The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thidarat.kan, 2021-10-22 04:32:19

แฟมสะสมผลงานฝกประสบการณการสอน

1






แผนจัดการเรียนรู้ที่ 11 (Online)


กลุ่มสาระการเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ชั้นประถมศึกษาปีท 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
ี่
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หินและซากดึกดำบรรพ์ วันที่ 12 กรกฎาคม 2564
เวลาเรียน 1คาบ (50 นาที) เรื่อง หิน วัฏจักรหินและซากดึกดำบรรพ์ (สำรวจความรู้เดิมก่อนเรียน)

ผู้สอน นางสาวธิดารัตน์ คังคะวิสุทธิ์

1. สาระการเรียนรู้

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

2. มาตรฐานการเรียนรู้


มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง

ภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้ง

ผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

ี้
3. ตัวชวัด

ว3.2 ป.6 / 1 เปรียบเทียบกระบวนการเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร และ

อธิบายวัฏจักรหินจากแบบจําลอง


4. จุดประสงค์การเรียนรู้


1. นักเรียนสามารถบอกความรู้เดิมเกี่ยวกับเรื่องหินได้ (K)


2. นักเรียนสามารถลงความเห็นจากข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องหินได้ (P)


3. นักเรียนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม (A)


5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์


1. มุ่งมั่นในการทำงาน


6. สมรรถนะที่สำคัญ


1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

2


7.สาระการเรียนรู้แกนกลาง


หินเป็นวัสดุแข็ง เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ประกอบด้วยแร่ตั้งแต่หนึ่งชนิดขึ้นไป สามารถจําแนกหินตาม

กระบวนการเกิดได้เป็น 3 ประเภทได้แก่ หินอัคนี หินตะกอน และหินแปร



หินอัคนีเกดจากการเย็นตัวของแมกมา เนื้อหินมีลักษณะเป็นผลึกทั้งผลึก ขนาดใหญ่และขนาดเล็ก บาง
ชนิดอาจเป็นเนื้อแก้วหรือมีรูพรุน



หินตะกอน เกิดจากการทับถมของตะกอน เมื่อถูกแรงกดทบและมีสารเชื่อมประสานจึงเกิดเป็นหิน เนื้อหิน
กลุ่มนี้ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นเม็ดตะกอน มีทั้งเนื้อหยาบและเนื้อละเอียด บางชนิดเป็นเนื้อผลึกที่ยึดเกาะกัน เกิด


จากการตกผลึกหรือตกตะกอนจากน้ำโดยเฉพาะน้ำทะเล บางชนิดมีลักษณะเป็นชั้น ๆ จึงเรียกอกชื่อว่า หินชั้น


หินแปร เกิดจากการแปรสภาพของหินเดิมซึ่งอาจเป็นหินอัคนี หินตะกอน หรือหินแปร โดยการกระทําของ

ความร้อน ความดัน และปฏิกิริยาเคมี เนื้อหินของหินแปรบางชนิดผลึกของแร่เรียงตัวขนานกันเป็นแถบ บางชนิด


แซะออกเป็นแผ่นได้ บางชนิดเป็นเนื้อผลึกที่มีความแข็งมาก


8.สาระสำคัญ


ลักษณะของหินแต่ละชนิด


โลกเป็นดาวเคราะห์ดวงหนึ่ง จัดอยู่ในพวกดาวเคราะห์หิน ซึ่งมี ดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาว อังคาร และ ดาว

พลูโต อีกกลุ่มหนึ่งเป็นดาวเคราะห์ที่เป็นแก๊ส ได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน การที่โลก
เป็นดาวเคราะห์หิน องค์ประกอบส่วนใหญ่ของโลกจึงเป็นหิน แม้ว่าผิวโลกส่วนใหญ่จะปกคลุมด้วยน้ำแต่ใต้พื้นน้ำ

และพื้นดินลึกลงไปมีแต่หิน เราอาจพบหินอยู่ทั่วๆไปบนพื้นโลก หินที่พบอาจมีลักษณะแตกต่างกันในเรื่อง สี เนื้อ

หิน องค์ประกอบ ความหนาแน่น ฯลฯ ซึ่ง อาจจำแนกหินเป็นกลุ่มๆ ได้ตามลักษณะที่สังเกต การจำแนกหินทำให้

สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม

การจำแนกหินตามลักษณะ



นักธรณีวิทยาเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเรื่อง หิน ดิน และแร่ของโลก ได้แบ่งหินออกเป็น 3 กลุ่ม ตาม
ลักษณะการเกิด คือ หินอัคนี เกิดจากการตกผลึกเย็นตัวและการแข็งตัวของหินหลอมเหลว (แมกมา หรือ ลาวา)

หินตะกอนหรือหินชั้นเกิดจากการทับถม อัดแน่น และการเชื่อมประสานของตะกอนต่างๆกลายเป็นหินและหินแปร

เกิดจากการแปรสภาพของหินเดิมเนื่องจากความร้อนและความดัน หินแต่ละชนิดมีลักษณะแตกต่างกันที่สามารถ

สังเกตได้

3



การเปลี่ยนแปลงของหินในธรรมชาติ

หินในธรรมชาติมีการเปลี่ยนแปลงโดยการผุพังอยู่กับที่ ซึ่งแบ่งออกเป็นกระบวนการผุพังทางกายภาพ และ

กระบวนการผุพังทางเคมี กระบวนการผุพังทางกายภาพเกิดจากแรงกระทำต่างๆจากธรรมชาติ เช่น แรงที่เกิดจาก
การขยายตัวและการหดตัวที่ไม่เท่ากันทุกส่วนของหิน เมื่อได้รับความร้อน แรงโน้มถ่วง และแรงดันที่เกิดจากการ

ขยายตัวของน้ำที่ซึมอยู่ตามรอยแตกของหินเมื่อกลายเป็นน้ำแข็งในฤดูหนาว แรงดันของรากไม้ที่ไชชอนลงในหิน

กระบวนการทางกายภาพทำให้หินแตกแล้วมีขนาดเล็กลง แต่ยังมีสมบัติทางเคมีเหมือนหินเดิม ส่วนกระบวนการ

ทางเคมีเป็นการสลายตัวของหินเนื่องจากปฏิกิริยาเคมี ตัวอย่างของปฏิกิริยาเคมที่ทำให้หิน เปลี่ยนแปลง เช่น การ
เกิดสนิมในเนื้อหินที่มีแร่ซึ่งมีธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบ การสลายตัวเนื้อหินที่เกิดจากสารละลายกรด หินใหม่ที่เกิด

จากการผุพงโดยกระบวนการเคมีจะมีสมบัติทางเคมีต่างไปจากหินเดิม


หิน คือ ก้อนวัตถุแข็งประกอบขึ้นด้วยแร่หลายชนิดและเกาะรวมกันอยู่ หินแต่ละก้อน อาจมีรูปร่าง ขนาด

สี ลักษณะผิว น้ำหนักแตกต่างกันไป


ประเภทของหิน แบ่งเป็น 3 ประเภท



1. หินอัคนี คือ หินที่เกิดจากการเย็นตัวและแข็งตัวของหินหนืดที่ร้อนจัด ซึ่งอาจเย็นตัวภายในเปลือกโลก
หรือภายนอกเปลือกโลก



2. หินตะกอน หรือหินชั้น คือ หินที่เกิดจากสิ่งต่างๆ เช่น เศษหิน กรวด ทราย เป็นต้น มาทับถมกัน


ซึ่งสามารถพบซากดึกดำบรรพ์ (fossil) ได้



3. หินแปร คือ หินอัคนีและหินตะกอนที่ได้รับความร้อนและแรงกดดันสูงจนเปลี่ยนเป็นหินชนิดอื่นๆ


ประโยชน์ของหนอัคนี



1. หินแกรนิต ลักษณะเนื้อหยาบถึงหยาบมาก เนื้อแขงสม่ำเสมอ ทนทานต่อการผุกร่อน อาจมีดอกผลึก
แร่เกาะประสานกันแน่น มีสีอ่อน ใช้ประดับ ปูพื้นผนังอาคาร หินสลัก



2. หินแกบโบร ลักษณะเนื้อหยาบ ผลึกใหญ่ มีสีเข้ม ใช้เป็นหินประดับ


3. หินบะซอลต์ ลักษณะเนื้อแน่น ละเอียด มีรูพรุน สีดำเข้ม ทนทานต่อการผุกร่อน ใช้ก่อสร้าง ทำ

ถนน



4. หินแอนดีไซต์ ลักษณะเนื้อละเอียดแน่นทึบสีม่วงเทาแกและดำเข้มใช้ประดับทำถนนทางรถไฟ ก่อสร้าง


5. หินพัมมิซ ลักษณะเนื้อหินสาก เปราะมาก มีรูพรุนขนาดเล็ก ลอยน้ำได้ ใช้ทำวัสดุขัดถ ู

4


ประโยชน์ของหินตะกอน



1.หินกรวดมน หินกรวดเหลี่ยมลักษณะเนื้อหยาบเม็ดตะกอนมีขนาดใหญ่กว่า 2 มิลลิเมตร ประกอบด้วย
กรวด ใช้ในการกอสร้าง เป็นหินประดับ แกะสลัก


2.หินทราย ลักษณะเนื้อหยาบถึงละเอียด ประกอบด้วยเศษหิน เศษแร่ ขนาดเท่าเม็ดทราย ใช้ในการ

ก่อสร้าง แกะสลัก หินประดับ



3.หินดินดาน ลักษณะเนื้อละเอียดมาก ประกอบด้วยแร่ดินเหนียว กระเทาะหลุดเป็นแผ่นได้ง่าย ใช้ใน
อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ เซรามิกส์



4.หินปูน ลักษณะเนื้อละเอียดแน่นทึบ ประกอบด้วยแร่แคลไซต์ บางครั้งพบฟอสซิลปน ใช้ทำปูนซีเมนต์
ปูนขาว ใช้ในงานก่อสร้าง



ประโยชน์ของหินแปร


1. หินไนส์แปรมาจากหินแกรนิตลักษณะผลึกเรียงกันเป็นริ้วขนานแข็งแรงทนทานใช้ทำหินประดับก่อสร้าง



2. หินอ่อน แปรมาจากหินปูน มีทั้งลักษณะเนื้อละเอียดและเนื้อหยาบ ใช้ทำหินประดับ เป็นวัสดุ
ก่อสร้าง




3. หินชนวน แปรมาจากหินดินดาน ลักษณะเนื้อแน่นละเอยด ผิวหน้าเรียบแยกออกเป็นแผ่นได้ ใช้มุง
หลังคา ปูพื้น ทำกระดานชนวน





9.กระบวนการจัดการเรียนรู้


9.1 ขั้นนำ (10 นาที )


9.1.1 ครูสร้างความสนใจโดยใช้คำถาม ดังนี้


ี่
นักเรียนเคยไปเที่ยวน้ำตกไหมคะ นอกจากน้ำทไหลเชี่ยว มีอีกสิ่งหนึ่งที่มีจำนวนมากและ
นักเรียนสามารถพบได้ที่สถานที่ดังกล่าว ลองทายซิว่าสิ่งนั้น คืออะไร


(แนวคำตอบ หิน,กรวด,ทราย)



-นักเรียนทำกิจกรรม Mentimeter ในประเด็น ถ้าพดถึงหิน นักเรียนคิดถึงสิ่งใด

-นักเรียนเคยสงสัยหรือไม่ว่าก้อนหิน กรวด ทราย เหล่านั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร

5


-นักเรียนคิดว่าในแต่ละท้องที่หิน กรวด ทราย เหล่านี้มีลักษณะเหมือนกัน หรือแตกต่าง

กันอย่างไรและเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น


9.1.2 ครูให้นักเรียนดูภาพหิน ทั้ง 3 ประเภท และใช้คำถาม ดังนี้


-จากการสังเกต นักเรียนคิดว่า หิน ทั้ง 3 ภาพ เหมือนหรือต่างกัน


















(แนวคำตอบ เหมือน/ต่าง)


-นักเรียนคิดว่าปัจจัยใดบ้างที่ทำให้หิน มีลักษณะบางอย่างที่เหมือนกันและบางลักษณะ ที่

แตกต่างกัน



(แนวคำตอบ กระบวนการเกิด องคประกอบภายในเนื้อหิน)

-แล้วกระบวนการเกิดหินเป็นอย่างไรคะ ครูใช้คำถามเพื่อกระตุ้นความสงสัยของนักเรียน

และนำเข้าสู่กิจกรรม





9.2 ขั้นกิจกรรม (35 นาที )


9.2.1 นักเรียนทำกิจกรรม “ตกลงเธอคิดยังไงกับฉัน” เพอบันทึกแนวคิดคลาดเคลื่อนที่น่าสนใจ
ื่
ื่
ื่
ของนักเรียนเพอมาใช้ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้เพอแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนให้ถูกต้อง
และต่อยอดแนวคิดที่น่าสนใจของนักเรียนในคาบต่อไป


- ผู้สอนสร้างคำถามใน Jamboard เพอวัดแนวคิดของนักเรียน
ื่

- นักเรียนแต่ละคนสามารถร่วมแสดงความคด ผ่าน Jamboard


- ผู้สอนอธิบายรายละเอียดกิจกรรม Jamboard

6


- ให้นักเรียนร่วมตอบคำถามโดยตอบคำถามจากแนวคิดของนักเรียน นักเรียนสามารถร่วมตอบกี่

คำถามก็ได้ โดยแต่ละคำถามจะมแต้มคะแนน 1 คะแนน โดยรายละเอียดคำถามมีดังนี้


1) ลักษณะภายนอกของหินที่สังเกตได้มีอะไรบ้าง


(แนวคำตอบ สี รูปทรง เนื้อหิน ความวาว ความมีรูพรุน)


2) หินที่พบในธรรมชาติมีลักษณะเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไรบ้าง


(แนวคำตอบ หินแต่ละก้อนอาจจะมีลักษณะต่างๆทั้งที่เหมือนกันและแตกต่างกัน เช่น สี


เนื้อหิน รูปทรง ความวาว ความมีรูพรุน)


3) ภายในหินประกอบด้วยสิ่งใดบ้าง


(แนวคำตอบ นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น หินประกอบด้วยวัสดุที่เป็น

ของแข็ง บางก้อนมีกอนกรวดขนาดต่างๆหรือบางก้อนมีเศษหินปะปนอยู่)


4) หินและแร่คืออะไร


(แนวคำตอบ นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น หินและแร่เป็นวัสดุที่เป็น

ของแข็ง)



5) หินมีกี่ประเภท ได้แกอะไรบ้าง และแต่ละประเภทเกิดขนได้อย่างไร
ึ้
(แนวคำตอบ นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น หินมี3ประเภท ได้แก่หินอัคนี

หินตะกอน และหินแปร หินบางประเภทเกิดจากการเย็นตัวและตกผลึกของแมกมาใต้ผิว

โลกบางประเภทเกิดจากการเย็นตัวและแข็งตัวของลาวาบนผิวโลก)


6) วัฏจักรหินคืออะไร


(แนวคำตอบ นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น วัฏจักรหินเป็นการ


เปลี่ยนแปลงของหินประเภทหนึ่งไปเป็นหินอกประเภทหนึ่งและสามารถเปลี่ยนแปลง
กลับไปเป็นหินประเภทเดิมได้)


7) สิ่งใดบ้างทำจากหิน


(แนวคำตอบ นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น ครกทำมาจากหิน)


8) สิ่งใดบ้างทำจากแร่

7


(แนวคำตอบ นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น กระจำทำมาจากแร่)


9) ซากดึกดำบรรพ์คืออะไร


(แนวคำตอบ นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น เป็นร่องรอยของสิ่งมีชีวิตใน

อดีตที่ปรากฏอยู่ในหิน)


9.2.2 นักเรียนบันทึกกิจกรรมสำรวจความรู้ก่อนเรียน ในแบบฝึกหน้า 64-66


9.3 ขั้นสรุป (5นาที)


ื่
อภิปรายแนวคิดในการสำรวจความคิดในกิจกรรม “คิดยังไงกับฉัน” เพอบันทึกแนวคิด

ื่
ื่

คลาดเคลื่อนที่น่าสนใจของนักเรียนเพอมาใช้ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้เพอแกไขแนวคิด
คลาดเคลื่อนให้ถูกต้องและต่อยอดแนวคิดที่น่าสนใจของนักเรียนในคาบต่อไป

10. วัสดุอุปกรณ์ -


11. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้


- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตามมาตรฐานการเรียนรู้และ

ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551


- สไลด์ประกอบการสอน


- Jamboard


- Mentimeter

8


12. การวัดและประเมินผล


จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล

1.ด้านความรู้ ( K ) -การตอบคำถาม -คำถามทบทวน 4 คือ นักเรียนสามารถบอกความรู้เดิมได้


-นักเรียนสามารถบอก และร่วมกิจกรรม ความรู้เดิม ครบ 9 ข้อและมีความถูกต้องทุกขอ
ความรู้เดิมเกี่ยวกับเรื่อง Jamboard -แบบสำรวจ 3 คือ นักเรียนสามารถบอกความรู้เดิมได้


หินได้ (K) -การเขียนบันทึก ความรู้เดิม อย่างน้อย 6 ข้อและมีความถูกต้อง

สำรวจความรู้เดิม -Jamboard 2 คือ นักเรียนสามารถบอกความรู้เดิมได้

-Mentimeter อย่างน้อย 3 ข้อและมีความถูกต้อง

1 คือ นักเรียนสามารถบอกความรู้เดิมได้

อย่างน้อย 1 ข้อ และมีความถูกต้อง

0 คือ นักเรียนไม่สามารถบอกความรู้เดิม

หรือบอกข้อมูลได้ไม่ถกต้องทั้ง


9 ข้อ



2.ด้านทักษะ / 1.สำรวจความรู้ 4 คือ นักเรียนมีทักษะในการลงความเห็น
-คำถามทบทวน
สมรรถนะที่สำคัญของ ก่อนเรียน จากการตอบคำถามครบทั้ง 9 ข้อ
ความรู้เดิม
ผู้เรียน ( P ) 2. ศึกษาค้นคว้า 3 คือ นักเรียนมีทักษะในการลงความเห็น
-แบบสำรวจ
นักเรียนมีทักษะในการลง และบันทึกข้อมูล จากการตอบคำถามอย่างน้อย
ความรู้
ความเห็นจากขอมูล (P) 3. การลงความเห็น -Jamboard 6-8 ข้อ

จากคำถามใน 2 คือ นักเรียนมีทักษะในการลงความเห็น
Jamboard /สมรรถนะที่
จากการตอบคำถามอย่างน้อย
สำคัญของ
ผู้เรียน 4-6 ข้อ


1 คือ นักเรียนมีทักษะในการลงความเห็น

จากการตอบคำถามอย่างน้อย

1-3 ข้อ

0 คือ นักเรียนไม่มีทักษะในการลง

ความเห็นจากการตอบคำถามเลย

9


จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล

3.ด้านคุณลักษณะอัน -สังเกตพฤติกรรม -แบบประเมิน 4 คือ นักเรียนแสดงพฤติกรรมอย่าง

พึงประสงค์ ( A ) ในคาบเรียน คุณลักษณะอัน สม่ำเสมอ

-นักเรียนให้ความ -สร้างแบบประเมิน พึงประสงค์ 3 คือ นักเรียนแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง


ร่วมมือในการทำ คุณลักษณะอันพึง 1.ตั้งใจเรียนและ 2 คือ นักเรียนแสดงพฤติกรรม2-3ครั้ง
กิจกรรม (A) ประสงค์ ตั้งใจทำงานที่ 1 คือ นักเรียนแสดงพฤติกรรมอย่างน้อย


ได้รับมอบหมาย 1ครั้ง

2. ให้ความ 0 คือ นักเรียนไม่แสดงพฤติกรรม

ร่วมมือในการทำ

กิจกรรมต่าง ๆ

3. มีความ

รับผิดชอบ







สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน



สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน วิธีการประเมิน เครื่องมือการประเมิน เกณฑ์ในการประเมิน


1.ความสามารถในการใช้ -การทำกิจกรรม -แบบสังเกตพฤติกรรม -ได้คะแนนผ่านเกณฑ ์


เทคโนโลยี “สำรวจความรู้ และบันทึกคะแนนในชั้น ร้อยละ70


เดิมเรื่องหิน” เรียน


ผ่าน Jamboard

10


คุณลักษณะอันพึงประสงค์



คุณลักษณะอันพึงประสงค์ วิธีการประเมิน เครื่องมือการประเมิน เกณฑ์ในการประเมิน


1.มุ่งมุ่นในการทำงาน -การทำกิจกรรม -แบบสังเกตพฤติกรรม -ได้คะแนนผ่านเกณฑ ์


“สำรวจความรู้เดิมเรื่อง และบันทึกคะแนนใน ร้อยละ70


หิน” ชั้นเรียน


ผ่าน Jamboard


12.ภาคผนวก


เกณฑ์การประเมินสมรรถนะสำคัญผู้เรียน


1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลย ี

ดี (3 คะแนน) มีทักษะการใช้เทคโนโลยีทำให้สามารถทำกิจกรรม “สำรวจความรู้เดิมเรื่องหิน”


สำเร็จลุล่วงได้

ปานกลาง (2 คะแนน) มีทักษะการใช้เทคโนโลยีทำให้สามารถทำกิจกรรม “สำรวจความรู้เดิมเรื่องหิน”


สำเร็จลุล่วงได้แต่ต้องมีผู้สอนช่วยชี้แนะ


ควรปรับปรุง (1คะแนน) ขาดทักษะการใช้เทคโนโลยีทำให้เป็นอุปสรรคในการทำกิจกรรม


“สำรวจความรู้เดิมเรื่องหิน”

เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์


ุ่
1. มงมั่นในการทำงาน
ดี (3 คะแนน) แสดงความตั้งใจในการทำกิจกรรม และให้ความร่วมมือในการทำ


กิจกรรมเป็นอย่างดี



ปานกลาง (2 คะแนน) แสดงความตั้งใจในการทำกิจกรรมไม่ดีเท่าที่ควร และไม่ให้ความร่วมมอ

ในการทำกิจกรรม

ควรปรับปรุง (1 คะแนน) ขาดความตั้งใจในการทำกิจกรรม และไม่ให้ความร่วมมือในการทำ


กิจกรรมเท่าที่ควร

11


แบบสังเกตพฤติกรรมและบนทึกคะแนนในชั้นเรียน


จุดประสงค์การ สมรรถนะสำคัญของ คุณลักษณะอันพึง

เรียนรู้ ผู้เรียน ประสงค์
รายชอนักเรียน K P A ความสามารถในการใช้ มุ่งมั่นในการ
ื่
(4) (4) (4) เทคโนโลย(3) ทำงาน (3)


12


แบบบันทึกหลังการสอน



ชั้น ผลการจัดการเรียนรู้ ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข


ปัญหา


ป.6/4 เริ่มขั้นนำด้วยการดึงความสนใจของ -นักเรียนบางคนมีอุปกรณ์ที่ -ตรวจสอบข้อจำกัดของแต่ละ


นักเรียนด้วยกิจกรรมรถบัสทัศน มีข้อจำกัดต่อการใช้ทำ application เพื่อทราบปัญหา


ศึกษา พานักเรียนไปเที่ยวออนไลน์ กิจกรรม เช่น มีนักเรียนที่ไม่ และหาแนวทางในการแก้ไข


โดย3สถานที่ที่พาไปคือ น้ำตก ผาหิน สามารถเข้าร่วมกิจกรรมผ่าน เพื่อให้นักเรียนไม่รู้สึกแตกต่าง


และหินงอกหินย้อย การเลือก Jamboard ได้ 2 คน หรือหาทางแก้ไขด้วยวิธีการอื่นที่


สถานที่ดังกล่าว เพราะว่า ทั้ง 3 - นักเรียนที่ตอบคำถามเป็น เหมาะสม เช่น นักเรียนอาจ


สถานที่สามารถพบเห็นหรือเกี่ยวข้อง นักเรียนคนเดิมๆ บันทึกคำตอบผ่านกระดาษแล้ว


กับเรื่องหิน ในบทนี้ แต่กิจกรรมนี้ - มีการก่อกวนขีดเส้นไปมา ถ่ายรูปส่งให้ครู


เป็นกิจกรรมสำรวจความรู้เดิมของ ใน Jamboard -สุ่มเรียกชื่อนักเรียนคนอื่นในการ


นักเรียน ในเรื่อง หิน วัฏจักรหิน ตอบคำถาม หรือ ขอความคิดเห็น


และซากดึกดำบรรพ์ ตัวกิจกรรม เพิ่มเติมจากนักเรียนคนอน
ื่

หลักเป็นกิจกรรม Mentimeter เพื่อ -ให้นักเรียนลบรอยขีด และเริ่ม


สำรวจความรู้ความเข้าใจของ กิจกรรมใช้ Stickynotes เพื่อ


นักเรียนว่าหินคืออะไร และเข้าสู่ เบี่ยงเบนความสนใจ และบอก


กิจกรรม เวลาในการทำกจกรรมให้นักเรียน


“ตกลงเธอคดยังไงกับฉัน ช่วยบอก เกิดแรงกระตุ้นในการร่วม


ให้รู้ที” เป็นกิจกรรมสำรวจ กิจกรรม

13


ชั้น ผลการจัดการเรียนรู้ ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะและแนว


ทางแก้ไขปัญหา


ป.6/4 ความรู้เดิมของนักเรียนผ่าน


Jamboard โดยมีคำถาม


ทั้งหมด 9 ข้อ นักเรียนสามารถ


แสดงความคิดเห็นได้ผ่าน


Stickynotes มีกติกาคือ


นักเรียนที่ร่วมตอบคำถาม จะได้


คะแนนข้อละ 1 คะแนน จาก


การใส่คำตอบและชื่อเลขที่ของ


นักเรียน นักเรียนสามารถเข้า


มาร่วมตอบคำถามได้ถึง


18.00 น.ของวันที่ 12 / 07 /64


และ5นาทีก่อนหมดคาบเรียน


ครูมอบหมายการบ้านในบฝ.


วิทย์หน้าที่ 64-66





ลงชื่อ...................................................อาจารย์นิเทศก


(...............................................................................)

ลงชื่อ..................................................อาจารย์พี่เลี้ยง


(.................................................................................)


ลงชื่อ.............................................................. ผู้สอน


(.................................................................................)

14


แบบบันทึกหลังการสอน



ชั้น ผลการจัดการเรียนรู้ ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข


ปัญหา


ป.6/1 เริ่มขั้นนำด้วยการดึงความสนใจของ -คอมพิวเตอร์ของผู้สอนค้าง -ควรบันทึกไฟล์การสอนไว้ทั้งใน


นักเรียนด้วยกิจกรรมรถบัสทัศน -นักเรียนบางคนมีอุปกรณ์ที่ คอมพิวเตอร์ และอปกรณ์อื่นๆ


ศึกษา พานักเรียนไปเที่ยวออนไลน์ มีข้อจำกัดต่อการใช้ทำ เช่น ไอแพด ครูแก้ไขสถานการณ์


โดย3สถานที่ที่พาไปคือ น้ำตก ผาหิน กิจกรรม โดยการให้นักเรียนทำแบบสำรวจ


และหินงอกหินย้อย การเลือก - นักเรียนที่ตอบคำถามเป็น ความรู้ใน บฝ.ก่อน เพื่อรอให้



สถานที่ดังกล่าว เพราะว่า ทั้ง 3 นักเรียนคนเดิมๆ เครื่องคอมพวเตอร์ติดและจัดการ

สถานที่สามารถพบเห็นหรือเกี่ยวข้อง - มีการก่อกวนขีดเส้นไปมา เรียนรู้ให้กับนักเรียนต่อได้


กับเรื่องหิน ในบทนี้ แต่กิจกรรมนี้ ใน Jamboard -ตรวจสอบข้อจำกัดของแต่ละ


เป็นกิจกรรมสำรวจความรู้เดิมของ application เพื่อทราบปัญหา


นักเรียน ในเรื่อง หิน วัฏจักรหิน และหาแนวทางในการแก้ไข


และซากดึกดำบรรพ์ ตัวกิจกรรม เพื่อให้นักเรียนไม่รู้สึกแตกต่าง


หลักเป็นกิจกรรม Mentimeter เพื่อ หรือหาทางแก้ไขด้วยวิธีการอื่นที่


สำรวจความรู้ความเข้าใจของ เหมาะสม เช่น นักเรียนอาจ


นักเรียนว่าหินคืออะไร และเข้าสู่ บันทึกคำตอบผ่านกระดาษแล้ว


กิจกรรม ถ่ายรูปส่งให้ครู


“ตกลงเธอคดยังไงกับฉัน ช่วยบอก -สุ่มเรียกชื่อนักเรียนคนอื่นในการ


ให้รู้ที” เป็นกิจกรรมสำรวจ ตอบคำถาม หรือ ขอความคิดเห็น


ื่
เพิ่มเติมจากนักเรียนคนอน

15






















ภาคผนวก

ผลการทำกิจกรรมของนักเรียน


























Click to View FlipBook Version