The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปรายงานผลการอ่าน เขียน ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนอรุโณทัยวิทยาคม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krutooztuu, 2021-04-26 01:56:38

สรุปรายงานผลการอ่าน เขียน ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนอรุโณทัยวิทยาคม

สรุปรายงานผลการอ่าน เขียน ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนอรุโณทัยวิทยาคม

รายงานผลการคัดกรองนักเรียนด้านการอ่าน – การเขยี น
ปกี ารศึกษา 2563

โรงเรยี นในสงั กัดสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 34

กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
โรงเรยี นอรุโณทัยวทิ ยาคม

โรงเรียนอรโุ ณทัยวทิ ยาคม อำเภอเชียงดาว จงั หวดั เชยี งใหม่
สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๓๔

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

สว่ นท่ี 1

แบบสำรวจขอ้ มลู ครผู สู้ อนภาษาไทยและครูบรรณารักษ์
โรงเรยี นในสงั กดั สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 34

************************************************
1. ชื่อโรงเรยี นอรโุ ณทัยวิทยาคม

2. ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา นางรตั ติกรณ์ สขุ ดี
3. ชอ่ื – สกุล รองผู้บรหิ ารสถานศึกษาฝ่ายวชิ าการ นางสาวเพราพลิ าส น้อยหลู่
4. จำนวนครูผสู้ อนภาษาไทย 6 คน

4.1 ชือ่ นางสาววิภารตั น์ นามสกุล อภวิ งค์
ตำแหนง่ ครู วิชาเอก ภาษาไทย

ระดบั การศกึ ษา ปรญิ ญาตรี สาขาวิชา ภาษาไทย
ประสบการณก์ ารสอน 5 ปี ปัจจุบันสอนระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 / มธั ยมศึกษาปที ี่ 2
เบอร์โทรศพั ท์ตดิ ตอ่ 086-9126454

4.2 ชื่อ นางสาวภทั รนันท์ นามสกลุ เจตะภยั
ตำแหนง่ ครู วชิ าเอก ภาษาไทย

ระดับการศึกษา ปรญิ ญาตรี สาขาวิชา ภาษาไทย
ประสบการณ์การสอน 5 ปี ปัจจุบันสอนระดบั ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 / มัธยมศกึ ษาปีที่ 6
เบอรโ์ ทรศพั ท์ติดต่อ 083-5701733

4.3 ชื่อ นายประจวบ นามสกุล คำแดงสด
ตำแหน่ง ครู วิชาเอกภาษาไทย

ระดับการศึกษา ปริญญาตรี สาขาวชิ า ภาษาไทย
ประสบการณ์การสอน ๑๐ ปี ปัจจุบันสอนระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๕ / มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑
เบอร์โทรศพั ท์ตดิ ตอ่ ๐๘๓๒๕๑๗๐๑๔

4.4 ชื่อ นาย พงศกร นามสกุล เจรญิ ทรัพย์
ตำแหน่ง ครู วชิ าเอก ภาษาไทย

ระดับการศึกษา ปริญญาตรี สาขาวิชา ภาษาไทย
ประสบการณก์ ารสอน 5 ปี ปัจจบุ นั สอนระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 2 / มัธยมศึกษาปที ่ี 4
เบอร์โทรศพั ท์ติดตอ่ 084-4805284

4.5 ชอ่ื นางสาวปนัดดา นามสกลุ ฝาเรอื นดี
ตำแหน่ง ครู วิชาเอก ภาษาไทย

ระดบั การศึกษา ปรญิ ญาตรี สาขาวิชา ภาษาไทย
ประสบการณ์การสอน 2 ปี ปัจจบุ ันสอนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2 / มัธยมศึกษาปีท่ี 3
4.6 ชื่อ นางสาวสิรนิ าถ วงศศ์ ริ ิ ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย วิชาเอก ภาษาไทย

ระดบั การศึกษา ปรญิ ญาตรี สาขาวิชา ภาษาไทย
ประสบการณ์การสอน 1 ปี ปัจจบุ นั สอนระดบั ชั้น มัธยมศกึ ษา 3 / มัธยมศึกษาปที ่ี 5

เบอร์โทรศพั ท์ติดต่อ 082-5949690
(** หมายเหตุ ใหก้ รอกข้อมูลจนครบจำนวนครผู ู้สอน)

5. รายชือ่ ครูผู้ปฏิบตั หิ นา้ ที่บรรณารกั ษ์ (กรณที ีป่ ฏิบัตหิ นา้ ทตี่ รงเอกบรรณารกั ษ์)
ชอื่ นางสาววรนิ ทร์ นามสกลุ อู่อรุณ
ตำแหนง่ ครู ประสบการณ์การทำงาน ๙ ปี
ระดบั การศกึ ษา ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ า บรรณารกั ษศาสตรแ์ ละสารนิเทศศาสตร์
ปริญญาโท ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชา บรหิ ารการศกึ ษา
เบอรโ์ ทรศัพท์ตดิ ต่อ ๐๙๐-๓๑๖๔๘๒๘

6. รายชอื่ ครผู ้ปู ฏิบตั หิ นา้ ท่ีบรรณารกั ษ์ (กรณที ี่ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ไี ม่ตรงเอกบรรณารักษ์)
ชื่อ (นาย/นาง/นางสาว) ............................................. นามสกลุ .............................................
ตำแหนง่ ........................................... วชิ าเอก........................................................................
ระดับการศึกษา ...................................... สาขาวิชา ..............................................................
ประสบการณ์การปฏิบตั ิหน้าทดี่ ้านบรรณารกั ษ์ ................... ปี
เบอรโ์ ทรศัพท์ติดต่อ...........................................................

7. ปญั หา / อปุ สรรคในการปฏิบัติหนา้ ท่ี
7.1 ครผู ู้สอนภาษาไทย
เนื่องจากนักเรียนมีพ้ืนฐานทางภาษาไทยน้อยและยังคงใช้ภาษาท้องถ่ิน ภาษาจีนยูนนานและภาษาชาติ

พันธสุ์ ือ่ สารในชวี ติ ประจำวัน จึงทำให้ในกิจกรรมการเรยี นการสอนนักเรียนไม่เขา้ ใจคำศัพท์ และความหมายคำศัพท์
ท่ีครสู อน ส่งผลให้เกิดปัญหาในเร่ืองทักษะการอ่าน การเขียน การสอ่ื สาร การสรุปใจความสำคัญ และการตีความ
ทางภาษาไทยตามลำดบั

7.2 ครูบรรณารกั ษ์ เน่ืองจากนักเรยี นอ่านภาษาไทยไมค่ ลอ่ ง ทักษะการอ่านน้อย ให้ความสำคญั กับเน้ือหา
ทาง Social Media มากกว่า การคน้ ควา้ และใชเ้ วลาวา่ งในหอ้ งสมดุ

8. ความต้องการในการพฒั นา (ภาพรวม)
8.1 ครูผู้สอนภาษาไทย : ครูผู้สอนตอ้ งการพัฒนานักเรียนด้านทักษะการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การสรุป

ใจความสำคัญ และการตีความทางภาษาไทยตามลำดับ
8.2 ครูบรรณารักษ์ : ต้องการพัฒนา ด้านเทคโนโลยีเพ่ือดึงดูดนักเรียนเข้าสู่ห้องสมุด แลกเปลี่ยนกิจกรรม

สง่ เสริมการอา่ นสำหรบั นักเรียนหลายชนเผา่ ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม

๙. ความต้องการในการพฒั นาด้านเทคโนโลยี
(สำหรับจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน /สำหรบั การใชใ้ นการดำเนินงานห้องสมดุ )

๙.1 ครผู ้สู อนภาษาไทย : ครูผสู้ อนตอ้ งการส่ืออเิ ลค็ ทรอนคิ สำเรจ็ รปู ในบทเรยี นตา่ ง ๆ มาประกอบการสอน
เพอื่ ดงึ ดดู ความสนใจ และเห็นภาพของบทเรียนมากย่ิงข้ึน

๙.2 ครูบรรณารักษ์ : ครูบรรณารักษ์ต้องการห้องคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียนค้นคว้าข้อมูล ทำงานส่วนตัว
อนิ เตอร์เน็ตความเรว็ สูง / ระบบปฏิบัติการหอ้ งสมดุ อัตโนมัติทสี ามารถคน้ คว้าไดบ้ นอนิ เตอรเ์ น็ต

๑๐. ความต้องการในการพฒั นาดา้ นวิชาการ /ความรู้ /การสร้างกจิ กรรม
๑๐.1 ครูผู้สอนภาษาไทย : ครูผู้สอนตอ้ งการเทคนิค วิธกี ารสอนใหม่ๆ ในการจัดการเรียนการสอนให้ผเู้ รยี นได้มี

ความสนใจในบทเรียนภาษาไทยมากย่ิงขึ้น และแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่น่าสนใจ สนุกสนาน
และไม่ทำใหน้ ักเรียนรู้สกึ เบื่อหน่าย และรสู้ กึ ว่าเร่อื งการอ่านและเขียนภาษาไทยเป็นเร่ืองทดี่ วู ิชาการ หนัก หรอื ยาก

เกนิ ไป
๑๐.2 ครบู รรณารักษ์ : ตอ้ งการแลกเปล่ยี นกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านสำหรับพฒั นานกั เรยี นหลายชนเผา่ ทีม่ ีความ

หลากหลายทางวัฒนธรรม

๑๑. (สำหรบั ครูบรรณารกั ษ์ /ครผู ูร้ ับผดิ ชอบงานหอ้ งสมุด)

แนบปฏิทินการดำเนินงาน(Time line) พฒั นาห้องสมุด /กิจกรรมสง่ เสริมรกั การอา่ น ในปีการศกึ ษา 2/2563

กิจกรรมสง่ เสรมิ รกั การอ่าน กรกฎาคม ๒๕๖๓ – เมษายน ๒๕๖๔

กิจกรรมพฒั นาห้องสมดุ มชี ีวติ ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔

กิจกรรมงานสปั ดาหห์ ้องสมดุ สิงหาคม ๒๕๖๓

กิจกรรมพฒั นาระบบห้องสมดุ อตั โนมัติ ธันวาคม ๒๕๖๓ – มีนาคม ๒๕๖๔

กจิ กรรมพัฒนามุมรกั การอา่ น ธันวาคม ๒๕๖๓ - มกราคม ๒๕๖๔

กิจกรรมพฒั นาเทคโนโลยเี พือ่ การค้นควา้ มกราคม – พฤษภาคม ๒๕๖๔

สว่ นท่ี 2

แบบสรุปรายงานผลการคดั กรองนักเรยี นด้านการอ่าน – การเขียน
ปีการศกึ ษา 2563

โรงเรียนในสังกดั สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 34
**************************************************

โรงเรยี นอรโุ ณทยั วิทยาคม

- ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1

จำนวนนักเรียนทงั้ หมด 231 คน จำนวนนกั เรยี นท่ีเข้ารับการประเมิน 197 คน (ไม่รวมนกั เรยี นบกพรอ่ ง

ทางการเรียนร)ู้

ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2

การอ่าน (จำนวนคน) การเขียน (จำนวนคน) การอา่ น (จำนวนคน) การเขียน (จำนวนคน)

ดี ดี พอใช้ ปรบั ปรุง ดี ดี พอใช้ ปรับปรุง ดี ดี พอใช้ ปรบั ปรุง ดี ดี พอใช้ ปรับปรงุ

มาก มาก มาก มาก

0 35 130 35 66 140 21 7 1 45 120 31 96 74 20 7

1. วธิ ีการ / ขั้นตอนในการดำเนินการคดั กรองนกั เรยี น

๑. ประชมุ ปรกึ ษา เพ่อื วางแผนการดำเนนิ กิจกรรม และจดั เตรียมแบบคัดกรองทกุ ระดบั ชนั้

๒. ดำเนนิ การคดั กรองอา่ น-เขียน สำหรับนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑

๓. สังเกตและประเมนิ ผลผลสัมฤทธิท์ ่ีเกิดกับผู้เรยี น

๔. สรปุ ผลและสาเหตุของปัญหา

๕. หาแนวทางแก้ไขและพัฒนาผ้เู รียนตอ่ ไป

2. แนวทาง / รูปแบบ / วิธกี ารแก้ปญั หานักเรยี น (สำหรับนักเรียนระดบั พอใช้ – ปรับปรุง)

ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยได้จัดกิจกรรมปรับพ้ืนฐานทักษะทางภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ โดยเร่ิมจากการใช้วิธีการเรียนการสอนการอ่านและเขียนสำหรับเด็ก การฝึกหัดอ่านและเขียน

ด้วยการแจกลกู และการสะกดคำ เพื่อเน้นใหน้ ักเรียนเกดิ ความคนุ้ เคยในเรื่องของรปู และเสียงอกั ษรจนสามารถจำรูป

และเสียงของอักษรทุกตวั ไดอ้ ยา่ งแม่นยำ และจดั ทำแบบฝกึ ทักษะการเขียนและการอ่านโดยไลล่ ำดับตามความยาก

งา่ ย ซ่ึงจัดทำขึน้ เองตามบริบทของโรงเรยี น อีกทงั้ เปน็ เนือ้ หาทสี่ อดคลอ้ งกับแบบการเรยี นตามศกั ยภาพของนักเรยี น

ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 โดยเน้นทักษะการอา่ นและเขียนคำพ้ืนฐานทใ่ี ชใ้ นชวี ิตประจำวนั

3. รูปแบบ / แนวทางการพฒั นาท่ีประสบความสำเร็จ พรอ้ มตัวอย่าง สำหรับนกั เรียนระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

โรงเรียนอรโุ ณทัยวิทยาคมได้มีแนวทางในการพัฒนานักเรยี นที่อยู่ในระดับพอใช้และระดับปรับปรุง โดยใช้

วธิ แี ก้ไขปัญหาคือการให้ครูสรา้ งส่ือและนวัตกรรมแบบฝกึ เสริมทักษะปรับพน้ื ฐานทางภาษาไทย สำหรบั นักเรียนช้ัน

มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 แก้ไขปัญหานักเรียนในดา้ นการจัดการเรยี นรู้ เม่ือนักเรยี นไดเ้ รียนรู้จากส่ือและนวัตกรรม และได้

ฝกึ ทำแบบฝึกทกั ษะแลว้ ครูผู้สอนจดั ทำแบบทดสอบเพ่อื ทำการวดั และประเมนิ ผลอกี ครงั้

4. ปัญหา / อปุ สรรค

4.1 ด้านครผู ู้สอน ครขู าดสอ่ื อุปกรณ์เทคโนโลยที ี่จะช่วยให้กิจกรรมการเรยี นการสอนมีประสทิ ธภิ าพมากข้นึ

4.2 ด้านนักเรียน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ส่วนใหญ่มีปัญหาด้านการอ่านคำ และไม่เข้าใจความหมาย

คำศัพทย์ ากที่ปรากฏในบทเรียนและแบบคดั กรองอ่านเขียน จึงทำให้ไม่สามารถจับใจความสำคัญและตีความหมาย

ได้ ซึ่งเปน็ ปัญหาหลักทีน่ ักเรียนตอ้ งได้รบั การแก้ไขอยา่ งเร่งด่วน เพราะการสะกดคำเป็นพ้ืนฐานทใ่ี ช้ในการอา่ นและ

การเขียน

4.3 ด้านแบบทดสอบ / แบบประเมิน แบบคัดกรอง/ประเมนิ มีระดับทคี่ ่อนข้างยาก
4.4 ด้านอ่นื ๆ .............................................................................................................................................

- ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2

จำนวนนกั เรยี นทง้ั หมด 129 คน จำนวนนกั เรยี นทเ่ี ข้ารบั การประเมนิ 113 คน (ไมร่ วมนกั เรียนบกพรอ่ ง

ทางการเรยี นร)ู้

ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2

การอ่าน (จำนวนคน) การเขียน (จำนวนคน) การอ่าน (จำนวนคน) การเขียน (จำนวนคน)

ดี ดี พอใช้ ปรบั ปรุง ดี ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ดี ดี พอใช้ ปรบั ปรุง ดี ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ

มาก มาก มาก มาก

1 20 70 41 28 90 14 0 7 44 46 16 54 41 9 9

1. วิธกี าร / ขน้ั ตอนในการดำเนินการคดั กรองนกั เรยี น
1.1 ประเมนิ ทักษะการอ่านการเขียนของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล

1.2 แบ่งกลุ่มนักเรียนตามผลการประเมินจากแบบคัดกรองเพื่อเป็นแนวทางแก้ไขและพัฒนาการอา่ นและ
การเขยี นด้วยวิธีการและนวัตกรรมทเี่ หมาะสมกับนกั เรยี นในแตล่ ะกลุ่ม

1.3 กำหนดกจิ กรรมการพฒั นารายกลุ่มเปน็ การกำหนดวิธีการและนวตั กรรมท่เี หมาะสมกับนกั เรียน
แต่ละกลุ่ม เพ่ือฝกึ ทกั ษะการอา่ นและการเขียนของนกั เรยี นให้เหมาะสมมากขนึ้

1.4 ดำเนินการพัฒนาการอ่าน การเขียน ตามกจิ กรรมตามท่กี ำหนดตลอดปีการศกึ ษา

1.5 ประเมนิ ผลการอา่ นการเขียนของนกั เรียนเพ่ือดพู ัฒนาการการอา่ นและการเขียนของนักเรยี น
1.6 รวบรวมสรุปผลขอ้ มูลเพ่อื สรุปผลการดำเนนิ กจิ กรรมประสบผลสำเร็จบรรลุเป้าหมายมากน้อยเพียงใด

1.7 นำผลการประเมนิ มาปรับปรงุ แก้ไข โดยตรวจสอบกจิ กรรมท่ีควรปรบั ปรุงและพัฒนาให้ดยี ่งิ ขนึ้
ไดแ้ ก่ ปรับวิธีการท่ใี ห้พ่อแมช่ ว่ ยเหลอื การเรียนของลูก/จัดใหม้ ีกิจกรรมพชี่ ว่ ยน้องในปตี อ่ ไป ฯลฯ

2. แนวทาง / รปู แบบ / วธิ กี ารแกป้ ญั หานักเรยี น (สำหรบั นักเรียนระดับพอใช้ - ปรบั ปรุง)
คณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยได้จัดกิจกรรมปรับพ้ืนฐานทักษะทางภาษาไทย สำหรับนักเรียนช้ัน

มัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยเริ่มจากการใช้วิธีการเรียนการสอนการอ่านและเขียนสำหรับเด็ก การฝึกหัดอ่านและเขียน

ด้วยการแจกลกู และการสะกดคำ เพอื่ เน้นให้นักเรียนเกดิ ความคุ้นเคยในเรื่องของรปู และเสียงอักษรจนสามารถจำรูป
และเสยี งของอักษรทุกตัวไดอ้ ยา่ งแม่นยำ และจดั ทำแบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านโดยไลล่ ำดับตามความยาก

ง่าย ซ่ึงจัดทำขึ้นเองตามบรบิ ทของโรงเรยี น อกี ท้งั เป็นเน้อื หาทีส่ อดคลอ้ งกับแบบการเรยี นตามศักยภาพของนกั เรยี น
ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 โดยเนน้ ทักษะการอ่านและเขยี นคำพื้นฐานท่ีใช้ในชวี ติ ประจำวนั

ครูผู้สอนได้ฝึกให้นักเรียนอ่านทุกวันในช่วงพักกลางวันเพ่ือความต่อเน่ือง โดยใช้หนังสือเรียน นิทาน คำ

อักษรไทย และฝึกให้นักเรียนได้อ่านควบคู่กับการเขียน โดยใช้อักษรไทย คำ ประโยค นิทาน นอกจากน้ันยังให้
นกั เรียนฝึกคัดลายมือ เพ่ือให้ลายมือสวยงามอีกทั้งยังเปน็ การช่วยในการจดจำรูปคำตา่ งๆ ไดม้ ากข้ึนด้วย พร้อมท้ัง

วาดรูปประกอบคำ เสริมสร้างความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรคแ์ ละสนุกไปกบั งาน โดยมกี ารจำแนกคำออกมาเพ่อื ให้นกั เรียน
เขา้ ใจการผสมคำมากขน้ึ และให้นักเรยี นนำคำมาแต่งเป็นประโยคสื่อสารรูปหรอื เหตุการณ์จรงิ และหลังจากน้ันจงึ ให้
นกั เรียนเขียนคำตามภาพวาดโดยให้นักเรียนมีอิสระในความคิดของนักเรียนเอง เพื่อเป็นการฝึกฝนทักษะด้านการ

อ่านและการเขียนภาษาไทยของนักเรยี นใหด้ ีย่งิ ข้นึ

3. รูปแบบ / แนวทางการพฒั นาท่ปี ระสบความสำเร็จ พรอ้ มตวั อยา่ ง สำหรบั นักเรยี นระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 2
คณะครูกลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรยี นอรุโณทัยวิทยาคมได้มีแนวทางในการพฒั นานกั เรียนทีอ่ ยูใ่ น

ระดับพอใช้และระดับปรับปรุง โดยใช้วิธีแก้ไขปัญหาคือการให้ครูสร้างส่ือและนวัตกรรมแบบฝึกเสริมทักษะปรับ
พื้นฐานทางภาษาไทย สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 แก้ไขปัญหานักเรียนในด้านการจัดการเรียนรู้ เม่ือ
นักเรยี นได้เรียนรู้จากส่อื และนวัตกรรม และได้ฝึกทำแบบฝึกทักษะแล้ว ครูผู้สอนจัดทำแบบทดสอบเพ่ือทำการวัด
และประเมนิ ผลอีกครั้ง

4. ปญั หา / อุปสรรค
4.1 ด้านครูผสู้ อน ครขู าดแคลนส่ือวัสดแุ ละอุปกรณ์เทคโนโลยีที่จะชว่ ยเสริมสรา้ งทกั ษะการสอนและการ

จดั กระบวนการเรยี นรู้ให้มีประสทิ ธิภาพมากข้นึ
4.2 ดา้ นนักเรยี น นกั เรยี นยงั ขาดความสนใจในการเรยี น และขาดสมาธิในบางครง้ั ไม่สนใจการจดั กจิ กรรม

การเรียนการสอนมากเทา่ ทคี่ วร เนอ่ื งจากขาดการดึงดูดใจในการเรยี นและครผู ู้สอนไม่นำเสนอสอื่ ท่ีช่วยกระตนุ้ การ
เรยี นรูท้ ่หี ลากหลาย

4.3 ด้านแบบทดสอบ / แบบประเมนิ แบบประเมนิ มรี ะดบั ท่คี อ่ นขา้ งยากเกนิ ไปและทำใหน้ ักเรยี นทำ
คะแนนได้น้อยหรอื ไม่สามารถทำได้ทำแบบประเมินไดอ้ ยา่ งเตม็ ประสิทธิภาพ

- ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3

จำนวนนักเรยี นท้ังหมด 153 คน จำนวนนักเรียนท่ีเข้ารับการประเมิน 143 คน (ไมร่ วมนกั เรยี นบกพรอ่ ง

ทางการเรยี นร้)ู

ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2

การอา่ น (จำนวนคน) การเขียน (จำนวนคน) การอ่าน (จำนวนคน) การเขียน (จำนวนคน)

ดี ดี พอใช้ ปรบั ปรุง ดี ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ดี ดี พอใช้ ปรับปรุง ดี ดี พอใช้ ปรบั ปรุง

มาก มาก มาก มาก

0 25 97 22 40 87 17 0 0 21 110 12 59 73 11 0

1. วธิ กี าร / ข้นั ตอนในการดำเนินการคัดกรองนักเรยี น

1.1 ขนั้ วางแผน

1.1.1 ประชุมกลมุ่ สาระภาษาไทยเพื่อวางแผนการคัดกรองความสามารถด้านการอา่ นและการ

เขยี นนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๑-๖ โรงเรียนอรโุ ณทยั วิทยาคม โดยประเมินทกั ษะการอา่ นการเขียนของ

นกั เรียนเปน็ รายบคุ คล และแบง่ กลุ่มนักเรยี นตามผลการประเมนิ จากแบบคดั กรองเพอ่ื เปน็ แนวทางแก้ไข

และพฒั นาการอ่านและการเขียนด้วยวธิ ีการและนวัตกรรมทเ่ี หมาะสมกบั นักเรียนในแตล่ ะกลมุ่ ดงั นี้

กลุ่มที่ 1 นักเรยี นอ่านคลอ่ ง / เขียนคล่อง

กล่มุ ท่ี 2 นกั เรยี นอ่านไมค่ ล่อง / เขียนไม่คล่อง

กล่มุ ที่ 3 นักเรียนอา่ นไมอ่ อก / เขียนไมไ่ ด้

1.2 กำหนดกจิ กรรมการแก้ปญั หาและพัฒนาการอา่ นการเขยี นภาษาไทยโดยการกำหนดวิธีการและ

นวัตกรรมที่เหมาะสมกบั นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ เพือ่ ฝึกทักษะการอ่านและการเขียนของนกั เรยี นใหเ้ หมาะสมมากข้ึน

1.2 ขน้ั ดำเนนิ งาน

ดำเนนิ การคัดกรองการอ่านการเขยี นตามกจิ กรรมทก่ี ำหนดตลอดปีการศกึ ษาโดยครูประจำช้นั หรอื ครผู ู้สอนวิชา

ภาษาไทย

2. แนวทาง / รปู แบบ / วิธกี ารแก้ปัญหานักเรียน (สำหรับนกั เรียนระดบั พอใช้ – ปรบั ปรุง)
นำผลการประเมินมาปรบั ปรงุ แก้ไขโดยตรวจสอบกจิ กรรมท่คี วรปรบั ปรุงและพัฒนาให้ดยี ่งิ ข้ึน ได้แก่ ปรบั

วธิ ีการทีใ่ ห้พ่อแม่ช่วยเหลือการเรยี นของลูกหรือการจัดให้มีกิจกรรมพีช่ ่วยนอ้ งในปตี อ่ ไป ฯลฯ
3. รปู แบบ / แนวทางการพัฒนาท่ปี ระสบความสำเร็จ พรอ้ มตวั อยา่ ง สำหรบั นักเรยี นระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3

การพัฒนาศักยภาพของนกั เรียนในกลุ่มนกั เรียนอา่ นคล่อง / เขยี นคล่อง ควรจดั แบบฝกึ เพม่ิ เติมท่ีมีความ
ยากขนึ้ ไป สำหรบั นกั เรียนอ่านไมค่ ล่อง / เขียนไม่คลอ่ ง ควรจัดแบบฝึกเพิ่มเติมใชเ้ นอ้ื หาความยากปานกลาง และ
สำหรับนกั เรยี นอ่านไม่ออก / เขยี นไมไ่ ด้ ควรจดั แบบฝึกเพมิ่ เตมิ ใช้เนอ้ื หาง่าย

4. ปญั หา / อุปสรรค
4.1 ด้านครผู ู้สอน มกี ารพฒั นาการจดั เก็บขอ้ มูลนกั เรียนรายบุคคลและพฒั นาการใช้สอ่ื เทคโนโลยี และเทคนคิ

การสอนในการแก้ปญั หาและพฒั นาการจดั การเรียนร้อู ยา่ งเป็นระบบ
4.2 ด้านนักเรยี น การอา่ นออก เขยี นได้ อา่ นคล่อง เขยี นคลอ่ ง มีการพฒั นาการแสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง และ

มีนสิ ัยรกั การอ่าน ทำใหพ้ ัฒนาผลสัมฤทธ์ิใหส้ ูงข้ึน

4.3 ด้านแบบทดสอบ / แบบประเมิน มกี ารวัดผลประเมินผลตามสภาพท่แี ท้จริง
4.4 ด้านอ่นื ๆ -

- ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4

จำนวนนักเรยี นทั้งหมด 121 คน จำนวนนกั เรยี นทเ่ี ข้ารับการประเมนิ 121 คน (ไม่รวมนักเรียนบกพร่อง

ทางการเรียนร)ู้

ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2

การอา่ น (จำนวนคน) การเขยี น (จำนวนคน) การอ่าน (จำนวนคน) การเขียน (จำนวนคน)

ดี ดี พอใช้ ปรับปรุง ดี ดี พอใช้ ปรับปรุง ดี ดี พอใช้ ปรับปรุง ดี ดี พอใช้ ปรับปรุง

มาก มาก มาก มาก

0 25 51 45 37 29 29 26 39 51 27 5 36 51 27 5

1. วธิ กี าร / ขั้นตอนในการดำเนนิ การคัดกรองนักเรียน

เตรียมแบบคัดกรองทักษะภาษาไทยทเ่ี หมาะสมกับกลมุ่ นักเรยี น โดยออกแบบให้มีความยากง่ายท่ี

เหมาะสม โดยวดั จากระดับความสามารถของนักเรียนแต่ละกลมุ่ เพื่อใหส้ ามารถเรยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพมาก

ขน้ึ จากน้นั ดำเนนิ การคดั กรองตามขนั้ ตอน สรุปผล และหาแนวทางปรับปรุงแก้ไข

2. แนวทาง / รูปแบบ / วิธกี ารแก้ปัญหานกั เรยี น (สำหรบั นกั เรียนระดับพอใช้ – ปรบั ปรุง)

ครผู ู้สอนได้จัดหารปู แบบการสอนใหม่ๆ และแบบฝึกทักษะเพือ่ ช่วยแก้ปญั หาในด้านการเรยี นรู้ของนกั เรยี น

โดยออกแบบส่ือประกอบการสอนใหม้ ีความนา่ สนใจดงึ ดูดให้ผ้เู รยี นเกิดความอยากรู้ สำหรับการแก้ปญั หา

ครผู สู้ อนไดใ้ ช้รปู แบบการสอนแบบซำ้ ยำ้ ทวน ให้นกั เรียนได้ฝึกปฏิบตั ิ ลงมอื ทำแบบฝกึ ทกั ษะอย่างสมำ่ เสมอ เพือ่

ช่วยใหส้ ามารถจดจำวธิ ีการอา่ น – เขียนท่ถี กู ต้อง

3. รปู แบบ / แนวทางการพฒั นาทีป่ ระสบความสำเรจ็ พร้อมตัวอยา่ ง สำหรับนกั เรยี นระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4

- ทางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้ออกแบบสอื่ การเรยี นรสู้ ำหรบั นักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 และมี

แบบฝึกทกั ษะ สำหรบั ใช้ในการฝกึ ให้นกั เรียนได้ทดลองทำแบบฝกึ ทักษะอยา่ งสมำ่ เสมอ และหมัน่ ทดสอบเพือ่

ทบทวนความรู้ทไี่ ดเ้ รียนไปในคาบต่างๆ

4. ปญั หา / อปุ สรรค

4.1 ด้านครูผู้สอน ครขู าดสื่ออปุ กรณ์เทคโนโลยีทจ่ี ะช่วยใหก้ ารสอนมีประสทิ ธิภาพมากขนึ้ เช่น โปรเจคเตอร์

4.2 ด้านนกั เรยี น นักเรยี นยงั ขาดความสนใจ ขาดสมาธใิ นบางคร้ัง จำเป็นต้องมกี ารกระตนุ้ อยูบ่ ่อยๆ

4.3 ด้านแบบทดสอบ / แบบประเมิน แบบประเมินมรี ะดบั ทคี่ ่อนขา้ งยากในบางสว่ น
4.4 ด้านอ่นื ๆ .............................................................................................................................................

- ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 5

จำนวนนักเรียนทง้ั หมด ๑๑3 คน จำนวนนักเรียนทีเ่ ขา้ รับการประเมนิ ๑๑๐ คน (ไม่รวมนกั เรยี นบกพร่อง

ทางการเรียนร)ู้

ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2

การอ่าน (จำนวนคน) การเขียน (จำนวนคน) การอา่ น (จำนวนคน) การเขยี น (จำนวนคน)

ดี ดี พอใช้ ปรับปรงุ ดี ดี พอใช้ ปรบั ปรุง ดี ดี พอใช้ ปรบั ปรุง ดี ดี พอใช้ ปรับปรุง

มาก มาก มาก มาก

0 14 63 53 41 24 51 14 39 55 19 0 20 93 0 0

1. วธิ ีการ / ขัน้ ตอนในการดำเนินการคดั กรองนักเรยี น

ใช้แบบคดั กรองการอา่ นกลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

2. แนวทาง / รปู แบบ / วธิ กี ารแก้ปัญหานักเรียน (สำหรบั นักเรียนระดับพอใช้ – ปรับปรงุ )

ใช้แบบฝกึ ทักษะและแบบคดั กรองการอา่ นและเขียนสะกดคำสำหรับนกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5

3. รปู แบบ / แนวทางการพัฒนาท่ปี ระสบความสำเรจ็ พรอ้ มตวั อยา่ ง สำหรับนักเรยี นระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 5

ให้นักเรยี นอา่ นออกเสยี งให้ครูฟังทีละคนจากน้นั ครปู ระเมินผลและช่วยขดั เกลาการอ่านให้ถกู ต้องชัดเจนยงิ่ ข้นึ

4. ปญั หา / อปุ สรรค

4.1 ด้านครผู ู้สอน ใชแ้ บบทดสอบ/ประเมนิ นอ้ ยครัง้ เกนิ ไป(ภาคเรยี นละครั้ง)

4.2 ด้านนักเรยี น ขาดความกระตอื รือร้นสนใจอ่านเขียน

4.3 ด้านแบบทดสอบ / แบบประเมนิ แบบทดสอบมีจำนวนน้อยและไม่หลากหลาย

4.4 ด้านอื่น ๆ .............................................................................................................................................

- ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6

จำนวนนักเรียนทั้งหมด 116 คน จำนวนนักเรยี นทเ่ี ขา้ รบั การประเมิน 116 คน (ไมร่ วมนกั เรียนบกพรอ่ ง

ทางการเรยี นรู)้

ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2

การอา่ น (จำนวนคน) การเขยี น (จำนวนคน) การอา่ น (จำนวนคน) การเขยี น (จำนวนคน)

ดี ดี พอใช้ ปรบั ปรุง ดี ดี พอใช้ ปรับปรงุ ดี ดี พอใช้ ปรบั ปรุง ดี ดี พอใช้ ปรับปรุง

มาก มาก มาก มาก

2 19 82 13 15 49 48 4 10 22 52 32 25 57 30 4

1. วิธกี าร / ขน้ั ตอนในการดำเนินการคดั กรองนกั เรยี น

๑. ประชุมปรกึ ษา เพ่ือวางแผนการดำเนินกิจกรรม และจัดเตรียมแบบคัดกรองทุกระดบั ช้ัน

๒. ดำเนนิ การคัดกรองอ่าน-เขียน สำหรบั นักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6

๓. สงั เกตและประเมินผลผลสัมฤทธ์ิที่เกิดกับผู้เรียน

๔. สรปุ ผลและสาเหตขุ องปัญหา

๕. หาแนวทางแกไ้ ขและพัฒนาผู้เรียนตอ่ ไป

2. แนวทาง / รูปแบบ / วธิ กี ารแก้ปัญหานักเรยี น (สำหรบั นักเรยี นระดับพอใช้ – ปรับปรุง)
ครูผู้สอนรายวิชาภาษาไทย ในระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 6 ได้วิเคราะห์ปญั หาท่ีเกดิ ขึ้นกับผเู้ รยี น ท้ังปัญหา

ทักษะการอ่านและการเขียน โดยใช้วิธีการใช้แบบฝึกทักษะเพิ่มเติม ในส่วนของทักษะการอ่าน ครูผู้สอนได้
กำหนดให้นักเรยี นทดสอบอ่านออกเสียงอยู่บ่อยครั้ง ทั้งการอ่านออกเสียงวรรณคดีวรรณกรรม บทความ เร่ืองสั้น

และอ่านทำนองเสนาะจากบทอาขยานต่างๆ การฝึกหัดอ่านและเขียนด้วยการแจกลูกและการสะกดคำ การเขียน
บรรยายเรื่อง และการอ่านจบั ใจความสำคญั ซึ่งเปน็ ทกั ษะทจ่ี ำเป็นในระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 เป็นอย่างมาก
3. รูปแบบ / แนวทางการพัฒนาทป่ี ระสบความสำเร็จ พรอ้ มตัวอย่าง สำหรบั นกั เรียนระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6

ทางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้จัดกิจกรรมการสร้างส่ือนวัตกรรม เพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาไทย
ของนกั เรยี นทุกระดับชัน้ โดยการให้ครูผลติ สอ่ื การเรยี นการสอน เพ่อื นำไปใชพ้ ฒั นาทักษะในรายวชิ าภาษาไทย และ

ครกู ็ยังใหน้ กั เรียนสรา้ งส่ือ ชิน้ งาน ทเ่ี ป็นการส่งเสรมิ ทกั ษะทางภาษาไทยในคาบเรยี น
4. ปญั หา / อปุ สรรค

4.1 ด้านครผู ู้สอน ครขู าดสอื่ อุปกรณ์เทคโนโลยที ีจ่ ะช่วยให้การสอนมปี ระสิทธิภาพมากขนึ้

4.2 ด้านนักเรียน นักเรียนสามารถอ่านคำศพั ทไ์ ด้ แต่ไมเ่ ขา้ ใจความหมายของคำศพั ท์ จึงทำให้นำไปใชเ้ ขยี นผิด
ความหมาย ไม่สามารถแตง่ เร่อื ง เขียนบรรยายจากคำศัพทย์ ากได้ และยังพบปัญหาการเรยี งรูปประโยคทีผ่ ิดรปู แบบ

บอ่ ยครั้ง
4.3 ด้านแบบทดสอบ / แบบประเมิน แบบประเมนิ มีระดบั ท่คี อ่ นขา้ งยาก
4.4 ด้านอ่นื ๆ .............................................................................................................................................

5. รปู แบบการสอนในสถานการณ์โรคระบาดของเชอื้ ไวรสั โคโรน่า 2019 (COVID - 19)
 On Site  On Air  On Line  On Demand  On Hand

โดยมี 5.1 วิธีสอน / เทคนคิ การสอน
 On Site
การจดั การเรียนการสอน On Site โดยแบ่งเรยี นเป็นกลุ่มA และ กลมุ่ B คร่ึงละ 25 นาที

สลับกนั ดังน้ี
1. กลมุ่ A เรยี นในห้องศนู ย์ กลมุ่ B รับงานไปทำในห้องเรียน 25 นาทสี ลบั กนั

2. กลุ่ม A เรยี นในห้องเรยี น กลมุ่ B ใหร้ ับงานไปทำบรเิ วณเขตสวนพฤกษศาสตร์ ของ
ระดับช้ันตนเอง 25 นาทสี ลบั กนั

(ครูผ้สู อนสามารถใชห้ อ้ งศูนย์ภาษาไทย หรอื สวนพฤกษศาสตร์ ในการแบ่งเรยี นเป็นกลุ่ม)

 On Line
1. ครูผู้สอนสร้างกลมุ่ หอ้ งเรยี นใน Facebook ทค่ี รจู ดั ตง้ั ขน้ึ

2. ครผู ู้สอนแจง้ ให้นกั เรียนทราบเกยี่ วกับเนือ้ หาทีจ่ ะไดเ้ รียนในแตล่ ะชว่ั โมง
3. ครผู ู้สอนเตรยี มวดี ีโอการสอน จากการจัดการศกึ ษาทางไกลผ่าน DLTV ใหน้ ักเรยี น
ศึกษาผ่านกลุ่มหอ้ งเรยี นใน Face Book ทีค่ รูจัดต้ังข้ึน

4. ครผู ู้สอนให้นักเรียนศึกษาคน้ คว้าเนื้อหาเพิม่ เติมจากแหล่งเรยี นรูต้ ่างๆเช่น ใบความรู้
เวปไซต์ หนงั สือเรยี น ฯลฯ

5. ครผู ู้สอนใหน้ ักเรียนทำใบงานหลังจากจบการเรยี นการสอน
6. ครผู ู้สอนเช็คชื่อผเู้ รียนโดยการให้ผ้เู รยี นถา่ ยรูปภาพตอนทตี่ นเองกำลงั เรยี นส่งเข้าในกลุ่ม
เพอ่ื เปน็ หลักฐานในการเข้าเรียนแต่ละคาบ

7. ครูผู้สอนประเมนิ ใบงานของนกั เรยี นโดยการใหน้ กั เรียนถา่ ยรูปชิ้นงานทตี่ นเองทำเสรจ็
แล้วลงในกลุ่มเพ่ือเป็นหลกั ฐานในการสง่ ชิ้นงาน

 On Hand
๑. ครูผู้สอนไดท้ ำการนัดหมายให้นักเรยี นมารบั ใบความร้แู ละใบงาน และเขา้ เรยี นตามเวลา

ครูผสู้ อนสร้างกลมุ่ หอ้ งเรียนวิชาภาษาไทยใน Facebook และ Line
๒. ครูผสู้ อนแจง้ จุดประสงคก์ ารเรยี นรใู้ ห้นักเรียนทราบกอ่ นเขา้ สบู่ ทเรยี นในแต่ละชัว่ โมง
๓. ครูผู้สอนเตรียมบทเรียน ที่สร้างขึ้นมาใน Google form และให้นักเรียนศึกษาผ่านกลุ่ม

ห้องเรยี นใน Facebook และ Line ทีค่ รูจดั ตัง้ ขึน้
๔. ครูผสู้ อนให้นกั เรียนศึกษาคน้ ควา้ เนื้อหาเพ่ิมเติมจากแหลง่ เรียนรู้ต่างๆ เช่น ใบความรู้ หนงั สือ

เรยี น ฯลฯ หากนกั เรียนมีขอ้ สงสัย สามารถทักถามไดใ้ นแชทของ Messenger
๕. ครผู ้สู อนใหน้ ักเรียนทำใบงานหลงั จากจบการเรยี นการสอน
๖. ครูผู้สอนประเมินใบงานของนักเรียน โดยการให้ผู้เรยี นถ่ายภาพช้ินงานที่ตนเองท่ีทำเสร็จแล้ว

ทำกรอบช่ือ – สกุล เลขท่ี ตดิ ไว้ที่รูป แล้วส่งเข้าในกลุ่มเพ่ือเป็นหลกั ฐานในการเข้าเรยี นแต่ละคาบ

5.2 การวัดและประเมนิ ผล (แนวทางการวัดและประเมนิ ผล / เคร่ืองมือการวดั และประเมนิ ผล)
เครื่องมอื ทใ่ี ช้ในการวดั ผลการจัดการเรียนการสอนทางไกล
 แบบทดสอบออนไลน์
 ใบงาน
 ชิ้นงาน
 อน่ื ๆ ...................................................

6. รปู แบบการสอนในสถานศกึ ษาของท่านที่ประสบความสำเรจ็ และสามารถเป็นแบบอย่างได้ ทั้งในสถานการณ์
ปกติ และสถานการณโ์ รคระบาดของเช้อื ไวรสั โคโรนา่ 2019 (COVID - 19)

6.1 สภาพปญั หาท่ีค้นพบ
เน่ืองจากนักเรียนมีพื้นฐานทางภาษาไทยน้อยและยังคงใช้ภาษาท้องถิ่น ภาษาจีนยูนนานและภาษาชาติ

พนั ธส์ุ ่อื สารในชวี ิตประจำวัน จึงทำให้ในกิจกรรมการเรยี นการสอนนักเรยี นไม่เขา้ ใจคำศัพท์ และความหมายคำศัพท์
ทางภาษาไทย ส่งผลให้เกิดปัญหาในเรื่องทักษะการอ่าน การเขียน การส่ือสาร การสรุปใจความสำคัญ และการ
ตคี วามทางภาษาไทยตามลำดับ

6.2 แนวทางกระบวนการ / วธิ กี ารดำเนินงาน
ครกู ลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทยไดจ้ ดั กจิ กรรมสอนเสรมิ เตมิ ความรู้สำหรบั นักเรียนทีอ่ ่านไม่ออกเขียนไม่ได้

โดยสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆท่ีเปิดโอกาสให้นักเรียนอ่านและเขียนได้อย่างอิสระ จัดหาส่ือการเรียนการสอน
หนังสือส่งเสริมการอ่าน นิทาน หนังสือสำหรับเด็กท่ีมีรูปภาพประกอบน่าอ่าน เรื่องส้ัน เกมการศึกษา ละคร
ภาพยนตร์ เพลง คาราโอเกะ เป็นตน้ เพ่ือมาจงู ใจใหน้ ักเรียนสนใจกจิ กรรมการอา่ นการเขยี นภาษาไทยมากข้ึนจนทำ
ให้นักเรยี นกล่มุ น้ีเกิดความคุ้นเคย ไม่รู้สึกเบ่ือหน่าย จนสามารถพฒั นาตนเองใหอ้ า่ นออกเขียนได้โดยใช้กระบวนการ
การสอนแบบนิรมิตวทิ ยา (Constructivism) เป็นการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ใหมข่ อง
ตนเองโดยมีการเชอ่ื มโยงความรใู้ หม่ท่ีเกิดข้ึนกับความรู้เดิมท่ผี ู้เรียนมีอยู่แลว้ การสรา้ งองค์ความร้ใู หม่ของนักเรียน
อาจได้จากการดำเนินกิจกรรมการสอนที่ให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้า ทดลองระดมสมอง ศึกษาในความรู้ ฯลฯ การ
ตรวจสอบองค์ความรู้ใหม่ทำให้ได้ท้ังการตรวจสอบกันเอง ในระหว่างกลุ่มนักเรียน ครูจะเป็นผู้ที่ช่วยเหลือให้
นักเรยี นได้ตรวจสอบความรูใ้ หม่ใหถ้ กู ต้อง

โดยมีวธิ ีการดำเนนิ งานดังน้ี
๑. ครูบอกให้ผู้เรียนทราบถึงเน้อื หาที่จะเรียน โดยครไู ด้แนะนำชดุ แบบฝึกทักษะการอ่านการเขียน

ของนกั เรียนเปน็ รายบุคคล และช้แี จงขัน้ ตอนการทำแบบฝึกให้นกั เรยี นไดท้ ราบ
๒. ครูใหผ้ เู้ รยี นระดมพลังสมองแสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกับแบบฝึกทักษะการอา่ นการเขยี น
๓. ครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนปฏิบัติเพ่ือสร้างองค์ความรู้ใหม่ท่ีเกี่ยวกับแบบฝึกทักษะการอ่านการ

เขยี น
๔. ครูให้ผู้เรยี นไดน้ ำองค์ความรู้ที่สร้างขึ้นมาใช้ในสถานการณ์ท่ีครูกำหนดให้ โดยทำลงในแบบฝึก

ทักษะการอ่านและการเขยี น
๕. ครใู ห้ผู้เรียนสรปุ องคค์ วามรู้ทีเ่ กิดข้ึนจากการเรียนครง้ั น้ีและนำผลการประเมินมาปรบั ปรุงแก้ไข

โดยตรวจสอบกิจกรรมท่คี วรปรบั ปรงุ และพัฒนาใหด้ ีย่งิ ข้นึ
6.3 การพฒั นาท่ีประสบความสำเรจ็ (พร้อมหลักฐานประกอบ เช่น ผลสัมฤทธ์ินกั เรียน เกยี รติบัตร รปู ภาพ
ประกอบ )

ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยได้จัดกิจกรรมปรับพ้ืนฐานทักษะทางภาษาไทย สำหรับนักเรียนช้ั น
มัธยมศึกษาปีที่ ๑ โดยเร่ิมจากการใช้วิธีการเรียนการสอนการอ่านและเขียนสำหรับเด็ก การฝึกหัดอ่านและเขียน
ด้วยการแจกลกู และการสะกดคำ เพอื่ เนน้ ให้นักเรยี นเกดิ ความคนุ้ เคยในเรือ่ งของรูปและเสียงอกั ษรจนสามารถจำรูป
และเสยี งของอักษรทกุ ตัวไดอ้ ย่างแม่นยำ และจัดทำแบบฝกึ ทักษะการเขียนและการอ่านโดยไลล่ ำดับตามความยาก
งา่ ย ซง่ึ จัดทำขนึ้ เองตามบรบิ ทของโรงเรียน อกี ทง้ั เปน็ เน้ือหาท่สี อดคล้องกับแบบการเรียนตามศกั ยภาพของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และพัฒนาอย่างต่อเน่ืองทุกระดับชั้น โดยเน้นทักษะการอ่านและเขียนคำพ้ืนฐานท่ีใช้ใน
ชวี ิตประจำวัน

6.4 ปัญหา / อปุ สรรคในการดำเนินงาน
การนำแบบฝึกเสริมทักษะปรับพ้ืนฐานทางภาษาไทย สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 มาใช้กับ

นกั เรียนจากหลากหลายชาตพิ ันธุ์ ทำใหน้ กั เรยี นเกิดการเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองดา้ นการใช้คำท่ีเติบโตและก้าวไปไม่
พร้อมกนั

สำหรับในระดับชั้นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๒ – ๖ ได้มีการจัดทำชุดแบบฝึกการอ่าน การเขียน ให้เหมาะกับ
ระดับของนักเรียนที่มีปัญหา ซงึ่ เป็นไปได้ยาก เพราะ นักเรียนแตล่ ะระดับที่มปี ัญหา ชดุ แบบฝกึ กไ็ ม่สามารถนำมาใช้
ให้ประสบผลสำเร็จได้ เพราะพ้ืนฐานนักเรียนต่างกันมาก และปัญหาการใช้ภาษาท้องถิ่นของนักเรียน ทำให้การ
แก้ไขปัญหาดา้ นการอา่ นเขียนไดเ้ พียงบางสว่ นเท่านน้ั
7. สถานศกึ ษาไดน้ ำผลการคัดกรองไปใชใ้ นการพัฒนาการจดั การเรียนการสอน รูปแบบ / กระบวนการในการ
PLC ทั้งในวิชาภาษาไทยและในสาระการเรียนรอู้ ่ืนๆเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรรู้ ่วมกันในการพัฒนาการเรยี นการสอน
ภาษาไทยา หรอื ไมอ่ ยา่ งไร

- กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย โรงเรียนอรุโณทัยวิทยาคม ได้มีการจัดการเรียนการสอนบูรณาการกลุ่ม
สาระภาษาไทยรว่ มกับกลุ่มสาระการเรียนรู้วชิ าอ่ืน ๆ เพ่ือเปน็ การปรับพื้นฐานทกั ษะทางวิชาภาษาไทยของนักเรยี น
ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ดังน้ันโรงเรียนอรโุ ณทัยอรุโณทัยจึงมีการใช้กระบวนการของการสรา้ งชุมชนการเรียนรู้
ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยกับกลุ่มสาระ
การเรยี นรู้วิชาอน่ื ๆ

ภาพประกอบการประชุมเพื่อชแ้ี จงการดำเนนิ การคดั กรองนักเรียน
ตามนโยบาย “เดินหนา้ และพฒั นาการอา่ นออกเขยี นได”้ ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

ภาพประกอบการดำเนนิ การคดั กรองนกั เรียน ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑
ตามนโยบาย “เดินหนา้ และพฒั นาการอา่ นออกเขยี นได้” ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

ภาพประกอบการดำเนนิ การคดั กรองนกั เรียน ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๒
ตามนโยบาย “เดินหนา้ และพฒั นาการอา่ นออกเขยี นได้” ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

ภาพประกอบการดำเนนิ การคดั กรองนกั เรียน ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๓
ตามนโยบาย “เดินหนา้ และพฒั นาการอา่ นออกเขยี นได้” ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

ภาพประกอบการดำเนนิ การคดั กรองนกั เรียน ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๔
ตามนโยบาย “เดินหนา้ และพฒั นาการอา่ นออกเขยี นได้” ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

ภาพประกอบการดำเนนิ การคดั กรองนกั เรียน ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๕
ตามนโยบาย “เดินหนา้ และพฒั นาการอา่ นออกเขยี นได้” ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

ภาพประกอบการดำเนนิ การคดั กรองนกั เรียน ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๖
ตามนโยบาย “เดินหนา้ และพฒั นาการอา่ นออกเขยี นได้” ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

ภาพประกอบการประชุมการดำเนินการพัฒนาความสามารถด้านการอ่านเขียนภาษาไทย
ตามนโยบาย “เดินหนา้ และพัฒนาการอา่ นออกเขียนได”้ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา ๒๕๖๓

ภาพประกอบการประชุมการดำเนินการพัฒนาความสามารถด้านการอ่านเขียนภาษาไทย
ตามนโยบาย “เดินหนา้ และพัฒนาการอา่ นออกเขียนได”้ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา ๒๕๖๓

ภาพประกอบการประชุมการดำเนินการพัฒนาความสามารถด้านการอ่านเขียนภาษาไทย
ตามนโยบาย “เดินหนา้ และพัฒนาการอา่ นออกเขียนได”้ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา ๒๕๖๓

ภาพประกอบการดำเนินกิจกรรม การเรยี นการสอนวิชาภาษาไทย
ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

ภาพประกอบการดำเนินกิจกรรม การเรยี นการสอนวิชาภาษาไทย
ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

ภาพประกอบการดำเนินกิจกรรม การเรยี นการสอนวิชาภาษาไทย
ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

ภาพประกอบการดำเนินกิจกรรม การเรยี นการสอนวิชาภาษาไทย
ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

แผนภูมเิ ปรียบเทียบความสามารถในการอา่ นและการเขยี น
ตามนโยบาย “เดินหนา้ และพัฒนาการอา่ นออกเขียนได”้ ภาคเรียนท่ี ๑ และ ๒

ปกี ารศกึ ษา 256๓ โรงเรียนอรุโณทัยวทิ ยาคม

ชัน้ ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6
เทอม 1 47 46 47 37 43 41
เทอม 2 48 53 49 49 66 45

แบบฝึกทกั ษะความสามารถในการอา่ นและการเขียน
ตามนโยบาย “เดนิ หนา้ และพัฒนาการอา่ นออกเขยี นได”้

ปกี ารศึกษา 256๓ โรงเรียนอรโุ ณทยั วทิ ยาคม


Click to View FlipBook Version