The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่-1-การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pimporn Sarichun, 2019-06-11 04:55:12

หน่วยที่-1-การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ

หน่วยที่-1-การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ

แบบประเมนิ ตนเองก่อนเรียน
หน่วยท่ี ๑

http://bit.ly/thai-test1

ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชพี ๑

แผนการเรียน หน่วยท่ี ๑

การใช้ภาษาไทยในการสอื่ สารอย่างมีประสิทธิภาพ

มอดลู ที่

๑.๑ การใชค้ าในการสอื่ สารใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพ
๑.๒ การใชส้ านวนโวหารในการส่อื สารให้เกดิ ประสิทธภิ าพ

แนวคิด

การสอ่ื สารดว้ ยภาษาไทยอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพน้นั ผสู้ ื่อสารตอ้ งมคี วามเขา้ ใจในเร่อื งของการ
ใช้คาให้ถูกต้องตามความหมาย สร้างประโยคถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ ใช้สานวนโวหารได้ถูกต้อง
ตามสถานการณ์และวัตถปุ ระสงค์ เรยี บเรยี งถ้อยคาเพือ่ ส่ือสารไดอ้ ยา่ งสละสลวย มีศลิ ปะ

จดุ ประสงคก์ ารเรยี น

๑. เมื่อศกึ ษามอดูลที่ ๑.๑ แลว้ ผูเ้ รยี นสามารถใช้คาไดถ้ ูกต้องตามความหมาย
๒. เมื่อศึกษามอดูลที่ ๑.๑ แล้ว ผู้เรียนสามารถเรียบเรียงประโยคได้ถูกต้องตามเจตนาของ

การสือ่ สาร
๓. เม่อื ศึกษามอดูลที่ ๑.๒ แล้ว ผู้เรยี นสามารถใช้สานวนได้ถูกต้องตามสถานการณ์
๔. เมื่อศึกษามอดูลท่ี ๑.๒ แล้ว ผู้เรียนสามารถใช้โวหารได้ถูกต้องตามจุดประสงค์ของการ

สอ่ื สาร

กจิ กรรมการเรยี น

๑. ทาแบบประเมินตนเองก่อนเรยี น หน่วยที่ ๑
๒. อ่านแผนการเรียนประจาหนว่ ยท่ี ๑
๓. อ่านสาระสงั เขปประจามอดูลท่ี ๑.๑ - ๑.๒
๔. ดาเนินกิจกรรมทกี่ าหนดของแต่ละมอดูลหรือหัวข้อเรื่อง
๕. ตรวจสอบคาตอบจากแนวตอบของแต่ละกิจกรรม ที่กาหนดไว้ทา้ ยหนว่ ยที่ ๑
๖. ทากิจกรรมภาคปฏบิ ัติเสริมประสบการณ์เพอื่ เกบ็ คะแนน (ถา้ ม)ี
๗. เขา้ รบั การสอนเสริม
๘. ทาแบบประเมินตนเองหลงั เรียน

๒ ชุดการเรียน วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชพี

สื่อและแหล่งการเรียน

๑. เอกสารชดุ การเรยี น หน่วยที่ ๑
๒. ใบงาน

การประเมนิ ผลการเรียน

๑. ประเมนิ ความกา้ วหนา้ ระหว่างเรียน

การประเมนิ ตนเองก่อนและหลังเรียน

๒. ประเมินกิจกรรมภาคปฏบิ ัติ (……..คะแนน)

๓. คุณธรรม จรยิ ธรรม (๒๐ คะแนน)

๔. การสอบปลายภาค (…….คะแนน)

ชุดการเรยี น วิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี ๓

แผนการเรยี น มอดูลท่ี ๑.๑

การใชค้ าในการส่ือสารให้เกิดประสทิ ธภิ าพ

มอดลู ที่ ๑.๑

โปรดอ่านหัวข้อเรอ่ื ง แนวคิดและจดุ ประสงคก์ ารเรียนของมอดูลท่ี ๑.๑ แล้วจงึ ศกึ ษา
รายละเอยี ดต่อไป

หัวข้อเรอื่ ง

๑.๑.๑ คาในภาษาไทย
๑) คาทม่ี ีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนยั
๒) คาทีม่ ีความหมายตามตวั และความหมายนยั ประหวดั
๓) คาที่มีความหมายกวา้ งและความหมายแคบ
๔) คาที่มคี วามหมายเหมอื นกนั หรอื คล้ายกัน
๕) คาพ้องรปู และพอ้ งเสียง
๖) คาทม่ี คี วามหมายตรงข้าม

๑.๑.๒ ประโยคในภาษาไทย
๑) ลักษณะของประโยค
๒) ชนดิ ของประโยค

๑.๑.๓ การใช้ถ้อยคาในการสอื่ สาร
๑) การใช้ภาษาให้เหมาะแกบ่ คุ คลและโอกาส
๒) การเลือกใช้ถ้อยคาในการส่อื สาร
๓) การใชถ้ ้อยคาให้สละสลวย

๔ ชุดการเรียน วิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี

แนวคดิ

การใช้ภาษาไทยในการสือ่ สารอย่างมศี ิลปะและมปี ระสิทธิภาพน้ัน ผสู้ ่ือสารจาเปน็ ต้อง
เข้าใจความหมายของคา นาไปใชไ้ ด้อย่างถกู ตอ้ ง และสามารถเรียบเรยี งประโยคเพอ่ื สื่อสารให้
เหมาะสมแกบ่ ุคคลและโอกาสบรรลุจุดมุ่งหมาย

จดุ ประสงคก์ ารเรยี น

เม่อื ศึกษามอดลู ที่ ๑.๑ แลว้ ผเู้ รียนสามารถ
๑. เขา้ ใจความหมายของคาในภาษาไทยและนาไปใช้ได้อยา่ งถกู ต้อง
๒. เรียบเรยี งถอ้ ยคาเปน็ ประโยคเพ่ือสื่อสารได้อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสมแกบ่ คุ คลและโอกาส

กิจกรรมการเรยี นการสอน

๑. ทาแบบประเมินตนเองกอ่ นเรยี น
๒. ทากิจกรรมที่ ๑.๑ ทบทวนวรรณยุกต์ และกจิ กรรมที่ ๑.๒ เรียงวรรณยกุ ต์
๓. ศึกษาเอกสารมอดลู ท่ี ๑.๑
๔. ปฏิบัตกิ ิจกรรมทไ่ี ด้รบั มอบหมายในเอกสารการสอน

๔.๑ ทากจิ กรรมที่ ๑.๓ – ๑.๗ จากสอ่ื ดิจิทัล
๔.๒ ทากจิ กรรมตามใบงานท่ี ๑๒ การใช้ประโยค

กอ่ นศึกษาเน้อื หาเรามาประเมนิ ตนเองในแบบทดสอบกอ่ นเรียน
แลว้ ทบทวนเรอ่ื งการใช้วรรณยุกต์

ชดุ การเรยี น วชิ าทักษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี ๕

เน้อื หา

๑. คาในภาษาไทย

เสียงท่เี ปล่งออกมาครั้ง ๆ หนึง่ เรยี กว่า พยางค์ ถา้ เปน็ พยางค์ทมี่ ีความหมาย เรียกวา่
คา คาทุกคาจงึ ต้องมีความหมาย แต่อาจจะมพี ยางคเ์ ดียวหรอื หลายพยางค์กไ็ ด้

การจะใช้ภาษาให้ถูกต้อง เหมาะสม และสื่อความหมายได้ตามต้องการ ผู้ใช้ภาษา
จาเป็นต้องรูค้ วามหมายของคา คาสว่ นใหญใ่ นภาษาไทยมหี ลายความหมาย บางคาเม่ืออยู่ตาม
ลาพงั จะมคี วามหมายอยา่ งหนงึ่ แตเ่ ม่อื นาไปเข้าประโยค ความหมายของคาอาจเปล่ียนไป
ความหมายของคามีหลายลักษณะ ได้แก่

๑.๑ คาทมี่ ีความหมายโดยตรง (ความหมายตามตัว) และความหมายโดยนยั
คาแต่ละคาเม่ือฟังแล้ว ผู้ฟังมักไม่ได้นึกถึงเฉพาะความหมายของคาน้ัน แต่จะนึก

ถึงคาอ่ืนหรือส่ิงอื่นท่ีเกี่ยวข้องกับความหมายของคานั้นด้วย ทั้งนี้แล้วแต่ทรรศนะ นิสัยและ
ประสบการณข์ องแต่ละคน ซึ่งความหมายของคาโดยทว่ั ไปมดี ังน้ี

๑) ความหมายโดยตรง หรือความหมายตามตัว คือความหมายตามปกติของคา
เนื้อความเป็นอย่างไร ความหมายก็เปน็ อยา่ งน้นั เปน็ ความหมายทป่ี รากฏในพจนานกุ รม คาหนึง่ อาจ
มหี ลายความหมาย เช่น

ดวงดาว : ส่งิ ท่เี หน็ เปน็ ดวงมแี สงระยิบระยบั ในทอ้ งฟ้า เชน่ คืนน้มี ีดาวเตม็ ทอ้ งฟา้
หลังบา้ น : ด้านหลังของบ้าน เชน่ เขาผูกสุนขั ไวห้ ลงั บา้ น
ตา : พ่อของแม่, ส่วนหน่ึงของร่างกายคนและสัตว์ ทาหน้าที่ดู, ส่วนหนึ่งของต้นไม้ตรงท่ี
แตกก่ิง, รอยของต้นไม้ตรงที่เคยแตกก่ิง, ช่องท่ีเกิดจากการถัก สาน หรือลากเส้นผ่านกัน เช่น
ตารา่ งแห ตาตะแกรง ตาตาราง, คราว เชน่ ตาน้ี

๒) ความหมายโดยนัย หรือความหมายเชิงอุปมา คือความหมายท่ีกลายไปจาก
ความหมายเดมิ ของคา เป็นความหมายที่เกดิ จากการเปรยี บเทียบกับความหมายตามตวั ของคาน้ันใน
บริบทอ่ืนเพ่ือบอกลักษณะอาการ รูปพรรณสัณฐาน หรือคุณภาพอย่างใดอย่างหน่ึงให้ชัดเจนขึ้น
ตัวอย่าง

ดวงดาว : ความสขุ ความสดใส เชน่ ใต้ผนื ฟา้ นี้ คณุ มีสทิ ธ์ิเก็บดวงดาวไดเ้ สมอ
ตามน้า : พลอยรว่ มฉ้อราษฎรบ์ ังหลวงไปด้วย เช่น นายสมชายกนิ ตามนา้ กบั เพ่ือนด้วย

เปรียบเทยี บความหมาย

ความหมายตามตัว ความหมายเชงิ อปุ มา

ดาว - ดาวทอี่ ยบู่ นท้องฟ้า ผูม้ คี วามงามหรอื ความสามารถเด่นเป็นท่ีสนใจ
ลกู หมอ้ - ปลากัดทผี่ สมข้ึนในหม้อ ผู้มีวิชาชีพโดยสืบเช้ือสายกันมาหรือทางานในสังกัด
น้ัน ๆ มาแต่เดิม
เสอื - สตั วช์ นิดหน่งึ
เตา่ หัวหด - เต่าทห่ี ดหัวในกระดอง ผู้มกี าลงั กลา้ หาญ อนั ธพาล โจร
คนทีข่ ข้ี ลาดไม่กลา้ เผชญิ หนา้

๖ ชดุ การเรยี น วิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชีพ

๑.๒ คาท่ีมีความหมายนัยตรงและความหมายนยั ประหวัด
๑) ความหมายนัยตรง หมายถึงความหมายท่ีปรากฏตามพจนานุกรม ซ่ึงรวมทั้ง

ความหมายตามตัวและความหมายเชิงอปุ มา อาจมีมากกว่าหนึ่งความหมาย ผู้ใช้ภาษามีความเขา้ ใจ
ตรงกนั เช่น

เสือ : ช่ือสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เป็นสัตว์กินเนื้อ นิสัยดุร้าย มีหลายชนิด เช่น เสือโคร่ง เสือ
ดาวหรอื เสือดา, โดยปริยายใชเ้ รียกคนเกง่ คนดรุ ้าย

๒) ความหมายนัยประหวัด เป็นความหมายแฝงท่ีเกิดจากการแปลความซ่ึง

เก่ยี วข้องกบั อารมณ์ ความรู้สึกที่จะผนั แปรไปตามประสบการณ์ ทัศนคติ ความรู้สึก พ้นื ฐานหรอื ภูมิ
หลังของแตล่ ะคน ซ่งึ อาจเขา้ ใจไม่ตรงกนั เช่น

เลอื ด อาจนกึ ถึง ความตาย การต่อสู้ ความรนุ แรง
สีดา อาจนึกถงึ ความชัว่ ความทุกข์ ความมืดมน
ดอกหญา้ อาจนึกถึง สิง่ ทต่ี ่าต้อย

เปรยี บเทยี บความหมาย

คา ความหมายนัยตรง ความหมายนัยประหวัด
คอแข็ง
อาการคอเคล็ด หนั ศีรษะไม่ถนดั อาการท่ีนิ่งเพราะเถียงไม่ข้ึน หรือทนต่อรส
หัวแขง็ หันไมไ่ ด้ อันเข้มข้นรนุ แรงได้
มือออ่ น
ศีรษะแข็ง กระดา้ ง วา่ ยาก
มอื ทีด่ ัดได้มาก นอบน้อม มีความสามารถนอ้ ย

๑.๓ คาท่มี คี วามหมายกวา้ งและความหมายแคบ
คาแต่ละคามีความหมายกว้างแคบต่างกัน บางคาบอกความหมายเฉพาะเจาะจง

ว่าหมายถึงบุคคลใด บุคคลหนึ่ง วัตถุชิ้นใดช้ินหน่ึง สัตว์ตัวใดตัวหนึ่ง แต่บางคาบอกความหมาย
โดยรวมของสงิ่ ทีอ่ ย่ใู นประเภทเดยี วกัน เช่น

นก มีความหมายกว้าง หมายถึง สัตว์ชนิดใดชนิดหนึ่งที่บินได้ ขนสีดาหรือขาว
ปากยาวหรอื ส้ัน (นกแก้ว นกขนุ ทอง นกกระจอก นกสีดา ฯลฯ )

สัตว์ มีความหมายกว้าง หมายถงึ สตั ว์ที่อาจมีขนาดเลก็ หรือใหญ่ อาจเป็นสัตวบ์ ก
สตั ว์นา้ สตั วป์ กี แมลง ฯลฯ (ช้าง สนุ ัข แมว ผึ้ง ยุง ปลา หนอน ฯลฯ)

๑.๔ คาทม่ี ีความหมายเหมอื นกันหรือคลา้ ยกัน
มีคาเป็นจานวนมากท่ีมีความหมายเหมือนกันหรือคล้ายกัน บางคร้ังใช้แทนกนั ได้

แต่บางคร้ังใช้แทนกันไม่ได้ จึงเป็นเหตุให้ผูท้ ่ียังเข้าใจความหมายไม่ดีพอ ใช้ผิดได้งา่ ย คาเหล่าน้ีเรยี ก
อีกอยา่ งว่า คาไวพจน์

ขอ้ สังเกตในการใช้คาทม่ี คี วามหมายเหมอื นกันหรือคลา้ ยกนั มดี งั นี้
๑. ใช้ในภาษาเขียน และภาษาพูด เชน่ ภาพยนตร์-หนัง, รับประทาน-ทาน

ชดุ การเรยี น วชิ าทักษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี ๗

๒. ใช้ในภาษาทางการ และไม่เป็นทางการ เช่น เรียน – บอก, ใบอนุญาตขับ
รถยนต์ - ใบขบั ข่ี

๓. ใชใ้ นภาษารอ้ ยแก้วและภาษารอ้ ยกรอง เช่น นา้ – วารี – ชล – นที,
ป่า – ไพรสาณฑ์ ไพรสณฑ์ ไพรสณั ฑ์

๔. ใช้สาหรับบุคคลสามัญ สาหรับภิกษุ หรือเจ้านาย เช่น ป่วย – อาพาธ –
ประชวร, กนิ - ฉนั – เสวย

๑.๕ คาท่ีมคี วามหมายตรงขา้ ม คาเปน็ จานวนมากเมื่อนามาเทียบกนั แล้วมีความหมาย
ตรงข้ามกัน เช่น สกปรก – สะอาด, ขีข้ ลาด – กล้าหาญ, อว้ น – ผอม, เชอ่ื งชา้ - ว่องไว

๑.๖ คาพอ้ งรูปและพ้องเสียง คือคาทม่ี คี วามหมายหลายความหมายทาหน้าทไ่ี ดห้ ลาย
หน้าท่ี จึงถือว่าเป็นคาคนละคากัน เช่น ขัน - นาม ภาชนะ, กัน – ใช้เรียกผู้ชาย, แสดงการแยก
สว่ น, แสดงสว่ นร่วม, กนั หรอื กนั้

ในการพูด บางคร้ังคาพ้องเสียงอาจทาให้ความหมายกากวม ไม่ทราบแน่วา่ ผพู้ ดู
กล่าวถึงคาใด เช่น กล่าวว่า จัน อาจหมายถึง จัน จันทร์ จนั ทน์ จรรย์ หรือจณั ฑ์ ก็ได้ แต่ในการ
เขยี นความกากวมนี้จะหมดไป เพราะคาพ้องเสียงเหล่านีส้ ะกดตา่ ง ๆ กัน

ส่วนคาพ้องรูปเขียนได้อย่างเดียว แต่มีหลายความหมายและออกเสียงได้หลาย
แบบ ในการพูดคาพ้องรูปความหมายจะไม่กากวม แต่ถ้าเป็นการเขียนอาจเกิดความกากวม เช่น
เมื่อเขียนคาว่า “แหน” ผู้อ่านไม่แน่ใจว่าคานี้หมายถึง “พืชชนิดหนึ่งที่ใบด้านบนสีเขียว ด้านล่าง
สีม่วงลอยอยูน่ า้ นิ่ง ๆ” หรือหมายถึง “เฝ้ารักษา”, เพลา (เพลารถ - เพลาเย็น), ขัน (ขันน้า -ไก่ขนั
ตอนเชา้ – ขบขัน) ฯลฯ คาพอ้ งรูปจงึ ตอ้ งพจิ ารณาความหมายจากบริบทของคาในประโยค

เมือ่ ศกึ ษาเน้ือหาแล้วมาทบทวนความเขา้ ใจเร่อื งคากัน

๑. ทากจิ กรรมท่ี ๑.๓ - ๑.๔ ความหมายของคา https://h5p.org/node/454887
และ https://h5p.org/node/454888

๒. ทากจิ กรรมใบงานที่ ๑.๑.๑ เรื่องความหมายของคา
๓. ทากจิ กรรมท่ี ๑.๕ จบั ค่คู าท่มี คี วามหมายเหมือนกัน

https://h5p.org/node/454889
และกิจกรรมท่ี ๑.๖ จับคู่คาตรงกนั ข้ามกนั https://h5p.org/node/453820

๘ ชดุ การเรยี น วิชาทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี

เรยี งร้อยถ้อยคาเพื่อส่ือสาร
เรยี นร้หู ลักการสร้างประโยค

๒. ประโยคในภาษาไทย

ประโยค หมายถึง กลุ่มคาท่ีสื่อความหมายได้ชัดเจน สมบูรณ์ โครงสร้างประโยคของ
ภาษาไทยประกอบด้วย ภาคประธานและภาคแสดง หากมีส่วนขยาย ส่วนขยายมักอยู่หลังคา
ที่ถกู ขยาย ดงั นี้

ภาคประธาน ภาคแสดง

ประธาน ขยายประธาน กรยิ า กรรม ขยายกรรม ขยายกริยา

สิงโต - คาราม - - -

ครู - สอน หนงั สือ - -

วิชยั เพ่อื นของผม ถกู ลอตเตอรี่ - -

สนุ ขั ขา้ งบ้าน กัด ชาวบา้ น ที่เดนิ ไปมา -

นักศึกษา ห้องน้ี ทา ขอ้ สอบ วิชาภาษาไทย อยา่ งตัง้ ใจ

น้า ของฉนั ปัก ผา้ - เกง่

อย่างไรก็ตาม แม้ประโยคในภาษาไทยส่วนใหญ่จะมีโครงสร้างแบบ ประธาน-กริยา-กรรม

แต่รูปประโยคก็มิได้เรียงลาดับส่วนของประโยคเช่นน้ีเสมอไป บางประโยคอาจนากริยา หรือ กรรม

มาไวต้ น้ ประโยค หรือ บางประโยคอาจนากริยามาทาหนา้ ทปี่ ระธาน

ประโยคในภาษาไทย จาแนกออกเปน็ ๔ ประเภท ดงั น้ี

๑. ประโยคประธาน หมายถึง ประโยคทมี่ ปี ระธานอยตู่ น้ ประโยค เชน่

⚫ ผู้ส่อื ข่าวรายงานขา่ ว

๒. ประโยคกริยา หมายถึง ประโยคทีม่ ีกริยาอย่ตู น้ ประโยค เชน่

⚫ มกี ารทาร้ายร่างกายนกั โทษในเรอื นจา

๓. ประโยคกรรม หมายถึง ประโยคท่มี กี รรมอย่ตู น้ ประโยค เชน่

⚫ ผูร้ า้ ยถูกตารวจจบั

๔. ประโยคการิต หมายถงึ ประโยคท่ีมผี ู้รบั ใชแ้ ทรกเข้ามาในประโยค เชน่

⚫ หัวหนา้ ให้ลกู น้องแก้ไขรายงาน

ชนดิ ของประโยค มี ๓ ชนดิ คอื

๑. ประโยคความเดียว คือประโยคที่มีประธานตัวเดียว กริยาตัวเดียว และถ้ากริยา

ตอ้ งการกรรม กม็ ีกรรมตวั เดียว เชน่

⚫ แดงเตะสุนขั

ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชีพ ๙

๒. ประโยคความรวม คือ ประโยคที่เกิดจากการรวมประโยคความเดียวต้ังแต่ ๒
ประโยคขน้ึ ไป โดยใช้สนั ธานเช่อื ม ได้แก่ จงึ เพราะ ดังนนั้ เพราะ...จึง ดังตัวอย่าง

⚫ พอภรรยาโกรธเขาก็เงยี บทกุ คร้งั
⚫ เด็กกนิ อาหารทม่ี ีสารพษิ จงึ เกดิ อาการทอ้ งรว่ ง

ประโยคความรวม ประโยคความเดยี ว ประโยคความเดยี ว สันธาน

ฉนั อา่ นหนงั สอื แต่ ฉันอา่ นหนังสือ นอ้ งเลน่ ตุ๊กตา แต่

นอ้ งเล่นตุ๊กตา

ชัยชาญและเชิงชาย ชัยชาญเรียนช่างไฟฟา้ เชิงชายเรียนช่าง และ

เรยี นชา่ งไฟเหมือนกนั ไฟฟา้

เพราะเธอเป็นคนขี้ เธอเปน็ คนขีเ้ กียจ เธอสอบตก เพราะ...จึง

เกียจจึงสอบตก (ประโยคเหต)ุ (ประโยคผล)

๓. ประโยคความซ้อน คือ ประโยคท่ีมีใจความหลักประโยคหนึ่งแล้ว มีประโยคย่อย
อีกประโยคหนง่ึ ซ้อนอยูจ่ ึงมีคากรยิ ามากกว่าหนงึ่ คา ซ่ึงประโยคย่อยนน้ั อาจทาหน้าท่ีเปน็ นาม ขยาย
นาม หรอื สรรพนาม และขยายกริยาหรอื วเิ ศษณก์ ็ได้ เชน่

⚫ รศั มดี าราเด็กสาวผูซ้ ึง่ เกดิ มาบนกองเงนิ กองทองอยากเปน็ ครู
⚫ สุนัขพันธุ์เชาเชาทไี่ ด้รบั รางวลั ที่ ๑ เปน็ ของผมเอง
ประโยคความซอ้ นจะใช้ตัวเชื่อมตา่ งกบั ตัวเช่ือมของประโยคความรวม คอื ใช้คาว่า
“ให้ ท่ี ซึ่ง อนั เม่ือ เพราะ ตาม จน ตั้งแต่” เปน็ ตวั เช่อื มประโยคเลก็ กบั ประโยคใหญ่

ประโยคความซอ้ น ประโยคหลัก ประโยคย่อย คาเชอื่ ม

ฉนั รกั เพอื่ นทไ่ี ม่เห็นแก่ตัว ฉนั รักเพอื่ น ทไ่ี ม่เห็นแก่ตวั ที่ (แทน“เพื่อน”)

เขาบอกใหฉ้ ันเดินตามไป เขาบอก ฉันเดนิ ตามไป ให้

(ขยายกรยิ า “บอก”)

คฤหาสน์ทอ่ี ยู่ชายทะเล คฤหาสน์ทเี่ ปน็ ของ ทอี่ ยู่ชายทะเล ที่

นัน้ เป็นของเศรษฐีใหญ่ เศรษฐีใหญ่ (คฤหาสน์ทอ่ี ยู่ชายทะเล)

นักศึกษาถูกลงโทษให้วิ่ง นักศึกษาถกู ลงโทษ ใหว้ ิ่งรอบวทิ ยาลยั -

รอบวิทยาลัย

พระออกบณิ ฑบาตตงั้ แต่ พระออกบิณฑบาต ฟา้ เริ่มสาง ๆ ตงั้ แต่

ฟ้าเรมิ่ สาง ๆ

๑๐ ชุดการเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชีพ

มีความรู้เรอ่ื งประโยคแล้วใช่ไหม? มาทบทวนความเข้าใจกัน

๑. ทากิจกรรมที่ ๑.๗ เรยี งประโยค https://h5p.org/node/454890
และ https://h5p.org/node/454891

๒. ทากิจกรรมใบงานที่ ๑.๑.๒ เรอ่ื ง โครงสร้างและชนิดของประโยค
๓. ทากจิ กรรมใบงานที่ ๑.๑.๓ เรอื่ งชนดิ ของประโยค

เลือกใช้ถอ้ ยคาอย่างไรดี
ใหถ้ กู ทถี่ ูกเวลา...มาเรยี นร้กู ัน

๓. การใช้ถ้อยคาในการส่ือสาร

ภาษาไทยนอกจากความรเู้ รื่องคาและประโยคแลว้ ยังตอ้ งศกึ ษาเร่ืองการใช้ภาษาให้ถูกต้อง
เหมาะสม หากผู้ใช้ภาษามีความรู้เรื่องการใช้ภาษาไม่ดีพอ อาจทาให้การติดต่อสื่อสารเกิดความ

ผดิ พลาด ส่ือสารไดไ้ ม่ตรงตามตอ้ งการ หรอื สอื่ ความได้แต่ไมเ่ หมาะสม ทาให้ขาดประสิทธิภาพในการ
สือ่ สาร โดยมีขอ้ ควรคานงึ ดังนี้

๑. ใชภ้ าษาใหเ้ หมาะแก่บคุ คลและโอกาส
การใช้ภาษาในการสอื่ สารใหม้ ีประสิทธภิ าพ ผูใ้ ช้จะตอ้ งทาความเขา้ ใจในเร่อื งของบุคคล

และโอกาส ดังน้ี
๑.๑ ความสัมพันธ์ของผู้ส่งสารและผ้รู ับสาร ภาษาไทยเป็นภาษาท่ีมีการกาหนดการใช้

ถ้อยคาให้เหมาะสมตามฐานะทางสังคมของบุคคลแต่ละกลุ่ม ได้แก่ พระมหากษัตริย์และพระบรม
วงศานุวงศ์ พระสงฆ์และบุคคลทั่วไป การเลือกใช้คาให้เหมาะสมแก่บุคคลจะทาให้การสื่อสารมี
ประสทิ ธภิ าพและเปน็ ท่ียอมรบั โดยทว่ั ไป

เชน่ ⚫ พระเจา้ อย่หู ัวเสวยพระกระยาหาร
⚫ พระสงฆฉ์ นั อาหาร
⚫นักเรยี นรับประทานอาหาร

๑.๒ โอกาสในการใช้ภาษา การเลือกใช้ภาษาให้เหมาะสมแก่โอกาส เวลาและสถานที่
มีความสาคัญอย่างย่ิงท่ีจะทาให้การส่ือสารนั้นประสบผลสาเร็จ และเป็นท่ียอมรับของสังคม การใช้
ภาษาแบง่ เปน็ ๓ โอกาส ดังน้ี

๑.๒.๑ โอกาสเป็นทางการ หมายถึง โอกาสสาคัญที่เป็นงานพิธีการ ภาษาท่ีใช้
สว่ นใหญจ่ ะเปน็ ภาษาแบบแผน หรอื เปน็ ทางการ เช่น งานพระราชพิธี การกลา่ วประชมุ สัมมนา การ
กลา่ วสุนทรพจน์ การเขยี นรายงานทางวิชาการ

ชุดการเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี ๑๑

๑.๒.๒ โอกาสก่ึงทางการ หมายถึง โอกาสท่ีไม่เคร่งครัดในแบบแผนมากนัก แต่

คานึงถึงความสุภาพและความเหมาะสมตามสถานการณ์ การสอื่ สารจะใชภ้ าษากง่ึ แบบแผน เช่น การ

ประชุมครู การบรรยายในช้นั เรียน การอบรม การเขียนสารคดี การวิจารณ์บทความ

๑.๒.๓ โอกาสไม่เป็นทางการ หมายถึง โอกาสท่ัว ๆ ไปท่ีใช้ติดต่อส่ือสารใน

ชีวิตประจาวันและในงานอาชีพ มุ่งเน้นการสื่อความหมายให้เข้าใจ การใช้ภาษาจะไม่เป็นทางการ

เชน่ การตดิ ต่องาน การซือ้ ขายสินค้า การโฆษณา การเขียนจดหมายส่วนตัว การพาดหัวขา่ ว

๒. ใชค้ าใหถ้ กู ต้อง

การส่ือสารให้บรรลุวัตถุประสงค์ ผู้สื่อสารต้องรู้จักเลือกใช้ถ้อยคาอย่างมีประสิทธิภาพ

ดังนี้

๒.๑ สะกดคาให้ถูกตอ้ ง การสะกดคาเป็นข้อควรคานงึ ท่ีสาคัญยง่ิ ในการเขยี น เน่อื งจาก

คาท่ีสะกดตา่ งกันย่อมมีความหมายไม่เหมือนกนั ดงั ตวั อยา่ ง

คาสะกดตา่ งกนั เช่น รัก-ลัก, แปรง-แปลง, กลับ-กบั , ขัน-ขรรค์,

สะกดคาไม่ถูกต้อง เช่น มาตรฐาน เขียนเป็น มาตรฐาน, อนุญาต เขียนเป็น

อนุญาต, กะเพรา เขียนเปน็ กระเพรา

การออกเสียงผิด เช่น ครั้งคราว ออกเสียงเป็น ค้ังคาว, คล่ี ออกเสียงเป็น คี่,

เปลา่ ออกเสยี งเปน็ เป่า, ป่าว

๒.๒ การใช้คาให้ถูกความหมาย ผู้สื่อสารต้องรู้จักความหมายของคาที่เลือกมาใช้ จึง

จะสามารถสือ่ สารได้ถูกต้องตรงตามความต้องการ เชน่

⚫ เขาถกู ชกเลอื ดกบปาก (กบ)

⚫ วชิ ยั เปน็ คนเงียบ ๆ ไม่คอ่ ยสูสีกับใคร (สงุ สงิ )

๒.๓ ใช้คาให้ถูกหน้าท่ี การวางคาให้ถูกตาแหน่งหน้าท่ีตามชนิดของคาเป็นส่ิงสาคัญ

ยิ่งในการเรียบเรียงประโยค เนื่องจากคาไทยไม่ต้องเปล่ียนแปลงรูปศัพท์เพ่ือทาหน้าท่ีต่าง ๆ ใน

ประโยคเหมือนภาษาอังกฤษ ดังน้ันการวางคาผิดตาแหน่งอาจทาให้ความหมายเปลี่ยนไป หรือสื่อ

ความหมายไมไ่ ด้ เช่น

ใจหาย หายใจ

ฉนั รักคณุ คุณรกั ฉนั

๒.๔ ใช้คาให้ถกู ระดับภาษา โดยทว่ั ไปภาษาแบง่ เป็น ๓ ระดบั ดังน้ี

๒.๔.๑ ระดับคาไม่เป็นทางการ เป็นคาระดับไม่ได้มาตรฐาน ส่วนใหญ่จะใช้ในการ

ส่ือสารท่ัว ๆ ไปในหมู่ผู้คุ้นเคย ใช้ประกาศหรือประชาสัมพันธใ์ นชุมชน การสนทนาระหว่างเพือ่ นฝงู

การเขยี นจดหมายสว่ นตวั ถงึ ผู้ใกล้ชดิ

๑) คาตลาดหรอื ภาษาปาก เปน็ คาทีใ่ ชท้ ่วั ๆ ไป โดยไมค่ านงึ ถึงความถูกต้อง

ทางหลักภาษา หรือความเหมาะสม เช่น ผวั เมีย โรงพัก โรงหนงั รถเคร่ือง คกุ ฯลฯ

๒) คาภาษาถ่ิน ใช้สาเนยี งและถ้อยคาต่างความหมายกันไปในแตล่ ะท้องถ่นิ

อาจสื่อสารเข้าใจไม่ตรงกันในการพูดหรือเขียน เช่น ภาษาเหนือ- เคียด (โกรธ) ม่วน (สุข, สนุก,

ไพเราะ), ภาษาใต้ – หยบ (ซ่อน), ภาษาอสี าน - แซบอีหลี (อร่อยมาก) ฯลฯ

๑๒ ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี

๓) คาสแลงหรือคาคะนอง เป็นคาท่ีใช้ส่ือสารและเข้าใจกันเฉพาะกลุ่ม โดย
ไม่คานึงถึงความถูกต้องตามหลักภาษา มักใช้อยู่เพียงชั่วระยะเวลาหนึ่ง เช่น แกสบ้ี เคอรี่ เงือก
จขกท เงิบ จนิ้ ตลาดล่าง ตะมตุ ะมิ นา่ มสาน โปะ๊ ปัง ฯลฯ

๔) คาหยาบหรือคาตา่ หมายถงึ คาไมส่ ุภาพ ไมค่ วรใช้ ไดแ้ ก่ พวกคาหยาบคาย
คาด่า คาสบถสาบาน

๒.๔.๒ ระดับคากึง่ ทางการ เป็นภาษาท่มี รี ะดบั ก้ากง่ึ กันระหว่างภาษาไมเ่ ป็นทางการ
กับภาษาทางการ เช่น การสนทนาระหวา่ งผู้มีการศึกษา สนทนากับผ้ทู ไี่ มค่ ุ้นเคย การพูดในท่ีประชุม
กับผฟู้ งั ทั่ว ๆ ไป เช่น การอภิปราย การสัมภาษณ์อยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ การแนะนาบุคคลอยา่ งไมเ่ ปน็

พิธีรตี อง ฯลฯ ระดับคากึ่งทางการ ไดแ้ ก่
๑) คาที่ใช้ในภาษาสื่อสารมวลชน โดยเฉพาะภาษาหนังสือพิมพ์ ซ่ึงมี

ลักษณะเฉพาะตัว คอื ใชภ้ าษาเร้าความสนใจ โดยไม่คานึงถงึ ความถูกตอ้ งทางหลกั ภาษา (เทกระจาด
เด็กผี ค้าแข้ง ลูกหนัง) ใช้คาสั้น ๆ ซึ่งอาจทาให้ผู้อ่านเข้าใจคลาดเคล่ือนได้ (บัวบานล่มสลาย,
อสรพิษผงาด) ตลอดจนการใชค้ าอยา่ งขาดความประณตี สละสลวย ใชภ้ าษาพดู แทนภาษาเขียน หรือ
ใช้ภาษาไม่สุภาพ ไม่เหมาะแก่กาลเทศะและบุคคล (โคตรเว่อร์ รักฝังร่าง) ภาษาหนังสือพิมพ์จึงไม่
อาจยดึ ถือเปน็ แบบแผนในการใช้ภาษาได้

๒) คาที่ใช้ในภาษาโฆษณา เป็นการใช้ภาษาเพอื่ ดงึ ดูดความสนใจ มุ่งโนม้ น้าว
ใจให้ผู้รับสารเปลี่ยนความคิดและกระทาตาม ลักษณะของภาษาจึงมีสีสัน เน้นอารมณ์ด้วยการใช้
ภาษาตา่ งระดบั ในข้อความเดยี วกัน ส่วนมากเป็นภาษาทางการหรือกึ่งทางการ อาจใช้คาคลอ้ งจองมี
สมั ผสั แบบร้อยกรอง เชน่ เพอื่ นค่คู ดิ มิตรคู่ใจ, ทาส่งิ ที่ชอบ เป็นอาชีพทใ่ี ช่, ต้ม ผดั แกง ทอด หอม
อรอ่ ยในพริบตา, ตัวจริง เรอ่ื งปง้ิ ยา่ ง

๓) คาเฉพาะกลุ่ม เป็นคาที่ใช้เฉพาะคนในกลุ่มหรือวงการเดียวกัน ได้แก่
ชา่ ง ทหาร แพทย์ วงการพนัน วงการกฬี า ภาษาเดก็ ภาษาวัยรนุ่ ฯลฯ

๒.๔.๓ ระดับคาเป็นทางการ คือ ภาษาท่ีใช้อย่างเป็นทางการเคร่งครัด ถูกแบบ
แผนและได้มาตรฐาน มักใช้ในภาษาเขียนมากกว่าพูด หรอื เปน็ การเขยี นต้นฉบบั สาหรับการพูดอย่าง
มพี ิธีรตี อง เชน่ ปาฐกถา โอวาท สุนทรพจน์ คาปราศรยั การแนะนาบคุ คลสาคญั ต่อทป่ี ระชมุ ไดแ้ ก่

๑) ภาษาราชการ เป็นภาษาแบบแผน ใช้สาหรับการเขียนหนังสือราชการ
เอกสารทางราชการ ให้ถูกต้องตามระเบียบแบบแผนที่กาหนด เช่น ตามที่ เนื่อง ด้วย แต่งต้ัง
พิจารณา อนสุ นธิ อนุมัติ ขอความอนเุ คราะห์ ฯลฯ

๒) คาราชาศัพท์ เป็นคาท่ีใช้สาหรับพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ เช่น
หมายกาหนดการ เสด็จพระราชดาเนิน เสวย บรรทม พระราชทาน พระบรมราโชวาท ฯลฯ

๓) คาสุภาพ เป็นการใช้ภาษาให้เหมาะแก่กาลเทศะ โอกาสและบุคคล ไม่เป็น
คาหว้ น กระด้างหยาบคาย หรอื ผวนคาแลว้ มคี วามหมายไมส่ ภุ าพ เช่น ศีรษะ รับประทาน ไมท่ ราบ
ครับ คุณ ผม ข้าพเจา้ ผักทอดยอด อจุ จาระ ปัสสาวะ ฯลฯ

ชุดการเรยี น วชิ าทักษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชีพ ๑๓

ตวั อย่างคาระดบั ตา่ ง ๆ ระดบั กงึ่ ทางการ ระดับทางการ

ระดบั ไม่เป็นทางการ ดิฉัน หนู ผม ขา้ พเจ้า
หนู กู ข้า โรงภาพยนตร์ โรงภาพยนตร์
วิก โรงหนงั กินเหลา้ ดม่ื เหลา้ ดื่มสุรา
รา่ เหลา้ ถองเหล้า สามี ภรรยา สามี ภรรยา
ผวั เมีย คุณพอ่ คณุ แม่ บิดา มารดา
พ่อ แม่ คณุ หมอ นายแพทย์
หมอ สปั ดาหห์ นา้ สปั ดาหห์ นา้
อาทติ ยห์ นา้ นครราชสมี า จงั หวัดนครราชสีมา
โคราช คลอดลกู คลอดบตุ ร
ออกลกู มีครรภ์ ตงั้ ครรภ์
มีท้อง ปลงศพ ฌาปนกจิ
เผาศพ

ทบทวนความเข้าใจกนั สักนดิ ...พิชิตความจา

ทากจิ กรรมระดบั ภาษา https://h5p.org/node/497405

๒.๕ ใช้คาให้เหมาะสมกับรูปแบบการเขียน การเขียนร้อยแก้วและร้อยกรองจะมี

ลักษณะของการใช้ถ้อยคาแตกตา่ งกันไป คาทใ่ี ชใ้ นร้อยกรองหากนาไปใชใ้ นร้อยแกว้ จะทาใหข้ อ้ ความ

ไม่สมจริงและไม่ราบร่ืน เช่น
⚫ แมฉ่ นั ชอบภักษาหารทท่ี าจากปลา
⚫ เม่อื สนธยามาเยอื นเขาก็จรลกี ลบั เคหา

หรอื การใช้ภาษาพดู ในภาษาเขยี น เชน่
⚫ นกั ธุรกิจเหลา่ น้ี ทายังไงถึงได้รวยยังงี้ (อย่างไร, อยา่ งน้)ี

๒.๖ ใช้คาใหเ้ หมาะกบั ความรู้สกึ คือการเลอื กใช้คาท่ีสอื่ ความหมายให้ตรงกับความรู้สกึ

ของผพู้ ดู เชน่
⚫ เขาดใี จท่ีได้ออกไปรับรางวลั ไมใ่ ช่ เขาดีใจที่ต้องออกไปรบั รางวลั
⚫ สุพรรณรู้สึกใจหายทตี่ อ้ งสูญเสยี เพอื่ นไปเสียที (ตดั คาวา่ เสยี ทอี อก)

๓. ใชค้ าใหช้ ัดเจน

การใช้ภาษาเพ่ือการสื่อสารควรคานึงถึงความหมายท่ีชัดเจน แจ่มแจ้งในเน้ือความ

เพ่อื มใิ หผ้ ู้อ่านเกดิ ความสบั สน เขา้ ใจผิด การใช้คาไมช่ ัดเจนอาจเกดิ จากสาเหตุหลายประการ เช่น

๑๔ ชดุ การเรียน วิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ

๓.๑ การใช้คาที่มีความหมายโดยนัย เน่ืองจากความหมายโดยนัย เป็นความหมายท่ี

เข้าใจกันเฉพาะกลุ่มคนท่ีมีประสบการณ์ในเร่ืองใดเรื่องหน่ึงร่วมกัน ผู้ที่ขาดประสบการณ์ หรือการ

รับรูใ้ นเรอ่ื งน้ันอาจไม่เขา้ ใจความหมายนัน้ ทาใหแ้ ปลความหมายของคาตามตรงทีเ่ คยได้รบั รู้มา เช่น

⚫ ตารวจอ้มุ ผตู้ อ้ งหาไปสอบสวน (ความหมายโดยนัย)

⚫ แมอ่ ้มุ ลกู ไปอาบน้า (ความหมายโดยตรง)

๓.๒ การใช้คากากวม คากากวมคือคาทีมีความหมายไม่ชัดเจน คลุมเครือ หรือมีหลาย

นยั การใชค้ ากากวมอาจทาให้เขา้ ใจผิด เนอ่ื งจากสามารถตคี วามหมายไดห้ ลายแง่ เช่น

⚫ แดงชนดาหกลม้ อาจมคี วามหมายว่า แดงหกลม้ เม่ือชนดา หรือ ดาหกลม้

เม่อื ชนแดง

⚫ เมือ่ วานนต้ี าผมเจบ็ = ตา (พ่อของแม่), นยั นต์ า
⚫ ฉนั กินขา้ วเยน็ แล้ว = ข้าวมื้อเยน็ , ขา้ วค้างคนื , ขา้ วไมร่ ้อน

⚫ เขตทหารห้ามเข้า = ห้ามทหารเขา้ , ห้ามคนทวั่ ไปเขา้

๓.๓ การใช้คาย่อ คาย่อท่ีไม่เป็นทางการและไม่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป อาจ

กอ่ ให้เกิดความเขา้ ใจผิดได้ เนือ่ งจากผ้รู บั สารไม่ทราบความหมาย เชน่

⚫ รถโดยสารประจาทางแล่นผา่ น ม.มหานคร (คาว่า ม. โดยท่ัวไปใชแ้ ทนคา

วา่ มหาวิทยาลัย แตใ่ นท่นี ก้ี ลับหมายถึง หมบู่ า้ น)

⚫ การเลือกตั้งคราวนี้อดีต ส.ต. คืนสภาเพียบ (คาย่อว่า ส.ต. โดยท่ัวไป

หมายถงึ ยศสบิ ตรี แต่ในทน่ี ีห้ มายถึง สมาชกิ สภาตาบล)

๓.๔ การใช้คาทับศัพท์ คาที่มาจากภาษาต่างประเทศถ้ามีคาในภาษาไทยท่ีส่ือ

ความหมายไดต้ รงกันกไ็ มค่ วรใชค้ าทบั ศัพท์โดยไม่จาเปน็ เช่น

⚫ คณุ เคลยี ร์ปัญหาหรอื ยัง (แก้ปญั หา)

⚫ งานนไ้ี มเ่ วิรก์ (งานไม่เดิน หรืองานมีปัญหา)

๔. ใช้ถ้อยคาให้สละสลวย

การใช้ภาษาไม่สละสลวยอาจเกิดจากการใช้คาฟุ่มเฟือย การใช้คาซ้าซ้อน การใช้คาไม่

คงที่ การลาดบั ความไม่เหมาะสม หรือการใช้สานวนภาษาต่างประเทศ ดังตวั อย่าง

๔.๑ ใช้คาฟุ่มเฟือย

⚫ ตารวจทาการจับกุมผ้รู า้ ย

⚫ สมชายเปน็ คนท่มี ีความกระตือรือรน้ มาก

๔.๒ ใชค้ าซ้าซ้อน

⚫ เขารีบเดินไปอย่างรวดเรว็
⚫ รถยนตส์ ตาร์ทไมต่ ดิ เสียใช้การไมไ่ ด้

๔.๓ ใช้คาเชอ่ื มใหถ้ ูกต้อง เชน่ กับ แก่ แด่ ตอ่ เพอ่ื สาหรับ โดย ดงั นี้

⚫ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั พระราชทานพรปใี หม่แก่ประชาชน

⚫ ฉันถวายภัตตาหารเพลแด่พระสงฆ์จานวน ๙ รูป

๔.๔ ใช้คาลักษณนามให้ถูกตอ้ ง เชน่ ช้างปา่ ๑ ตวั , ชา้ งบ้าน ๒ เชือก

ชดุ การเรยี น วิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชีพ ๑๕

๔.๕ ใช้คาบ่งบอกเสียง สี ขนาด และปรมิ าณให้ถูกต้อง เชน่
⚫จานกระเบ้ืองตกแตกดังเพล้ง

๔.๖ ใช้คาระดับเดียวกันในประโยค หรือข้อความเดียวกัน การใช้คาต่างระดับทาให้
ขอ้ ความไมส่ ละสลวย ไม่สอดคลอ้ งกัน เชน่

⚫ เราไปเยีย่ มคนเจบ็ ด้วยกัน เมื่อไปถึงคนไข้ฟ้ืนแล้ว (ใช้คาใดคาหน่ึง)
⚫ หลวงตาที่ชาวบ้านนับถือได้เสียชวี ติ แล้วอย่างสงบ (มรณภาพ)
⚫ หล่อนเป็นผู้หญิงองอาจกล้าหาญไม่แพ้บุรุษ (หญิง-ชาย, สตร-ี บุรษุ )
๔.๗ ใช้การหลากคา คือหลีกเลี่ยงที่จะใชค้ าเดิม ๆ เพื่อไม่ให้เกิดความซ้าซาก น่าเบ่ือ
หน่าย โดยการเลือกใชค้ าทีม่ ีความหมายเดยี วกันหรือใกลเ้ คยี งกันมาแทนกัน เช่น
⚫ ผมชอบเลี้ยงสัตว์ ชอบปลูกต้นไม้ ชอบทาอาหารรับประทานเอง และชอบ
ไปเที่ยวต่างจังหวัด เปลี่ยนเป็น ผมมีความสุขกับการเลี้ยงสัตว์ ปลูกต้นไม้ พอใจที่จะทาอาหาร
รบั ประทานเอง
๔.๘ ใช้ภาษาถูกสมัย เนื่องจากภาษามีการเปล่ียนแปลงตามกาลเวลา ถ้อยคาท่ีใช้ใน
สมัยหน่ึงอาจไม่เป็นที่นิยมในสมัยต่อมา หรือความหมายต่างไปจากเดิม หากนาคาเหล่านี้มาใช้อาจ
ทาใหไ้ มเ่ ขา้ ใจ หรือแสดงวา่ ไม่รู้จริง ลา้ สมัย เชน่ คาวา่ โลกานุวัตร ปัจจบุ นั ใช้ โลกาภวิ ัฒน์

ทบทวนความเขา้ ใจใหแ้ ม่นยา...นาไปใช้ไดถ้ ูกต้อง

ทากิจกรรมใบงานท่ี ๑.๑.๔ เรอื่ ง การใช้ประโยค

๑๖ ชดุ การเรียน วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี

กิจกรรมที่ ๑.๑.๑
เร่ือง ความหมายของคา

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เพ่ือให้นักศึกษาบอกความหมายของคาท่ีเป็นความหมาย

โดยตรง และความหมายโดยนยั ได้

คาช้ีแจง ให้นักศึกษาค้นคว้าคาทมี่ คี วามหมายโดยนยั หรือความหมายเชงิ อปุ มาคนละ

๑๐ คา จากหนังสอื พิมพ์พร้อมอธบิ ายความหมายของคาเหลา่ นนั้ (คะแนนเตม็ ๕ คะแนน)

คา ความหมาย
๑................................................................
๒...............................................................
๓...............................................................
๔..............................................................
๕..............................................................
๖..............................................................
๗..............................................................
๘..............................................................
๙..............................................................
๑๐….........................................................

ชดุ การเรยี น วิชาทักษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี ๑๗

กจิ กรรมที่ ๑.๑.๒
เร่ือง โครงสร้างและชนิดของประโยค

จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม เพ่อื ใหน้ ักศกึ ษาระบโุ ครงสร้างและชนิดของประโยคได้ถกู ต้อง
คาชแี้ จง ใหน้ กั ศึกษาเติมโครงสรา้ งและชนดิ ของประโยคลงในช่องวา่ งท่กี าหนดให้

ประโยค

ภาคประธาน ภาคแสดง

ชนดิ ของประโยค
๑๘ ชดุ การเรียน วิชาทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

กจิ กรรมท่ี ๑.๑.๓
เร่ือง ชนดิ ของประโยค

จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม เพอื่ ใหน้ กั ศึกษาแยกชนิดของประโยคได้
คาช้แี จง ใหน้ ักศึกษาทาเครอื่ งหมาย √ ในชอ่ งท่ตี รงกับชนดิ ของประโยค

ประโยค ความ ความ ความ
ซ้อน
เดียว รวม

๑. ฝนตกก่อนฟ้ารอ้ ง
๒. ปลาใหญ่ว่ายน้าในทะเลลกึ

๓. ฉนั ชอบนกั เรยี นทต่ี งั้ ใจเรยี น

๔. พอฝนซาฟ้ากส็ ดใส
๕. แมแ่ ละพ่อไปตลาดหน้าหมบู่ า้ น

๖. พช่ี ายฉันเก่งดา้ นวชิ าการมาก

๗. กานตเ์ ป็นเดก็ ทร่ี จู้ กั กาลเทศะ
๘. นกแกว้ ตวั นนั้ พดู ไดค้ ลอ่ ง

๙. กมลชยั ทาการบา้ นเมอ่ื วนั อาทติ ย์

๑๐. เราจะเป็นคนดหี รอื คนเก่ง
๑๑. ขนุ จะไปเชยี งใหมแ่ ต่เขม้ จะไปยะลา

๑๒. ลลุ าชอบดอกไมส้ ขี าว

๑๓. พลอยไปตดั เสอ้ื และทาเลบ็
๑๔. สุนขั ของฉนั เป็นสตั วเ์ ลย้ี งทซ่ี อ่ื สตั ย์
มาก
๑๕. ณเดชน์อ่านหนงั สอื แต่ญาญ่าออก

กาลงั กาย

ชดุ การเรยี น วิชาทักษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี ๑๙

กิจกรรมท่ี ๑.๑.๔
เร่อื ง การใช้ประโยค
จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม เพ่ือใหน้ ักศึกษาบอกข้อบกพร่องของประโยคที่ยกมา

และสามารถแก้ไขประโยคให้ถกู ต้องได้

คาช้ีแจง ให้นักศกึ ษาบอกข้อบกพรอ่ งของประโยคทยี่ กมาน้ี พรอ้ มทั้งแกไ้ ขภาษาทบ่ี กพรอ่ งนั้นให้

ถกู ต้องและสละสลวย (แตล่ ะประโยคอาจมขี อ้ บกพรอ่ งมากกว่า ๑ แหง่ )

๑ รถตุ๊กตุ๊กคันน้ีเก๊าเกา่ แถมยังขับซ่งิ อีก
ข้อบกพร่อง……..........................................................................................................................
ประโยคทแ่ี กไ้ ข……....................................................................................................................
๒. สังคมปจั จบุ นั ทุกวนั นี้มักทอดท้ิงให้คนชราอยูก่ นั ตามลาพงั ดแู ลว้ นา่ สมเพชเวทนา
ข้อบกพร่อง……..........................................................................................................................
ประโยคทแี่ ก้ไข……....................................................................................................................
๓. เหตุการณ์กลับโอละพ่อ เร่อื งสาวกุข่าวถกู ผัวตวั เองแบลค็ เมล์
ขอ้ บกพรอ่ ง……..........................................................................................................................
ประโยคทแ่ี ก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………
๓. ตร. เป่า ๓ โจรค้ายานรกแดดิน้
ขอ้ บกพรอ่ ง……..........................................................................................................................
ประโยคทแ่ี ก้ไข..........................................................................................................................
๔. เจา้ หน้าท่จี ดั ใหม้ กี ารทดสอบน.ร. ก่อนนาไปฟงั ปฐมนิเทศก์
ข้อบกพรอ่ ง……..........................................................................................................................
…….............................................................................................................................................
ประโยคท่แี กไ้ ข……........................................................................................................
๕. ชายหนมุ่ กับสุภาพสตรีคนู่ ้นั ชา่ งเหมาะสมกนั ราวขนมผสมนา้ ยา
ข้อบกพรอ่ ง……..........................................................................................................................
…….............................................................................................................................................
ประโยคทแ่ี ก้ไข……....................................................................................................................
……............................................................................................................................................

๒๐ ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชีพ

เอกสารอ้างอิง

กองเทพ เคลอื บพณชิ กลุ . (๒๕๔๒). การใชภ้ าษาไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร.์
กอบกาญจน์ วงศ์วิสิทธ.์ิ (๒๕๔๙). ทักษะภาษาเพอ่ื การส่อื สาร. กรงุ เทพฯ: โอเดียนสโตร.์
กาญจนา นาคสกลุ . (๒๕๒๑). การใชภ้ าษาไทย. กรงุ เทพฯ: เคล็ดไทย.
กาชยั ทองหลอ่ . (๒๕๔๒). หลกั ภาษาไทย. กรงุ เทพฯ: รวมสาส์น.
คณะกรรมการวิชาภาษาไทยเพอ่ื การสื่อสาร ศนู ยว์ ชิ าบูรณาการ หมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป.

(๒๕๔๙). ภาษาไทยเพือ่ การสือ่ สาร. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์.
คณาจารยภ์ าควชิ าภาษาไทยเพอ่ื การสื่อสาร คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยหอการคา้ ไทย.

(๒๕๔๒). ภาษาไทยเพ่ือการสือ่ สาร. พมิ พค์ รั้งท่ี ๒. กรุงเทพฯ: ดบั เบ้ิลนายน์พรนิ้ ต้งิ .
คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทย คณะศลิ ปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (๒๕๔๖).

การใช้ภาษาไทย ๑. พมิ พค์ รัง้ ที่ ๔. กรงุ เทพ ฯ: มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์.

ชุดการเรยี น วชิ าทักษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี ๒๑

แผนการเรียน มอดูลท่ี ๑.๒

การใช้สานวนโวหารในการสอื่ สารให้เกดิ ประสิทธิภาพ

มอดลู ท่ี ๑.๒

โปรดอ่านหัวข้อเร่ือง แนวคิดและจุดประสงค์การเรียนของมอดูลที่ ๑.๒ แล้วจึงศึกษา
รายละเอยี ดต่อไป

หัวข้อเรอ่ื ง

๑.๒.๑ สานวน
๑) ความหมาย
๒) ลักษณะของสานวนไทย
๓) สานวนทีเ่ กดิ ขึ้นใหม่
๔) หลักการใชส้ านวน

๑.๒.๒ โวหาร
๑) ความหมาย
๒) ประเภทของโวหาร
๓) หลกั การเขยี นและใช้โวหาร

๑.๒.๓ การเรียบเรียงถ้อยคา

แนวคดิ

สานวนเป็นถ้อยคาที่เรียบเรียง มีความหมายเชิงเปรียบเทียบ ลึกซ้ึง บางคร้ังรวมถึงคา
พังเพย และสุภาษิต เมื่อนาไปใช้ควรเข้าใจความหมาย และใช้ได้อย่างถูกต้องในการส่ือสารเร่ืองราว
ใด ๆ ก็ตาม ถ้าผู้ส่งสารสามารถเลือกแบบการใช้โวหารได้ถูกต้อง เหมาะสมก็จะทาให้การสื่อสารนั้น
น่าสนใจย่ิงข้ึน จึงจาเป็นต้องศึกษาเร่ืองโวหารท่ีใช้ในการสื่อสาร เพ่ือให้สามารถเลือกใช้ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

จดุ ประสงค์การเรยี น

๑. เมอื่ ศึกษาหวั ข้อเรื่องท่ี ๑.๒.๑ “สานวน”แล้ว ผ้เู รียนสามารถใช้สานวนไดถ้ กู ตอ้ ง
๒. เมือ่ ศึกษาหวั ข้อเรื่องที่ ๑.๒.๒ “โวหาร”แล้ว ผ้เู รียนสามารถใช้โวหารไดถ้ ูกตอ้ ง

กิจกรรมการเรยี นการสอน

๑. ศกึ ษาเอกสารโมดูลท่ี ๑.๒
๒. ทากิจกรรมจาก ๑.๘ - ๑.๙ จากสอื่ ดจิ ทิ ัล
๓. ทากิจกรรมใบงานที่ ๑.๒.๑ - ๑.๒.๓

๒๒ ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชพี

รู้จกั สานวนไทย...นาไปใช้
ใหถ้ ูกตอ้ ง

เน้อื หา

๑. สานวน

๑.๑ ความหมายของสานวน

สานวน หมายถึง กลมุ่ คาท่ีเรียบเรยี งขน้ึ โดยไม่เคร่งครดั หลกั ไวยากรณ์มคี วามหมายไม่

ตรงตามตวั แตม่ ีความหมายอื่นแฝงอยู่ มักเป็นในเชงิ เปรยี บเทียบ

๑.๒ ทีม่ าของสานวนไทย

สานวนไทย มีที่มาจากแหล่งต่าง ๆ มากมาย ดังท่ี กาญจนา นาคพันธ์ุ (๒๕๑๓) กล่าว

ว่า “สานวนน้ันเกิดมากจากมูลเหตุต่าง ๆ เป็นต้นว่า เกิดจากธรรมชาติ เกิดจากการกระทา เกิดจาก

ส่ิงแวดล้อม เกิดจากอุบัติเหตุ เกิดจากการเล่น เกิดจากเรื่องแปลก ๆ ท่ีปรากฏข้ึน เกิดจากนิทาน

ตานาน ตลอดจนพงศาวดาร หรือประวัติศาสตร์ มูลเหตุดังกล่าว ใครช่างคิดช่างนึกช่างสังเกต และ

เป็นคนมีโวหาร ก็นาเอาแต่ใจความมาพูดสั้น ๆ เป็นการเปรียบบ้าง เปรยบ้าง กระทบบ้าง ประชด

ประชนั บ้าง พดู เล่นสนุก ๆ ก็มี พดู เตอื นสตใิ ห้คิดกม็ ตี ่าง ๆ กนั ” ดังตวั อย่าง

๑.๒.๑ เกดิ จากธรรมชาติ

ตนื่ แตไ่ กโ่ ห่ ลมเพลมพัด นา้ ซึมบอ่ ทราย

นา้ ทว่ มปาก นา้ ลดตอผดุ ลมสงบ

๑.๒.๒ เกดิ จากการเลน่

จนมุม เขา้ ปิ้ง ไพ่ตาย ม้วนเส่ือ

ศอกกลบั งูกินหาง รุกฆาต เกทับ

๑.๒.๓ เกิดจากวฒั นธรรมประเพณี

บา้ นเมอื งมีขอ่ื มแี ป ฝงั รกฝกั ราก

ตอ้ นรับขบั สู้ ไปมาลาไหว้

๑.๒.๔ เกิดจากศาสนา

เจา้ ไมม่ ีศาล ปิดทองหลังพระ ทาคณุ บชู าโทษ

คว่าบาตร ขนทรายเขา้ วัด กินบา้ นกนิ เมือง

๑.๒.๕ เกดิ จากความประพฤติ

ผักชโี รยหน้า ตานา้ พริกละลายแมน่ า้ ชุบมือเปบิ

ขา้ วแดงแกงรอ้ น คนตายขายคนเปน็ กนิ บ้านกินเมอื ง

ชุดการเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชีพ ๒๓

๑.๒.๖ เกิดจากอุบตั ิเหตุ พลัง้ ตีนตกตน้ ไม้
ตกกระไดพลอยโจน พลัง้ ปากเสียสนิ

ตกทนี่ ่งั ลาบาก ตกหลุมพราง ตกลอ่ งปล่องชนิ้

๑.๒.๗ เกิดจากเครอ่ื งมอื เคร่ืองใชต้ ่าง ๆ

หอกข้างแคร่ หน้าสิ่วหนา้ ขวาน ล้มหมอนนอนเสื่อ

ตดิ รา่ งแห หวั ลา้ นได้หวี ตาบอดได้แวน่

๑.๒.๘ เกิดจากอวยั วะในร่างกาย

แกต้ ัว ถ่อมตน ปากหนกั ตาแหลม

คอแข็ง ใจจดื คอตก หน้าเลือด
๑.๒.๙ เกดิ จากสตั ว์ วัวสันหลังหวะ สนุ ัขจนตรอก

นกสองหัว

วัวลมื ตีน จระเขข้ วางคลอง หมาเห่าใบตองแห้ง

๑.๒.๑๐ เกดิ จากพชื พันธต์ุ า่ ง ๆ

ออ้ ยเขา้ ปากช้าง มะนาวไมม่ นี า้ เด็ดบวั ไมเ่ หลือใย

หญ้าปากคอก ไมใ้ กล้ฝัง่ ดอกพกิ ุลร่วง

๑.๒.๑๑ เกดิ จากประวตั ิศาสตร์

ข้าวยากหมากแพง นอนหลบั ทบั สทิ ธ์ิ ศกึ เหนือเสือใต้

กระเบื้องจะเฟือ่ งฟลู อย น้าเต้านอ้ ยจะถอยจม

กรงุ ศรีอยธุ ยาไม่สิ้นคนดี
๑.๒.๑๒ เกิดจากเรือ่ งราวในวรรณคดีจากนิทานต่าง ๆ

ลูกทรพี วัดรอยเทา้ งอมพระราม กระตา่ ยตน่ื ตมู

บา่ งช่างยุ กบเลือกนาย ใจดสี เู้ สือ ก้ิงกา่ ได้ทอง
๑.๓ คณุ ค่าของสานวนไทย

๑.๓.๑ ใช้เป็นเคร่ืองเตือนใจให้คิด เป็นเครื่องมือในการอบรมสั่งสอน แนะนา

ชี้แนวทางควรปฏิบัติอย่างนุม่ นวลละเมยี ดละไม หลีกเลย่ี งการหักหาญนา้ ใจ ดังน้ี

แนะนาสง่ั สอนดา้ นความรักและการครองเรอื น
⚫ อยา่ ชงิ สุกกอ่ นห่าม
⚫ ปลูกเรือนตามใจผู้อยู่

แนะนาดา้ นให้การศึกษาอบรม
⚫ รกั วัวให้ผูกรกั ลูกให้ตี
⚫ เหน็ ช้างข้ี ข้ีตามชา้ ง

แนะนาด้านการพูดจา และความประพฤติ
⚫ ปลาหมอตายเพราะปาก

๒๔ ชุดการเรียน วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชพี

⚫ น้าขุน่ ไว้ใน นา้ ใสไว้นอก

๑.๓.๒ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถึงความคดิ ความเช่อื ขนบธรรมเนียมประเพณีของไทย ดังนี้

ความเช่ือทางศาสนา
⚫ มารผจญ
⚫ สวรรค์ในอก นรกในใจ

ความเชอ่ื เก่ียวกบั ดวงชะตา โชค เคราะห์
⚫ เงาไม่มีหัว
⚫ เคราะห์หามยามร้าย

ความเชื่อในเรื่องผสี างเทวดา
⚫ ผเี ขา้ ผอี อก
⚫ ลกู ผลี ูกคน

ความเชอ่ื เกียรตยิ ศชอ่ื เสยี ง
⚫ สมภารกินไก่วัด
⚫ เสยี ชพี อย่าเสยี สัตย์

๑.๓.๓ สะท้อนใหเ้ หน็ ภาวะความเป็นอยู่ของสังคมในดา้ นต่าง ๆ ดงั น้ี

ด้านอาชพี
⚫ วัวหายล้อมคอก
⚫ ตีววั กระทบคราด

การดารงชวี ติ
⚫ อย่าไว้ใจทางอยา่ วางใจคน
⚫ กาลังกิน กาลังนอน

ดา้ นเศรษฐกจิ
⚫ เขา้ พกเขา้ ห่อ
⚫ นงุ่ เจยี มห่มเจียม

๑.๓.๔ สะทอ้ นใหเ้ ห็นลกั ษณะอปุ นสิ ัย และพฤตกิ รรมของคนไทย ดังน้ี
⚫ ล่ืนเหมือนปลาไหล
⚫ ยใุ หร้ าตาใหร้ ่ัว

๑.๓.๕ สานวนไทยทาให้การพูด การเขียนมีอรรถรส ช่วยให้การอธิบายหรือเขียน

ขอ้ ความทย่ี ืดยาวมารวบความใหส้ ั้นกะทัดรัด ไดใ้ จความที่กระทบใจ ใหข้ ้อคดิ และตีความ สร้างความ

สนใจไดม้ าก ทาใหก้ ารใชภ้ าษาในการสอื่ สารมีอรรถรสยงิ่ ขึน้ เช่น

ไตไ่ มล้ าเดียว : กระทาส่ิงใด ๆ ตามลาพงั ตวั คนเดียว โดยไม่พง่ึ พา

อาศยั ผอู้ ่ืน อาจพลาดพลั้งได้

ชุดการเรยี น วิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชีพ ๒๕

ทบทวนความรู้ เข้าใจสานวนไทยกันดีกวา่
๑. ทากจิ กรรมท่ี ๑.๘ ต่อเตมิ สานวนไทย https://h5p.org/node/453853 และ

กิจกรรมท่ี ๑.๙ จับคู่สานวนกับความหมาย https://h5p.org/node/453850
๒. ทากิจกรรมใบงานที่ ๑.๒.๑ เรอื่ ง การใช้สานวนไทย และ ใบงานท่ี ๑.๒.๒

เรอ่ื ง คน้ หาสานวน สุภาษิ

โวหารสัมพนั ธก์ บั การเขียน
...มาเรยี นรกู้ ัน

๒. โวหาร

๒.๑ ความหมายของโวหาร
โวหาร หมายถึง ถ้อยคาท่ีใช้ในการสื่อสารทเ่ี รียบเรียงเป็นอย่างดี มีวิธีการ มีช้ันเชิงและมี

ศิลปะ เพ่ือสื่อให้ผู้รับสารรับสารได้อย่างแจ่มแจ้ง ชัดเจนและลึกซึง้ รับสารได้ตามวัตถุประสงค์ของผู้
สง่ สาร

๒.๒ ประเภทของโวหาร
๒.๒.๑ บรรยายโวหาร คือโวหารที่ใช้ในการเล่าเรื่องหรือบรรยายอย่างละเอียด เน้นการ

ดาเนินเร่ืองไปตามลาดับ เพ่ือให้ผู้อ่านเข้าใจเรื่องอย่างละเอียด มักใช้ในการเรียบเรียงประวัติ
เรือ่ งราว เหตกุ ารณ์ ตานาน จดหมายเหตุ บันทึกเร่ืองราวทางวชิ าการ

หลกั การเขยี นบรรยายโวหาร
๑. วางจุดมุ่งหมายในการเขียนไว้อย่างแน่นอนว่า จะให้ผู้อ่านได้รับความรู้
ความคดิ ความเข้าใจ หรือความเพลิดเพลิน
๒. เลือกสรรข้อมูลและหลักฐานท่ีจะนามาประกอบการเล่าเร่ือง เพื่อให้เร่ืองราว
นา่ ประทับใจ ตดิ อยู่ในความทรงจาของผอู้ า่ นมากขึน้
๓. ลาดับความคดิ เร่อื งราวไดอ้ ย่างมรี ะเบยี บ
๔. เลอื กใชถ้ อ้ ยคาที่เรยี บง่ายแตช่ ดั เจน
๕. เขียนบรรยายอยา่ งตรงไปตรงมา สูจ่ ุดหมายและแนวคิดสาคัญของเรอ่ื ง

๒๖ ชดุ การเรยี น วิชาทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชีพ

๒.๒.๒ พรรณนาโวหาร เป็นการใช้ภาษาช้ีแจงเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างละเอียด กล่าวราพึง
ถึงความรู้สึกนกึ คิดในดา้ นความรัก ความเศร้าโศก ครา่ ครวญ สว่ นมากใช้ในงานประพันธ์ทัง้ นวนิยาย
และบทร้อยกรอง

หลักในการเขียนพรรณนาโวหาร มีดงั น้ี
๑. ใหร้ ายละเอยี ดอยา่ งถูกตอ้ ง ชัดเจน
๒. พรรณนาความทจี่ ะกล่าวถงึ ใหเ้ หน็ เป็นรูปธรรมได้
๓. เน้นการใชภ้ าษาแสดงภาพเพอ่ื สรา้ งอารมณ์และจนิ ตนาการแก่ผูอ้ ่าน
๒.๒.๓ เทศนาโวหาร เป็นข้อความที่กล่าวชี้แจง แนะนา ส่ังสอน อันประกอบด้วยเหตุและ
ผล เพื่อชักจูงใหผ้ ูอ้ ่าน ผฟู้ ังเชอ่ื ถือและกระทาตาม
๒.๒.๔ อปุ มาโวหาร เปน็ ข้อความท่ีกล่าวเปรยี บเทียบ เพ่ือให้เกิดความคิดและปัญญา
๒.๒.๕ สาธกโวหาร เป็นขอ้ ความทย่ี กมาเป็นอทุ าหรณ์ หรือตัวอยา่ ง เพือ่ ใหเ้ น้ือความเดน่ ชัด
และเข้าใจยงิ่ ขนึ้ มักใชป้ ระกอบเทศนาโวหาร เพื่อตอ้ งการชีแ้ จง ส่งั สอนหรือชักชวนใหเ้ กดิ เหน็ จริง

๓. การเรียบเรียงถ้อยคา

ในการเรียบเรยี งถอ้ ยคาควรคานึงถึงหลักเกณฑ์ดังตอ่ ไปน้ี
๑. ใชค้ าใหเ้ หมาะสมกับระดบั การส่อื สาร เช่น ภาษาระดบั พิธกี าร ภาษาระดบั ทางการ

ภาษาระดับก่งึ ทางการ ภาษาระดบั สนทนา และภาษาระดับปาก
๒. ใช้คาให้ตรงจุดประสงค์ การสื่อสารแต่ละครั้งผู้ส่งสารต้องเลือกใช้คาให้ตรงกับ

ความหมายและจุดประสงค์ เชน่ เพื่อถ่ายทอดความรู้ แลกเปล่ยี นความคดิ เห็น หรือเพ่อื โนม้ น้าวใจ
๓. ใช้คาคาไทย ในการเรียบเรียงถ้อยคาพยายามเลอื กใช้คาไทยแทนการใช้คาทับศัพท์

โดยไมจ่ าเป็น
๔. ใช้คาชนดิ ตา่ ง ๆ ให้ถูกตอ้ งตามหลักภาษาไทย คอื คานาม คาสรรพนาม คากรยิ า

คาวิเศษณ์ คาบุพบท คาสันธานและคาอุทาน
๕. ใชล้ กั ษณนามใหถ้ ูกตอ้ ง

การเรียบเรยี งย่อหนา้ จะต้องคานึงถึงหลกั ต่อไปนี้
๑. เอกภาพ หมายถึง ความเป็นหนึ่งเดียว ซ่ึงใจความสาคัญและข้อความขยายจะต้อง

เป็นเร่ืองเดยี วกัน
๒. สัมพันธภาพ หมายถึง ข้อความในแตล่ ะยอ่ หนา้ จะตอ้ งมคี วามตอ่ เนือ่ งสอดคล้องกนั
๓. สารตั ถภาพ หมายถึง การเนน้ เน้อื ความหรือใจความหลกั ให้โดดเด่น

ชุดการเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี ๒๗

ฝกึ เรียบเรยี งถ้อยคาให้ชา่ ชอง
แล้วทดลองทาแบบทดสอบทา้ ยบทเรยี น
๑. ทากิจกรรมใบงานที่ ๑.๒.๓ เรือ่ ง การเรียบเรยี งถอ้ ยคา
๒. ทาแบบประเมินตนเองหลังเรียน http://bit.ly/thaitest1

เอกสารอา้ งอิง

กาญจนา นาคพนั ธ์.ุ (๒๕๑๓). สานวนไทย. พระนคร : บารงุ สาสน์ .
ศรเี พ็ญ มะโน. (๒๕๕๒). เอกสารประกอบการสอนวิชาทกั ษะภาษาไทยเพือ่ อาชพี รหสั

วชิ า ๓๐๐๐-๑๑๐๑. พะเยา : วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยพี ะเยา.
ศุภวรรณ มองเพชร. (๒๕๕๘). ภาษาไทยเพ่อื สือ่ สารในงานอาชพี . กรุงเทพฯ : ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อาชีวะ.
สมบตั ิ คิ้วฮก. (ม.ป.ป.) วถิ ชี วี ติ ที่พอเพียง ใน สมดุ บันทึกเศรษฐกิจพอเพียง. ม.ป.ท.

๒๘ ชดุ การเรยี น วิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี

กิจกรรมที่ ๑.๒.๑
เรอ่ื ง การใชส้ านวนไทย

จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม

นักศกึ ษาบอกสานวนท่ีเหมาะสมกับพฤตกิ รรมและสถานการณท์ ี่กาหนดได้

คาสง่ั

ใหน้ ักศึกษาเติมสานวนทเี่ หมาะสมกับพฤตกิ รรมและสถานการณ์ทีก่ าหนดให้
๑. เขาไม่โตเ้ ถียงแมจ้ ะมคี นมาหาเรือ่ ง เพราะถือคติ แพ้เป็นพระ ....................................
๒. เธออย่าเพ่ิงไว้ใจใครงา่ ย ๆ โบราณทา่ นวา่ คบคนใหด้ ูหนา้ ......................................
๓. ไปอยทู่ ี่ไหนก็ต้องทาตามกฎของเขา น่นั คอื เขา้ เมืองตาหล่วิ .......................................
๔. ถ้าอยากรกั ษามติ รภาพใหย้ ัง่ ยนื ต้องรจู้ กั ทาตัวเปน็ คน รักยาวใหบ้ ่นั ...........................
๕. โชคดที ่ีลูกชายเรายังกลบั ตัวไดถ้ อื ว่าเป็น ต้นรา้ ย.........................................................
๖. เปดิ เทอมมานักศกึ ษาบางคนทาทา่ ตงั้ ใจเรยี น แต่สดุ ทา้ ยก็ ทา่ ดี.................................
๗. ศาลตัดสนิ ประหารชวี ติ นายแพทยท์ ฆ่ี ่าหน่ั ศพภรรยา น่าเสียดาย ความรทู้ ่วมหวั
................................. แท้ ๆ
๘. คนแบบนเ้ี ขาเรยี กวา่ คดในขอ้ ........................................... ไม่สมควรคบหาด้วย
๙. ผู้หญิงอะไร สวยแตร่ ูป............................................. พูดจาหยาบคายไมน่ ่าฟัง
๑๐. รกั ในวัยเรียนไม่เป็นไร แตอ่ ยา่ ชงิ สกุ .......................................... ก็แล้วกัน

ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี ๒๙

กจิ กรรมท่ี ๑.๒.๒

ค้นหาสานวน สภุ าษติ

จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม

1. ๑. นักศกึ ษาระบถุ ้อยคาท่เี ป็นสานวนไทยได้
2. ๒. นกั ศกึ ษาอธบิ ายความหมายของสานวนได้ถกู ต้อง

คาสง่ั

ให้นักศึกษาอ่านบทความต่อไปนี้ แล้วค้นหาสานวน สุภาษิตท่ีปรากฏ พร้อมท้ัง
อธบิ ายความหมาย

บทความเรอ่ื ง การเป็นคนดี

สวัสดีทุกคน วันน้ีเรามาพูดกันเร่ืองการเป็นคนดี ความดีเป็นสิ่งที่เราทุกคนควร
กระทา มีคนกล่าวว่า คนดีผีคุ้ม ไปอยู่ท่ีไหนใคร ๆ ก็รัก และยังมีสานวนว่า รักดีหามจั่ว รัก
ช่ัวหามเสา หมายความว่า คนที่ประพฤติดี ขยันหม่ันเพียรยอ่ มได้ทางานทดี่ ี ส่วนคนเกยี จ
คร้านย่อมได้ทางานที่ไมด่ ี การทเ่ี ราจะเปน็ คนดีไดม้ ีองคป์ ระกอบหลายอยา่ ง เช่น คบเพอ่ื น
ดี เพราะเพ่ือนมีอิทธิพลต่อชีวิตเรามาก การเลือกคบเพ่ือนจึงมีความสาคัญดังสุภาษิตท่ีว่า
คบคนพาลพาลไปหาผิด คบบัณฑิต บัณฑติ พาไปหาผล และต้องมคี วามมานะอดทนในการ
ทางาน โดยยดึ คติที่ว่า ความพยายามอยู่ทีไ่ หน ความสาเร็จอย่ทู ่ีนน่ั ซ่งึ ตอ้ งรจู้ ัดอดออม มี
ความซื่อตรง ดังสานวนว่า ซ่ือกินไม่หมด คดกินไม่นาน นอกจากนี้ การเป็นคนดีนน้ั ตอ้ ง
แสดงออกทั้งด้านความประพฤติและวาจาด้วย ดังคากล่าวท่ีว่า สาเนียงส่อภาษา วาจาส่อ
สกลุ

๓๐ ชุดการเรียน วิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชพี

กจิ กรรมที่ ๑.๒.๓
เรอ่ื ง การเรียบเรยี งถอ้ ยคา

จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม นักศึกษาสามารถเรยี บเรยี งถอ้ ยคาโดยใชส้ านวนโวหาร

ท่ีเหมาะสมได้

คาช้ีแจง ใหน้ ักศึกษาเขยี นเรียบเรยี งถอ้ ยคาจากรปู ที่ใหม้ า โดยใช้สานวนโวหารท่ี

เหมาะสมถูกต้องตามหลกั การเขียนย่อหนา้ (คะแนนเตม็ ๕ คะแนน)

สมบัติ ค้ิวฮก. (ม.ป.ป.) วถิ ีชวี ติ ทพี่ อเพียง ใน สมุดบนั ทกึ เศรษฐกจิ พอเพยี ง. ม.ป.ท.

ชดุ การเรยี น วิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ๓๑

แบบประเมินตนเองหลังเรยี น
หนว่ ยที่ ๑

http://bit.ly/thai-test1

๓๒ ชดุ การเรยี น วิชาทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี

ภาคผนวก

ชดุ การเรยี น วชิ าทักษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี ๓๓

กิจกรรมท่ี ๑.๑.๒
เรือ่ ง ประโยค

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม เพือ่ ให้นกั ศกึ ษาระบุโครงสร้างและชนิดของประโยคได้
คาช้ีแจง ใหน้ กั ศึกษาเตมิ โครงสรา้ งและชนดิ ของประโยคลงในชอ่ งว่างท่กี าหนดให้

ประโยค

ภาคประธาน ภาคแสดง

ประธาน ขยายประธาน กริยา
กรรม
ขยายกรรม
ขยายกริยา

ชนิดของประโยค

ประโยคความเดยี ว ประโยคความรวม ประโยคความซ้อน

๓๔ ชุดการเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชีพ

เฉลยแนวตอบกิจกรรมที่ ๑.๑.๔
การใช้ประโยค

๑. รถตุ๊กตุ๊กคันนี้เก๊าเกา่ แถมยังขบั ซิ่งอีก
ข้อบกพร่อง - ใช้คาภาษาพูด – รถตุ๊กตุ๊ก, ใช้คาซ้อน - เก๊าเก่า, ใช้คาเชื่อมประโยคไม่ถูกต้อง – แถม
และใช้คาสแลง – ซง่ิ
ประโยคแก้ไข- รถสามลอ้ เครอ่ื งคนั นีเ้ ก่ามาก แต่ยังขับเรว็ อกี

๒. สงั คมปัจจบุ นั ทุกวันนี้ มักทอดท้งิ ให้คนแก่อยู่กันตามลาพงั ดแู ลว้ น่าสมเพชเวทนา
ข้อบกพร่อง - ใช้คาฟุ่มเฟือย – ปัจจุบันทุกวันนี้, ใช้คาที่ให้ความหมายในทางไม่ดีคือคนแก่ และ
สมเพชเวทนา
ประโยคทีแ่ กไ้ ข - สงั คมทุกวนั นี้ มักทอดทิง้ ใหค้ นชราอย่กู ันตามลาพงั ดูแล้วนา่ เหน็ ใจ

๓. เหตกุ ารณ์กลับโอละพอ่ เรอ่ื งสาวกุขา่ ว ผัวตวั เองแบลค็ เมล์
ขอ้ บกพร่อง - ใช้คาพดู - โอละพอ่ , กุขา่ ว, ผวั , ใช้คาภาษาต่างประเทศ - แบลค็ เมล์
ประโยคทแ่ี ก้ไข - เหตกุ ารณ์พลกิ กลบั เรือ่ งสาวสร้างข่าวถูกสามีตวั เองหกั หลัง

๔. ต.ร. เปา่ ๓ โจรค้ายานรกแดดิน้
ข้อบกพร่อง - ใช้คาย่อ – ต.ร., ใช้ภาษาหนังสือพิมพ์เป่า ๓ โจร, ใช้คาไม่ตรงความหมาย – ยานรก,
ใชค้ าภาษาปาก - แดดิน้
ประโยคทแ่ี ก้ไข - ตารวจยิงโจรคา้ ยาเสพตดิ เสียชวี ิต ๓ คน

๕ เจา้ หน้าท่ีจดั ใหม้ ีการทดสอบ น.ร. ก่อนนาไปฟังปฐมนเิ ทศก์
ข้อบกพร่อง - ใช้คาฟ่มุ เฟอื ย – จัดให้มกี าร, ใชค้ าย่อ น.ร., สะกดคาผิด ปฐมนเิ ทศ
ประโยคทีแ่ กไ้ ข – เจ้าหนา้ ท่ีทดสอบนักเรยี นก่อนนาไปฟังปฐมนิเทศ

ชุดการเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ๓๕

เฉลยแนวตอบกจิ กรรมที่ ๑.๒.๑
เรอ่ื ง สานวนสภุ าษติ

คาสั่ง

ให้นกั ศกึ ษาเตมิ สานวนทีเ่ หมาะสมกบั พฤตกิ รรมและสถานการณท์ ่ีกาหนดให้

๑. แพเ้ ป็นพระ ชนะเปน็ มาร

๒. คบคนให้ดูหนา้ ซ้อื ผา้ ใหด้ ูเนือ้

๓. เขา้ เมืองตาหล่วิ ตอ้ งหลวิ่ ตาตาม

๔. รกั ยาวใหบ้ ่นั รักสั้นใหต้ อ่

๕ ตน้ รา้ ย ปลายดี

๖ ทา่ ดี ทเี หลว

๗. ความรูท้ ่วมหัว เอาตวั ไมร่ อด

๘. คดในข้อ งอในกระดกู

๙. สวยแต่รปู จูบไมห่ อม

๑๐.ชงิ สุก ก่อนห่าม

๓๖ ชุดการเรยี น วิชาทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี

เฉลยกิจกรรมที่ ๑.๒.๒
บทความเร่ือง การเปน็ คนดี

๑. คนดีผคี ุ้ม หมายถึง คนทไี่ ปอยู่ทีไ่ หนใคร ๆ กร็ กั
๒. สาเนียงสอ่ ภาษา วาจาส่อสกุล หมายถึง การเป็นคนดีนั้นต้องแสดงออกทั้งด้านความประพฤติ
และวาจาดว้ ย
๓. คบคนพาลพาลไปหาผิด คบบัณฑิต บัณฑิตพาไปหาผล หมายถึง คบเพื่อนดี เพราะเพ่ือนมี
อิทธิพลต่อชีวติ เรามาก การเลอื กคบเพอื่ นจงึ มคี วามสาคญั
๔. ซื่อกินไมห่ มด คดกนิ ไม่นาน หมายถึง ความพยายามอยทู่ ่ไี หน ความสาเรจ็ อยทู่ ่นี ่ัน ซึง่ ต้องรูจ้ ดั
อดออม มีความซอ่ื ตรง
๕. รักดีหามจ่ัว รักชั่วหามเสา หมายถึง คนท่ีประพฤติดี ขยันหมั่นเพียรย่อมได้ทางานท่ีดี และ
เกยี จคร้านย่อมไดท้ างานทีไ่ มด่ ี

ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี ๓๗

คณะกรรมการ

ชุดการเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

• คณะทป่ี รกึ ษา เลขาธิการคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
นายบุญรักษ์ ยอดเพชร รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
นายประชาคม จันทรชติ รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
นายธวชั ชยั อุ่ยพานชิ ผู้ชานาญการด้านการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี
นายพรี ะพล พูลทวี ในสถานศึกษาของรฐั และเอกชน
นายสรุ ตั น์ จนั่ แย้ม ผ้ชู านาญการดา้ นการจัดการเรยี นการสอนอาชวี ศึกษา
และกระบวนการเรียนรู้
นางสาววัลลภา อยู่ทอง ผู้อานวยการศูนย์อาชวี ศกึ ษาทวภิ าคี
ผู้อานวยศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นาอาชวี ศกึ ษาภาคเหนอื
นางรุ่งนภา จิตต์ประสงค์
นายวทิ ยา ใจวิถี

• คณะกรรมการวชิ าการ ผูช้ านาญการดา้ นการจัดการเรยี นการสอนอาชีวศกึ ษา
นางสาววัลลภา อยูท่ อง และกระบวนการเรยี นรู้
ผู้อานวยศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพัฒนาอาชวี ศกึ ษาภาคเหนือ
นายวทิ ยา ใจวิถี หนว่ ยศึกษานเิ ทศก์
นายประพนธ์ จนุ ทวิเทศ ศูนย์ส่งเสรมิ และพัฒนาอาชวี ศกึ ษาภาคเหนอื
นางสดุ สาย ศรศี กั ดา ศูนย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชวี ศกึ ษาภาคเหนือ
นางสาวพมิ พร ศะรจิ นั ทร์

• คณะกรรมการวิชาการด้านการจัดทาเนอื้ หาชุดการเรยี นภาษาไทย

นางนวภรณ์ อนุ่ เรือน ขา้ ราชการบานาญ

นางนยั รัตน์ กลา้ วเิ ศษ วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาเชียงราย

นางสาวศรีเพญ็ มะโน วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยพี ะเยา

นางยอดขวญั ศรีม่วง วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพษิ ณโุ ลก

นางสาวดาวสกาย พูลเกษ วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร

นางกีระตกิ าญน์ มาอย่วู งั วทิ ยาลยั เทคนิคเพชรบูรณ์

นายตะวนั ชัยรัต วิทยาลัยสารพัดชา่ งเชยี งใหม่

นายอานนท์ ลสี คี า วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาอดุ รธานี

๓๘ ชุดการเรียน วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชีพ

คณะกรรมการ (ตอ่ )

ชดุ การเรยี น วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

• คณะกรรมการวิชาการด้านการจัดทาสื่อชุดการเรียน

นางสาวพมิ พร ศะรจิ นั ทร์ ศูนย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชวี ศึกษาภาคเหนือ

นายธนสาร รจุ ิรา หนว่ ยศกึ ษานิเทศก์

นายนพิ นธ์ รอ่ งพชื วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาแพร่

นายภมู พิ ัฒน์ วนพพิ ัฒนพ์ งศ์ วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาพิษณุโลก

นางกนกขวญั ลมื นดั วทิ ยาลยั สารพัดชา่ งสมทุ รสงคราม

• คณะบรรณาธิการและรปู เล่ม หนว่ ยศกึ ษานิเทศก์
นายประพนธ์ จนุ ทวิเทศ ศูนย์ส่งเสรมิ และพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือ
นางสาวพมิ พร ศะริจนั ทร์

• ออกแบบปก หน่วยศึกษานิเทศก์
นายธนสาร รุจิรา

ชดุ การเรยี น วิชาทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี ๓๙


Click to View FlipBook Version