันั ที่่� 8 มกราคม 2564 คณาจารย์/์ ผู้้�ช่ว่ ยสอน
2 อบรมวิิธีีการใช้อ้ ุปุ กรณ์ก์ ารสอนในห้้องเรียี น สำำหรัับการสอนแบบไฮบริดิ จำำนวน 16 คน
ครั้ง� ที่่� 2 วัันที่่� 15 มกราคม 2564 คณาจารย์/์ ผู้้�ช่ว่ ยสอน/
บุคุ ลากร จำำนวน 22 คน
3 อบรมแบบไฮบริดิ เรื่�อง การสร้า้ งข้้อสอบออนไลน์บ์ นระบบ SUT วันั ที่่� 14 มิิถุุนายน 2564 คณาจารย์์/ผู้้�ช่่วยสอน
e-Learning อย่่างปลอดภััยและใช้ส้ อบได้จ้ ริิง ครั้�งที่่� 1 จำำนวน 144 คน
วัันที่่� 16 มิิถุนุ ายน 2564 คณาจารย์์/บุุคลากร
4 อบรมแบบไฮบริดิ เรื่�อง การสร้้างข้้อสอบออนไลน์บ์ นระบบ SUT จำำนวน 42 คน
e-Learning อย่่างปลอดภัยั และใช้้สอบได้้จริงิ ครั้ง� ที่่� 2 วัันที่่� 22-23 มิถิ ุุนายน คณาจารย์์/บุุคลากร
2564 จำำนวน 703 คน
5 ร่ว่ มบรรยายแนวปฏิบิ ััติิการคุมุ สอบออนไลน์์ วัันที่่� 27 กัันยายน 2564 คณาจารย์์/ผู้้�ช่ว่ ยสอน
จำำนวน 56 คน
6 ร่่วมเป็น็ วิิทยากรการจััดอบรมเกี่�ยวกัับการปฏิบิ ััติิหน้้าที่�เป็็นกรรมการคุมุ
สอบออนไลน์์ (SUT e-Learning)

7 การสัมั มนา เรื่�อง การผลิติ สื่�อ e-Courseware และร่ว่ มเป็น็ ผู้�สอนบน
ระบบ SUT X-Lane

PAGE 32 CEIT ANNUAL REPORT 2021

3. วจิ ยั และพัฒนานวตั กรรมส่อื การเรียนการสอน

ศนู ย์นวตั กรรมและเทคโนโลยกี ารศึกษาไดด้ ำ�เนนิ การวจิ ัยเชงิ สำ�รวจ เร่อื ง ปัจจยั ความสำ�เร็จการบริหารจัดการ
ระบบจัดการเรียนการสอนผา่ นเครอื ขา่ ย ในสภาวการณพ์ ลิกผนั สู่การเรียนการสอนออนไลน์ : มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี
(Critical Success Factors for e-Learning Management in the Transition to Online Learning : Suranaree
University of Technology) มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาปัจจัยความสำ�เร็จการบริหารจัดการระบบจัดการเรียนการสอน
ผ่านเครือข่าย ระดับของปัจจัยการบริหารจัดการระบบจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่าย และความพึงพอใจและความคิด
เห็นการบริหารจัดการระบบจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่าย SUT e-Learning ในสภาวการณ์พลิกผันสู่การเรียนการ
สอนออนไลน์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษา อาจารย์ และบุคลากรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
สุรนารี เฉพาะผู้เข้าใชง้ านระบบ SUT e-Learning โดยมผี ู้ตอบแบบสอบถาม จำ�นวน 405 คน อยูใ่ นเกณฑ์จำ�นวนกลุม่ ตัวอยา่ ง
ไม่ต่ำ�กวา่ .05 ตามตาราง Yamane ผลการศึกษา พบว่า ผู้ใชง้ านระบบ SUT e-Learning ส่วนใหญม่ คี วามคดิ เหน็ ตอ่ ปจั จัย
ความสำ�เรจ็ ทสี่ ง่ ผลตอ่ ความสำ�เรจ็ ในการบรหิ ารจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ SUT e-Learning ตามลำ�ดบั ดงั นี้ 1) ดา้ นสถาบนั /
องค์กร/ หนว่ ยงาน อยู่ในระดบั “มาก” ( = 3.91, S.D.=0.85) 2) ด้านผสู้ อน อยใู่ นระดบั “มาก” ( = 3.66, S.D.= 0.88)
3) ด้านการสนบั สนนุ การใชง้ าน อยูใ่ นระดับ “มาก” ( =3.64, S.D.=0.86) 4) ด้านผเู้ รียน อยู่ในระดบั “มาก” ( = 3.63,
S.D.=0.87) 5) ด้านการจดั การเรียนการสอนและเนอ้ื หาอย่ใู นระดับ “มาก” ( = 3.56, S.D.=0.88) 6) ด้านคุณภาพของระบบ
การจดั การเรยี นการสอนผ่านเครอื ข่าย อยู่ในระดบั “ปานกลาง” ( = 3.43, S.D.=0.92) และ 7) ดา้ นเทคโนโลยีและโครงสรา้ ง
พนื้ ฐานอย่ใู นระดบั “ปานกลาง” ( =3.36, S.D. =0.91) สำ�หรบั ความพงึ พอใจต่อการใชง้ านระบบการจดั การเรียนการสอน
ผ่านเครือข่าย SUT e-Learning และการใหบ้ รกิ ารของเจา้ หนา้ ที่ ภาพรวมอยูในระดับ “มาก” ( =3.75, S.D.=0.89) และ
ความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั ประโยชนแ์ ละแนวโนม้ การใชง้ านระบบ SUT e-Learning ภาพรวมอยใู นระดบั “มาก” ( =3.85, S.D.=0.87)

CEIT ANNUAL REPORT 2021 PAGE 33

4. ฝึกประสบการณ์ให้แกน่ กั ศึกษา

ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาได้ดำ�เนินการฝึกประสบการณ์ให้แก่นักศึกษา ในลักษณะกิจกรรมสนามเด็กเล่น
ใน ศนท. “CEIT Playground : เรยี นจริง ร้จู รงิ ลยุ จริง” เพื่อเสริมสรา้ งทักษะที่จำ�เป็นในศตวรรษท่ี 21 ในด้านต่าง ๆ ให้แก่
นักศึกษา อาทิ ทกั ษะอาชพี ทกั ษะการทำ�งานเป็นทมี และทกั ษะชวี ติ โดยนักศึกษาท่เี ข้ารว่ มกจิ กรรมจากสำ�นักวิชาเทคโนโลยีสงั คม
จำ�นวน 6 คน และสำ�นกั วชิ าวศิ วกรรมศาสตร์ จำ�นวน 1 คน ซง่ึ ปฏบิ ตั งิ านถา่ ยทอดสดกจิ กรรมของมหาวทิ ยาลยั รว่ มกบั เจา้ หนา้ ที่
ศนู ย์นวตั กรรมและเทคโนโลยีการศึกษา จำ�นวน 8 กจิ กรรม ดงั น้ี

ลำำดับั ที่� หััวข้้อ/หลัักสููตร วันั เดือื น ปีี ผู้้เ� ข้า้ ร่่วมอบรม

1 SUT-IVCST2021 6 สิิงหาคม 2564 3 คน
2 ปฐมนิิเทศนัักศึกึ ษาใหม่่ มทส. ปีีการศึึกษา 2564 SUT#29 9 สิงิ หาคม 2564 5 คน
3 ปฐมนิิเทศนักั ศึกึ ษาใหม่่ สำำนักั วิิชาเทคโนโลยีีการเกษตร ปีีการศึกึ ษา 2564 10 สิิงหาคม 2564 3 คน
4 ปฐมนิิเทศนัักศึกึ ษาใหม่่ สำำนัักวิิชาวิิศวกรรมศาสตร์์ ปีกี ารศึกึ ษา 2564 10 สิงิ หาคม 2564 3 คน
5 ปฐมนิิเทศบััณฑิติ ศึกึ ษา ปีกี ารศึึกษา 2564 11 สิิงหาคม 2564 3 คน
6 โครงการเส้้นทางสู่�ดวงดาว : ผู้้�ประกาศข่า่ วโทรทัศั น์ด์ ิิจิิทัลั ปีที ี่่� 18 28 สิงิ หาคม 2564 7 คน
7 ศิษิ ย์เ์ ก่่าบอกเล่่าประสบการณ์์ 11 กัันยายน 2564 3 คน
8 มทส. พบอาจารย์์แนะแนว 64 27 กันั ยายน 2564 3 คน

5. ผลิตสอ่ื เพือ่ การประชาสมั พนั ธ์

5.1 การผลิตสือ่ สามมิตเิ พือ่ การประชาสมั พันธ์
ศนู ยน์ วตั กรรมและเทคโนโลยกี ารศกึ ษา รว่ มกบั ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สริ าภรณ์ โพธวิ ชิ ยานนท์ สำ�นกั วชิ าสาธารณสขุ
ศาสตร์ พัฒนาซอฟต์แวร์สามมิติและแอนิเมชัน สำ�หรับนำ�เสนอวิธีการจัดการบำ�บัดน้ำ�เสียภายในชุมชนแสดงผลผ่านเว็บไซต์
เพื่อให้ความรู้และเผยแพร่งานวิจัยให้กับชุมชน ในโครงการวิจัยเร่ือง“การถ่ายทอดองค์ความรู้การนำ�นำ้ �เสียจากชุมชนขนาด
เล็กท่ีผ่านการบำ�บัดแล้วมาใช้ในการเพาะปลูก” ซึ่งสื่อท่ีผลิตได้นำ�ไปใช้ในการประชาสัมพันธ์ในงานด้านนวัตกรรมต่าง ๆ
ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และได้ร่วมกับสำ�นักวิชาเทคโนโลยีสังคม พัฒนาแอพพลิเคช่ันนิทรรศการเสมือน
ไอทโี ชวเ์ คส 2021 เปน็ นิทรรศการจำ�ลองเสมอื นจรงิ สามมิติ แสดงผลผ่านเวบ็ ไซต์ ผลงานนักศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาวิชา
เทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มวิชาซอฟต์แวร์วิสาหกิจ (Enterprise Software) กลุ่มวิชาธุรกิจอัจฉริยะและการวิเคราะห์ข้อมูล
(Business Intelligence and Data Analytics) กลมุ่ วชิ าสารสนเทศศกึ ษา (Information Studies) และกลมุ่ วชิ านเิ ทศศาสตร์
ดจิ ทิ ลั (Digital Communication)
5.2 การผลิตสือ่ วดี ทิ ศั นเ์ พ่อื การประชาสัมพนั ธ์
ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศกึ ษา ไดด้ ำ�เนินการผลิตสื่อวีดิทัศน์เพอ่ื การประชาสัมพนั ธแ์ ละสนับสนนุ กิจกรรมของ
มหาวทิ ยาลยั ดังนี้
- วดี ิทัศน์ผู้บรหิ ารกลา่ วแสดงความยนิ ดกี ับบณั ฑติ ปีบทองช่อที่ 24
- วีดทิ ศั นบ์ ัณฑติ เขม็ ทองคำ� ปีบทองช่อท่ี 24
- วดี ทิ ัศนส์ ถาปนามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยสี รุ นารี ครบ 31 ปี
- วดี ิทศั น์เผยแพร่ผลงานวิจยั
- วีดทิ ัศน์การบรกิ ารจิตเวชในชมุ ชน
- วดี ทิ ัศน์เส้นทางสกู่ ารเปน็ อาจารยต์ น้ แบบด้านการสอน
- วีดทิ ศั น์ศูนย์เชย่ี วชาญเฉพาะทาง (COE)

PAGE 34 CEIT ANNUAL REPORT 2021

- วดี ทิ ศั น์ ประชาสัมพันธ์การเป็นเจ้าภาพจดั ประชมุ วชิ าการ AMM 2022
- วดี ิทศั นเ์ พอื่ นำ�เขา้ สู่การเสวนาของผบู้ ริหาร สมาคมสหกจิ ศกึ ษา
- วีดิทัศน์ประกอบพิธีลงนามบันทึกความร่วมมอื Solar Energy
- วดี ทิ ศั น์สหกจิ ศึกษาบรู ณากบั การทำ�งาน
- วีดิทศั น์แนะนำ�ขนั้ ตอนการเตรียมตวั การสอบออนไลน์
- วดี ทิ ศั น์แนะนำ�กรรมการคมุ สอบออนไลน์
- วีดทิ ัศนแ์ นะนำ�การเข้าใชง้ านระบบ SUT e-Learning
- วีดิทศั นแ์ นะนำ�สาขาวชิ าโทรคมนาคม
- วดี ทิ ศั นแ์ นะนำ�สาขาวชิ าวศิ วกรรมโยธาเพื่อประกอบการขอใบรับรอง ABET
- วีดที ศั น์แนะนำ�ระบบ SUT X-Lane
- วีดิทศั น์การวเิ คราะห์ข้อมลู สถิติสำ�หรบั คนปกตแิ ละผูพ้ ิการทางการไดย้ นิ (ล่ามภาษามอื )

6. ดำ�เนนิ งานสำ�นกั พิมพ์

ศูนยน์ วัตกรรมและเทคโนโลยกี ารศึกษา ดำ�เนินงาน “สำ�นักพิมพ์มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี” โดยมีหนา้ ท่ีสง่ เสริมให้
มกี ารแตง่ แปล เรยี บเรยี ง ตำ�รา หนังสอื ผลงานทางวชิ าการ และส่ิงพิมพ์อืน่ ๆ เพือ่ การเผยแพรผ่ ลงานและความเข้มแขง็ ทาง
วชิ าการของมหาวิทยาลยั ผลการดำ�เนินงานสำ�นักพมิ พ์ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 มีดังนี้
6.1 จัดพมิ พต์ ำ�ราและหนังสือทางวิชาการ จำ�นวน 1 เร่ือง
- ไพธอนและกราฟิกประสานกบั ผ้ใู ช ้ (Python & GUI)
แตง่ โดย ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.คะชา ชาญศิลป์
จำ�นวนพิมพ์ 2,500 เลม่
6.2 หนังสือ/ตำ�ราอยูใ่ นกระบวนการพิจารณาและการตรวจประเมนิ
คณุ ภาพตน้ ฉบับ จำ�นวน 4 เร่อื ง
6.2.1 การพยาบาลผู้ปว่ ยวิกฤต เลม่ 1 (Critical Care Nursing I)
แตง่ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.จนั ทรท์ ริ า เจียรณยั
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศรัญญา จุฬารี
และ นางนภิ าพร พากเพียร
6.2.2 Entrepreneurship and New Venture Creation
แตง่ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.อดศิ ักดิ์ สุวิทวสั
6.2.3 การตลาดผู้ประกอบการ แต่งโดย รองศาสตราจารย์ ดร.อดศิ กั ด์ิ สุวิทวัส
6.2.4 จรยิ ศาสตร์และกฎหมายวชิ าชีพการพยาบาล แตง่ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ศรเี กยี รติ อนนั ตส์ วสั ด์ิ
6.3 จดั จำ�หนา่ ยหนงั สอื ทจี่ ดั พมิ พโ์ ดยสำ�นกั พมิ พม์ หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี รุ นารี ผา่ นศนู ยบ์ รรณสารและสอ่ื การศกึ ษา
และศนู ย์หนงั สือแห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั มีรายได้รวมทง้ั ส้ิน 268,535.60 บาท (สองแสนหกหมื่นแปดพันห้ารอ้ ยสามสบิ
ห้าบาทหกสิบสตางค)์
6.4 จดั สรรผลประโยชนจ์ ากรายได้จากการจำ�หนา่ ยหนงั สอื /ตำ�รา จำ�นวน 3 เรื่อง ใหแ้ ก่ผแู้ ต่งตำ�ราและหนว่ ยงานท่ี
เก่ยี วขอ้ ง จำ�นวนเงนิ รวมท้งั สน้ิ 47,798 บาท (สห่ี มื่นเจ็ดพันเจด็ รอ้ ยเก้าสิบแปดบาทถ้วน)

CEIT ANNUAL REPORT 2021 PAGE 35

7. สนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการองค์กร 7.3 การใหบ้ ริการ SUT Station
การให้บริการถ่ายทอดสดผ่าน Facebook,
7.1 การใหบ้ รกิ ารระบบสอ่ื สารสองทางผา่ นจอภาพ Youtube และช่องทางอ่ืน ๆ เพ่อื ให้บริการแกห่ นว่ ยงานภายใน
ศนู ย์นวตั กรรมและเทคโนโลยีการศึกษา ให้บริการ มหาวิทยาลัยท่ีมีความต้องการให้ถ่ายทอดสดกิจกรรมต่าง ๆ
ระบบส่ือสารสองทางผ่านจอภาพ (Video Conference ผ่านชอ่ งทาง Facebook Live และ Youtube Channel เพอื่
System) เพอ่ื การจัดประชุมของหน่วยงานต่าง ๆ การเรยี น ผ้สู นใจเข้ารบั ชมกจิ กรรมผ่านทาง Social Media โดยกจิ กรรมที่
การสอน และการประชมุ ทางวิชาการ โดยไดจ้ ัดเตรยี มระบบ ให้บรกิ าร ไดแ้ ก่
สื่อสารสองทางผ่านจอภาพและระบบการเชื่อมต่อเข้ากับการ 1) กิจกรรมปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่แบบออนไลน์ผ่าน
ประชุมผ่านโปรแกรม Zoom สามารถใช้งานได้พร้อมกัน 3 Facebook Live และ Youtube Channel
ห้องประชมุ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ไดใ้ หบ้ ริการเพอ่ื การ 2) การจัดประชมุ สภามหาวทิ ยาลยั ประจำ�ทุกเดอื น
ประชมุ จำ�นวน 236 คร้งั 3) กิจกรรม SUT Talk
7.2 การให้บริการห้องประชมุ ออนไลน์ 4) พิธีมอบหมวกและตะเกียงไนติงเกลล์ ของนักศึกษา
การใหบ้ รกิ ารห้องประชมุ ออนไลน์ โดยใช้รว่ มกบั พยาบาล สำ�นักวิชาพยาบาลศาสตร์
โปรแกรม Zoom Cloud Meeting โดย ศูนย์นวัตกรรม
และเทคโนโลยีการศึกษาจัดไว้สำ�หรับการจัดประชุมของหน่วย
งานต่างๆ ของมหาวิทยาลัย และเพ่ือรองรับการเรียนการ
สอนออนไลน์ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
COVID – 19 ต้ังแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นมา
โดยบริหารจัดการการใช้งานตามการขอใช้บริการผ่านระบบ
SUT e–booking เพ่อื หมุนเวียนการใชง้ านโปรแกรม Zoom
ลิขสทิ ธ์ิท่มี ีอยู่อยา่ งจำ�กดั ใหเ้ กิดประสิทธภิ าพสูงสุด

PAGE 36 CEIT ANNUAL REPORT 2021

7.4 การให้บริการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์
วงจรปิด
ศูนยน์ วัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาให้บริการ
ถ่ายทอดสญั ญาณโทรทศั น์วงจรปดิ ในกิจกรรมต่าง ๆ ทีไ่ ดร้ บั
มอบหมายจากมหาวทิ ยาลัย ไดแ้ ก่
- งานพิธรี บั เส้อื กาวน์ ของนักศกึ ษาแพทย์
สำ�นกั วชิ าแพทยศาสตร์
7.5 สถานวี ทิ ยกุ ระจายเสยี ง มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี
สุรนารี FM 99.50 MHz
ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา มีหน้าที่
ดูแล ตรวจสอบ บำ�รุงรักษา เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ใน
การออกอากาศของสถานีวิทยุให้สามารถใช้งานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ รวมทั้งดำ�เนินการต่ออายุใบอนุญาตผู้ทดลอง
ประกอบกิจการสถานีวิทยุกระจายเสียงเป็นไปตามระเบียบของ
สำ�นกั งานคณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์
และกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ โดยไดด้ ำ�เนนิ การออกอากาศ
ทุกวนั ตงั้ แตเ่ วลา 06:00 น. – 24:00 น.

CEIT ANNUAL REPORT 2021 PAGE 37
ภาพบุคลากร ศูนยนวตั กรรมและเทคโนโลยกี ารศกึ ษา

ผูบ รหิ ารหนว ยงาน (1 ตุลาคม 2563 – 30 กันยายน 2564)

รองศาสตราจารย ดร.ธรา อง่ั สกุล

ผอู ำนวยการศูนยน วตั กรรมและเทคโนโลยกี ารศกึ ษา

อาจารย ดร.สรชัย กมลลมิ้ สกุล

รองผอู ำนวยการศนู ยนวตั กรรมและเทคโนโลยีการศกึ ษา

นายถุงเงนิ ดาวเท่ียง

หวั หนาสำนักงาน ผอ. ศนท.

ผูบรหิ ารหนว ยงาน (1 ตลุ าคม 2564 – ปจ จุบัน)

อาจารย ดร.สรชัย กมลลมิ้ สกุล

ผอู ำนวยการศูนยน วัตกรรมและเทคโนโลยกี ารศกึ ษา
(รักษาการแทน)

อาจารย ดร.ธวัชพงษ พทิ ักษ

รองผูอำนวยการศูนยนวตั กรรมและเทคโนโลยกี ารศกึ ษา
(รกั ษาการแทน)

นายถงุ เงนิ ดาวเทย่ี ง

หวั หนาสำนกั งาน ผอ. ศนท.

ฝา ยPAบGรEหิ 38ารงานทวั่ ไป CEIT ANNUAL REPORT 2021

นางอิสรยี  ดันน นางรัชตนลนิ บตุ รแสงดี

หัวหนา ฝา ยบรหิ ารงานทั่วไป เจาหนา ท่ีบรหิ ารงานท่ัวไป

ฝา ยวจิ ัยและพฒั นาส่อื การศึกษา นางวรรณา ลตี านา

นายอมรเทพ เทพวชิ ิต เจาหนาทบ่ี ริหารงานทัว่ ไป

หัวหนา ฝา ยฝายวิจยั และพฒั นาสือ่ การศึกษา นางกมลพรรณ ชยั บำรุง
(รกั ษาการแทน)
เจา หนา ทบ่ี ริหารงานทั่วไป

นางพิมพรรณ อนนั ตชลาลัย

เจาหนาทบ่ี รหิ ารงานทั่วไป

นางคนึง กานิล

เจาหนา ทบี่ ริหารงานทั่วไป

นางสาวธิดารัตน รายพิมาย

เจา หนา ทีบ่ ริหารงานท่วั ไป

นางสาวธาริณี เภากลาง

พนกั งานธุรการ

นายอรรคเดช โสสองชนั้

เจา หนาทีว่ ิเคราะหระบบคอมพิวเตอร

นางสาวศุทธินี ศรสี วสั ด์ิ

นกั เทคโนโลยกี ารศึกษา

นางสาวอภสิ รา ออสวุ รรณ

นกั เทคโนโลยกี ารศึกษา

CEIT ANNUAL REPORT 2021 PAGE 39

ฝายผลติ ส่อื คอมพวิ เตอร นายนฤดล ดามพส ุกรี

นายสนั ทัด เหมจันทกึ นักเทคโนโลยกี ารศกึ ษา

หัวหนาฝา ยผลิตสื่อคอมพิวเตอร นายขจรศักดิ์ ทองรอด
(รกั ษาการแทน)
นกั เทคโนโลยกี ารศึกษา
ฝายผลติ สือ่ โสตทัศน
นายวัยวฒุ ิ นาคสำราญ
นายวนั ชยั นอยมะโน
นกั เทคโนโลยกี ารศกึ ษา
หัวหนา ฝา ยผลติ สอ่ื โสตทัศน
นายพรสิงห นลิ ผาย

นักเทคโนโลยีการศึกษา

นางอบุ ล ชูรตั น

นักเทคโนโลยกี ารศกึ ษา

นายธรี ะพล ขจัดมลทิน

นักเทคโนโลยกี ารศกึ ษา

นายณฐั วุฒิ วรรณทอง

นักเทคโนโลยีการศึกษา

นายปฐวี มีสวัสด์ิ

นกั เทคโนโลยีการศกึ ษา

นายชัยกมล พรหมจิต

นักเทคโนโลยีการศกึ ษา

นายวุฒิ สื่อกลาง

พนกั งานโสตทัศนูปกรณ

นายอำนาจ ประพิณ

พนักงานบริการโสตทัศนปู กรณ

นายจริ ายุ ศรชี ยั รมยร ัตน

นักเทคโนโลยกี ารศกึ ษา

นายเจษฎากร ดมุ ภใหม

พนกั งานบริการโสตทศั นปู กรณ

PAGE 40 CEIT ANNUAL REPORT 2021

ฝายเทคนคิ วิศวกรรม นายนยิ ม ประทุมมา

นายวษิ ณุ กหุ ลาบ เจา หนา ท่ีวเิ คราะหระบบคอมพวิ เตอร

หวั หนาฝา ยเทคนิควศิ วกรรม นายธิตนิ  แกว อดุ ร

สำนักพมิ พ เจาหนาทีว่ เิ คราะหร ะบบคอมพิวเตอร

นางสาวอรนชุ อวิรทุ ธไพบลู ย นายวุฒินนั ท วามะกัน

หวั หนาสำนกั พมิ พ วิศวกร

ฝา ยพฒั นานวัตกรรม นางสาวเปรมฤทัย สีแปลก

นายเมธี ประสมทรพั ย เจาหนา ท่ีวเิ คราะหระบบคอมพวิ เตอร

หัวหนา ฝายพัฒนานวตั กรรม นายรพพี งศ คนิ ขุนทด

นายชา งเทคนคิ

นายมนตรี อนุ ใจ

นายชางเทคนิค

นายนิธิกร หลมุ ใส

พนักงานบริการโสตทัศนปู กรณ

นายประพนั ธ พนั ธอุ นุกูล

นกั เทคโนโลยกี ารศกึ ษา

นายจิรภทั ร แซพนั

นักเทคโนโลยกี ารศึกษา

นายธนกร วิชติ กง่ิ

นกั เทคโนโลยีการศึกษา

CEIT ANNUAL REPORT 2021 PAGE 41

คณะผู้้�จััดทำำรายงานประจำำปีี 2564

ที่ป�่ รึกึ ษา : ผู้อ�้ ำำนวยการศูนู ย์น์ วัตั กรรมและเทคโนโลยีีการศึกึ ษา (รักั ษาการแทน) : อาจารย์์ ดร.สรชัยั กมลลิ้ม�้ สกุลุ
รองผู้อ�้ ำำนวยการศูนู ย์น์ วัตั กรรมและเทคโนโลยีีการศึกึ ษา (รักั ษาการแทน) : อาจารย์์ ดร.ธวัชั พงษ์์ พิิทักั ษ์์
หัวั หน้้าสำำนักั งานผู้อ�้ ำำนวยการศูนู ย์น์ วัตั กรรมและเทคโนโลยีีการศึกึ ษา : นายถุงุ เงิิน ดาวเที่ย�่ ง

คณะผู้จ�้ ัดั ทำำ : หัวั หน้้าฝ่า่ ยบริิหารงานทั่่ว� ไป : นางอิิสรีีย์์ ดันั น์์
หัวั หน้้าฝ่า่ ยวิิจัยั และพัฒั นาสื่อ�่ การศึกึ ษา : นายอมรเทพ เทพวิิชิิต (รักั ษาการแทน)
หัวั หน้้าฝ่า่ ยผลิิตสื่อ�่ คอมพิิวเตอร์์ : นายสันั ทัดั เหมจันั ทึกึ (รักั ษาการแทน)
หัวั หน้้าฝ่า่ ยผลิิตสื่อ�่ โสตทัศั น์์ : นายวันั ชัยั น้้อยมะโน
หัวั หน้้าฝ่า่ ยเทคนิิควิิศวกรรม : นายวิิษณุุ กุหุ ลาบ
หัวั หน้้าสำำนักั พิิมพ์์ : นางสาวอรนุชุ อวิิรุทุ ธไพบููลย์์
หัวั หน้้าฝ่า่ ยพัฒั นานวัตั กรรม : นายเมธีี ประสมทรัพั ย์์
นายประพันั ธ์์ พันั ธุ์์�อนุกุ ููล
นายวัยั วุฒุ ิิ นาคสำำราญ
นางสาวธาริิณีี เภากลาง

ออกแบบ จัดั วางเนื้้อ� หาและภาพประกอบ : นายขจรศักั ดิ์์� ทองรอด
ภาพประกอบเพื่อ�่ การประชาสัมั พันั ธ์์ : บุคุ ลากรฝ่า่ ยผลิิตสื่อ�่ โสตทัศั น์ท์ ุกุ ท่า่ น

ศูนู ย์น์ วัตั กรรมและเทคโนโลยีีการศึกึ ษา
มหาวิิทยาลัยั เทคโนโลยีีสุรุ นารีี
111 ถนนมหาวิิทยาลัยั ตำำบลสุรุ นารีี อำำเภอเมืืองนครราชสีีมา จังั หวัดั นครราชสีีมา 30000
โทรศัพั ท์์ 0-4422-4972 โทรสาร 0-4422-4974
http://ceit.sut.ac.th
https://www.facebook.com/Ceit.Sut

ͧ¤¡ ÃáË‹§¸ÃÃÁ ¹ÇµÑ ¡ÃÃÁÅÓé ÊÁÂÑ
ãÊã‹ ¨ºÃÔ¡Òà ¼ÅÔµ§Ò¹µÃ§àÇÅÒ

ȹ٠¹ ÇµÑ ¡ÃÃÁáÅÐà·¤â¹âÅÂ¡Õ ÒÃÈ¡Ö ÉÒ

ÁËÒÇ·Ô ÂÒÅÂÑ à·¤â¹âÅÂÕÊÃØ ¹ÒÃÕ
111 ¶.ÁËÒÇ·Ô ÂÒÅÑ µ. ÊÃØ ¹ÒÃÕ Í. àÁÍ× § ¨. ¹¤ÃÃÒªÊÕÁÒ 30000
â·ÃÈѾ· 0-4422-4994 â·ÃÊÒà 04422-4974
http://ceit.sut.ac.th


Click to View FlipBook Version