The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by piyada thepputhorn, 2019-06-05 07:43:37

Unit3

Unit3

หน่วยที่ 3

ปัจจัยและสง่ิ แวดลอ้ มท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การเพาะปลกู และ
การเจรญิ เตบิ โตของพชื

ครปู ยิ ดา เทพภูธร

แผนกวชิ าพชื ศาสตร์
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ้อยเอด็

หน่วยท่ี 3
ปัจจยั และสิ่งแวดล้อมทีเ่ กี่ยวข้องกับการเพาะปลูก และการเจริญเติบโตของพืช

ปจั จัยท่ีมีอิทธิพลต่อการเจริญเตบิ โตของพชื ไดแ้ ก่
1.ดนิ (Soil)
2.น้า,ความช้นื (Water, Moisture) ดนิ (Soil)
3.แสงสว่าง,ภูมอิ ากาศ (Light, Climate)
4.อุณหภมู ิ (temperature)
5.ธาตุอาหาร (Mineral and nutrient)
6.สิง่ มชี วี ติ (Biofactor)

1.ดนิ (Soil) แบ่งออกได้ 2 ประเภทคือ
1. Mineral soil คือดินท่ีถือกา้ เนดิ มาจากการสลายตัวของหิน
2.Organic soil คือดินท่ีถือก้าเนดิ มาจาการสลายตวั ของซากพชื และสัตว์

1.1 ความส้าคญั ของดนิ ท่ีมตี อ่ พชื
- ดินเปน็ รากฐานส้าหรบั การเจริญเตบิ โตของพชื
- เปน็ แหล่งใหธ้ าตุอาหารและนา้ แก่พืช

1.2 ชัน้ ของดิน ดนิ ทุกชนิดประกอบด้วยหนา้ ดนิ (Soil profile) เปน็ ชน้ั ๆ แตล่ ะชน้ั เราเรยี กว่า HoriZon
ซง่ึ แตล่ ะชน้ั จะแตกต่างกนั ทส่ี ผี วิ พน้ื โครงสรา้ งความมน่ั คงความพรนุ และปฏิกริ ยิ าเคมี ดนิ ส่วนใหญ่
ประกอบด้วยหน้าดนิ 3 ชน้ั คือ A B และ C
ดินชน้ั A เปน็ หน้าดินช้นั บนสุดเราเรยี กวา่ Surface soil มีพวกจุลนิ ทรียแ์ ละอินทรยี วัตถุอยู่มากทส่ี ุด จงึ เปน็
ชั้นดินท่ีเหมาะแกก่ ารเจรญิ เติบโตของพชื มาก
ดินชน้ั B เป็นหน้าดนิ ชน้ั ท่อี ยู่ใต้ดนิ ช้ัน A เราเรียกวา่ Sub soil เปน็ ช้ันท่มี พี วกจุลนิ ทรียแ์ ละอนิ ทรยี วัตถอุ ยู่
น้อยกว่าชนั้ A
ดนิ ชน้ั C เป็นหน้าดนิ ช้นั ล่างสุดประกอบดว้ ย หนิ ทส่ี ลายตวั เป็นบางส่วนจึงเรยี กดนิ ชั้นน้วี า่ parent material
ในดนิ ช้ันนีแ้ ทบจะไม่มีสง่ิ มีชวี ิต และอินทรยี วตั ถุอยู่เลย ความแตกต่างระหวา่ งดนิ ชนั้ บนและชน้ั ลา่ ง

1.3ประเภทของดนิ เราสามารถทจี่ ะแบ่งเน้ือดนิ ไดเ้ ปน็ 3 ประเภท คือ
ดินเหนยี ว (Clay) หมายถงึ ดนิ ท่ีมีเส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาคดินเล็กกวา่ 0.002 มม. เป็นพวกท่ีมี

การจบั ตัวกนั อย่างหนาแน่นมีชอ่ งว่างระหว่างเม็ดดนิ น้อยจึงสามารถอุ้มน้าไว้ได้มาก

ดนิ รว่ น (Silt) หมายถงึ ดินท่ีมเี ส้นผา่ ศนู ย์กลางของอนภุ าคดิน ต้งั แต่ 0.002 – 0.005 มม. ดินชนดิ นี้
จะมชี ่องว่างเม็ดดินมากน้าซึมผา่ นไดส้ ะดวกแต่การอมุ้ น้าน้อยกวา่ ดนิ เหนยี ว

2.น้า (Water) เป็นสิ่งทีม่ ีความจา้ เป็นต่อการด้ารงชวี ิต การเจรญิ เตบิ โตของพชื มาก และกระบวนการเกิด
การเปลย่ี นแปลงภายในด้วยเชน่

1.ชว่ ยละลายพวกเกลอื แร่ตา่ งๆ ในดนิ ให้อยูใ่ นรปู ของสารละลายท่ีรากพชื ดูดเอาไปใช้
2.เป็นวตั ถุดบิ ให้พชื ปรุงอาหารได้
3.ทา้ ให้เซลล์ตา่ งๆท่ีอยู่ภายในพืชเต่ง
4.ชว่ ยลดความรอ้ นใหแ้ ก่ตน้ พืชไดโ้ ดยที่พชื จะคายน้า
5.เป็นตัวช่วยน้าเอาอาหารท่ีปรงุ แลว้ สง่ ไปเล้ียงสว่ นตา่ งๆของพชื ได้
ดังนน้ั เราจะเหน็ ได้ว่า น้า เปน็ ปจั จยั หนง่ึ ทม่ี สี ว่ นต่อการเปลี่ยนแปลงของพืชมากถา้ พืชขาดน้าแล้วอาจทา้
ใหเ้ กิดใบลายและล้าต้นเห่ียวเพราะเซลลไ์ ม่คงรปู รมิ ขอบใบแหง้ ล้าตน้ แขง็ มีเส้ียนโดยเฉพาะพืชหวั หัวจะแก่
เร็ว นอกจากนใ้ี นพชื บางชนดิ ถา้ ช่วงทก่ี ้าลงั จะผสมพันธ์เุ กิดขาดน้าขึน้ มาจะท้าให้การผสมพนั ธ์นุ นั้ ไม่ติดผล
เชน่ ขา้ วโพด เป็นต้น

จากความสา้ คัญของน้าเรายังสามารถที่จะแบง่ พืช ไดต้ ามความต้องการนา้ คือ
1.Xerophyte
2.Mesophyte
3.Hydrophyte
4.Aerophyte หรอื Epiphyte
Xerophyte หมายถึง พชื ทต่ี ้องการปริมาณน้าน้อยทนแลง้ ไดด้ ี เหมาะกบั พืน้ ที่ท่ีขาดแคลนน้า เชน่ พวก
ตะบองเพชร (สามารถปลูกได้ในทะเลทราย๗ พืชหวั ตา่ งๆ
Mesophyte หมา่ ยถึง พชื ทตี่ อ้ งการน้าในปริมาณปานกลาง พวกน้ีไดแ้ กพ่ ืชโดยท่วั ๆ ไป เชน่ ขา้ วโพด ถ่ัว
ตา่ งๆ เงาะ เป็นตน้
Hydrophyte หมายถึง พชื ที่ตอ้ งการนา้ ในปริมาณมาก เหมาะกับการปลูกพืชที่ทีเ่ ป็นท่ีล่มุ เชน่ ข้าว บัว
เปน็ ต้น
Aerophyte หมายถงึ พืชท่มี รี ะบบรากพิเศษคือสว่ นท่ีสามารถดดู และเก็บความชน้ื ในอากาศ เรียกว่า
Vela men เปน็ เยอื่ สีขาว นอกจากนี้รากยงั ชว่ ยในการยึดเกาะใหล้ ้าต้นมคี วามแขง็ แรงมากขน้ึ เช่น กล้วยไม้
แวนดา ที่พชื นา้ เอามาใช้ประโยชน์สว่ นใหญไ่ ด้จากดนิ ซง่ึ เกิดจากน้าที่อยู่บนพ้ืนดินหรือฝนทตี่ กลงมาซมึ ผ่านลง
ไปในดิน นา้ ที่ไหลลงไปนจ้ี ะมีบางส่วนเทา่ นัน้ ท่รี ากพืชสามารถน้าเอาไปใชป้ ระโยชน์ได้ ส่วนทีเ่ หลอื ก็จะไหลลง

สู่ใตด้ ินโดยแรงดงึ ดดู ของโลกเปน็ องคป์ ระกอบทางเคมขี องเมด็ ดิน ซึง่ รากพชื ไมส่ ามารถถูกนา้ เอาไปใช้
ประโยชน์ได้เลย
3.แสงสวา่ ง (Light) และ ภมู อิ ากาศ (Climate)

- แสงสวา่ ง (Light) ดวงอาทติ ยเ์ ปน็ แหล่งพลังงานท่ีมีประโยชน์ตอ่ มนุษย์พืช – สตั วเ์ ปน็ ตวั ควบคุม
สภาพแวดล้อมทสี่ า้ คญั ได้แก่ อณุ หภมู ิ การหมุนเวียนของอากาศ การเกดิ ลมฝนเป็นต้น

1.แสงสว่างมคี วามส้าคัญต่อการขยายพนั ธ์ุ ดว้ ยเมล็ด 2 ประการ คือ
1.1 การงอกของเมล็ด เมล็ดแต่ละชนิดจะมีความต้องการแสงเพื่อใชใ้ นการงอกของเมลด็ ต่างกนั ซึ่ง

แบง่ ออกได้ 4 ชนดิ
1.เมลด็ ท่ตี ้องการแสงถ้าขาดแสงจะไม่งอกได้แก่เมล็ดกล้วยไมบ้ างชนิดมอส
2.เมลด็ ท่ชี อบแสง คือ เวลาเพาะเมล็ดมีแสง หรือไดร้ บั แสงเมล็ดจะงอกไดด้ แี ต่ถ้าไมม่ แี สงจะงอกได้ไม่

ดไี ดแ้ กเ่ มล็ดผักกาดหอม เมล็ดยาสบู
3.เมล็ดไม่ต้องการแสง ซึ่งถ้ามีแสงในเวลาเพาะจะไม่งอก ได้แกเ่ มลด็ หอม กระเทยี ม
4.เมลด็ ทแ่ี สงไม่มผี ลตอ่ การงอก คือ จะมแี สงหรือไม่มี ในขณะเพาะเมล็ดก็งอกได้ท้งั นั้น เชน่ เมล็ดผกั

แทบทุกชนิด ยกเวน้ ผักกาดหอม หอมหวั ใหญ่
การปลกู ดว้ ยเมล็ดหรือเพาะกล้าถ้าเป็นเมลด็ พชื ที่ชอบแสงเรากลบพื้นต้นื ๆ หรือบางๆ ส่วนเมลด็ ที่ไม่

ตอ้ งการแสง กลบใหห้ นาพอสมควร
1.2 การเจริญเติบโตของตน้ พชื ทงี่ อก แสงจะมีอทิ ธิพลตอ่ การเจริญเตบิ โตของต้นกลา้ มาก กลา้ ทไ่ี ด้รับ

แสงไม่พอจะมลี ักษณะซีด ล้าตน้ ยดื ยาว ใบจะขยายใหญผ่ ดิ ปกติ ส่วนกล้าท่ีได้รับแสงพอล้าตน้ จะเจรญิ เตบิ โต
ตามปกติแต่แสงท่ตี น้ กลา้ ได้รับนั้นไมค่ วรท่ีจะมีความเข้มข้นมาหรอื น้อยเกินไปเพราะถ้ามากแลว้ ยอ่ มทา้ ให้
ความรอ้ นสูง แสงน้อยก็จะท้าให้เช้ือโรคต่างๆ เข้าทา้ ลายไดง้ ่าย
2.ความเข้มข้นของแสง ช่วงความเข้มของแสงทเ่ี หมาะสมท่สี ดุ ของพชื แตล่ ะชนดิ ไมเ่ หมือนกัน พชื บางชนดิ มี
อตั ราการสังเคราะหแ์ สงสูงสดุ เมื่อความเข้มขน้ แสงค่อนข้างสงู แต่ก็มบี างชนิดทอี่ ัตราการสงั เคราะห์แสงสงู สดุ
เมอื่ ความเข้มข้นของแสงต่้า จงึ สามารถจ้าแนกพืชออกได้ ดังนี้

2.1 พืชในรม่ (Shade plants) คอื พชื ที่ต้องการความเขม้ ของแสงต้่า คือประมาณ 100 – 1.00 ฟต –
เทยี น เชน่ เฟริ น์ แพงพวย ไม้ใบเปน็ ต้น

2.2 พชื ตอ้ งการความเขม้ ข้นของแสงปานกลาง คือ พืชทต่ี ้องการร่มเงาและแสงแดดบางสว่ น เชน่
ขา้ วตอกฟลิ าเดลฟัส (Philadelphus) กระดูกไก่มาโฮเนีย (Mahonai)

2.3 พชื กลางแจง้ (Sun plants) คือพืชที่ต้องการความเข้มของแสงสดู เช่น ยเี่ ข่ง กุหลาบ ยีโ่ ถ

2.4 พืชสะเทนิ แสง คือ พืชทขี่ น้ ได้ดีในชว่ งความเข้มของแสงกวา้ งเป็นพืชในร่ม หรอื กลางแจง้ กไ็ ด้
พดุ ซ้อน อบเิ ลียดอกจดุ

3.คุณภาพของแสง แสงสีต่างๆ ท่เี ปน็ ประโยชน์ตอ่ พชื เชน่

3.1 สีน้าเงินทา้ ใหเ้ ซลล์พชื แกเ่ รว็ และช่วยขยายให้เกิดคลอโลฟลิ ล์
3.2 สแี ดงจะชว่ ยสง่ เสรมิ การงอกของเมล็ดการเจริญเติบโตของต้นกล้าพชื และการผลติ ในตาดอกเมื่อ
กลางวันยาว – กลางคนื สั้น
4.อทิ ธพิ ลของความยาวนานของแสง ที่มตี ่อพชื
4.1การออกดอกผลของพชื บางชนดิ
4.2การเป็นหัวของพืชบางชนดิ เช่น หอม รักเร่
4.3ปริมาณของคารโ์ บไฮเดรท
4.4อทิ ธพิ ลของชว่ งแสงท่ีมีตอ่ การออกดอกผลของพืชแตล่ ะชนดิ ต้องการช่วงแสงในการออกดอกไม่
เท่ากันจงึ สามารถ ทจี่ ะแบ่งพืชออกไดต้ ามความยาวนานของช่วงแสงคือ
- พืชวนั ส้ัน (Short Day Plant) หมายถงึ พชื ท่ตี ้องการช่วงความยาวของแสงในหนง่ึ วันตดิ ตอ่ กนั
เป็นเวลานาน 14 ชม. หรือนอ้ ยกว่านจี้ ะออกดอก ถ้าพชื ได้รบั แสงมากกว่า 10 – 14 ชม. แล้วจะไม่ออกดอก
เชน่ สตรอเบอรี่ มันสา้ ปะหลังบางพันธุ์ มันเทศ กหุ ลาบญี่ปนุ่ เบญจมาศ ดาวกระจาย ตน้ ครสิ มาสต์
ฆอ้ งสามย่าน เป็นต้น
-พืชวันยาว (Long Dat Plant) หมายถงึ พืชท่ตี อ้ งการความยาวของแสงในวนั หนง่ึ วันติดต่อกันเปน็
เวลานานถงึ 14 – 16 ชม. หรอื มากกวา่ นจ้ี ึงจะออกดอกถา้ พชื ชนดิ นไ้ี ดร้ ับชว่ งแสงทนี่ ้อยกว่า 14 – 16 ชม. ก็
จะไม่ออกดอก เชน่ แครอท ดาวเรือง พุดซ้อน ผกั ขมจีน เป็นตน้
-พืชวันปกติ (Day Neutral Plant) หมายถงึ พืชท่ีช่วงความยาวของแสงในแต่ละวันหนึง่ ๆ ไม่มีผล
ต่อการออกดอกเมื่อพชื ชนดิ นี้มอี ายคุ รบก้าหนดออกดอกก็สามรถทจี่ ะออกดอกได้ไมว่ ่าจะอยใู่ นระยะของชว่ ง
แสงยาวหรือสัน้ เชน่ มะเขือเทศ พริกไทย กระเจยี๊ บ ผเี สอื เป็นตน้ นอกจากช่วงความยาวของแสงจะมีผลต่อ
การออกดอกของพืชแล้วยังมีส่ิงอ่ืนที่เข้ามาเกยี่ วขอ้ งอีก คอื พวกสารฮอรโ์ มนพืช จะสรา้ งฮอร์โมนขนึ้ มาชนดิ
หนึง่ เพอื่ ช่วยในการออกดอกเรียกวา่ “Flowering hormone” หรือ “Florigen” แตย่ ังมีสารอกี ชนดิ หน่ึงที่
สามารถตา้ นทานพวก Flowering Hormone เรยี กว่า “Inhibitory substance”
- ภมู อิ ากาศ (Climate) การเคล่ือนย้ายของอากาศท้าใหเ้ กิดลมในอากาศ จะมพี วกกา๊ ซตา่ งๆ อยู่มากมาย
เชน่ ก๊าซออกซิเจน ซงึ่ เป็นวตั ถทุ ี่ส้าคญั ต่อการหายใจของพืช ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ จะเปน็ ตัวสา้ คญั ในการ

ปรุงอาหารของพชื เพื่อใหไ้ ด้แปง้ และน้าตาลในขณะท่ลี มพัดจะมกี ารเคลอ่ื นทข่ี องโมเลกลุ O2 CO2 และไอน้า
เข้ามาและออกทางปากใบได้เร็วยิง่ ขึน้ ดงั น้ัน จงึ ท้าใหเ้ กดิ ขบวนการต่างๆ เช่น การหายใจ การคายน้า การ
สงั เคราะหแ์ สงดีขน้ึ พชื สามารถเจริญเตบิ โตไดเ้ รว็ กว่าพืชที่ขึน้ อยใู่ นบรเิ วณทมี่ ลี มสงบ นอกจากน้ลี มยงั สามารถ
ชว่ ยในการผสมเกสรของพืชไดอ้ ย่างดีหรือการขยายพันธุ์พืช โดย วธิ ีการทเี่ มลด็ ปลวิ ไปกับลม เชน่ ประดู่ ยาง
เปน็ ตน้ แต่ในบางครั้งลมก็มีโทษไดเ้ ช่นกัน ท้าความเสยี หายแกพ่ ืชในเวลาทีเ่ กิดพายุต้นไมท้ ี่โค่นลม้ ทบั ไดร้ ับ
ความเสียหาย ท้งั ยังเปน็ สื่อในการแพร่เชื้อโรคจา้ พวกรา

4.อุณหภมู ิ (Temperature) อณุ หภมู เิ ป็นปัจจยั หน่ึงที่มีความส้าคัญตอ่ การเจรญิ เติบโตและ
พัฒนาการพืชแต่ละพวกซ่งึ สามารถจะแบง่ ได้ 3 ระดบั คอื

1.อณุ หภมู ิต้า่ สุด (Minimum Temperature) หมายถึงอุณหภูมติ ่า้ สดุ ที่พืชสามารถทจ่ี ะทนอยู่ได้
ระหว่าง 40 – 43 องศาฟาเรนไฮด์

2.อณุ หภมู ิท่ีเหมาะสม (Optimum Temperature) หมายถงึ อุณหภมู ทิ ่เี หมาะสมที่สุดตอ่ การ
เจรญิ เตบิ โตของพชื คือพชื จะมกี ารสังเคราะห์แสงสูงสุด และมกี ารหายใจระดับปกติ ตลอดจนได้รับผลผลิต
สูงสุด

3.อณุ หภูมิสงู สุด (Maximum Temperature) คือ อุณหภมู สิ ูงสุดทพ่ี ืชสามารถทนอยู่ไดใ้ นระหว่าง
85 – 144 องศาฟาเรนไฮด์ อุณหภูมจิ ะมผี ลต่อขบวนการต่างๆ ของพชื อยูห่ ลายอยา่ ง เช่น

- การคายน้าของพืช
- การหายใจของพืช
- การสงั เคราะห์แสงของพชื เป็นต้น
พืชแต่ละชนดิ มีความต้องการอุณหภูมสิ งู ต้่าแตกต่างกันออกไปโดยท่วั ๆ ไป เราแบง่ ออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
- พชื เมอื งหนาว
- พืชเมืองร้อน
พชื เมืองหนาว หมายถงึ พืชทต่ี ้องการอุณหภูมใิ นการเจริญเตบิ โตตา้่ คอื ต่้ากวา่ 60 องศา เช่น ท้อ
พลับ
แอปเป้ลิ ฯลฯ ถา้ เรานา้ เอาพืชพวกนม้ี าปลกในเขตร้อนท้าให้เกิดอนั ตรายแก่พืชได้ เชน่ ใบไหม้ เนอ่ื งจากการ
คายน้ามาก หรอื เกิดการแข็งตัวของโปรตีน
พชื เมืองร้อน หมายถึง พืชท่ีต้องการอณุ หภมู ิในการเจริญเติบโตสูงกว่า 60 องศาขึ้นไป เช่น อินทผลัม
มะเด่ือ สม้ เปน็ ตน้ หากเราน้าเอาไปปลกู ในที่มีอหุ ภูมิตา่้ กว่าน้แี ลว้ อาจทา้ ให้พืชนัน้ ไมเ่ จริญเติบโต หรอื ตายได้
เนื่องจากอณุ หภมู ิต่้า น้าท่ีอย่ใู นโปรโตพลาสซมึ (Protoplasm) ยของเซลล์พืชจะแขง็ ตัว ปรมิ าณมากขึ้น แต่

ผนงั เซลลพ์ ืชคงเดิมหรืออาจขยายได้บ้างเพยี งเลก็ น้อย จงึ ท้าใหเ้ ซลล์แตก และตายไปถ้าในฤดูรอ้ นอุณหภูมติ ้่า
เกินไป พชื หลายชนดิ โดยเฉพาะพืชเมืองร้อน อาจจะได้ผลผลิตเหมือนกันแตผ่ ลอาจสกุ ช้าหรอื รสชาตไิ มด่ ี
เทา่ ทคี่ วร เพราะความร้อนท่ีพชื ตอ้ งการใช้ ในการทา้ ให้ผลสกุ นน้ั ไม่เพยี งพอ ซึ่งจ้านวนความรอ้ นท่ีพืชตอ้ งการ
นเ้ี ราเรียกว่า “Heat Unit”

5.ธาตุอาหารท่ีจ้าเป็นต่อการเจรญิ เตบิ โตของพืช (Essential elements)
เปน็ ธาตุอาหารที่พชื จ้าเปน็ ต้องใช้เพอื่ การเจริญเตบิ โตดว้ ยกัน 16 ธาตุ โดยแบ่งออกเปน็ กลมุ่ ใหญๆ่ 2 กลมุ่ คอื

1.Maceonutrient หมายถงึ ธาตุอาหารท่พี ืชต้องการใชเ้ พื่อการเจรญิ เติบโตในปริมาณมาก คอื
ประมาณ
2 – 20 ก.ก./ไร่ ได้แก่ N P K C H O Ca Mg S

2.Micronutrient หมายถงึ ธาตุอาหารที่พืชตอ้ งการใชใ้ นปรมิ าณน้อยแตจ่ ะขาดธาตุใดธาตุหนง่ึ ไม่ได้
มี Mn Zn Cu Mo B Cl Fe

แหล่งธาตอุ าหารของพืช
พืชได้รับธาตุอาหารตา่ งๆ จากดินน้าอากาศและป๋ยุ ท่เี ราใส่ลงไปธาตุ C และ O น้ันเราจะได้รับจาก
อากาศโดยตรง คือ ธาตุ C จะเขาสู่พืชโดยทางปากในรปู ของ CO2 ธาตุ O จะเขา้ สู่พชื รปู ของก๊าซออกซิเจน
โดยทางปากใบและทางผิวของราก ส่วน H นน้ั พชื ได้จากการสลายตัวของโมเลกลุ ของน้าในดินหรอื อนา้ แลว้
เข้าส่ภู ายในพชื โดยทางชอ่ งเปิดของใบเป็นต้น ธาตุอาหารทเี่ หลอื อีก 13 ธาต นั้นสว่ นมากพชื จะไดร้ ับจากดนิ
ยกเว้นบางธาตุ เชน่ N จะมบี างส่วนท่ีเกิดจากพชื ตระกูลถัว่ ตรงึ จากอากาศและ S ก็สามารถได้รบั จากอากาศ
ได้บ้างเป็นบางสว่ นรปู ของ SO2 (ซัลเฟอร์ไดออกไซด์) CO2
การสูญเสียธาตอุ าหารจากดิน ธาตุอาหารจะสูญเสยี ไปได้โดย
1.สูญเสยี ไปกับพชื ท่ีเราปลูก เพราะพืชจ้าเป็นต้องใชธ้ าตุอาหารในการเจริญเติบโตอย่างมากเชน่ N จะ
บ้ารงุ ส่วนใบและล้าต้น ส่วน P จะมคี วามสา้ คัญต่อการสรา้ งผลและเมลด็ พืชเป็นต้น ฉะน้นั ในเวลาเราเก็บ
ผลผลติ ในครงั้ หน่ึงๆ น้ันเทา่ กับเราดงึ ธาตุอาหารออกไปเป็นจา้ นวนไมน่ ้อย
2.สญู เสยี ไปกับการซะล้างของนา้ น้าจะเป็นตวั การสา้ คญั ในการทา้ ใหธ้ าตุอาหารลดน้อยลงโดยการท่ี
นา้ จะซะล้างธาตุอาหารต่างๆ ทมี อี ยบู่ นผิวดินไปใช้สู่ดินช้นั ลา่ ง ซ่งึ รากไม่สามารถทจี่ ะดูดน้าเอามาใชไ้ ด้หรอื ใน
เวลาฝนตกนา้ กจ็ ะซะลา้ งเอาหนา้ ดินไปด้วยซง่ึ ก็เทา่ กับเป็นการซะล้างธาตุอาหารไปดว้ ยเพราะส่วนมากแลว้
ธาตอุ าหารของพชื นัน้ จะอยู่บริเวณดินชน้ั บนโดยเฉพาะดินที่เป็นทรายแล้วการสญู เสียธาตุอาหารของพชื น้ันจะ

อยู่บริเวณดนิ ชนั้ บน โดยเฉพาะดินที่เป็นดนิ ทรายแล้วการสูญเสียธาตุอาหารจากการกระท้าของน้าก็จะมีมาก
ยง่ิ ขึ้น

3.การสญู เสยี ดนิ ในบางครั้งเกิดพายุลมแรงมันกจ็ ะพัดเอาดินชัน้ บนไปเป็นจา้ นวนมากซึ่งจะมีธาตุ
อาหารตดิ ไปดว้ ยเป็นจ้านวนไมน่ ้อยเลย หรอื เรยี กวา่ “การระเหดิ ”

4.การสูญเสียในรูปของก๊าซซ่งึ สว่ นใหญ่แล้วจะเกดิ ขึ้น ในขบวนการทางเคมีหรอื ชวี เคมีของธาตุอาหาร
ทมี่ อี ยู่ในดนิ

การรกั ษาความอดุ มสมบรู ณ์ของดนิ ควรจะมีการรักษาดินให้มคี วามอดุ มสมบูรณ์ต่อการ
เจรญิ เตบิ โตของพืช ทั้งนีห้ มายความว่าเราจะต้องรกั ษาระดับของธาตุอาหารที่พืชจะใชใ้ ห้อยใู่ นระดับที่
เหมาะสม

หลักในการใสป่ ยุ๋ คือ
-ใส่ในบริเวณรอบเขตของรากพชื แต่ไม่ควรใสใ่ หช้ ิดกับโคนตน้ มากเกนิ ไป
-ควรใสใ่ นขณะท่ดี ินมีความชื้นหรือใหน้ า้ ตามหลังจากการใสป่ ุ๋ยประเภทปุย๋ เม็ด เพอ่ื ช่วยละลายป๋ยุ ให้
อยูใ่ นรปู ของสารละลาย พชื สามารถนา้ เอาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้
-ในกรณที ด่ี ินมสี ภาพเปน็ กรดหรอื ดา่ งมากเกินไป ควรทา้ การปรับปรงุ พน้ื ดนิ น้ันให้อยูใ่ นสภาพทเ่ี ป็น
กลางพอเหมาะกบั การเจรญิ เติบโตของพชื กอ่ นใส่ปยุ๋
-ในพ้ืนทีท่ ่ีเปน็ ทห่ี ยาบ หรอื ดินทราย การใสป่ ุ๋ยควรแบง่ ใสห่ ลายๆ ครง้ั ครัง้ ละน้อยๆ เพ่ือปอ้ งกันการ
ซะล้างป๋ยุ ของนา้
-การใสป่ ยุ๋ พวกฟอสฟอรัส ควรใส่ให้ใกล้กบั บริเวณรากพืช พืชจะได้ดดู ไปใช้ได้ง่าย เน่ืองจากปุ๋ย
ฟอสฟอรัสเคล่ือนท่ีได้ยากมาก
-การใสป่ ๋ยุ แบบหวา่ นลงบนผิวหน้าของดนิ ความทา้ การไถกลบ ปุ๋ยนนั้ เพอ่ื ป้องกันการสญู เสยี ธาตุ
อาหารของพชื ท่มี ีอยอู่ อกไปในรูปของกา๊ ซ
6.สงิ่ มชี ีวติ (Biofactors) สงิ่ มชี วี ิตต่างๆ จะมีผลต่อการเจริญเตบิ โตของพืชทั้งในด้านการใหโ้ ทษและ
การให้ประโยชน์ ซึง่ สิ่งมีชีวิตดังกลา่ วจะมีขนาดเลก็ จนถงึ ใหญ่ ได้แก่
6.1จุลนิ ทรียบ์ างชนิดเป็นสาเหตุของโรคบางชนิดสามารถจับตรึงไนโตรเจนให้เป็นป๋ยุ สา้ หรบั พชื ได้
6.2แมลงบางชนิดมปี ระโยชน์ในการผสมเกสร และการวบคุมแมลงศัตรูอยา่ งอ่นื ๆ บางชนดิ ล้าลายพชื ผล
6.3สัตวบ์ างชนิดท้าความเสยี หายให้กับพชื และผลผลิต เช่น หนู กระรอก บางชนดิ ชว่ ยในการก้าจดั ศัตรูพชื
อืน่ ๆ เชน่ กบ คางคก กิ้งกา่ บางชนดิ ชว่ ยในการแพร่กระจายพันธุพ์ ชื เช่น นก
ปัจจัยทเี่ กี่ยวข้องกบั การปลกู พืช มดี งั น้ี

ก.สภาพของพน้ื ที่ เชน่
1.ระดบั ความสูงต่า้
2.ขนาดของพนื้ ท่ี
3.ลักษณะของดนิ
4.ความเป็นมาของพน้ื ท่ี

ก.สถานท่ตี งั้ เราต้องค้านงึ ถงึ พ้นื ท่ีทา้ การปลูกพชื ดว้ ยวา่ อย่ใู กล้กับตลาดมกหรือเพียงไร เพื่อที่จะ
สะดวกในการขนส่งผลติ ผลจากไร่หรอื สวนออกสู่ตลาด ถา้ พ้ืนทน่ี ัน้ อยูไ่ กลจากตลาดมากรถไม่สามารถเข้าไปได้
กอ็ าจจะทา้ ให้ผลผลิตนนั้ ได้รับความเสียหายในเวลาขนส่งและทา้ ใหต้ น้ ทุนของการผลิตสงู ตามไปดว้ ย ดังนน้ั
การเลือกพืน้ ที่ทา้ การเพาะปลูกพชื จงึ ไมค่ วรใหไ้ กลจากตลาดหือแหลง่ ชุมชนมากนกั การทเี่ ราจะเลือกพื้นท่ที า้
การปลูกน้ันเราจะตอ้ งดดู ้วยวา่ ดินในพน้ื ทนี่ ั้นสลายตวั มาจากดนิ ประเภทใด โดยสังเกตดูได้จากเนอ้ื ดนิ เก็บ
ตัวอยา่ งดนิ ให้เจ้าหน้าที่ที่ โดยตรงทา้ การวิเคราะหแ์ ละจะตอ้ งเปน็ ดินทถี่ ือครองกนั ถกู ต้องตามกฎหมาย
เพ่อื ทจี่ ะได้ไม่เกิดปัญหาในเวลาตอ่ ไป นอกจากนี้เราต้องทราบดว้ ยวา่ พน้ื ทนี่ ั้นเคยท้าการเพาะปลูกพชื ชนดิ ใด
มาก่อน มีโรคและแมลงชนดิ ใดบ้างที่เคยระบาดในพนื้ ท่ีหรือบริเวณใกล้เคียงเพอ่ื ท่เี ราจะได้ทา้ การป้องกันกอ่ น
ทา้ การเพาะปลูก

ข.แหลง่ นา้ น้ามีความส้าคญั ตอ่ กสกิ รรม การเลือกพ้นื ทเ่ี ราจงึ ต้องคา้ นงึ ถึงแหล่งน้าดว้ ยวา่ เราสามารถ
ที่จะนา้ เอามาใช้ประโยชน์ได้หรอื ไม่ พนื้ ทีน่ น้ั จะต้องไม่อยู่ไกลจากแหล่งนา้ มากนัก เพ่อื สะดวกในการท่ีเราจะ
นา้ เอานา้ จากแหล่งนั้นมาใชไ้ ด้

แหล่งน้าทีส่ ามารถใช้นา้ ได้ มดี ังตอ่ ไปนี้
1.น้าฝน เปน็ แหล่งน้าที่ส้าคญั ที่สดุ ทใ่ี ช้ในการเกษตร
2.น้าจากแหลง่ ธรรมชาติ กค็ ือนา้ ฝนนัน่ เอง แต่เป็นสว่ นทีซ่ ึมลงในชั้นดนิ แลว้ ไหลลงส่ลู ้าห้วย ลา้ ธาร
หนอง คลอง บงึ แมน่ ้า ฯลฯ น้าจากแหลง่ ธรรมชาติ โดยท่ัวไปจะมปี ุ๋ยและธาตอุ าหารท่จี ้าเปน็ ตอ่ การ
เจริญเติบโตของพืชปนมาด้วย การปลกู พืชในพนื้ ท่ีที่มแี หล่งนา้ ธรรมชาตดิ ้วยจะไดผ้ ลดีกว่าการปลูกบนพ้ืนที่ที่
หวังนา้ จากฝนเพยี งอย่างเดยี ว
3.นา้ ใต้ดนิ คอื น้าทีเ่ กิดจากนา้ ฝนไหลซมึ ผา่ นลงไปในขั้นของดินหรอื ของหนิ นา้ ใตด้ ินมีอยู่หายระดบั
ท้ังนีข้ ึน้ อยกู่ บั สภาพพืน้ ท่ี การลงทุนขุดเจาะนา้ ใตด้ ินมาใชน้ ้ันอาจจะต้องลงทุนสงู

4.อ่างเก็บน้า มคี วามส้าคัญต่อการเพาะปลกู คือเราสามารถท่จี ะนา้ เอานา้ มาใชใ้ นฤดแู ล้งเพื่อใหพ้ ชื มี
การเจริญเติบโตอย่างสมา้่ เสมอไมช่ ะงกั

นอกจากนีย้ งั มีนา้ จากนา้ ขังหรอื หมอก ซ่งึ จะมีสว่ นชว่ ยท้าใหก้ ารเจรญิ เตบิ โตของพืชดี ท้าใหพ้ น้ื ท่ีนั้นมี
ความชุ่มช้นื ในอากาศสูง แต่ก็มไิ ดถ้ ือวา่ เป็นนา้ ที่มีความส้าคัญทางการเกษตรมากนัก

ค.สภาพดินฟา้ อากาศ การที่จะทา้ การปลูกพืชชนิดใดนั้นเราตอ้ งดเู กี่ยวกับดินฟา้ อากาศด้วย เพราะพืช
แต่ละชนิดจะไม่เหมือนกัน บางอยา่ งปลกู ขึ้นได้ดใี นภมู ิอากาศหนงึ่ แต่พอไปปลูกในอีกภมู ิอากาศหนึง่ อาจจะ
ปลกู ไม่ได้ หรือปลูกได้ก็จะไม่เจริญเติบโตเทา่ ท่คี วร เชน่ ล้าไย ปลูกไดผ้ ลผลติ ดใี นภาคเหนือซึ่งมีอากาศ
ค่อนข้างหนาว หรอื ยางพาราปลูกได้ดีในภาคใตแ้ ละภาคตะวนั ออกเท่านนั้

ลักษณะของดนิ ฟ้าอากาศ มดี งั ตอ่ ไปนี้
1.อณุ หภมู ิ (Temperature)
2.ความชืน้ (Humidity)
3.ปรมิ าณน้าฝน (Precipitation)
4.ฤดกู าล(Seasons)
5.การปฏบิ ัตกิ ารดแู ลรักษา
1.อุณหภูมิ (Temperature) ดงั ไดก้ ลา่ วแลว้ วา่ อณุ หภูมเิ ป็นตัวส้าคญั ท่ีควบคุมการเจริญเติบโตของ
พืช ดังนั้นการทีเ่ ราจะปลูกพชื ใดน้นั ตอ้ งคา้ นึงถึงอุณหภูมิในบรเิ วณพื้นทีน่ น้ั ๆ ดว้ ย ซง่ึ ระดับอุณหภมู แิ ตล่ ะแห่ง
นั้นไม่เทา่ กนั เราจึงเห็นได้ว่าพืชแตล่ ะชนดิ สามารถเจรญิ เติบโตได้ดหี รอื ไม่ดีในแตล่ ะแห่งไม่เหมอื นกัน ความ
นิยมของแต่ละแห่งในการปลกู พืชแตล่ ะชนิดจึงต่างกนั
2.ความชน้ื (Humidity) คอื ไอน้าทล่ี อยอย่ใู นอากาศพืชบางอย่างต้องการความช้ืนมาก โดยเฉพาะ
พชื พวกผัก เชน่ ผักกาดหอม กะหลา่้ ปลี เปน็ ตน้ พชื บางอย่างกต็ ้องการความชื้นน้อย พวกนจี้ ะเปน็ พืชท่ที น
แล้งไดด้ ี เช่น พวกขา้ วฟ่าง มันสา้ ปะหลงั ฯลฯ
3.ปรมิ าณน้าฝน (Precipitation) ปริมาณของน้าจะมีผลกระทบกระเทอื นตอ่ การเจรญิ เติบโตของ
พืช โดยเฉพาะพืชทีต่ ้องการน้ามากในการเจริญเตบิ โต เชน่ ข้าว ถ้าขาดนา้ แล้วจะท้าใหผ้ ลผลิตลดลงอย่างมาก
ฉะนน้ั
การท่พี ืชแตล่ ะชนดิ จะไดป้ ริมาณตามความต้องการนั้นก็ย่อมขึ้นอยู่กับปริมาณน้าฝนเปน็ สว่ นใหญ่ แม้ว่าจะมี
การชลประทานชว่ ยเหลอื อยู่ในปจั จบุ ัน ปรมิ าณน้าฝนในโลกจะไมเ่ ทา่ กนั ทุกแห่งจงึ ทา้ ให้เราแบง่ เขตพนื้ ท่ีออก
ได้ 4 เขต

3.1 เขตแหง้ แลง้ (Arid Region)

3.2 เขตกึ่งแห้งแล้ง (Semi – arid region)
3.3 เขตกึง่ ชมุ่ ชน้ื (Sub – humid region)
3.4 เขตชุม่ ช้ืน (Humid region)
3.1 เขตแหง้ แล้ง คือบรเิ วณที่มฝี นตกเฉลย่ี ไม่เกิน 10 น้วิ ข้ึนไป การปลูกพืชในเขตนจี้ ะไดผ้ ลต่อเม่ือมี
การชลประทานเขา้ ช่วย และเป็นพืชทตี่ อ้ งการน้าในปริมาณน้อยก็สามารถมชี วี ิตอยู่ได้ เชน่ ตะบองเพชร ซง่ึ อยู่
ทะเลทรายได้ดี
3.2 เขตกึ่งแห้งแลง้ คือบริเวณท่ีมฝี นตกเฉลย่ี 10 – 20 นิว้ ข้นึ ไปในการเพาะปลกู จะได้ผลเมอ่ื มีการ
ควบคุมความชื้นในดนิ เช่น การใชว้ ัตถคุ ลมุ ดิน การชลประทาน เป็นต้น หรอื อาจจะปลกู แต่พืชที่ทนแลง้ ไดด้ ี
3.3 เขตกง่ึ ชุ่มช้นื คือบรเิ วณทมี่ ีน้าฝนตกเฉล่ยี 20 -30 น้วิ ขน้ึ ไป แต่กย็ ังไม่ค่อยจะพอกับความ
ตอ้ งการของพชื ทวั่ ๆ ไป ดังน้ันการปลูกพชื ในเขตน้ตี ้องปลูกใหต้ รงกบั ฤดฝู น หรอื ต้องมวี ัตถุคลุมดินเพ่อื รักษา
ความช้นื ไว้ด้วย เช่น สภาพของภาคอสี าน เปน็ ตน้
3.4 เขตชุม่ ช้นื คือบริเวณทมี่ ีน้าฝนในปหี น่ึงๆ 30 น้วิ ข้นึ ไป ซึง่ เป็นการเพยี งพอต่อการปลูกพชื เช่น
ทางภาคเหนอื ภาคกลาง ภาคใต้ ฯลฯ การปลูกพชื เราสามารถท้าไดต้ ลอดปี ส้าหรับประเทศไทยน้นั ปรมิ าณ
น้าฝนของแต่ละแห่งหรือแตล่ ะภาคไมเ่ ทา่ กนั
4.ฤดูกาล(Seasons) จะมีส่วนเขา้ มาพจิ ารณาได้วา่ ท่นี นั้ ๆ เราควรจะทา้ การเพาะปลูกชนิดใดและใน
ชว่ งเวลาใด เพ่ือใหเ้ หมาะแก่การเจรญิ เติบโตของพืช สา้ หรับประเทศไทยสามารถแบ่งได้ 3 ฤดู คอื
-ฤดูฝน เร่มิ ตัง้ แต่ เดือนมถิ ุนายน – ตุลาคม
-ฤดหู นาว เริม่ ต้งั แตป่ ลายเดือนพฤศจกิ ายน – ตน้ เดอื นกุมภาพนั ธ์
-ฤดูร้อน เร่ิมตัง้ แต่ เดือนมนี าคม – กลางเดือนพฤษภาคม
ดงั น้ันการปลกู พชื ของกสกิ รควรจะพจิ ารณาถงึ ฤดูกาลด้วย เช่น การท้านา กสิกรก็ควรจะเลอื กท้ากนั
ในฤดฝู น เพราะขา้ วเปน็ พชื ชอบน้า แต่ถ้าหากวา่ เราทานอกฤดูทเี่ ราเรยี กว่า นาปรัง เรากอ็ าจท้าได้ในฤดูอนื่ ๆ
นอกจากฤดูฝนซ่ึงนยิ มท้ากนั น้อย ผลผลิตท่ีไดร้ ับก็อย่ใู นปริมาณค่อนขา้ งต้า่
สา้ หรับในภาคใตข้ องไทยน้ันอาจจะแบง่ ฤดูไดเ้ พยี ง 2 ฤดูเท่านนั้ คือ ฤดฝู นจะมรี ะยะเวลานานคอื
ตัง้ แต่ประมาณเดือนสิงหาคม – มนี าคม เพราะในฤดูหนาวทางภาคใต้ก็ยงั มีฝนตกอยู่ ท้าให้อากาศไม่หนาวขนึ้
จึงทา้ ให้มีฤดรู อ้ นกับฤดูฝนเท่านัน้
กสกิ รควรตะหนักถงึ ฤดกู าลใหม้ าก เพ่ือท่จี ะได้รรู้ ะยะเวลาการปลกู พชื ใหเ้ หมาะสมกับฤดกู าลของการ
เกบ็ เกย่ี วดว้ ยทา้ ใหผ้ ลผลติ เสียหายนอ้ ยลง เชน่ ข้าว ถา้ ขา้ สกุ ในช่วงทม่ี ฝี นตกกจ็ ะทา้ ให้เมลด็ ขา้ วได้รบั ความ
เสยี หายได้ ซ่งึ อาจจะเกิดจากการเข้าท้าลายของเชอื้ รา เปน็ ต้น

5.การปฏบิ ัตดิ แู ลรักษา เมื่อกสิกรไดท้ า้ การปลูกพชื เรียบรอ้ ยแล้วก็จะตอ้ งทา้ การปฏบิ ตั ิดูแลรกั ษา
ต้ังแต่เร่มิ ปลกู จนกระทั่งเก็บเกย่ี วผลผลิต ซ่ึงมีอยหู่ ลายประการ คอื

5.1 การป้องกันกา้ จัดศัตรูพืช พืชจะไดร้ ับอนั ตรายจากการรบกวนของสงิ่ ต่างๆ คือ
5.1.1แมลง เปน็ ตวั ที่เขา้ มาทา้ ลายผลผลิตของกสกิ รในปจั จบุ นั อย่างมาก นอกจากจะเข้า

ท้าลายโดยตรง เช่น แมลงสิงทา้ ลายถั่งฝักยาว ทา้ ให้ฝักไม่มีเนอื้ เนื่องจากมันดูดเอานา้ เล้ยี งไปหมด นอกจากน้ี
แมลงยังเปน็ พาหะของโรคตา่ งๆ เช่น แมลงเตา่ ทอง เปน็ ตวั นา้ โรคเหยี่ วมาสแู่ ตงโม เปน็ ต้น

5.1.2โรคพชื หมายถงึ การท่ีพืชแสดงอาการผดิ ปกติออกมา ซงึ่ มีผลต่อการเจรญิ เติบโตและ
การท้าใหผ้ ลผลติ ของพืชเราสามารถจา้ แนกเป็น

-โรคท่ไี มไ่ ด้เกดิ จากเช้ือเขา้ ท้าลาย แต่เกดิ ขึ้นเนื่องจากสาเหตตุ า่ งๆ คือ อุณหภมู ิไม่เหมาะสม
ธาตอุ าหารมากหรอื น้อยเกนิ ไป เปน็ ตน้

-โรคท่ีเกดิ ขนึ้ จากเชอ้ื โรคชนิดต่างๆ เป็นการเข้าไปทา้ ลายของเช้อื โรคจา้ พวก
1.แบคทีเรยี เชน่ โรค Bacterial soft rot ของผัก เปน็ ตน้
2.รา เช่น โรคราน้าคา้ งขององุ่น โรคเน่าคอดนิ ของต้นกลว้ ย เป็นตน้
3.ไวรัส เช่น โรคใบดา่ งของยาสบู โรคใบหงิกของพริก เปน็ ต้น

5.1.3วัชพชื หมายถึงพชื ที่ขน้ึ อยู่ในพน้ื ที่ที่เราทา้ การเพาะปลกู ซึง่ เปน็ พชื ทเี่ ราไมต่ ้องการ
เปน็ ศัตรูทีร่ า้ ยแรงตอ่ พชื ทีเ่ ราปลกู วชั พชื มกี ารเจรญิ เติบโตและแพรข่ ยายไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ทา้ ให้ผลผลิตที่ได้รบั
ลดลงมาก

การปอ้ งกันกา้ จดั สามารถท้าได้หลายวิธี คอื
1.วธิ ีกล (Mechanical technique) หมายถงึ การดงึ การถอน การถาก การพรวน การไถ การปลูก
พชื คลมุ
2.วิธีทางชวี นะ (Biological Technique) หมายถงึ การใช้สิ่งทีม่ ีชวี ติ เข้ามาท้าลาย เช่น แมลงบางชนดิ
กบั วัชพชื เป็นตน้
3.วิธีทางเคมี (Chemical Technique) หมายถึง การใช้สารเคมตี ่างๆ ในการฉดี หรือพ่น เช่นพวก 2 –
4, D และ กรัมม็อคโซน เป็นตน้

5.1.4ศัตรูอน่ื ๆ -สตั ว์ต่างๆ เชน่ ววั ม้า แพะ แกะ ไก่ นก กระต่าย เป็นต้น
-ภัยธรรมชาติต่างๆ เช่น พายุ น้าท่วม

5.2การตัดแต่ง พืชบางชนดิ เราตอ้ งมกี ารตัดแตง่ พุม่ ของต้น เพ่ือช่วยให้มผี ลผลติ สงู ในฤดตู อ่ ไป
โดยเฉพาะ พวกไม้ผล เช่น เงาะ น้อยหน่า ฯลฯ

5.3การพรวนดนิ เป็นวธิ ที ี่ชว่ ยท้าให้ดินมคี วามชนื้ ดี ช่วยให้รากพืชเจริญเตบิ โตดี ทัง้ ยังช่วยในการ
ลดวชั พืชลง

5.4การใส่ปุ๋ย ธาตอุ าหารเป็นสงิ่ ทีจ่ า้ เปน็ ต่อการเจรญิ เติบโตของพชื ในบางคร้งั พืชอาศัยจากใน
ธรรมชาติ เช่น ดนิ อากาศเพียงอยา่ งเดยี วไม่พอ กสิกรจ้าเปน็ ตอ้ งเพม่ิ ใหด้ ว้ ย ทง้ั ปยุ๋ อินทรียแ์ ละปยุ๋ อนินทรีย์

5.5การปลดิ ดอกหรือผลทิ้ง การปลิดดอกทิ้งจะมีผลกระทบกระเทือนต่อการด้ารงชีพด้วย กสิกร
บางคนมักจะเสียดายแตถ่ า้ คดิ ใหด้ ีการปลิดดอกทิ้งในขณะที่ยังอ่อนอยจู่ ะช่วย ท้าให้สว่ นที่เหลืออยู่นน้ั มี
คุณภาพสงู และต้นไม่โทรมมากนัก

นอกจากท่ีกลา่ วมาแล้ว เรายังต้องเอาใจใส่เกีย่ วกบั การให้น้า การระบายนา้ การป้องกันแสง การทา้
คา้ งหรือหลกั ให้กับพืชบางชนิด เปน็ ตน้

ภาพที่ 3.1 แสดงลกั ษณะการท้าค้างซึ่งเปน็ การปฏบิ ตั ิดูแลรักษาพืช


Click to View FlipBook Version