The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน ปีงบ65 ครูวิภารัตน์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krutooztuu, 2021-10-25 22:27:25

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน ปีงบ65 ครูวิภารัตน์

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน ปีงบ65 ครูวิภารัตน์

PA ๑/ส

PA ๑/ส

บันทึกขอความ

สว นราชการ โรงเรยี นอรโุ ณทัยวิทยาคม ตําบลเมอื งนะ อําเภอเชียงดาว จงั หวดั เชยี งใหม
ที่ 0000 /๒๕๖๔ วนั ท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๖๔
เร่ือง รายงานแบบขอตกลงในการพฒั นางาน (PA) สําหรบั ขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
ตาํ แหนง ครู (ยังไมมีวิทยฐานะ) ประจําปง บประมาณ 2565

เรยี น ผูอํานวยการโรงเรยี นอรุโณทัยวทิ ยาคม
สง่ิ ที่สง มาดว ย รายงานแบบขอ ตกลงในการพฒั นางาน (PA) สาํ หรบั ขาราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา

ตาํ แหนง ครู (ยงั ไมม วี ทิ ยฐานะ) ประจาํ ปงบประมาณ 2565 จํานวน ๑ เลม

ดวยขาพเจานางสาววิภารัตน อภิวงค ตําแหนงครู โรงเรียนอรุโณทัยวิทยาคม ไดดําเนินการจัด
รายงานแบบขอตกลงในการพัฒนางาน (PA) สําหรับขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตําแหนง ครู
(ยังไมมีวิทยฐานะ) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระหวางวันท่ี 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 30
เดือน กนั ยายน พ.ศ. 2565 เปนทเี่ รียบรอ ยแลว

ขาพเจา ขออนญุ าตสง รายงานแบบขอ ตกลงในการพัฒนางาน (PA) สําหรับขาราชการครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษา ตําแหนง ครู (ยังไมม ีวทิ ยฐานะ) ประจําปงบประมาณ 2565 ดังเอกสารแนบมาพรอมหนังสือ
ฉบับน้ี

จงึ เรยี นมาเพือ่ โปรดทราบและพิจารณา

ลงชอ่ื ผรู ายงาน
(นางสาววิภารัตน อภิวงค)

ตาํ แหนง ครโู รงเรยี นอรโุ ณทัยวิทยาคม

ความเห็นหัวหนา กลมุ บริหารงานบคุ คลโรงเรียนอรุโณทยั วิทยาคม
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื
(นายฐติ คิ มภ เขนย)

ตาํ แหนง หัวหนา กลมุ บริหารงานบุคคล

ความเหน็ ผูอ ํานวยการโรงเรยี นอรุโณทยั วทิ ยาคม
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื
(นางรัตตกิ รณ สขุ ดี)

ตาํ แหนง ผูอาํ นวยการโรงเรียนอรุโณทัยวิทยาคม

PA ๑/ส

แบบขอ ตกลงในการพัฒนางาน (PA)
สําหรบั ขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ตาํ แหนง ครู (ยงั ไมมีวทิ ยฐานะ)
ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2565
ระหวางวนั ท่ี 1 เดอื น ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถงึ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ.ศ. 2565
ผจู ัดทําขอ ตกลง
ช่อื นางสาววภิ ารตั น นามสกุล อภิวงค ตาํ แหนง ครู (ยงั ไมม วี ิทยฐานะ)
สถานศกึ ษา โรงเรียนอรโุ ณทยั วทิ ยาคม สังกดั สาํ นักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เชยี งใหม
รับเงินเดอื นในอันดับ คศ. 1 อตั ราเงนิ เดอื น 21,510 บาท

ประเภทหองเรียนที่จัดการเรียนรู (สามารถระบุไดมากกวา 1 ประเภทหองเรียน ตามสภาพการ
จัดการเรยี นรจู ริง)

 หองเรียนวิชาสามญั หรือวิชาพนื้ ฐาน
 หอ งเรยี นปฐมวยั
 หองเรียนการศกึ ษาพเิ ศษ
 หองเรียนสายวิชาชีพ
 หอ งเรยี นการศกึ ษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย

ขาพเจาขอแสดงเจตจํานงในการจัดทําขอตกลงในการพัฒนางาน ตําแหนงครู (ยังไมมีวิทยฐานะ)
ซ่ึงเปนตําแหนง ท่ดี ํารงอยใู นปจ จุบนั กบั ผอู าํ นวยการสถานศกึ ษา ไวดังตอไปนี้

สว นท่ี 1 ขอ ตกลงในการพฒั นางานตามมาตรฐานตาํ แหนง
ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2564
1. ภาระงาน จะมีภาระงานเปนไปตามท่ี ก.ค.ศ. กาํ หนด
1.1 ช่วั โมงสอนตามตารางสอน รวมจาํ นวน 20 ช่ัวโมง/สัปดาหดงั น้ี
กลมุ สาระการเรียนร/ู รายวิชา ภาษาไทย 2 จํานวน 12 ชั่วโมง/สัปดาห
กลมุ สาระการเรยี นร/ู รายวชิ า ภาษาไทย 4 จาํ นวน 3 ชัว่ โมง/สัปดาห
กลุมสาระการเรยี นรู/รายวิชา วรรณคดมี รดก จาํ นวน 2 ชว่ั โมง/สัปดาห
ชมุ นุมดหู นังฟง เพลง จาํ นวน 1 ชั่วโมง/สปั ดาห
ลกู เสือ-เนตรนารี จาํ นวน 1 ช่วั โมง/สปั ดาห
สวนพฤกษศาสตรโรงเรียน จํานวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห
1.2 งานสงเสริมและสนับสนนุ การจดั การเรยี นรู จาํ นวน 4 ชัว่ โมง/สัปดาห
การมสี ว นรวมในชมุ ชนการเรียนรทู างวิชาชพี จาํ นวน 4 ช่วั โมง/สปั ดาห
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา จาํ นวน 30 ช่ัวโมง/สัปดาห
หัวหนา กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย จาํ นวน 10 ชั่วโมง/สัปดาห
หวั หนางานรบั นกั เรียน จาํ นวน 10 ช่วั โมง/สัปดาห
หวั หนางานชมุ ชนแหงการเรียนรู จํานวน 10 ช่วั โมง/สัปดาห
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจดุ เนน จาํ นวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห
งานโรงเรยี นสขี าว จาํ นวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห

PA ๑/ส

2. งานทจี่ ะปฏิบัติตามมาตรฐานตําแหนงครู (ใหระบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต
ละดา น วา จะดาํ เนินการอยา งไร โดยอาจระบรุ ะยะเวลาที่ใชใ นการดําเนินการดวยกไ็ ด)

ตวั ช้วี ัด (Indicators)
ทีจ่ ะเกิดข้ึนกับผเู รยี น
ลักษณะงานท่ปี ฏบิ ตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ (Outcomes) ที่แสดงใหเ ห็นถงึ การ
ตามมาตรฐานตําแหนง ที่จะดําเนินการพัฒนาตามขอ ตกลง ของงานตามขอ ตกลง ท่ี เปลีย่ นแปลงไปในทาง
ใน 1 รอบการประเมนิ (โปรดระบุ) คาดหวงั ใหเ กดิ ขนึ้ กบั ท่ดี ขี ้ึนหรือมีการพัฒนา
มากขึ้นหรือผลสัมฤทธ์ิ
ผเู รียน (โปรดระบุ)

สูงข้ึน (โปรดระบ)ุ
1. ดา นการจัดการ แกปญหาการวิเคราะหว รรณคดี - ผเู รยี นไดร บั การฝก - ผเู รียนรอ ยละ 70 ของ
เรียนรู เรอื่ ง กาพยเ หชมเครอ่ื งคาวหวาน ทกั ษะ สาํ หรับการ ผูเ รียนท้งั หมด ผลสัมฤทธิ์
ลักษณะงานที่เสนอให โดยใชแบบฝก ทกั ษะ สาํ หรับ วิเคราะหวรรณคดี โดยใช ทางการเรยี นรวู รรณคดี
ครอบคลุมถงึ การสรา ง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 แบบฝก ทักษะวรรณคดี และวรรณกรรม
และหรอื พฒั นาหลักสตู ร รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน 2 และวรรณกรรม เรือ่ ง กาพยเ หช มเครอื่ ง
การออกแบบการจดั การ รหสั วชิ า ท21102 ภาคเรียนท่ี 2 - ผเู รยี นมที กั ษะดา นการ คาวหวานสูงขึน้ หลงั จาก
เรียนรกู ารจัดกิจกรรม ปการศึกษา 2564 วิเคราะหเ นื้อหาของ ไดร ับการฝก ทกั ษะ
การเรียนรกู ารสรางและ มกี ระบวนการในการดําเนินการดงั นี้ วรรณคดีเพ่ิมขึน้ และ สาํ หรับการวิเคราะห
หรอื พฒั นาสอื่ นวัตกรรม สามารถนาํ ความรูท่ีได วรรณคดี โดยใชแบบฝก
เทคโนโลยี และแหลง 1.1 การสรางและพัฒนาหลกั สตู ร จากการเรยี นรไู ปเชื่อมโยง ทกั ษะวรรณคดีและ
เรียนรูการวัดและ - วเิ คราะหห ลักสูตร มาตรฐานการ กบั เน้ือหาอ่นื ๆ ในวชิ า วรรณกรรม
ประเมินผลการจดั การ เรยี นรแู ละตัวช้ีวดั และจัดทําหนวย ภาษาไทย - ผเู รยี นรอ ยละ 70
เรยี นรูก ารศกึ ษา การเรยี นรวู รรณคดแี ละวรรณกรรม - ผูเ รียนที่มีผลการเรียนรู ของผูเ รียนทง้ั หมด
วเิ คราะห สงั เคราะห เรือ่ ง กาพยเหช มเคร่ืองคาวหวาน ให ไมผานเกณฑ ไดร บั การ มีคณุ ลักษณะอันพงึ
เพื่อแกป ญหาหรอื สอดคลองกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษา ซอมเสริม แกไ ข ปรับปรุง ประสงคต้ังแตร ะดับดีข้นึ
พัฒนาการเรียนรู และผูเรยี น และพัฒนา จนมผี ลการ ไป
การจัดบรรยากาศที่ 1.2 การออกแบบการจดั การเรยี นรู เรียนรผู านเกณฑทก่ี ําหนด - ผเู รยี นรอยละ 100
สงเสรมิ และพัฒนา - จดั ทําแผนการจัดการเรียนรู - ผูเรยี นมีความพึงพอใจ ของผูเ รียนท้ังหมด ในกลุ
ผเู รยี น และการอบรม วรรณคดีและวรรณกรรม ในการฝก ทักษะสาํ หรบั มทม่ี ีผลการเรยี นรไู มผาน
และพัฒนาคณุ ลกั ษณะท่ี เรอ่ื ง กาพยเ หชมเคร่อื งคาวหวาน การวเิ คราะหวรรณคดี เกณฑไ ดร บั การ ซอ ม
ดขี องผูเรยี น ที่สอดคลอ งกบั บริบทของผูเ รยี น โดยใชแ บบฝก ทักษะ เสริม แกไข ปรบั ปรงและ
1.3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู วรรณคดแี ละวรรณกรรม พฒั นาจนมีผลการเรียนรู
- จัดกิจกรรมการเรียนตาม และมคี วามคดิ เหน็ ใน ผานเกณฑ
แนวทาง active learning เนนการมี ทางบวกกบั การจดั
สวนรว มของผูเรียน ตามแผนการ บรรยายกาศในช้นั เรยี น
จัดการเรยี นรวู รรณคดีเรอ่ื ง กาพยเ ห
ชมเคร่อื งคาวหวาน

PA ๑/ส

ลักษณะงานทีป่ ฏบิ ตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ (Outcomes) ตัวช้ีวัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตําแหนง ที่จะดําเนินการพัฒนาตามขอ ตกลง ของงานตามขอตกลง ที่ ท่ีจะเกิดขึน้ กบั ผเู รยี น
ใน 1 รอบการประเมนิ (โปรดระบ)ุ คาดหวงั ใหเ กดิ ขน้ึ กับ ท่ีแสดงใหเหน็ ถงึ การ
เปลี่ยนแปลงไปในทาง
ผเู รยี น (โปรดระบ)ุ ที่ดขี ึ้นหรือมีการพฒั นา
มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์
1.4 สรา งและหรือพัฒนาสื่อ สูงข้นึ (โปรดระบุ)
นวตั กรรม เทคโนโลยี และแหลง
เรียนรู

- แบบฝกทกั ษะวรรณคดีและ
วรรณกรรมท่สี อดคลองกบั บรบิ ทของ
ผูเ รียน
1.5 การวดั และประเมนิ ผล

- วัดและประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ
จากการมสี ว นรว มในกจิ กรรมการ
เรียนรวู รรณคดเี ร่ือง กาพยเหช ม
เครอื่ งคาวหวาน
1.6 การศึกษาคนควา วิเคราะห
สงั เคราะห เพ่อื แกปญ หาหรือ
พฒั นาการเรียนรู

- นําผลการจดั การเรียนรมู าศึกษา
วเิ คราะหเพอ่ื แกปญ หาท่เี กดิ ขึน้ จาก
การจัดการเรยี นรใู นรูปแบบวิจยั ใน
ชัน้ เรยี น
1.7 การจัดบรรยากาศที่สงเสริมและ
พัฒนาผูเ รยี น

- จดั รูปแบบการเรียนรูน าํ เขา สู
บทเรยี นดว ยเกมออนไลน กาพยเ ห
ชมเคร่อื งคาวหวาน กระตนุ ใหผ เู รยี น
สนใจในกิจกรรมการเรยี นรู
1.8 การอบรมและพฒั นา
คุณลักษณะที่ดขี อง ผูเรียน

- สงเสรมิ ใหนักเรียนมคี วาม
รับผิดชอบและมคี ณุ ลกั ษณะอนั พงึ
ประสงคด า นใฝเ รยี นรแู ละมุงมั่นใน
การทาํ งาน

PA ๑/ส

ตัวชีว้ ัด (Indicators)
ทจี่ ะเกิดขนึ้ กับผูเรยี น
ลกั ษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ (Outcomes) ทีแ่ สดงใหเ หน็ ถงึ การ
ตามมาตรฐานตําแหนง ทจี่ ะดําเนนิ การพัฒนาตามขอตกลง ของงานตามขอตกลง ที่ เปลี่ยนแปลงไปในทาง
ใน 1 รอบการประเมนิ (โปรดระบ)ุ คาดหวงั ใหเกิดขนึ้ กับ ทดี่ ีขนึ้ หรือมีการพัฒนา
มากขนึ้ หรือผลสัมฤทธิ์
ผูเรียน (โปรดระบ)ุ

สงู ข้ึน (โปรดระบุ)
2. ดานการสงเสรมิ และ 2.1 การจดั ทาํ ขอมูลสารสนเทศของ - ผูเ รยี นไดร ับการปรับปรุง - ผูเรยี นรอ ยละ 70 ของ
สนับสนนุ ผเู รียนและรายวิชา แกไข และพัฒนาเปน ผเู รยี นทั้งหมด ไดรับการ
การจัดการเรียนรู - จัดทําขอมลู สารสนเทศรายวชิ า รายบุคคลตามขอ มูล ปรับปรุง แกไ ข และ
ลักษณะงานท่ีเสนอให เปนรายบุคคลในรูปแบบของตาราง สารสนเทศรายวชิ า พฒั นาเปน รายบคุ คลตาม
ครอบคลมุ ถึง คะแนน โดยใชโ ปรแกรม Microsoft จากการประสานความ ขอ มลู สารสนเทศรายวิชา
การจัดทาํ ขอมูล Excel และ Google sheets รว มมือ แลกเปลี่ยนความ
สารสนเทศของผเู รียน 2.2 ดาํ เนินการตามระบบชวยเหลอื คิดเห็นของครผู ูสอน
และรายวิชาการ นักเรยี น ครูท่ีปรึกษา และ
ดําเนินการตามระบบ - วิเคราะหผเู รียนรายบคุ คลแลว ผปู กครองทีจ่ ะสง ผลให
ดูแลชวยเหลอื ผูเรียน นาํ มาจดั จําแนกนักเรียนเปน 3 กลุม คณุ ภาพผูเรียนดีขน้ึ
การปฏบิ ตั งิ านวิชาการ เกง ปานกลาง ออ น
และงานอืน่ ๆ ของ - จดั การเรียนรเู พิ่มเตมิ นอกเวลา
สถานศึกษาและการ หรอื จดั กิจกรรมท่นี ักเรียนสามารถ
ประสานความรวมมือกับ ชว ยเหลือกันได
ผปู กครองภาคีเครือขา ย 2.3 ปฏิบัตงิ านเพือ่ พัฒนาคุณภาพ
และหรอื สถาน การศึกษาของโรงเรยี น ดังนี้
ประกอบการ - ปฏบิ ตั ิหนา ที่ในกลมุ บริหารงาน
วิชาการ
- ดาํ เนินงานในหนา ท่หี วั หนา กลุม
สาระการเรียนรภู าษาไทย โดยมกี าร
จดั กิจกรรมสงเสรมิ ทกั ษะทางดา น
ภาษาไทยรวมกับครใู นกลมุ สาระการ
เรยี นรใู หแกผ ูเ รียน
2.4 ประสานความรวมมอื กบั
ผปู กครองภาคีเครือขา ย และหรือ
สถานประกอบการ
- แจงขอ มลู สารสนเทศรายวชิ า
ใหค รูท่ปี รึกษารบั ทราบและให
ผูปกครองรบั ทราบผานครูท่ีปรึกษา
หรอื ผา นแอปพลเิ คชัน ANW

PA ๑/ส

ตวั ช้วี ัด (Indicators)
ทีจ่ ะเกดิ ขนึ้ กบั ผูเรยี น
ลักษณะงานที่ปฏบิ ตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ (Outcomes) ท่แี สดงใหเห็นถงึ การ
ตามมาตรฐานตําแหนง ทจี่ ะดาํ เนินการพัฒนาตามขอ ตกลง ของงานตามขอ ตกลง ที่ เปลย่ี นแปลงไปในทาง
ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบ)ุ คาดหวงั ใหเกิดข้นึ กับ ทีด่ ีข้นึ หรอื มกี ารพัฒนา
มากขึน้ หรือผลสัมฤทธิ์
ผเู รยี น (โปรดระบุ)

สูงข้ึน (โปรดระบุ)
3. ดานการพฒั นา 3.1 พฒั นาตนเองอยางเปน ระบบ - ผูเรยี นไดรับการสง เสริม - ผเู รยี นรอ ยละ 70 ของ
ตนเองและวชิ าชีพ และตอ เนื่อง ทักษะทางดา นภาษาไทย ผเู รยี นทั้งหมด ไดรบั การ
ลกั ษณะงานทเี่ สนอให - เขา รวมการอบรมกบั หนว ยงาน ท่ีเหมาะสมกบั บริบทของ สงเสรมิ ทกั ษะทางดา น
ครอบคลุมถึง การพฒั นา ทเ่ี กย่ี วกบั การสงเสรมิ ทักษะทาง ผูเรยี น โดยผา นสอื่ ภาษาไทย ทีเ่ หมาะสมกบั
ตนเองอยา งเปน ระบบ ภาษาไทย และการใชเทคโนโลยี นวตั กรรมการจัดการเรยี น บริบทของผูเ รียน
และตอเนอ่ื ง การมีสวน ดจิ ิทัลเพ่อื การศึกษา เชน การใช การสอน และกระบวนการ โดยผา นสอ่ื นวตั กรรม
รว ม ในการแลกเปล่ียน โปรแกรมเกม VONDER GO สราง ชุมชนการเรียนรทู าง การจดั การเรยี นการสอน
เรียนรูทางวชิ าชีพ เพื่อ แบบทดสอบออนไลน สรางสอ่ื การ วิชาชีพ (PLC) ของ และกระบวนการชมุ ชน
พัฒนาการจัดการเรียนรู เรยี นการสอนออนไลน เปน ตน ครูผูสอน การเรยี นรทู างวิชาชีพ
และการนําความรู 3.2 มสี ว นรวมในการ แลกเปลย่ี น (PLC)
ความสามารถ ทกั ษะที่ เรียนรทู างวิชาชพี เพอ่ื พฒั นาการ
ไดจ ากการพฒั นาตนเอง เรียนรู
และวิชาชีพมาใชในการ - แลกเปล่ยี นเทคนิคและวิธีการ
พัฒนา การจัดการเรยี นรู สอนวรรณคดีในชมุ ชนการเรียนรูทาง
การพัฒนาคุณภาพ วิชาชีพ (PLC) กลมุ สาระการเรียนรู
ผูเรยี น และการพฒั นา ภาษาไทย
นวัตกรรม การจดั การ 3.3 นําความรคู วามสามารถ ทกั ษะ
เรียนรู ท่ไี ดจ ากการพฒั นาตนเอง และ
พัฒนาวิชาชีพมาใชใ นการ จัดการ
เรยี นรู
- นาํ ผลจากการอบรมและการเขา
รวมชมุ ชนการเรยี นรทู างวิชาชพี
(PLC) มาใชใ นการพฒั นารปู แบบการ
เรยี นการสอนและการจดั ทําแบบฝก
ทกั ษะวรรณคดีและวรรณกรรม

PA ๑/ส

หมายเหตุ
1. รูปแบบการจัดทําขอตกลงในการพัฒนางานตามแบบ PA1 ใหเปนไปตามบริบทและสภาพการ

จัดการเรียนรขู องแตล ะสถานศึกษา โดยความเหน็ ชอบรวมกนั ระหวางผอู าํ นวยการสถานศึกษาและขาราชการ
ครูผูจัดทําขอ ตกลง

2. งาน (Tasks) ท่ีเสนอเปนขอตกลงในการพัฒนางาน ตองเปนงานในหนาที่ความรับผิดชอบหลักที่
สงผลโดยตรงตอ ผลลัพธก ารเรียนรูของผูเ รยี น และใหน าํ เสนอรายวิชาหลักที่ทําการสอน โดยเสนอในภาพรวม
ของรายวิชาหลักที่ทําการสอนทุกระดับช้ัน ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได
โดยจะตอ งแสดงใหเ หน็ ถึงการปฏบิ ตั งิ านตามมาตรฐานตําแหนง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางาน
ตามขอ ตกลงสามารถประเมินไดตามแบบการประเมนิ PA 2

3. การพัฒนางานตามขอตกลง ตามแบบ PA 1 ใหความสําคัญกับผลลัพธการเรียนรูของผูเรียน
(Outcomes) และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เปนรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการ
พฒั นางานตามขอตกลง ใหคณะกรรมการดําเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริง สภาพ
การจัดการเรียนรูในบริบทของแตละสถานศึกษา และผลลัพธการเรียนรูของผูเรียนท่ีเกิดจากการพัฒนางาน
ตามขอตกลงเปนสาํ คญั โดยไมเ นน การประเมนิ จากเอกสาร

สว นที่ 2 ขอตกลงในการพัฒนางานท่ีเปนประเดน็ ทาทายในการพฒั นาผลลพั ธการเรียนรูของผูเรียน
ประเด็นที่ทาทายในการพัฒนาผลลัพธการเรียนรูของผูเรียน ของผูจัดทําขอตกลง ซึ่งปจจุบันดํารง

ตําแหนง ครู (ยังไมมีวิทยฐานะ) ตองแสดงใหเห็นถึงระดับการปฏิบัติท่ีคาดหวัง คือ การแกไขปญหา
การจัดการเรียนรแู ละการพัฒนาคุณภาพการเรียนรูของผูเรียน ใหเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีข้ึนหรือมี
การพัฒนามากขนึ้ (ทัง้ น้ี ประเด็นทาทายอาจจะแสดงใหเ หน็ ถงึ ระดับการปฏบิ ัติท่คี าดหวงั ทีส่ งู กวา ได)

ประเด็นทาทาย เร่ือง การแกปญหาการวิเคราะหว รรณคดี เรื่อง กาพยเหชมเครื่องคาว
หวานโดยใชแ บบฝกทักษะสําหรับนกั เรียนระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 1 รายวชิ าภาษาไทยพื้นฐาน2
รหัสวชิ า ท21102 ภาคเรยี นที่ 2 ปการศกึ ษา 2564

1. สภาพปญ หาของผูเรียนและการจัดการเรยี นรู
ในการจัดการเรยี นรทู ผ่ี านมานักเรยี นมีปญหาในการถอดคําประพนั ธวรรณคดีในรูปแบบรอย
กรอง ซึ่งนักเรียนไมสามารถวิเคราะหเน้ือหาของวรรณคดีเปนรอยกรองได จึงสงผลตอการศึกษา
เน้ือหาของวรรณคดี เพ่ือเปนการเสริมทักษะดานการวิเคราะหเนื้อหาของวรรณคดีใหแกนักเรียน
ดังนั้น ครูผูสอนจึงจัดทําขอตกลงในการพัฒนางานประเด็นทาทาย โดยการศึกษา คนควาและหา
วิธกี ารจัดการเรียนรูท ี่ชว ยแกไขปญ หาการวิเคราะหวรรณคดี เร่ือง กาพยเหชมเคร่ืองคาวหวาน ของ
นักเรยี นระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 1 ในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2564
2. วธิ กี ารดําเนินการใหบ รรลผุ ล
2.1 วิเคราะหหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง
พุทธศกั ราช 2561) และหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนอรุโณทัยวิทยาคม ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช
2563 ในเรื่องของ มาตรฐานการเรยี น และตัวชวี้ ัด ของเน้อื หา เรื่อง วรรณคดแี ละวรรณกรรม
2.2 ศกึ ษาโครงรา งของหนวยการเรียนรู และจัดทําแผนการจัดการเรียนรู เน้ือหาการเรียน
ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม เร่ืองกาพยเหช มเครอ่ื งคาวหวาน โดยแบงเน้ือหาออกเปนสวน ๆ
พรอมเฉลยตวั อยา ง กิจกรรมและแบบฝกทักษะวรรณคดแี ละวรรณกรรม ดังนี้

PA ๑/ส

แบบฝกทกั ษะท่ี 1 เรือ่ ง คน หาความหมายอธิบายศัพท
แบบฝก ทักษะท่ี 2 เรอื่ ง ถอดบทประพันธสดับความหมาย
แบบฝก ทกั ษะที่ 3 เรือ่ ง วิเคราะหบ ทเพริศแพรวพราย
แบบฝกทกั ษะท่ี 4 เรื่อง เรยี งรายคําเปน ใจความสาํ คญั
แบบฝกทกั ษะที่ 5 เรอื่ ง ซาบซ้งึ บทประพันธวรรณคดีไทย
2.3 ใหคุณครใู นกลุม สาระการเรยี นรูภาษาไทย ชวยกนั ตรวจสอบความถกู ตอ ง ในเนื้อหาการ
เฉลยของตัวอยางกิจกรรมและแบบฝกทักษะวรรณคดีและวรรณกรรม พรอมท้ังเสนอแนะ
เพอ่ื ปรับปรุง แกไข
2.4 ครูผสู อนนําแบบฝกทักษะมาปรับปรุง การเรียนรูภาษาไทย โรงเรียนอรุโณทัยวิทยาคม
แกไ ขตามคาํ แนะนําของคณะครใู นกลุมสาระ
2.5 นาํ หนว ยการเรยี นรแู ละแผนการจัดการเรียนรู การวิเคราะหวรรณคดี เร่ืองกาพยเหชม
เคร่ืองคาวหวาน รายวิชาภาษาไทยพ้ืนฐาน 2 รหัสวิชา ท21102 ไปจัดกิจกรรมการเรียนรูกับ
นักเรียนระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2564 ท้ังในรูปแบบ ONLINE หรือ
ONSITE โดยปรบั กิจกรรมใหเหมาะสมกับบริบทของโรงเรยี น
2.6 บันทึกผลการเรียนรูของนักเรียน ที่เกิดขึ้นจากการกิจกรรมการเรียนรู ในโปรแกรม
Microsoft Excel และ Google sheets และสะทอ นผลการเรียนรูใหนักเรียนทราบเปนระยะ หากมี
นกั เรยี นที่ไมผ านเกณฑการประเมินในเรื่องใด ใหใชกิจกรรมเพื่อนชวยเพ่ือน และการสอนซอมเสริม
ดวยวิธีการท่ีหลากหลาย สําหรับใชแกไขปญหาการเรียนรู ใหนักเรียนไดศึกษา และทําการทดสอบ
ใหมจนนักเรยี นมผี ลการเรยี นรผู านเกณฑที่กาํ หนด
3. ผลลพั ธการพฒั นาทคี่ าดหวงั
3.1 เชงิ ปรมิ าณ
นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 จํานวน 4 หอง รวมจํานวนนักเรียนทั้งหมด 152 คน
มีทักษะการวิเคราะหเนื้อหาของวรรณคดี โดยวัดจากการผานเกณฑคะแนนของแบบฝกทักษะ
วรรณคดีและวรรณกรรม คิดเปนรอยละ 70 ของจาํ นวนนักเรยี นท้งั หมด
3.2 เชิงคุณภาพ
นกั เรยี นระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 1 จํานวน 4 หอง รวมจํานวนนักเรียนท้ังหมด 152 คน
มที ักษะดานการวิเคราะหเน้ือหาของวรรณคดีเพ่ิมขึ้น และสามารถนําความรูท่ีได จากการเรียนรูไป
เชือ่ มโยงกบั เนอ้ื หาอ่นื ๆ ในวชิ าภาษาไทย

ลงชื่อ
(นางสาววภิ ารตั น อภวิ งค)
ตําแหนง ครู

ผูจัดทําขอตกลงในการพัฒนางาน
................/.............../...................

PA ๑/ส

ความเหน็ ของผูอาํ นวยการสถานศกึ ษา
( ) เหน็ ชอบใหเ ปนขอตกลงในการพฒั นางาน
( ) ไมเหน็ ชอบใหเ ปน ขอ ตกลงในการพัฒนางาน โดยมีขอเสนอแนะเพื่อนําไปแกไข และเสนอ

เพอ่ื พิจารณาอกี ครง้ั ดงั นี้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงช่อื
(นางรัตติกรณ สขุ ด)ี

ตําแหนง ผอู ํานวยการโรงเรียนอรุโณทัยวทิ ยาคม
................/.............../...................

PA ๑/ส


Click to View FlipBook Version