The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by piyada thepputhorn, 2019-06-05 07:24:46

UNIT2 (2)

UNIT2 (2)

หน่วยที่ 2 ครูปิ ยดา เทพภูธร

การจาแนกพชื และสาขาพืชศาสตร์ แ ผ น ก วิ ช า พื ช ศ า ส ต ร์
วิทยาลัยเกษตรและ
เทคโนโลยีร้ อยเอ็ด

หน่วยที่ 2

การจาแนกพชื และสาขาวิชาพืชศาสตร์

1.การจาแนกประเภทพืชจาแนกได้ 3 ประเภทใหญ่
1.1 ปา่ ไม้
1.2 พืชไร่
- การจาแนกพืชตามความมุง่ หมายท่ใี ช้
- การจาแนกพืชตามลักษณะการนามาใชป่ ระโยชน์
- การจาแนกพืชตามอายุ
- จาแนกตามความต้องการนา้ ของพชื
- การจาแนกพืชตามลกั ษณะการใชพ้ ืน้ ท่ี
1.3 พชื สวน
- ไม้ผล
- พืชผกั
- ไม้ดอก – ไม้ประดบั
- การตกแตง่ สถานที่
- แขนงย่อย

1.1 ปา่ ไม้
ป่าไมค้ ือ อาณาบริเวณที่ต้นไมข้ ึน้ หนาแน่นมีพน้ื ท่ีกว้างขวางพอท่ีจะมีผลตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มต่างๆ เชน่ ลมฟ้าอากาศใน

บรเิ วณทอ้ งถิ่นน้ันๆ ป่าไม้เปน็ ทรพั ยากรท่หี มดสนิ้ และสญู พันธุไ์ ปไดแ้ ตส่ ามารถรกั ษาใหค้ งท่ีไว้ได้ หรอื สามารถปรับปรงุ ใหด้ ี
ข้ึนโดย การสรา้ งสวนป่าทดแทนปา่ ทถ่ี ูก ทาลายไปโดยชนิดของป่าไมใ้ นประเทศไทยจาแนกได้ดังนี้

1.1.1 ป่าดงดิบหรือป่าไมผ้ ลดั ใบ(Evergreen Forest) หรอื ป่าไม้ไมผ่ ลัดใบมพี นั ธุ์ไมซ้ ง่ึ มีใบเขียวตลอดปแี บง่ ออกเปน็
1. ป่าดงดิบหมายถงึ ปา่ ที่เกดิ ข้ึนในภูมิประเทศคอ่ นขา้ งช้ืน มีฝนชุกและได้รบั อทิ ธิพล ลมมรสมุ อย่างมาก ป่าชนิดนี้
กระจัดกระจายอยูท่ ั่วไปไมว่ ่าตามที่ราบหรือแถบภเู ขา ป่าดงดบิ ยังแบ่งได้ 3 ชนิด ดังนี้
- ปา่ ดงดิบชื้น (Tropical rain Forest)
- ปา่ ดงดิบแลง้ (Dry or Semi-evergreen forest)
- ป่าดงดิบเขา (Hill evergreen forest)
2. ป่าสนเขา หมายถึง ปา่ ท่ีมลี ักษณะของดนิ ท่ีมคี วามอดุ มสมบรู ณ์คอ่ นขา้ งตา่ มีตน้ ไมเ้ พียง 2-3 ชนดิ ข้นึ อยูใ่ นปา่
ชนดิ น้สี ่วนมากเป็นพวกสนเขา ซ่ึงมกั จะโปรง่ หรอื โลง่ แจง้ บางท้องท่ีมีไฟปา่ ไหมบ้ ่อยๆ เพราะไมส้ นมีนา้ มนั ที่ตดิ ไฟได้ง่าย ปา่
ชนิดนี้มีลักษณะคลา้ ยๆ ปา่ ทงุ่ มอี ย่กู ระจดั กระจายเปน็ หยอ่ มทางภาคเหนือและภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือบรเิ วณที่ราบสงู ซง่ึ มี
ความสงู 200 – 1,300 เมตร ดินมกั เป็นดินทราย ดนิ ปนกรวด

3.ป่าพรุหรอื ปา่ บึง(Swamp forest) หมายถึงปา่ ชนดิ น้ีอยู่ในที่ลมุ่ ตา่ ปากแมน่ ้า และชายทะเลทีเ่ ปน็ โคลนเลน 18
จะมพี ืชพนั ธไ์ุ มท้ ่มี ลี ักษณะโดยเฉพาะขึ้นอยู่ ปา่ ชนิดนจี้ ะมนี า้ ทว่ มขงั และลดลงตามชว่ งเวลาหน่งึ ๆ พบมีอยู่ทวั่ ไปใน
บริเวณทล่ี ุ่มของประเทศ ซ่ึงมีปริมาณน้าฝนสูง เนอ่ื งจากเปน็ ดนิ ชุม่ นา้ ตน้ ไมบ้ างชนิดจงึ ตอ้ งปรบั ปรงุ ระบบรากใหเ้ หมา
สมแก่การหายใจ เช่น ปลายรากสดุ จะเป็นปุ่มโผลข่ ึน้ มาเหนือพื้นดิน หรือรากอาจโผลข่ ึ้นมาแลว้ ลงดนิ อกี คร้ังหน่ึงหรือ
อาจ ขึน้ ๆ ลงๆ เชน่ นส้ี องครง้ั กไ็ ด้ ตน้ ไมบ้ างชนดิ จะมรี ากหย่ังซงึ่ งอกออกจากโคนต้นเหนอื ดนิ ปรากฏอย่รู ะเกะระกะ
เพือ่ ยึดลาต้นให้ม่ันคง ตน้ ไมบ้ างชนิด ก็มีพพู อนตามโคนตน้

ป่าชนดิ นอี้ าจจาแนกตามลกั ษณะภมู ิประเทศ 2 ชนิด
- ป่าพรุปา่ บงึ นา้ จดื (Fresh water swamp forest)
- ป่าชายเลนหรอื ปา่ โกงกาง (Mangrove swamp forest)

4.ปา่ ชายหาด (Beach forest) หมายถึง ป่าอย่ตู ามชายฝ่งั ทะเลท่ีดินเป็นทราย มโี ขดหินและฝงั่ ค่อนข้างชัน
และมปี า่ อกี ชนดิ หน่ึงขน้ึ อยเู่ รียกกนั วา่ ปา่ ชายหาด ปา่ ชนิดน้มี พี ืชพันธไ์ุ มอ้ ยเู่ ปน็ แถวแคบๆ หรอื เป็นหยอ่ มๆ มีอยู่มาก
ทางฝงั่ ทะเลตะวนั ออกของไทย ซงึ่ เปน็ ดา้ นทรี่ ับลมฝนและคลื่นอยา่ งเตม็ ที่

1.1.2 ป่าผลดั ใบ (Deciduous Forest) หรือปา่ ไม้ผลัดใบพชื พนั ธุ์ไมท้ ข่ี น้ึ อยู่ในบริเวณน้จี ัดเป็นประเภทผลดั
ใบเพราะต้นไมจ้ ะทงั้ ใบในฤดูแลง้ เกอื บพรอ้ มหรือพรอ้ มกนั ทง้ั ปา่ ตน้ ไม้บางชนิดในปา่ ชนิดนี้ เชน่ ไมส้ กั จะเจรญิ เติบโต
โดยมีวงรอบปปี ี่หน่ึง จะเพมิ่ รอบปีวงหนง่ึ ทาให้เราสามารถศกึ ษาหาอายขุ องตน้ ไมต้ ้นหน่งึ ๆ ได้ รวมท้ังสามารถศกึ ษา
ภาวะดินฟา้ อากาศ ไดจ้ ากวงรอบปี เชน่ ปไี หนแห้งแลง้ หนักหรอื เกดิ ไฟป่าหรอื เกิดโรคระบาด ในบริเวณนน้ั วงรอบปีก็
จะแคบ หากปไี หนนา้ ท่าอุดมสมบรู ณ์วงรอบปีก็จะกวา้ ง ปา่ ไมผ้ ลดั ใบ แบง่ ได้ 4 ชนิด

1. ปา่ เบญจพรรณ หมายถึง ปา่ ทป่ี ระกอบขน้ึ ดว้ ยตน้ ไมผ้ ลดั ใบหลายๆ ชนดิ ปะปนกันอยู่เราจะไม่เหน็
ต้นไม้ในป่าชนิดนผ้ี ลดั ใบพรอ้ มๆกันทเี ดียว แตส่ ่วนใหญผ่ ลดั ใบในฤดูแล้งประมาณ เดือนมีนาคม ถึงเดือนพฤษภาคม
สภาพทวั่ ไปของปา่ ชนิดนี้ คอ่ นข้างแห้งแล้งในฤดแู ล้ง และค่อนขา้ งชุ่มชน้ื ในฤดฝู น ปา่ ชนดิ น้ีมีทั่วไปตามภเู ขาและ
ตามท่รี าบตา่ ในภาคเหนือไมส้ ักมีขน้ึ ในป่าชนดิ น้เี ทา่ นนั้

ลักษณะพืชพนั ธไ์ุ มเ้ บญจพรรณมีตั้งแตค่ อ่ นข้างโล่ง จนค่อนขา้ งทบึ เรือนยอดโดยปกตไิ มแ่ น่นชดิ และ
ประกอบดว้ ยชนั้ ความสงู หนงึ่ หรอื สองชนั้ มเี ถาวัลยบ์ างชนดิ ขน้ึ อยู่ในป่าชนดิ นบ้ี า้ ง พชื พน้ื ล่างไม่ค่อยแนน่ ทบึ ส่วน
ใหญ่ประกอบด้วยหญา้ ชนิดตา่ งๆ วัชพชื พืชลม้ ลุก และลกู ไมจ้ ากไมใ้ หญ่ไม้ไผช่ นดิ ตา่ งๆ เช่น ไผซ่ าง ไผ่รวก ไผ่บง
เปน็ ตน้

2.ป่าแดงหรอื ปา่ เต็งรงั หมายถึง ป่าท่ีเกิดขึ้นบนท่รี าบลูกเนนิ และตามสนั เขาทเ่ี ปน็ ดนิ ปนทรายหรือปน
กรวดเนอ่ื งจากดินถกู ซะลา้ ง หนา้ ดินพงั ทลายลงมาก บางแห่งปรากฏมีหนิ โผลพ่ น้ ดิน มสี แี ดง ชาวบา้ นจงึ เรียกวา่ “ป่า
แดง” ป่าชนดิ นมี้ อี ย่ทู ่วั ไปทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื สว่ นใหญ่ พันธุ์พชื ทพี่ บขึน้ หา่ งๆ กับปา่ ค่อนข้างโลง่
พนั ธ์ไุ ม้มีความสงู แยกออกเป็นสองชนั้ คอื ช้นั บน สงู ประมาณ 10 – 20 เมตร ชัน้ ล่าง สูงราว 7 เมตร สว่ นไมพ้ น้ื ล่างคือ

หญา้ ชนดิ ตา่ งๆ หญา้ เหลา่ นีจ้ ะแห้งตาย และกลายเปน็ เช้อื ไฟอยา่ งดี เม่ือไดร้ บั ลูกไฟจากการเผาไร่ หรอื ก้นบหุ รกี่ จ็ ะ
ลุกลามอย่างรวดเรว็ ทาให้เกดิ เป็นไฟปา่ ในทีส่ ดุ และสรา้ งความเสยี หาย

3.ปา่ ท่งุ หมายถงึ ป่าท่เี กิดข้ึนภายหลงั จากการเผาทาลายปา่ 19

ปา่ ชนิดน้ีมมี ากทีส่ ดุ ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือซึง่ เป็นที่เคยทาไรเ่ ลอ่ื นลอย

ตดิ ตอ่ กนั มานานในอดตี ดนิ มีลกั ษณะเป็นดนิ ปนทราย หรอื ดินลกู รัง ปรมิ าณนา้ ฝนมนี ้อย

จะมปี ่าท่งุ เล็กๆ กระจดั กระจาย สว่ นปา่ ทุ่งแปลงใหญก่ ็ไรป้ ระโยชน์ เช่น ทุ่งกุลาร้องไห้

ในหลายจงั หวดั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ อยา่ งไรก็ดใี นท่งุ หญา้ มตี น้ ไม้กระจัดกระจาย

เปน็ ตน้ ไม้ที่แคระแกรน หญ้าทีข่ น้ึ ในปา่ แบบน้สี ว่ นใหญ่เปน็ หญ้าคา

4.ป่าละเมาะ หมายถงึ ปา่ เตีย้ ๆ ขา้ งๆ หมู่บา้ นประกอบดว้ ยไม้ ไมพ้ ุ่มเลก็ ๆ

กระจดั กระจายทัว่ ไปมพี วกตน้ สาบเสือ หญ้าคา เปน็ ส่วนประกอบ เปน็ ปา่ ทไี่ ม่มคี วามสาคัญทางเศรษฐกจิ แต่อย่างใด

1.2 พืชไร่ (Agronomy)

พชื ทป่ี ลูกในพ้นื ทมี่ ากๆ มกี ารปฏบิ ตั ดิ ูแลรกั ษาอย่างไม่ตอ้ งพถิ พี ิถนั อายกุ ารเกบ็ เกีย่ วไม้ยาวนาน ส่วน

ใหญเ่ ม่ือให้ผลติ ผลแล้วกจ็ ะตายไปเปน็ พชื ทมี่ ีความสาคัญทางเศรษฐกจิ และชวี ิตประจาวันของมนษุ ยม์ าก พชื พวกนี้

ไดแ้ ก่ข้าว ข้าวโพด มนั สาปะหลงั ขา้ งฟาง ยาสูบ ละหงุ่ ฝา้ ยเปน็ ตน้

1.3 พืชสวน (Horticulture)

พชื ท่ีปลูกในพน้ื ทไี่ มม่ ากหรือมากๆ กไ็ ด้แต่ตอ้ งปฏบิ ตั ิดแู ลรกั ษาอยา่ งประณีต สว่ นมากอายุยนื สามารถ

เกบ็ เก่ยี วไดเ้ ป็นเวลานาน หลายปตี ิดต่อกัน แบ่งออกไดเ้ ปน็ หลายแขนง คอื

1.3.1 ไม้ผล (Pomology)

1.3.2 ผกั ต่างๆ (Vegetables)

1.3.3 ไมด้ อกไม้ประดบั (Floriculture)

1.3.4 การตกแตง่ สถานที่ (Landscape and Gardening)

1.3.5 แขนงยอ่ ยอนื่ ๆ

ข้อแตกตา่ งระหวา่ งพชื สวนกบั พชื ไร่

พืชสวน พชื ไร่

1.พืชสวนปลกู ในพน้ื ทีไ่ มม่ ากหรอื มากๆกไ็ ดแ้ ตต่ อ้ ง 1.พชื ไรป่ ลกู ในพน้ื ทม่ี ากๆ ไมต่ อ้ งการปฏิบัติดูแลรกั ษาอยา่ ง

ประณีต

ปฏบิ ตั ิดูแล รักษาอย่างประณตี

2.ส่วนมากมอี ายุยนื สามารถเกบ็ เก่ียวได้เป็นเวลาหลาย 2.มอี ายสุ นั้ มากเกบ็ เก่ียวคร้ังเดียวกจ็ ะตายไป

ปตี ดิ ต่อกนั

3.ขน้ึ อยู่กบั ความประสงค์ของผปู้ ลกู เชน่ ถ้าปลกู 3.ถา้ ปลกู หญ้าทาเปน็ หญา้ เล้ยี งสตั วจ์ ัดเปน็ พืชไร่

หญา้ ทาเปน็ สนามหญา้ บรเิ วณบา้ นจัดเปน็ พชื สวน

4.ตามความเหมาะสมและความนยิ มของทอ้ งถ่นิ เชน่ 4.บางทอ้ งถ่ินนิยามเรียกเปน็ พชื ไร่ คอื ไร่มะนาว ไรย่ างพารา

ไร่สวนมะนาว สวนยางพาราสวนมะพรา้ วเปน็ ตน้ มะพรา้ ว เป็นต้น

การจาแนกประเภทของพชื ไรส่ ามารถแบง่ ภายใต้ทุกสภาพได้แต่เพ่อื ใหง้ ่ายต่อการศึกษาโดยปกติแลว้ การ

จาแนกพชื ไร่ขน้ึ อยู่กับจุดประสงคต์ ่างๆ และความเกีย่ วขอ้ งในทางพฤกษศาสตร์ ความคล้ายคลงึ ของส่วนตา่ งๆ แบง่

ตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์เฉพาะอยา่ ง 20

มนั สาปะหลงั ยางพารา
ซึง่ ในการแบง่ กลุม่ เชน่ นไ้ี ม่ได้อาศัยหลัก

พฤกษศาสตรเ์ ขา้ มาเกีย่ วขอ้ งมากนักพชื ที่

แตกตา่ งกนั ในทางพฤกษศาสตรอ์ าจจดั

รวมอยใู่ นกลมุ่ เดียวกันกไ็ ด้ เช่นพชื อาหาร
ฝ้ าย สัตวจ์ ะรวมท้ังพืชตระกลู หญา้ และพชื

ตระกลู ถวั่ นอกจากนพ้ี ชื ไร่ยงั จาแนกโดย

ข้าวฟ่ าง อาศัยความมงุ่ หมายเฉพาะอยา่ งเช่น ถ่ัว
เขยี วอาจปลูกเป็นพชื เงนิ หรือปลกู เป็นพชื

ปุ๋ยสด

ก็ได้

สรุปการจาแนกประเภทของพชื ไร่อาจแบง่ ออกได้ 5 ลกั ษณะ คือ

1.การจาแนกพชื ไร่โดยถือตามจุดมงุ่ หมายเฉพาะอยา่ ง ซง่ึ แบง่ ออกไดด้ งั นี้

1.1 พชื ใบเลี้ยงเดี่ยว (Monocotyledon) คือพืชทีม่ ใี บเลย้ี ง 1 ใบ ลกั ษณะเสน้ ใยขนานตามความยาว

ของใบเช่น พืชตระกูลหญา้ มีความสาคัญทางเศรษฐกิจและชวี ิตประจาวนั ของมนษุ ย์และเปน็ อาหารสัตวน์ อกจากน้ียงั มี

พชื อืน่ ๆ เชน่ พชื ตระกูลปาล์ม เป็นตน้

1.2 พชื ใบเลีย้ งคู่ (Dicotyledon) คือพชื ทม่ี ีใบเลี้ยง 1 คู่ ลกั ษณะเส้นใบสานเป็นร่างแหไดแ้ กพ่ ชื ตระกูล
ถว่ั และพืชอนื่ ๆ ทม่ี ลี ักษณะ (Special Purpose Classification) พืชในกลมุ่ น้จี ะเปน็ พืชในกลมุ่ ใหญ่มีพชื อย่หู ลายชนดิ
ทีม่ คี วามสาคัญทางเศรษฐกิจ สามารถแบง่ ออกไดด้ งั ต่อไปน้ี

1.2.1 พืชคลุมดนิ และพืชบารงุ ดนิ (Cover crops) หมายถึงพชื ท่ีปลกู เพ่อื คลมุ ดนิ รักษาความชมุ่ ช้ืน
ของปอ้ งกนั การพงั ทลายของดินปอ้ งกันวชั พชื ตา่ งๆ โดยมากใชพ้ ชื ตระกลู ถัว่ ซึง่ สามารถเจรญิ เตบิ โตไดเ้ ร็วและไถกลบ
เปน็ ปุย๋ พชื สดไดด้ ้วย

1.2.2 พชื ท่ีปลกู เพ่อื ไถกลบเปน็ ปุ๋ยพชื สด(Green-anure) หมายถึงพชื ท่ีปลกู ใหเ้ จริญเตบิ โตได้ระยะ
หน่ึงแล้วไถกลบไปในดนิ เพอื่ ใหเ้ น่าเป่ือยเป็นปุ๋ยสาหรบั พชื ท่จี ะปลกู ในฤดตู ่อไปสว่ นมากนยิ ม ใชพ้ ืชตระกูลถว่ั พวกทม่ี ี
อายุสั้นเพราะ

พืชตระกลู ถัว่ สามารถตรึงเอาไนโตรเจนจากอากาศทาใหด้ ินมคี วามอุดมสมบรู ณข์ นึ้ เจรญิ เตบิ โตไดเ้ รว็ และไถกลบเป็น 21
ปุ๋ยพืชสดได้ดว้ ย

1.2.3 พืชเงินหรอื พืชฉกุ เฉิน (Cash or Emergency) คอื พชื ทีน่ าเข้ามาปลกู เพ่ือทดแทนพชื หลกั ท่ี
ได้รับความเสียหายจากสาเหตตุ ่างๆ เช่น ภัยธรรมชาตศิ ตั รูพชื รบกวนพืชพวกน้ีควรเปน็ พชื ท่ีเจริญเติบโตเร็วไดร้ บั
ผลตอบแทนในชว่ งระยะเวลาไมน่ าน เช่น ถ่วั ตา่ งๆ

1.2.4 พืชใชส้ ด (Soiling Crops) ได้แก่พชื ทส่ี ามารถตัดนาไปเลยี้ งสตั ว์ไดเ้ ลย ในขณะทตี่ ้นยงั สด
เขยี วอยู่ เช่น หญา้ ขน พชื พวกถ่วั หญ้าเนเปยี ร์ หญ้ากินรี เป็นตน้

1.2.5 พืชเกบ็ แหง้ (Hay Crops) คือพชื ท่สี ามารถเก็บสงวนไวส้ าหรับเลย้ี งสัตวใ์ นสภาวะทีข่ าด
แคลนอาหารสด โดยเกบ็ ไวใ้ นรปู ทาเปน็ ท่อน เปน็ มัด เปน็ กา อาจมีบางสว่ นยงั มสี ีเขียวอยู่ เช่น ฟางขา้ ว ตน้ ข้าวโพด
ขา้ วฟาง ถั่วเหลอื งเปน็ ตน้

1.2.6 พืชแซม (Companion Crops) หมายถึง พชื ทปี่ ลูกในระหว่างแถวหรอื ระหวา่ งต้นของพืช
หลัก โดยคานึงถึงการใช้ประโยชนท์ ่ีดนิ ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพมากทสี่ ดุ ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั และเวลาในการเก็บเกีย่ วทตี่ ่างกนั
เพ่อื สะดวกในการปฏบิ ตั ิ เชน่ ปลูกแตงโม ในแปลงมะพรา้ ว ปลกู ขา้ วโพดในแปลงปลกู อ้อยเปน็ ต้น

1.2.7 นอกจากนีก้ ารจาแนกพืชไร่ตามจุดมุ่งหมายเฉพาะอย่างยงั อาจแบ่งออกเปน็ พชื ดกั แมลง
(Trap Crops) ซงึ่ หมายถงึ การปลกู พืชไรบ่ างชนิดทมี่ ลี ักษณะของดอกฝกั เป็นพเิ ศษเปดิ และปดิ ไดเ้ ชน่
หมอ้ ข้าวหม้อแกงลงิ กาบหอยแครง แต่ยงั ไมม่ คี วามสาคญั ทางเศรษฐกจิ

2. การจาแนกตามลกั ษณะการนามาใชป้ ระโยชน์สามารถแบ่งพชื ไร่ออกได้ดงั นี้ ซ่งึ แบง่ ออกได้ดงั น้ี

2.1 ธญั พชื (Cereal or Grain Crops) Cereal หมายถงึ พชื ตระกูลหญ้าใดๆ ทส่ี ามารถปลกุ เจรญิ เตบิ โต
ไดแ้ ละใช้เป็นอาหารมนุษย์ และสตั วไ์ ดโ้ ดยไมเ่ ปน็ พษิ ซงึ่ อาจหมายถึง ใชต้ น้ หรอื เมล็ดเป็นอาหาร เชน่ ขา้ วโพด ขา้ ว
เป็นตน้

2.2 พวกถวั่ (Leguminosae) หมายถงึ พชื ท่ีอยูใ่ นตระกูลถว่ั อาจจะเปน็ พืชลม้ ลุกหรือพชื ยืนตน้ ก็ได้ เชน่
ถวั่ เหลือง ถวั่ เขียว ถวั่ ลิสง ต้นแค ดอกจามจุรี เป็นตน้

2.3 พวกพืชอาหารสัตว์ (Forage Crops) หมายถงึ พวกหญ้าผกั หรอื ถ่วั ไม่วา่ จะอยู่ในรูปทแ่ี ห้งหรอื ยงั สด
อยู่ก็ตามท่ีนามาใช้ในการเล้ียงสตั ว์โดยทาเป็นฟอ่ นอดั แหง้ หรอื เก่ยี วมาสดๆ ก็ได้ เช่น พวกถ่ัว ขา้ วฟา่ ง หญา้ ตา่ งๆ
ข้าวโพดเล้ยี งสัตว์ เปน็ ตน้

2.4 พวกพืชท่ีใช้รากเป็นประโยชน์ (Root Crops) หมายถงึ พืชทส่ี ามารถนารากมาใชเ้ ป็นประโยชน์ใน
ดา้ นอาหารของมนษุ ยแ์ ละสตั วเ์ ชน่ หวั บีท มนั เทศ มันสาปะหลัง เปน็ ต้น

2.5 พวกพืชพชื ใชห้ ัว (Tuber Crops) หมายถึง พืชทลี่ าตน้ ขนาดใหญ่อย่ใู นดนิ สาหรบั เกบ็ สะสมอาหาร
และสามารถนามาใชป้ ระโยชนแ์ กม่ นษุ ย์ได้ เชน่ มันฝรง่ั

2.6 พวกพชื ให้นา้ ตาล (Sugar Crops) หมายถึง พชื ทสี่ ามารถนาส่วนใดส่วนหนง่ึ มาผลิตน้าตาลได้เช่น
อ้อย
หัวบที อ้อยนับวา่ เป็นพชื สาคญั มากในทางอตุ สาหกรรมผลิตนา้ ตาลของประเทศไทยสาหรับเกบ็ สะสมอาหารและ
สามารถนามาใช้ประโยชนแ์ ก่มนษุ ยไ์ ด้ เชน่ มนั ฝรง่ั

2.7 พชื เสน้ ใย (Fiber Crops) พชื พวกนป้ี ลูกขึ้นเพื่อใช้เสน้ ใยในทางอตุ สาหกรรม เช่น ทาเชอื ก กระสอบ 22
เสอื้ ผ้า การเย็บปกั ถักร้อยตา่ งๆ พชื พวกนไ้ี ดแ้ ก่ ฝา้ ย ป่าน ปอศรนารายณ์ เปน็ ต้น

2.8 พชื ประเภทกระตุน้ ประสาท (Stimulant Crops) หมายถงึ พชื ทีช่ ว่ ยกระต้นุ ประสาทถา้ ใชม้ ากๆ
หรือใชน้ านๆ กจ็ ะทาให้ตดิ ได้ เชน่ ยาสบู ชา กาแฟ เปน็ ตน้

2.9 พชื ให้น้ามัน (Oil Crops) หมายถึง พืชที่ใหผ้ ลติ ผลซง่ึ สามารถนามาแปรรปู เปน็ นา้ มัน ใชเ้ ปน็
ประโยชนไ์ ด้ เชน่ ถว่ั เหลือง ถัว่ ลสิ ง ละหุ่ง งา ฝา้ ย ขา้ วโพด เปน็ ต้น

2.10 พืชใหน้ า้ ยาง (Rubber Crops) คือ พืชพวกท่ใี ห้นา้ ยางเพือ่ ใช้ประโยชน์ในดา้ นตา่ งๆ เชน่ ยางพารา
สน เปน็ ต้น

3. การจาแนกพืชไรโ่ ดยถือเอาช่วงอายขุ องพชื (Life-plant Classification) ซ่ึงแบ่งออกไดด้ งั นี้
3.1 พืชล้มลุกหรือพืชฤดูเดียว (Annual Crops) ได้แกพ่ ืชทเี่ จรญิ เตบิ โตจนกระทงั่ ใหผ้ ลผลิตภายใน 1 ปี

หรอื ภายในฤดูกาลหนงึ่ แลว้ ก็ตาย ไปเชน่ ข้าวโพด ถัว่ เหลือง ข้าวฟา่ ง เปน็ ตน้

3.2 พืชสองฤดู (Biennial Crops) คือ พืชทเี่ จริญเติบโตจนกระท่ังให้ผลผลติ ใชร้ ะยะเวลานานถงึ 2 ปี
เช่น หัวบที นา้ ตาล ปกติปแี รกจะเจรญิ เติบโตทางลาต้นสรา้ งและสะสมอาหาร และจะผลติ ดอกออกผลในปีที่

3.3 พชื ที่มอี ายุมากกว่าสองฤดู (Perennial Crops) พืชทีส่ ามารถเจริญเติบโตให้ผลผลิตไดต้ ดิ ตอ่ กนั
หลายครัง้ ต่อการปลกู ครงั้ หนง่ึ ๆ เชน่ อ้อย สับปะรด หญ้าอาหารสตั ว์ เปน็ ตน้

4. การจาแนกตามลกั ษณะของการใชพ้ ้นื ทเ่ี ปน็ การจาแนกโดยอาศัยความสูงต่าของพ้นื ที่และความ
ต้องการน้าของพชื ซ่งึ แบ่งออกได้ดงั นี้

4.1 พืชทป่ี ลูกทีด่ อนคอื พืชทีส่ ามารถเจริญเตบิ โตและให้ผลผลติ ในสภาพของพื้นทท่ี ีน่ า้ ไม่ทว่ ม ประกอบ
กบั พชื ทป่ี ลกุ มคี วามต้องการน้าในปริมาณปานกลางไดแ้ กข่ ้าวโพด มันสาปะหลงั ออ้ ย สับปะรด ข้าวฟ่าง เปน็ ต้น

4.2 พชื ท่ปี ลกู ทล่ี ุม่ คอื พืชทสี่ ามารถเจริญงอกงามและใหผ้ ลผลิตไดด้ ีในสภาพพนื้ ทท่ี เ่ี ปน็ ล่มุ น้าขัง
ประกอบกับพืชท่ีปลกู ในท่ีลุ่มตอ้ งการน้าในการเจริญเติบโตในปรมิ าณมากด้วย เชน่ ขา้ ว หน่อไม้นา้ เปน็ ตน้

สรุปการจาแนกประเภทของพชื สวน อาจแบง่ ออกได้ 5 ประเภท คอื 23
ไม้ผล (Pomology or Fruit Trees)
ไมผ้ ล หมายถึงไมย้ นื ตน้ ทีม่ อี ายหุ ลายปีจึงจะให้ผลผลิตซึง่ เราเรียกวา่ “ผลไม”้ ประเทศไทยเรานบั วา่ เปน็

ประเทศท่มี สี ภาพดินฟา้ อากาศเหมาะแกก่ ารปลุกผลไมไ้ ดห้ ลายชนิด มผี ลไมท้ ยอยออกตามฤดกู าลตา่ งๆ ตลอดทง้ั ปี
การทาสวนผลไม้
จงึ เป็นอาชพี สาคัญของคนไทยและชาวสวนจะตอ้ งศึกษาหาความรู้ มคี วามขยนั หมัน่ เพยี ร และปฏบิ ตั ดิ แู ลรกั ษา
ตลอดเวลาเพราะการทาสวนผลไมต้ ้องอาศัยทนุ และระยะเวลามากพอสมควร จึงจะให้ผลตอบแทนทค่ี ุ้มค่า พชื ท่ี
จัดเป็นไมผ้ ลได้แก่ สม้ ต่างๆ เงาะ ทเุ รยี น มงั คุด ลาไย มะม่วง ขนุน ชมพู่ เปน็ ตน้ จาแนกตามความต้องการภูมิภาคได้
3 ประเภท ดงั น้ี

1.การจาแนกไม้ผลตามความตอ้ งการอณุ หภูมิ ซงึ่ แบง่ ออกได้ดงั นี้

1.1 ไม้ผลเมืองร้อน ผลไม้ทผ่ี ลติ ในเมอื งไทยสว่ นใหญม่ กั จะอย่ใู นประเภทน้เี กอื บทง้ั หมด ซึ่งไดแ้ ก่
ทเุ รยี น เงาะ มงั คดุ ลางสาด มะม่วง เปน็ ตน้ ผลไม้เหลา่ น้ีมกั ต้องการอณุ หภมู คิ ่อนขา้ งสงู ในการเจรญิ เตบิ โต ตลอดชว่ ง
ของรอบปี โดยมากมกั ปลุกกนั ในเขตศูนย์สูตร

1.2 ไม้ผลเขตกึง่ ร้อน ผลไมพ้ วกนตี้ อ้ งการอณุ หภมู ิตา่ ชว่ งระยะเวลาหน่งึ สาหรับการเจริญเติบโตทาง
ใบ และตอ้ งการอณุ หภมู ิตา่ ช่วงระยะเวลาหนงึ่ เพอื่ ชว่ ยให้เกดิ การพกั ตัวและสรา้ งดอกหรอื ผลมคี ณุ ภาพดี ไมผ้ ล
เหลา่ นไี้ ด้แก่ สม้ พนั ธต์ุ า่ งๆ องุ่น ล้ินจี่ ลาไย อโวคาโด เป็นตน้

1.3 ไม้ผลเขตหนาว สว่ นมากเปน็ ไม้ผลประเภทผลดั ใบ เน่ืองจากต้องผา่ นอากาศหนาวจัด อณุ หภูมิ
ตา่ จะไปทาลายการพกั ตวั ของตาดอก ดอกจะเร่ิมบาน มกี ารติดผล โดยอาศัยอุณหภมู ิทส่ี งู ไม้ผลเหล่านไ้ี ดแ้ ก่ แอป
เปิล้ แพร์(สาลี)่ พชี (ทอ้ ) พลมั (พรุน) และเชอร่ี เปน็ ตน้

2.การจาแนกตามอายุการตกผล ซ่งึ แบง่ ออกได้ดังนี้
2.1 ไมผ้ ลพนั ธุเ์ บา ซึง่ ไดแ้ ก่ มะพรา้ วเตี้ย ใชเ้ วลาประมาณ 3 ปี เพอื่ ใหผ้ ล
2.2 ไม้ผลพนั ธก์ุ ลาง ไดแ้ ก่ มะพร้าวหมูสี ใช้เวลาประมาณ 4-5 ปี
2.3 ไม้ผลพนั ธุห์ นัก มะพรา้ วใหม่ ใช้เวลามากกวา่ 5 ปี

3.การจาแนกไมผ้ ลตามขนาดของทรงพุ่ม ซ่ึงแบ่งออกไดด้ งั น้ี
3.1 ไม้ผลขนาดเลก็ ไม้ผลประเภทนี้ ต้องการความกวา้ งของระยะปลกุ 3 เมตร ลงมาเชน่ กลว้ ย

มะละกอ องนุ่ น้อยหนา่ ทบั ทมิ สับปะรด สตอรเ์ บอร์ร่ี เป็นตน้
3.2 ไมผ้ ลขนาดกลาง ขนาดของระยะปลูกทีเ่ หมาะสมสาหรบั ไมผ้ ลพวกน้ี อยู่ระหว่าง 4 – 8 เมตร

ไม้ผลพวกน้ีได้แก่ ส้มตา่ งๆ ละมดุ ลางสาด ท้อ บว๊ ย พลบั ชมพู่ มะม่วงหมิ พานต์ และฝรัง่
3.3 ไมผ้ ลขนาดใหญ่ ไมผ้ ลกลมุ่ น้ีเมอ่ื เจริญเติบโตเต็มท่ี จะมีทรงพมุ่ ขนาดใหญ่ ระยะของการ

เจริญเติบโต อาจดูวา่ ระยะปลกุ ค่อนข้างหา่ งแตส่ ามารถใชป้ ระโยชน์โดยการปลูกผลไมอ้ ืน่ ๆ ลงไปในระยะแรกได้ ไมผ้ ล
พวกน้ี ได้แก่ มะมว่ ง ลาไย ลนิ้ จ่ี ทุเรียน เงาะ สาเก ขนุน เปน็ ตน้

ผัก (Vegetables) 24
การจาแนกประเภทของผกั แบง่ ออกเปน็ 5 พวกคอื
1.ประเภทใช้ใบเปน็ อาหาร

1.1 ใชใ้ บเป็นอาหารโดยตรง เช่น ผักกาดขาวปลี กวางตงุ้ คะน้า กะหลา่ ปลเี ปน็ ตน้
1.2 ใช้ใบเปน็ เครอื่ งปรงุ หรือเป็นเคร่อื งชูรส เช่น สะระแหน่ กะเพรา โหระพา เปน็ ตน้
2.ประเภทใช้ลาตน้ เป็นอาหาร

2.1 ผักทใี่ ชล้ าตน้ เปน็ อาหารโดยตรง เช่น มนั ฝรัง่ หอมหัวใหญ่
2.2 ผกั ท่ชี ้าต้นเปน็ เครือ่ งปรุงหรอื ชรู ส เชน่ ขงิ ข่า ตะไคร้
3.ประเภททใ่ี ช้รากเป็นอาหาร
3.1 ผักท่ใี ช้รากเปน็ อาหารโดยตรง เช่น ผกั กาดหัว แครอท
3.2 ผกั ทใี่ ชร้ ากเป็นเครือ่ งปรุงหรอื ชูรส เชน่ รากผกั ชี
4.ประเภททใี่ ชผ้ ลเป็นอาหาร
4.1 ใช้ผลเป็นอาหารโดยตรง เช่น ถั่วฝักยาว มะเขือเทศ พริก
4.2 ใช้ผลเป็นเครอื่ งปรงุ หรือชูรส เช่น พริกข้ีหนู พรกิ ชฟ้ี ้า
5.ประเภททใ่ี ชด้ อกเปน็ อาหาร
5.1 ใชด้ อกเป็นอาหารโดยตรง เช่น กะหล่าดอก
5.2 ใชด้ อกเปน็ เครื่องปรุงหรือชูรส เชน่ กุยชา่ ย เปน็ ตน้

ไม้ดอกไมป้ ระดบั (Floriculture and Ornamental Plants) 25
หมายถึง พืชทปี่ ลกู แล้วสามารถใช้ดอกทส่ี วยงาม บางชนดิ สามารถตัดไปใชป้ ระโยชนไ์ ดห้ รอื ไมท้ ีใ่ ชด้ อก แตม่ ี
ความสวยงามของทรงตน้ หรอื ใบ ซึง่ ใช้ตกแต่งสถานที่ใหส้ วยงามไดก้ ารจาแนกไม้ดอกไม้ประดบั สามารถจาแนกได้
หลายประเภทดว้ ยกนั ในทน่ี ีถ้ ือหลักการจาแนกโดยม่งุ หมายท่ีการนามาใช้ประโยชน์ ดงั นี้คือ

1.ไมด้ อก (Flowers) คือ พืชท่ีปลูกเพ่อื ตอ้ งการดอกไปใชป้ ระโยชน์โดย แบ่งเปน็
1.1 ไมต้ ัดดอก (Cut Flower) หมายถงึ ไมด้ อกท่นี ยิ มตัดดอกจากตน้ มาใชป้ ระโยชน์หรอื จาหน่าย เช่น

ดอกเยอบรี า่ หนา้ ววั เบญจมาศ เป็นต้น
1.2 ไมด้ อกตดิ กบั ต้น (Flowering Plants) หมายถงึ พนั ธไ์ุ มด้ อกที่ไม่นิยมตดั ดอกเนือ่ งจากดอกไมค่ งทน

เหีย่ วเฉาไดง้ า่ ย เชน่ พุทธรักษา ชบา ทองอไุ ร ผกากรอง ประทดั จีน บานชืน่ เปน็ ตน้
2.ไมป้ ระดบั (Ornamental Plants) คอื พันธุ์ไม้ท่ปี ลูกเพอ่ื ประดบั อาหารตา่ งๆ โดยไมค่ านงึ ถงึ ดอกของมัน

แตค่ านงึ ถงึ ความสวยงามของรูปทรง ลาตน้ ใบ เป็นสาคญั แบง่ ออกได้เปน็ 3 ประเภท คอื
2.1 ไม้ใบ (Foliage Plants) หมายถงึ พันธไ์ุ มท้ ม่ี ีรูปร่างลักษณะของใบสวยงามมสี สี นั ดี เชน่ บอน เฟิรน์

โกสน เปน็ ตน้
2.2 ไมก้ ระถาง (Potted Plants) หมายถึง พนั ธไุ์ มป้ ระดบั ท่สี ามารถนามาปลกุ ใหเ้ จริญเติบโตไดด้ ใี น

กระถาง ไดแ้ ก่แอหนงั สาวนอ้ ยประแป้ง ไมเ้ ล้ือยต่างๆ ไมต้ ระกลู ปาล์ม ตะบองเพชร เป็นตน้
2.3 ไมด้ ดั และไม้แคระ (Miniature and Bonsai) หมายถงึ ไมด้ อกไมป้ ระดบั ทีม่ คี วามงามของทรงลาตน้

กง่ิ ใบ ดอก หรอื ผลโดยคอยตัดแตง่ ดูแลเอาใจใส่เปน็ พิเศษ ใช้ศลิ ปะและเวลาในการตกแต่งมาก พันธ์ไุ มด้ ดั -ไมแ้ คระ
ได้แก่ ชาดัด ข่อย ตะโก โมก มะสงั หมากเลก็ หมากนอ้ ย อรพมิ เป็นตน้

3. การตกแตง่ สถานท่ี (Landscape and Gardening) คอื การวางผังปรบั ปรุงพื้นทเี่ พ่ือปลุกไม้ดอกไม้
ประดบั ตกแต่ง ใหบ้ ริเวณสถานที่น้นั สวยงามเป็นทนี่ า่ อยู่อาศยั โดยคานึงถงึ ประโยชน์ในการใช้สอยด้วย ในปจั จบุ ันการ
จดั ตกแตง่ บรเิ วณอาคารสถานทบ่ี า้ นเรอื นสถานทีร่ าชการตา่ งๆ แพรห่ ลาย ยิง่ ขน้ึ การจัดตกแตง่ สถานทต่ี อ้ งอาศัย
ความรู้ ความสามารถศิลปะและจินตนาการจากธรรมชาติ และต้องการความรู้เกยี่ วกบั ไม้ดอก-ไมป้ ระดบั วิธีการปลกู
การปฏิบัตริ ักษา หรอื อาจเรยี กงา่ ยๆ ว่า “การจดั สวน”

วธิ ีการจดั สวนแบ่งออกได้ 2 แบบใหญ่ๆ คือ
1.การจัดสวนตามรปู ทรงเลขาคณติ (Format Style)
2.การจดั สวนเลียนแบบธรรมชาติ (Informal Style)

1.การจดั สวนตามรปู ทรงเลขาคณติ (Format Style) ส่วนมากจะพบตามสถานท่ีราชการต้องการความเปน็ 26
ระเบยี บเรยี บรอ้ ย ทาใหส้ ถานทน่ี ้ันสง่างามย่ิงขึ้น มักจัดเปน็ รปู เหลย่ี มตา่ งๆ วงกลมรปู ไข่เปน็ ตน้ จัดบนพืน้ ทร่ี าบเรียบ

มถี นนสนามหญา้ เปน็ ระเบียบอยู่แลว้ การปลกู ตน้ ไมม้ กั คานึงถึงขนาดรูปรา่ งทรงตน้ ปลกู ใหส้ มดลุ กันและสามารถตดั
ตกแตง่ พันธุไ์ ม้ตา่ งๆ ให้เป็นรปู ทรงที่ต้องการได้
2.การจัดสวนเลยี นแบบธรรมชาติ (Informal Style) หมายถงึ การปลูกไม้ดอกไมป้ ระดบั โดยคานงึ ให้มสี ภาพ
ใกล้เคียงธรรมชาตมิ ากทีส่ ุด อาจจาลองมาจาป่าเขาลาเนาไพร นา้ ตกมาไว้ในสวนการจัดสวนแบบนนี้ ิยมจัดภายใน
บริเวณบา้ นสวนสาธารณะตา่ งๆ เพ่อื ให้เกิดบรรยากาศท่รี ม่ รื่น คล้ายคลึงธรรมชาตากท่ีสดุ เชน่ “สวนญีป่ นุ่ ”

4. แขนงย่อย
4.1 สถานเพาะชา(Nursery) หมายถึง
สถานทสี่ าหรบั การขยายพนั ธไุ์ มแ้ ละปฏบิ ตั ดิ แู ลรกั ษาพนั ธุ์ไมท้ ย่ี งั มอี ายุน้อยเพือ่ ให้มีลาตน้ แข็งแรง

พร้อมท่จี ะนาไปปลกู ตอ่ ไป กล่าวอย่างงา่ ยๆวา่ สถานท่ีเพาะชาคอื สถานทปี่ ฏบิ ัติดแู ลรักษาพนั ธไุ์ มท้ ่ีเพิ่งเกดิ หรือ เพงิ่
ขยายพนั ธจ์ุ นโตได้ขนาดนาไปปลกู

4.2 การถนอมอาหาร (Food Preservation) หมายถงึ การเก็บรักษาอาหารโดยกรรมวธิ ีตา่ งๆ เพื่อให้
อยใู่ นสภาพที่ใกลเ้ คียงกับของสดมากทีส่ ดุ โดยไมใ่ ห้เสยี คณุ ภาพและคณุ ค่าทางโภชนาการ ตลอดทงั้ ยงั คงมคี ุณลกั ษณะ
ทางคณุ ภาพ เปน็ ท่ตี อ้ งการของผูบ้ ริโภค เชน่ ผลไม้กระป๋องตา่ งๆ ผลไม้แชอ่ ิม่ ผกั ดอง เป็นตน้

4.3 พชื สมุนไพร (Spice Crops) หมายถงึ พืชที่มีคุณสมบัตใิ ช้สว่ นใดสว่ นหนง่ึ อาจเปน็ ราก ใบ ดอก ผล
มคี ณุ คา่ ในทางรักษาโรคบางอยา่ งไดซ้ งึ่ อาจใชเ้ พยี งชนดิ เดียว หรอื นามาผสมกนั เข้าหลายๆ ชนิด เชน่ พวกวา่ น

4.4 การผลิตเมล็ดพันธพุ์ ชื (Seed Production) หมายถึง การผลิตเมลด็ พนั ธพ์ุ ืชทีม่ คี วามสาคัญทาง
เศรษฐกจิ พันธ์ุทกี่ าลังได้รบั ความนิยมในการปลกู ผลติ ออกมาให้พอกบั ความตอ้ งการของผปู้ ลกู เพราะ ผปู้ ลกู ไมน่ ยิ ม
เก็บเมล็ดไวใ้ ช้เองพืชบางชนิดไมอ่ าจเก็บเมลด็ ไว้ปลกู ในฤดูกาลตอ่ ไป เนือ่ งจากอาจกลายพนั ธไุ์ ด้ หรอื ผลผลิตไดร้ บั
อาจน้อยลง พชื ท่นี ยิ มผลิตพนั ธอ์ุ อกจาหน่าย ไดแ้ ก่ เมลด็ พันธผุ์ กั ตา่ งๆ เมลด็ พันธไุ์ ม้ดอก แหลง่ ผลติ เมลด็ พนั ธ์ุ คอื
หนว่ ยงานราชการและบริษทั ทที่ าธรุ กิจทารงการเกษตรอีกมากมาย
การจาแนกพืชสวนตามลักษณะการใช้ประโยชน์
1.พืชสวนที่ใช้บรโิ ภค คือ พชื ที่ใชส้ ่วนใดสว่ นหนงึ่ มาเปน็ อาหารของมนษุ ย์
2.พชื สวนประดับ คอื พชื ท่ีอาจจะมดี อกหรอื ไมม่ ดี อก แต่มปี ระโยชนท์ างดา้ นความสวยงาม
3.พืชส่วนอนื่ ๆ คือ พืชสวนทนี่ อกเหนอื จากพวกที่ใชบ้ รโิ ภคและพชื สวนประดบั เช่น พวกพืชทใี่ ช้ทายารักษาโรคตา่ งๆ
ทเ่ี รียกวา่ สมนั ไพร และพวกพชื ชรู ส

27

2.การจาแนกพืชตามลักษณะพฤกษศาสตร์
อาณาจักรพืช (Plant Kingdom) ได้แบ่งออกเป็นหมวด (phyta or division) ตามบทบัญญตั สิ ภาการตงั้

ชือ่ พชื สากล (Congress of International Botanical Nomenclature) ออกเป็น 12 หมวดดว้ ยกนั พืชที่เก่ยี วขอ้ ง
กบั พชื สวนมากทสี่ ดุ คอื พืชชนั้ สงู (higher plants) หรอื พืชใน vascular or tracheary system หรอื พวก
tracheophyta คอื พืชทีม่ สี ่วนราก ลาตน้ และใบ สว่ นพวกพชื ชน้ั ต่า หรอื lower plant เช่น พวกบักเตรี (bacteria)
รา (Fungi) สาหรา่ ย (algae) โมล์ (slime-molds) มอส (mosses) เกือบจะไมเ่ กี่ยวขอ้ งกบั พืชสวนจะเกย่ี วขอ้ งอยบู่ ้าง
กพ็ วกเหด็ (mushroom) บางชนิด หรือสาหร่ายบางชนิด ทีใ่ ช้เป็นอาหารเท่าน้ัน พวกราและบกั เตรีนน้ั เกยี่ วขอ้ งใน
การเปน็ ศตั รูของพืชสวนโดยตรง ในอาณาจกั รพืช นีไ้ ด้แบง่ ออกเปน็ หน่วยย่อยๆ ตามลาดับแหง่ ความสมั พันธ์ใกล้ชดิ
กบั บรรพบุรุษเปน็ major texa คือตง้ั แต่ระดับจาก kingdom ลงไปถงึ family และ minor texa คือระดบั ทตี่ า่ กวา่
family ลงไปลาดบั ของการจดั แบ่งหรอื synopsis แบง่ ออกเปน็ ชั้น (categories) ตา่ งๆ ดังตวั อยา่ งจาก ส้มโอ
(pomelo) มีชน้ั ตา่ งๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี

Kingdom (อาณาจกั ร) Plantae
Sub-kingdom (อาณาจกั รย่อย) Embryophyta
Phylum (ไฟลั่ม) Tracheophyta
Sub-phylum (ไฟลมั่ ยอ่ ย) Pteropsida

Class (ช้นั ) Angiospermae
Sub-class (ช้นั ย่อย) Dicotyledoneae
Order (วงศ์) Geraniales

Sub-order (วงศย์ อ่ ย) Geranineae
Family(ตระกลู ) Rutaceae
Sub-family (ตระกลู ยอ่ ย)Aurantioidae
Tribe (เผ่า) Citreae

Sub-tribe (เผา่ ย่อย) Citrinae
Genus (สกลุ ) Citrus
Sub-genus (สกุลยอ่ ย) Eucitrus

Species (ชนิด) grandis
Sub-species (ชนดิ ยอ่ ย)
Variety (พนั ธุ)์ Karvpaung

Sub-variety (พันธุ์ย่อย)
From (ฟอร์ม)...

(ลาตนิ individuum) 28
หรอื clone)

คาว่าพนั ธ(ุ์ variety) ในทางพฤกษศาสตรห์ มายถึง ชนิดยอ่ ย (subspecies) ซงึ่ เปน็ กลุ่มของพชื ทแ่ี ตก
ย่อยออกมาจาก(species) เชน่ อาจจะแตกตา่ งกนั ในเรอ่ื งนสิ ัยของการเจรญิ เติบโต หรือทางนิเวศวิทยา หรือสณั ฐาน
วทิ ยา บางคนเรยี กพนั ธ์ุ ทางพฤกษศาสตร์ว่า “varieta” ในทางพืชสวน คาวา่ พนั ธ์ุ หมายถงึ พรรณไมท้ ่ีชาวสวนปลกู
(cultivated plant) พันทางพืชสวนเรียกอีกอย่างหน่งึ วา่ “cultivar” อาจจะไดม้ าจากการผสมพนั ธ์ุ (breeding) หรือ
จากการขยายพนั ธุโ์ ดยไมใ่ ช้เพศหรือทางอื่นๆ เชน่ สม้ เขยี วหวานพนั ธุ์ตา่ งๆ ได้แก่ Ponkan , Emperor, dancy เป็น
ต้น สาหรบั ขน้ั ทเี่ ลก็ ลงมาก เชน่ forma (f) หรอื form ทใี่ ชเ้ รียกไม้ผลทมี่ กี ารเปลยี่ นแปลงเล็กๆ นอ้ ยๆ เชน่ สขี องผล
หรอื กลบี ดอกหลายอย่างกถ็ ือวา่ เปน็ form ไดเ้ ชน่ กัน บางทเี รยี กว่า “budstrain”

ในการแยกประเภทของพชื สวน โดยเฉพาะไมผ้ ล ชาวสวนนยิ มใชห้ ลกั หลายอยา่ ง เชน่ ขนาด สสี ัน
ความแขง็ อ่อนของผลเปน็ ตน้ ไมผ้ ลของเราบางชนดิ ประกอบด้วยหลายพนั ธบ์ุ างชนดิ ขยายพนั ธโ์ุ ดยทางเมลด็ เทา่ นน้ั
การศกึ ษาเรื่องราวเก่ยี วกับการแบง่ พนั ธไ์ุ ม้ผลทาได้ไมง่ า่ ยนัก ไม้ผลบางอยา่ งมชี ่อื ต่างกนั อาจจะเป็นพนั ธ์เุ ดยี วกันกไ็ ด้
บางคนกแ็ บง่ พนั ธไ์ุ ม้ตามหลักวิวฒั นาการของ Charles Edwin Bessey (1845 – 1915) ชาวอเมรกิ นั ยกตัวอยา่ ง
พันธ์ุไมบ้ างพันธุ์เอาไว้ เขาแบ่งพชื ออกเปน็ วงศ์ (orders) และตระกลู (families) ตัวอยา่ งดงั นี้
วงศ์ Mavales

ตระกลู Lauraceae (laurel)
Durio ziberhinus,Linn,ทเุ รยี น (durian)
พนั ธุ์หนกั
กา้ นยาว ฉตั ร
กาป่นั กบตาขา
งาชา้ ง เงาะ
พนั ธุเ์ บา
รวง ชะนี
ทองคา พวงเงิน
ทองดี ทองประสี
Persea Americana ลูกเนย (avocado)

ตระกลู Moraceae
Artocarpus altilis, Fosberg. สาเก (breadfruit)
A. Heterophyllus Linn. (Jack fruit)
ขนุนหนัง (จาปา ตาบว้ ย)

ขนนุ ละมดุ

วงศ์ Sapindales

ตระกลู Anacardiaceae (cashew) 29

Mangifera indica, Linn. มะมว่ ง(mango)

พวกท่ีใชร้ ับประทานผลดิบ

หนองแซง ทองคา เขยี วเสวย พมิ เสนมนั

ขาวสะอาด แห้ว สวนทพิ ย์ แตงกวา

พวกทใ่ี ช้รับประทานผลสุก

หนังกลางวนั งาชา้ ง อกรอ่ ง พราหมณ์

ตลบั นาค แก้ว ลิน้ งเู หา่ นา้ ดอกไม้

พวกทใ่ี ช้ดอง

มะมว่ งกะลอ่ น

พวกหวายหรอื สามฤดู

ตระกูล Sapindaceae (soapberry)

Euphoria longana, Lamk. ลาไย (longan)

กะโหลกใบดา ชมพู เบ้ียวเขียว ตลบั นาค

แห้ว อดี า่ ง อเี หลือง อแี ดง

Litchi chinensis, Sonn. ล้ินจ่ี (Lychee)

นอไหมฉี ซอ่ ม สาแหรกทอง สาเภาแกว้

Nephlium lappaceum, Linn.

โรงเรียน สชี มพู บางยขี่ นั

วงศ์ Rubiales

ตระกลู Rubiaceae (madder)

Coffea spp. กาแฟ (Coffer)

วงศ์ Palmales

ตระกูล Palmaceae (Palm)

Areca catechu, Linn. หมาก (betel nut)

Arenga saccharifera, Labill ชิด (sugar palm) 30
Cocos nucifera, Linn มะพร้าว (coconut)

มะพร้าวเตยี้
หมูสี นา้ หอม
มะพรา้ วกลาง
หมูสกี ลาย มะพร้าวใหญ่
วงศ์ Celastrales
ตระกลู Vitaceae (grape)
Vitis spp. องุ่น (grape)
Vitis vinifera (old world or European grapes)
Cardinal. Thomson Seedless
White Malaga Emperror
วงศ์ lridales
ตระกลู Bromeliaceae (pineapple)
Ananas comosus, Merr. สับปะรด (pine apple)
ในบ้านเรามหี ลายพนั ธ์ุ
พนั ธ์ไุ มม่ ีหนาม

ศรีราชา ปราณบรุ ี สิงคโปร์
พันธม์ุ หี นาม

อินทรชติ จันทบรู ณ์ ขาว
ตระกลู Musaceae (banana)

Musa spp. กลว้ ย (banana)
Musa acuminate (A) กลว้ ยปา่
Musa balbisiana (B) กลว้ ยตานี
Simmonds (1966) แยกกล้วยไมใ้ นเมืองไทยตามจานวนชดุ โครโมโซมดังตอ่ ไปน้ี
AA group (diploid)

กล้วยไข่ หอมมือนาง นา้ นม
AAA group (triploid)

หอมทอง หมอเขยี ว หอมคอ่ ม นาก
AAB group (triploid)

ร้อยหวี งาช้าง (horn plantain) 31
กลว้ ย (horn plantain) นมสวรรค์
ABB group (triploid)
นา้ วา้ นา้ ว้าแดง
นา้ วา้ ขาว หกั มกุ (silver bluggoe)
ABB group (tetraploid)
เทพรส ทิพรส (ปลีหาย)
พชื ปลกู บางชนดิ ไดม้ กี ารผสมพนั ธ์ุและดดั พนั ธโ์ุ ดยมนษุ ยม์ าเปน็ เวลานานอาจจะหลายศตวรรษ
จนกระทั่ง wild origin ของมันเลอะเลือน พชื เช่นนีเ้ รียกว่า “cultigen” ตัวอยา่ งเชน่ กลว้ ย กะหล่าปลี เป็นตน้
3.การจาแนกสาขาวชิ าในคณะวชิ าพชื ศาสตร์ สามารถแบ่งสาขายอ่ ยได้ดงั ต่อไปน้ี
3.1สาขาวชิ าป่าไม้ (Forest)
3.2สาขาวชิ าพืชไรน่ า (Agronomy)
3.3สาขาวชิ าพืชสวน (Horticulture) สามารถแบง่ สาขาวชิ าย่อยออกเปน็ 9 สาขาดงั น้ี
3.3.1สาขาวิชาไมผ้ ล (Pomology or Fruit Trees)
3.3.2สาขาวิชาผกั (Vegetables)
3.3.3สาขาวิชาไมด้ อกไม้ประดบั (Fioricultureand Ornamental Plants)
3.3.4สาขาวชิ าการตกแต่งสถานที่ (Landscape and Gardening)
3.3.5สาขาวชิ าสวนพฤกษชาติ หรือรุกขชาติ (Aboriculture)
3.3.6สาขาวิชาสถานเพาะชา (Nursery)
3.3.7สาขาวิชาการผลติ เมลด็ พนั ธ์ุ (Seed Production)
3.3.8สาขาวชิ าการถนอมอาหาร (Food Preservation)
3.3.9สาขาวิชาพชื สมนุ ไพร (Spice Crops)


Click to View FlipBook Version