The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่2สมุดรายวันซื้อสินค้า

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Lawan la-ong, 2019-06-05 01:51:24

บทที่2

บทที่2สมุดรายวันซื้อสินค้า

หน่วยที่ 2

สมุดรายวนั ซ้ือสินคา้

เอกสารประกอบการสอน

ลาวลั ย์ ภเู่ จริญ

158

การบนั ทึกรายการค้าในสมุดรายวนั เฉพาะเกย่ี วกบั การซื้อขายสินค้า

จุดประสงค์การเรียนรู้ (ปลายทาง)
ผเู้ รียนมีความรู้ความเขา้ ใจในความหมาย ประเภท และข้นั ตอนในการบนั ทึกรายการใน

สมุดรายวนั เฉพาะ สามารถบนั ทึกรายการบญั ชีและจดั ทางบรายละเอียดลูกหน้ี งบรายละเอียด
เจา้ หน้ีและจดั ทางบทดลองก่อนปรับปรุงไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง

จุดประสงค์การเรียนรู้ (นาทาง)
1. อธิบายความหมายของสมุดรายวนั เฉพาะได้
2. บอกประเภทของสมุดรายวนั เฉพาะได้
3. บอกข้นั ตอนและบนั ทึกรายการคา้ ในสมุดรายวนั เฉพาะ ที่เก่ียวกบั การซ้ือขายสินคา้ ได้
4. บอกข้นั ตอนและบนั ทึกรายการคา้ ในสมุดรายวนั เฉพาะ ที่เก่ียวกบั การรับจ่ายเงินสดได้
5. จดั ทางบทดลองก่อนรายการปรับปรุงได้
6. เป็นผมู้ ีลกั ษณะนิสัยมีความกตญั ญูรู้คุณต่อผมู้ ีพระคุณและต้งั ใจศึกษาเล่าเรียน

สาระสาคญั
สมุดรายวนั เฉพาะเป็ นสมุดรายการข้นั ตน้ ท่ีใชบ้ นั ทึกรายการคา้ ท่ีเหมือนกนั อยใู่ นประเภท

เดียวกนั เอามาไวด้ ว้ ยกนั ซ่ึงสมุดรายวนั เฉพาะสามารถแบง่ ออกเป็ น
1. สมุดรายวนั เฉพาะสาหรับบนั ทึกรายการคา้ ที่เกี่ยวกบั สินคา้ ประกอบดว้ ย สมุดรายวนั ซ้ือ

สมุดรายวนั ส่งคืนสินคา้ สมุดรายวนั ขาย และสมุดรายวนั รับคืนสินคา้
2. สมุดรายวนั เฉพาะสาหรับบนั ทึกรายการคา้ ท่ีเก่ียวกบั การเงินน้นั ในกิจการคา้ ขนาดเล็กจะ

ใชส้ มุดเงินสด 2 ช่อง ในกิจการคา้ ขนาดกลางจะใชส้ มุดเงินสด 3 ช่อง และในกิจการคา้ ขนาดใหญ่จะใช้
เป็ น สมุดเงินสดรับ สมุดเงินสดจา่ ย

159

แบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียน หน่วยการเรียนที่ 4
การบนั ทึกรายการค้าในสมุดรายวนั เฉพาะเกย่ี วกบั การซื้อขายสินค้า

ให้เลือกคาตอบทถี่ ูกทส่ี ุดเพยี งข้อเดยี ว

1. สมุดบญั ชีขอ้ ใดต่อไปน้ีไม่ใช่สมุดรายวนั เฉพาะ

ก. สมุดเงินสดรับ ข. สมุดรายวนั ทว่ั ไป

ค. สมุดรายวนั ซ้ือ ง. สมุดรายวนั ส่งคืน

2. การซ้ืออุปกรณ์สานกั งานเป็นเงินเช่ือจะบนั ทึกในสมุดบญั ชีเล่มใด

ก. สมุดรายวนั ซ้ือ ข. สมุดเงินสดจ่าย

ค. สมุดรายวนั ทวั่ ไป ง. ขอ้ ก. และ ขอ้ ค.

จากข้อมูลต่อไปนีใ้ ช้ตอบคาถาม ข้อ 3 - 11

ก. สมุดรายวนั ซ้ือสินคา้ ข. สมุดรายวนั ขายสินคา้

ค. สมุดรายวนั รับเงิน ง. สมุดรายวนั จา่ ยเงิน

จ. สมุดรายวนั ทวั่ ไป

ร้านฟ้ากาหนด มีสมุดบญั ชีท้งั 5 เล่มขา้ งตน้ ใชง้ านอยู่ ใหท้ า่ นระบุวา่ รายการคา้ ที่จะเกิดข้ึน

ตอ่ ไปน้ีจะบนั ทึกรายการลงในสมุดบญั ชีเล่มใดของร้านฟ้ากาหนด

3. เจา้ ของกิจการนาสินทรัพยต์ า่ ง ๆ มาลงทุนในกิจการ

4. ขายสินคา้ เป็นเงินเช่ือ

5. ซ้ือวสั ดุสานกั งานเป็นเงินสด

6. ขายสินคา้ เป็นเงินสด

7. ซ้ือสินคา้ มาเป็นเงินเช่ือ

8. รับคืนสินคา้ ที่ขายไปเป็ นเงินเช่ือ

9. เจา้ ของกิจการนาเงินสดไปใชส้ ่วนตวั

10. ซ้ือสินคา้ เป็นเงินสด

11. กิจการส่งคืนสินคา้ ที่ซ้ือมาเป็ นเงินสด

12. กิจการถอนเงินจากธนาคารมาใชใ้ นกิจการจะบนั ทึกรายการในสมุดรายวนั ข้นั ตน้ เล่มใด

ก. สมุดรายวนั รับเงิน ข. สมุดรายวนั จ่ายเงิน

ค. สมุดรายวนั ขาย ง. ขอ้ ก. และ ข. ถูก

เฉลย 1. ข 2. ค 3. จ 4. ข 5. ง 6. ค 7. ก 8. จ 9. ง 10. ง
11. ค 12. ง

160

เนื้อหา
1. ความหมายของสมุดรายวนั เฉพาะ
2. ประเภทของสมุดรายวนั เฉพาะ
3. ข้นั ตอนการบนั ทึกรายการคา้ ในสมุดรายวนั เฉพาะท่ีเก่ียวกบั การซ้ือและขายสินคา้
4. ข้นั ตอนการบนั ทึกรายการคา้ ในสมุดรายวนั เฉพาะที่เกี่ยวกบั การรับจา่ ยเงินสด
5. งบทดลองก่อนรายการปรับปรุง

1. ความหมายของสมุดรายวนั เฉพาะ
เชาวลีย์ พงศผ์ าติโรจน์ และวรศกั ด์ิ ทุมมานนท์ (2548 : 359) กล่าวถึงสมุดรายวนั เฉพาะวา่
สมุดรายวนั เฉพาะเป็ นสมุดบนั ทึกรายการเบ้ืองตน้ เฉพาะรายการประเภทเดียวกนั ซ่ึงมกั

เกิดข้ึนบ่อย ๆ หรือมีเป็นจานวนมา ก เช่น การซ้ือสินคา้ การขายสินคา้ การรับเงินและการจ่ายเงิน
วนั หน่ึง ๆ มีรายการเกิดข้ึนเป็ นจานวนมาก ใหใ้ ชส้ มุดรายวนั เฉพาะแทนการใชส้ มุดรายวนั ทว่ั ไปจะ
ประหยดั เวลาในการทางานไปไดม้ าก

อรุณี อยา่ งธารา และคณะ (2548 : 10-6) กล่าวถึงสมุดรายวนั เฉพาะวา่
สมุดรายวนั เฉพาะ (Special Journals) ใชจ้ ดบนั ทึกรายการคา้ ท่ีเหมือนกนั ในระยะเวลาบญั ชี
น้นั ไวท้ ี่เดียวกนั เช่น การขายสินคา้ เชื่อ การซ้ือสินคา้ เชื่อ และรายการจา่ ยเงิน เป็ นตน้ ในแต่ละเดือน
จะมีรายการเหล่าน้ีเกิดข้ึนมาก ถา้ บนั ทึกรายการเหล่าน้ีลงในสมุดรายวนั ทวั่ ไปจะตอ้ งผา่ นรายการ
ทุกรายการไปยงั สมุดบญั ชีแยกประเภททุกคร้ัง ทาใหส้ ิ้นเปลืองเวลามาก จึงไดก้ าหนดรูปแบบของ
สมุดรายวนั เฉพาะข้ึน เพ่อื ใชบ้ นั ทึกรายการเหมือน ๆ กนั ไวใ้ นที่เดียวกนั แลว้ รวมยอดผา่ นรายการ
ไปยงั สมุดบญั ชีแยกประเภทเพียงคร้ังเดียวในวนั สิ้นเดือน แต่อยา่ งไรก็ตามกิจการก็ยงั จาเป็นตอ้ งมี
สมุดรายวนั ทว่ั ไปอยดู่ ว้ ย เพอื่ ใชบ้ นั ทึกรายการที่ไมส่ ามารถจะบนั ทึกลงในสมุดรายวนั เฉพาะ
เล่มใดได้

สรุป
สมุดรายวนั เฉพาะ เหมาะสมกบั กิจการที่มีขนาดใหญม่ ีรายการคา้ เกิดข้ึนเป็นจานวนมาก

โดยจะนารายการคา้ เหล่าน้นั มาแยกรายการคา้ ที่เหมือนกนั นามาบนั ทึกไวใ้ นสมุดเล่มเดียวกนั เช่น
การขายสินคา้ เป็นเงินเชื่อทุกรายการตอ้ งนามาบนั ทึกในสมุดรายวนั ขาย การซ้ือสินคา้ เป็นเงินเช่ือ
ใหน้ ามาบนั ทึกในสมุดรายวนั ซ้ือ เป็นตน้ การนาสมุดรายวนั เฉพาะมาใชจ้ ะช่วยใหก้ ารบนั ทึกบญั ชี
ทาไดง้ ่าย รวดเร็ว สะดวกสบายข้ึน

161

2. ประเภทของสมุดรายวนั เฉพาะ
สมุดรายวนั เฉพาะท่ีใชก้ นั อยูโ่ ดยทว่ั ไป แบ่งออกเป็ น
2.1 สมุดรายวนั ขายสินคา้ ใชบ้ นั ทึกเฉพาะรายการขายสินคา้ เป็นเงินเช่ือทุกรายการ
2.2 สมุดรายวนั ซ้ือสินคา้ ใชบ้ นั ทึกเฉพาะรายการซ้ือสินคา้ เป็นเงินเชื่อทุกรายการ
2.3 สมุดรายวนั รับเงิน ใชบ้ นั ทึกการรับเงินทุกรายการ
2.4 สมุดรายวนั จา่ ยเงิน ใชบ้ นั ทึกการจ่ายเงินทุกรายการ
2.5 สมุดรายวนั รับคืนสินคา้ และจานวนท่ีลดให้ ใชบ้ นั ทึกเฉพาะรายการรับคืนสินคา้ ท่ี

ขายไปเป็ นเงินเชื่อ
2.6 สมุดรายวนั ส่งคืนสินคา้ และจานวนท่ีไดล้ ด ใชบ้ นั ทึกเฉพาะรายการส่งคืนสินคา้ ที่

ซ้ือมาเป็ นเงินเชื่อ
สมุดรายวนั รับคืนสินคา้ และจานวนท่ีลดให้ และสมุดรายวนั ส่งคืนสินคา้ และจานวนที่ไดล้ ด

น้นั ในบางกิจการที่มีการส่งคืนสินคา้ และรับคืนสินคา้ ท่ีซ้ือมาหรือขายไปเป็นเงินเช่ือไมม่ ากนกั อาจ
ไม่ไดเ้ ปิ ดใชส้ มุดท้งั สองเล่มน้ี แต่จะบนั ทึกรายการส่งคืนสินคา้ และรับคืนสินคา้ ที่ซ้ือมาหรือขายไป
เป็นเงินเช่ือในสมุดรายวนั ทว่ั ไปแทนก็ได้

3. ข้ันตอนการบันทกึ รายการค้าในสมุดรายวนั เฉพาะทเี่ กย่ี วกับการซื้อขายสินค้า
จากประเภทของสมุดรายวนั เฉพาะท้งั 6 เล่มท่ีกล่าวขา้ งตน้ แลว้ น้นั นามาแบ่งออกเป็น สมุด

รายวนั เฉพาะที่เกี่ยวกบั การซ้ือขายสินคา้ และสมุดรายวนั เฉพาะที่เก่ียวกบั การรับจา่ ยเงินสด โดยใน
หวั ขอ้ น้ีจะกล่าวถึงสมุดรายวนั เฉพาะท่ีเกี่ยวกบั การซ้ือขายสินคา้ ซ่ึงประกอบดว้ ย

3.1 สมุดรายวนั ซ้ือสินคา้ (Purchase Journal)
3.2 สมุดรายวนั ส่งคืนสินคา้ และจานวนที่ไดล้ ด (Purchase Return and Allowance Journal)
3.3 สมุดรายวนั ขายสินคา้ (Sales Journal)
3.4 สมุดรายวนั รับคืนสินคา้ และจานวนที่ลดให้ (Sales Return and Allowance Journal)

3.1 สมุดรายวนั ซื้อสินค้า (Purchase Journal) ใชบ้ นั ทึกการซ้ือสินคา้ เป็นเงินเชื่อเทา่ น้นั
การซ้ือสินทรัพยป์ ระจา เช่น อุปกรณ์สานกั งานหรือยานพาหนะจะไมน่ ามาบนั ทึกในสมุดเล่มน้ีและ
การซ้ือสินคา้ ดว้ ยเงินสดจะไมน่ ามาบนั ทึกในสมุดเล่มน้ีเช่นกนั (เชาวลีย์ พงศผ์ าติโรจน์ และ
วรศกั ด์ิ ทุมมานนท.์ 2548 : 360) สาหรับเอกสารหลกั ฐานที่ใชใ้ นการบนั ทึกบญั ชีคือ ใบกากบั
สินคา้ /ใบส่งของ หรือใบกากบั ภาษี อยา่ งใดอยา่ งหน่ึง รูปแบบของสมุดรายวนั ซ้ือสินคา้ เป็นดงั น้ี

162

สมุดรายวนั ซื้อสินค้า (1) หน้า (2)

พ.ศ. เลขที่ เลขที่ เดบิต เครดติ
บัญชี ซื้อสินค้า ภาษซี ื้อ เจ้าหนีก้ ารค้า
เดือน วนั ที่ ใบกากบั ช่ือเจ้าหนี้ เงื่อนไข
สินค้า (10)

(3) (4) (5) (6) (7) (8) (9)

ส่วนประกอบและข้ันตอนการจัดทาสมุดรายวนั ซื้อสินค้า

หมายเลข หมายถงึ

1 ช่ือสมุดบญั ชี

2 หนา้ บญั ชีของสมุดรายวนั ซ้ือ

3 วนั เดือน ปี ท่ีเกิดรายการคา้ ข้ึน

4 เลขท่ีเอกสารที่ใชอ้ า้ งอิง เช่น เลขท่ีใบกากบั สินคา้ , เลขที่ Inv เป็นตน้

5 ช่ือเจา้ หน้ีที่กิจการซ้ือสินคา้ เป็นเงินเชื่อ

6 เง่ือนไขในการซ้ือสินคา้ เช่น กาหนดเวลาในการชาระหน้ี

7 ใชใ้ ส่เคร่ืองหมาย  เมื่อผา่ นรายการน้นั ไปบญั ชีเจา้ หน้ีรายตวั แลว้

8 ใส่จานวนเงินที่เป็นราคาสินคา้ ที่ซ้ือโดยไม่รวมภาษีมูลคา่ เพม่ิ

9 ใส่ยอดภาษีซ้ือซ่ึงไดจ้ าก (ซ้ือสินคา้  7%)

10 ใส่ยอด (ซ้ือสินคา้ + ภาษีซ้ือ) หรือ (ช่องที่ 8 + ช่องท่ี 9)

** เม่ือจดั ทาครบทุกข้นั ที่กล่าวแลว้ ใหร้ วมยอดดา้ นเดบิตและดา้ นเครดิต
ทุกบญั ชีในวนั สิ้นเดือน แลว้ เขียนเลขท่ีบญั ชีไวใ้ ตบ้ รรทดั ยอดรวมของ
แต่ละบญั ชีเพื่อผา่ นรายการไปยงั บญั ชีแยกประเภทท่ีเกี่ยวขอ้ ง

3.2 สมุดรายวนั ส่งคืนสินค้าและจานวนทไี่ ด้ลด (Purchase Return and Allowance
Journal) ใชบ้ นั ทึกการส่งคืนสินคา้ ที่ซ้ือมาเป็นเงินเชื่อ เอกสารที่ใชอ้ า้ งอิงในการบนั ทึกบญั ชี คือ
Debit Memoหรือ Debit Note รูปแบบของสมุดรายวนั ส่งคืนสินคา้ และจานวนท่ีไดล้ ด เป็นดงั น้ี

163

สมุดรายวนั ส่งคืนสินค้าและจานวนทไี่ ด้ลด (1) หน้า (2)

พ.ศ. เลขท่ี ชื่อเจ้าหนี้ เลขท่ี เครดติ เดบติ
เดือน วนั ที่ Dr. Note บัญชี ส่งคืนสินค้า ภาษซี ื้อ เจ้าหนีก้ ารค้า
(3)
(4) (5) (6) (7) (8) ( 9)

ส่วนประกอบและข้ันตอนการจัดทาสมุดรายวนั ส่งคืนสินค้าและจานวนทไ่ี ด้ลด

หมายเลข หมายถึง

1 ใส่ชื่อสมุดบญั ชี

2 หนา้ บญั ชีของสมุดรายวนั ส่งคืนสินคา้

3 ใส่ วนั เดือน ปี ท่ีเกิดรายการคา้ ข้ึน

4 ใส่เลขท่ีเอกสารที่ใชอ้ า้ งอิง เช่น เลขท่ี Dr Note หรือ เลขท่ี Dr Memo.

5 ช่ือเจา้ หน้ี ท่ีกิจการตอ้ งการส่งคืนสินคา้

6 ใชใ้ ส่เคร่ืองหมาย  เม่ือผา่ นรายการน้นั ไปบญั ชีเจา้ หน้ีรายตวั แลว้

7 ใส่จานวนเงินที่เป็นราคาสินคา้ ท่ีส่งคืนโดยไม่รวมภาษีมูลคา่ เพิ่ม

8 ใส่ยอดภาษีซ้ือซ่ึงไดจ้ าก (ยอดส่งคืน  7%)

9 ใส่ยอด (ส่งคืน + ภาษีซ้ือ) หรือ (ช่องที่ 8 + ช่องที่ 9)

** เม่ือจดั ทาครบทุกข้นั ที่กล่าวแลว้ ใหร้ วมยอดดา้ นเดบิตและดา้ นเครดิต
ทุกบญั ชีในวนั สิ้นเดือน แลว้ เขียนเลขท่ีบญั ชีไวใ้ ตบ้ รรทดั ยอดรวมของ
แต่ละบญั ชีเพื่อผา่ นรายการไปยงั บญั ชีแยกประเภททว่ั ไปท่ีเก่ียวขอ้ ง

เม่ือบนั ทึกรายการในสมุดรายวนั ซ้ือสินคา้ และสมุดรายวนั ส่งคืนสินคา้ และจานวนท่ีไดล้ ด
แลว้ จะตอ้ งผา่ นรายการไปยงั

- บญั ชีแยกประเภทเจา้ หน้ีรายตวั
- จดั ทางบรายละเอียดเจา้ หน้ี
- บญั ชีแยกประเภททว่ั ไปเพ่ือจดั ทาบญั ชีคุมยอดเจา้ หน้ี

บญั ชีแยกประเภทเจ้าหนีร้ ายตวั เป็นบญั ชีแยกประเภทยอ่ ยที่แสดงใหเ้ ห็นวา่ มีเจา้ หน้ีจาก
การซ้ือสินคา้ เป็ นเงินเชื่อของกิจการจานวนกี่ราย แต่ละรายมีรายละเอียดการเป็นหน้ี การจ่ายชาระหน้ี
และยอดหน้ีที่ยงั คา้ งอยเู่ ป็ นจานวนเท่าใด รูปแบบของแยกประเภทเจา้ หน้ีรายตวั เป็นดงั น้ี

164

ช่ือเจ้าหนี.้ .....(1)...... รายการ หน้า เดบิต เครดติ ยอดคงเหลือ
(3)
พ.ศ. บัญชี บาท ส.ต. บาท ส.ต. บาท ส.ต.
เดือน วนั ท่ี
(4) (5) (6) (7)
(2)

ส่วนประกอบและข้ันตอนการจัดทาเจ้าหนีร้ ายตัว

หมายเลข หมายถงึ

1 ชื่อเจา้ หน้ีการคา้

2 วนั เดือน ปี ที่มีการซ้ือสินคา้ เป็นเงินเชื่อ หรือ ส่งคืนสินคา้ ฯ

3 คาอธิบายรายการ เช่น ซ้ือสินคา้ ตาม Inv #... หรือ ส่งคืนสินคา้ ตาม Dr note #

4 อา้ งอิงแหล่งที่มาของขอ้ มูล เช่น ซ.1 คือ มาจาก สมุดรายวนั ซ้ือสินคา้ หนา้ 1

สค.1 คือ มาจากสมุดรายวนั ส่งคืน หนา้ 1 เป็นตน้

5 ใส่ยอดเงินท่ีทาใหย้ อดเจา้ หน้ีลดลง เช่น การชาระหน้ีใหเ้ จา้ หน้ี, ส่งคืนสินคา้

และจานวนท่ีไดล้ ด, ส่วนลดรับที่เจา้ หน้ีลดให้

6 ใส่ยอดท่ีทาใหเ้ จา้ หน้ีเพม่ิ ข้ึน เช่นซ้ือสินคา้ เป็ นเงินเช่ือเพมิ่ ข้ึน

7 มาจากผลตา่ งของยอดเจา้ หน้ี หกั ดว้ ยรายการที่ทาใหเ้ จา้ หน้ีลดลง หรือ

เป็นผลต่างระหวา่ งช่องท่ี 6 - ช่องที่ 5

** ยอดคงเหลือในบรรทดั สุดทา้ ยของเจา้ หน้ีแต่ละรายในวนั สิ้นเดือนจะนาไป
แสดงในงบรายละเอียดเจา้ หน้ี

งบรายละเอยี ดเจ้าหนีก้ ารค้า เป็นรายงานท่ีแสดงถึงรายละเอียดของเจา้ หน้ีการคา้ ที่กิจการ
ยงั คา้ งชาระอยู่ ณ วนั สิ้นเดือน โดยจะแสดงให้เห็นวา่ กิจการยงั มีเจา้ หน้ีการคา้ อีกกี่ราย แต่ละราย
ยงั คา้ งชาระอีกเป็นจานวนเท่าใด แลว้ รวมยอดเป็นยอดเจา้ หน้ีการคา้ ของกิจการท้งั สิ้น ซ่ึงยอดเงินน้ี
จะตอ้ งมียอดเทา่ กบั ผลตา่ งในบญั ชีแยกประเภทเจา้ หน้ี (บญั ชีคุมยอดเจา้ หน้ี) ท่ีจะนาไปแสดงเป็น
หน้ีสินในงบดุลของกิจการต่อไป รูปแบบของงบรายละเอียดเจา้ หน้ีการคา้ เป็ นดงั น้ี

165

ช่ือ กจิ การ
รายละเอยี ดเจ้าหนีก้ ารค้า
ณ วนั ท่ี

ช่ือเจา้ หน้ี xx บาท
ชื่อเจา้ หน้ี xx บาท
ชื่อเจา้ หน้ี xx บาท

รวม xx บาท

สมุดแยกประเภททว่ั ไป ใชบ้ นั ทึกกรายการท่ีผา่ น (Post) มาจากสมุดรายวนั ซ้ือ และ
สมุดรายวนั ส่งคืนสินคา้ และจานวนท่ีไดล้ ด ซ่ึงประกอบดว้ ย บญั ชีซ้ือสินคา้ ภาษีซ้ือ เจา้ หน้ีการคา้
และ ส่งคืนสินคา้ ซ่ึงในสมุดรายวนั เฉพาะท้งั สองเล่มท่ีกล่าวน้ีไดร้ วมยอดไวแ้ ลว้ ในวนั สิ้นเดือน ให้
นายอดรวมน้นั ผา่ นมาบญั ชีแยกประเภทที่เก่ียวขอ้ ง หลกั ในการผา่ นบญั ชีก็คลา้ ยกบั การบญั ชี 1 ที่ได้
ศึกษามาแลว้ ต่างกนั ตรงการอา้ งอิงชื่อบญั ชีแทนที่จะอา้ งบญั ชีตรงกนั ขา้ ม ก็ใหอ้ า้ งชื่อสมุดรายวนั
เฉพาะเล่มน้นั ๆ แทน เม่ือผา่ นรายการจากสมุดรายวนั ซ้ือและสมุดรายวนั ส่งคืนสินคา้ ฯเรียบร้อยแลว้
ผลตา่ งของบญั ชีแยกประเภทเจา้ หน้ี ณ วนั สิ้นเดือน จะตอ้ งเท่ากบั ยอดรวมในงบรายละเอียดเจา้ หน้ี

ตัวอย่างที่ 1 ต่อไปน้ีเป็นรายการซ้ือสินคา้ เป็นเงินเช่ือของร้าน สุระนนั ท์ การคา้ ในระหวา่ งเดือน
มิถุนายน 2550 กาหนดให้ Dr Note เริ่มตน้ ท่ีเลขท่ี 111
มิ.ย. 1 ซ้ือสินคา้ เป็นเงินเช่ือจากร้านน้าทิพย์ 8,000 บาท ภาษีมูลคา่ เพม่ิ 7% Invoice # 123

3 ซ้ือสินคา้ เป็นเงินเช่ือจากร้านน้าใจ 10,000 บาท ภาษีมูลคา่ เพม่ิ 7% ไดส้ ่วนลดการคา้ 2%
Invoice # 158

5 ส่งคืนสินคา้ ใหร้ ้านน้าทิพย์ 200 บาท เน่ืองจากไม่ตรงตามที่ส่ัง
10 ซ้ือสินคา้ เป็นเงินเชื่อจากร้านน้าทิพย์ 5,000 บาท ภาษีมูลคา่ เพ่ิม 7% Invoice # 131
14 ซ้ือสินคา้ เป็นเงินเช่ือจากร้านน้าหวาน 12,000 บาท ไดล้ ด 5% ภาษีมูลคา่ เพิม่ 7%

Invoice # 344 เง่ือนไข 2/10, n/45
16 ส่งคืนสินคา้ ใหร้ ้านน้าหวาน 500 บาท (เป็นราคาหลงั หกั ส่วนลดแลว้ )
22 ซ้ือสินคา้ จากร้านน้าใจ 4,500 บาท ภาษีมูลค่าเพมิ่ 7% เงื่อนไข 3/1, n/30 Invoice # 164
ให้ทา 1. บนั ทึกรายการขา้ งตน้ ในสมุดรายวนั ซ้ือสินคา้

2. บนั ทึกรายการขา้ งตน้ ในสมุดรายวนั ส่งคืนสินคา้ ฯ
3. ผา่ นรายการไปยงั บญั ชีแยกประเภทเจา้ หน้ีรายตวั

166

4. ผา่ นรายการไปยงั บญั ชีแยกประเภททว่ั ไปท่ีเก่ียวขอ้ ง
5. ทางบรายละเอียดเจา้ หน้ีการคา้

1. บนั ทกึ รายการข้างต้นในสมุดรายวนั ซื้อสินค้า

สมุดรายวนั ซื้อสินค้า หน้า 1

พ.ศ. 2550 เลขท่ี ช่ือเจ้าหนี้ เง่ือนไข เลขที่ เดบิต เครดติ
ใบสาคญั บญั ชี เจ้าหนีก้ ารค้า
เดือน วนั ท่ี ร้านน้าทิพย์ ซื้อสินค้า ภาษซี ื้อ
123 ร้านน้าใจ 8,560 -
มิ.ย. 1 158 ร้านน้าทิพย์ 2/15, n/30  8,000 - 560 - 10,486 -
3 131 ร้านน้าหวาน -  9,800 - 686 - 5,350 -
10 344 ร้านน้าใจ -  5,000 - 350 - 12,198 -
14 164  11,400 - 798 - 4,815 -
22 2/10, n/45  4,500 - 315 - 41,409 -
3/10, n/30
(201)
38,700 - 2,709 -

(501) (104)

2. บนั ทกึ รายการข้างต้นในสมุดรายวนั ส่งคืนสินค้าและจานวนทไ่ี ด้ลด

สมุดรายวนั ส่งคืนสินค้าและจานวนทไี่ ด้ลด หน้า 1

พ.ศ. 2550 เลขท่ี ช่ือเจา้ หน้ี เลขที่ เครดิต เดบิต
เดือน วนั ที่ Dr. Note บญั ชี ส่งคืนสินคา้ ภาษีซ้ือ เจา้ หน้ีการคา้
มิ.ย. 5
111 ร้านน้าทิพย์  200 - 14 - 214 -
16 112 ร้านน้าหวาน 535 -
 500 - 35 - 749 -

700 - 49 - (201)

(502) (104)

3. ผ่านรายการไปยงั บัญชีแยกประเภทเจ้าหนีร้ ายตัว

ร้าน นา้ ทพิ ย์

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เดบติ เครดติ ยอดคงเหลือ
เดือน วนั ที่ บญั ชี บาท ส.ต. บาท สต
บาท ส.ต.
มิ.ย. 1 ซ้ือสินคา้ ตามใบ Inv # 123 ซ.1 8,560 - 8,560 -
5 ส่งคืนตาม Dr Note # 111 สค.1 214 - 8,346 -
10 ซ้ือสินคา้ ตามใบ Inv # 131 ซ.1 5,350 - 13,696 -

167

ร้าน นา้ ใจ

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เดบติ เครดติ ยอดคงเหลือ
เดือน วนั ที่
บัญชี บาท ส.ต. บาท ส.ต. บาท ส.ต.

มิ.ย. 3 ซ้ือสินคา้ ตามใบ Inv # 158 ซ.1 10,486 - 10,486 -

22 ซ้ือสินคา้ ตามใบ Inv # 164 ซ.1 4,815 - 15,301 -

ร้าน นา้ หวาน

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เดบติ เครดติ ยอดคงเหลือ
เดือน วนั ที่
บญั ชี บาท ส.ต. บาท ส.ต. บาท ส.ต.

มิ.ย. 14 ซ้ือสินคา้ ตามใบ Inv # 344 ซ.1 12,198 - 12,198 -
16 ส่งคืนตาม Dr Note # 112
สค.1 535 - 11,663 -

4. ผ่านรายการไปยงั บัญชีแยกประเภททวั่ ไปทเี่ กีย่ วข้อง

พ.ศ. 2550 รายการ ซื้อสินค้า รายการ เลขท่ี 501
เดือน วนั ท่ี
หน้า เดบติ พ.ศ. 2550 หน้า เครดติ
บญั ชี บาท ส.ต. เดือน วนั ท่ี บญั ชี บาท ส.ต.
ซ.1 38,700 -
มิ.ย. 30 สมุดรายวนั ซ้ือ

ส่งคืนสินค้า เลขท่ี 503

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เดบิต พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เครดติ
เดือน วนั ท่ี บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่ บัญชี บาท ส.ต.

มิ.ย. 30 สมดุ รายวนั ส่งคืน สค.1 700 -

ภาษีซื้อ เลขท่ี 104

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เดบติ พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เครดติ
เดือน วนั ท่ี บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ท่ี บญั ชี บาท ส.ต.

มิ.ย. 30 สมดุ รายวนั ซ้ือ ซ.1 2,709 - มิ.ย. 30 สมดุ รายวนั ส่งคืน สค.1 49 -

168

เจ้าหนกี้ ารค้า เลขท่ี 201

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เดบติ พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เครดติ
เดือน วนั ที่ บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ท่ี บัญชี บาท ส.ต.
ซ.1 41,409 -
มิ.ย. 30 สมดุ รายวนั ส่งคืนฯ สค.1 749 - มิ.ย. 30 สมดุ รายวนั ซ้ือ

5. ทางบรายละเอียดเจ้าหนีก้ ารค้า

ร้าน สุระนันท์ การค้า
รายละเอยี ดเจ้าหนีก้ ารค้า
ณ วนั ที่ 30 มิถุนายน 2550

ร้านน้าทิพย์ 13,696 บาท
ร้านน้าใจ 15,301 บาท
ร้านน้าหวาน 11,663 บาท

รวม 40,660 บาท

3.3 สมุดรายวนั ขายสินค้า (Sales Journal) ใชส้ าหรับบนั ทึกรายการขายสินคา้ เป็นเงินเชื่อ
ไมใ่ ชบ้ นั ทึกการขายสินทรัพยแ์ ละการขายสินคา้ เป็นเงินสด การกาหนดช่องต่าง ๆ จะคลา้ ยกบั
สมุดรายวนั ซ้ือสินคา้ เพียงแตเ่ ปลี่ยนเป็ นดา้ นขายสินคา้ (ผกาพรรณ พรหมสาขา ณ สกลนคร, 2549 :
8-248) ซ่ึงใชก้ บั กิจการท่ีมีรายการขายสินคา้ เป็นเงินเชื่อหลาย ๆ คร้ัง จะเป็นการรวบรวมการขาย
สินคา้ เป็นเงินเช่ือมาอยใู่ นที่เดียวกนั เอกสารท่ีใชอ้ า้ งอิงจะใชใ้ บกากบั สินคา้ เพราะการขายสินคา้
เป็นเงินเช่ือลูกคา้ ไดล้ งนามรับสินคา้ ในเอกสารใบน้ี จึงใชใ้ บกากบั สินคา้ น้ีเป็นหลกั ฐานอา้ งอิงใน
การบนั ทึกรายการในสมุดบญั ชี รูปแบบของสมุดรายวนั ขายสินคา้ เป็นดงั น้ี

สมุดรายวนั ขายสินค้า (1) หน้า (2)

พ.ศ. เลขท่ี ชื่อลกู หน้ี เงื่อนไข เลขที่ เครดิต เดบิต
เดือน วนั ท่ี ใบสาคญั บญั ชี ขายสินคา้ ภาษีขาย ลูกหน้ีการคา้
(3) (4)
(5) (6) (7) (8) (9) (10)

169

ส่วนประกอบและข้ันตอนการจัดทาสมุดรายวนั ขายสินค้า

หมายเลข หมายถงึ

1 ชื่อสมุดบญั ชี

2 หนา้ บญั ชีของสมุดรายวนั ขายสินคา้

3 วนั เดือน ปี ที่เกิดรายการคา้ ข้ึน

4 เลขท่ีเอกสารที่ใชอ้ า้ งอิง เช่น เลขที่ใบกากบั สินคา้ , เลขที่ INV เป็นตน้

5 ชื่อลูกหน้ีที่กิจการขายสินคา้ ใหเ้ ป็นเงินเชื่อ

6 เงื่อนไขในการขายสินคา้ เช่น กาหนดเวลาในการชาระหน้ี

7 ใชใ้ ส่เคร่ืองหมาย  เมื่อผา่ นรายการน้นั ไปบญั ชีลูกหน้ีรายตวั แลว้

8 ใส่จานวนเงินที่เป็นราคาสินคา้ ท่ีขายโดยไมร่ วมภาษีมูลค่าเพ่ิม

9 ใส่ยอดภาษีขายซ่ึงไดจ้ าก (ขายสินคา้  7%)

10 ใส่ยอด (ขายสินคา้ + ภาษีขาย) หรือ (ช่องท่ี 8 + ช่องท่ี 9)

** เมื่อจดั ทาครบทุกข้นั ที่กล่าวแลว้ ใหร้ วมยอดดา้ นเดบิตและดา้ นเครดิต
ทุกบญั ชีในวนั สิ้นเดือน แลว้ เขียนเลขท่ีบญั ชีไวใ้ ตบ้ รรทดั ยอดรวมของ
แตล่ ะบญั ชีเพ่ือผา่ นรายการไปยงั บญั ชีแยกประเภทท่ีเก่ียวขอ้ ง

3.4 สมุดรายวนั รับคืนสินค้าและจานวนทล่ี ดให้ (Sales Returns and Allowance Journal)
ใชบ้ นั ทึกการรับคืนสินคา้ ท่ีขายไปเป็นเงินเชื่อ อาจมีขอ้ ตกลงกนั ระหวา่ งผซู้ ้ือกบั ผขู้ ายวา่ หาก
ปรากฏวา่ สินคา้ ท่ีลูกคา้ ไดร้ ับน้นั ชารุดระหวา่ งขนส่ง สี หรือคุณภาพ ขนาด ไม่ตรงตามท่ีลูกคา้ สงั่
ซ่ึงความเสียหายน้นั ไม่มากนกั ผซู้ ้ืออาจยนิ ยอมรับสินคา้ น้นั ไวโ้ ดยผขู้ ายยอมลดราคาใหแ้ ทนการรับ
คืนสินคา้ น้นั เอกสารท่ีใชอ้ า้ งอิงในการบนั ทึกบญั ชี คือ Credit Memo หรือ Credit Note รูปแบบ
ของสมุดรายวนั รับคืนสินคา้ ฯ เป็นดงั น้ี

สมุดรายวนั รับคืนสินค้าและจานวนทล่ี ดให้ (1) หน้า (2)

พ.ศ. เลขที่ ชื่อลูกหน้ี เลขที่ เดบิต เครดิต
เดือน วนั ที่ Cr. Note บญั ชี รับคืนสินคา้ ภาษีขาย ลูกหน้ีการคา้
(3) (4)
(5) (6) (7) (8) ( 9)

170

ส่วนประกอบและข้ันตอนการจัดทาสมุดรายวนั รับคืนสินค้าและจานวนทลี่ ดให้

หมายเลข หมายถงึ

1 ใส่ช่ือสมุดบญั ชี

2 หนา้ บญั ชีของสมุดรายวนั รับคืนสินคา้

3 ใส่ วนั เดือน ปี ท่ีเกิดรายการคา้ ข้ึน

4 ใส่เลขท่ีเอกสารท่ีใชอ้ า้ งอิง เช่น เลขท่ี Cr Note หรือ เลขท่ี Cr Memo.

5 ชื่อลูกหน้ี ที่กิจการรับคืนสินคา้ มา

6 ใชใ้ ส่เครื่องหมาย  เม่ือผา่ นรายการน้นั ไปบญั ชีลูกหน้ีรายตวั แลว้

7 ใส่จานวนเงินท่ีเป็นราคาสินคา้ ที่รับคืนโดยไมร่ วมภาษีมูลคา่ เพม่ิ

8 ใส่ยอดภาษีขายซ่ึงไดจ้ าก (ยอดรับคืน  7%)

9 ใส่ยอด (รับคืน + ภาษีขาย) หรือ ช่องที่ 8 + ช่องท่ี 9

** เมื่อจดั ทาครบทุกข้นั ท่ีกล่าวแลว้ ใหร้ วมยอดดา้ นเดบิตและดา้ นเครดิต
ทุกบญั ชีในวนั สิ้นเดือน แลว้ เขียนเลขที่บญั ชีไวใ้ ตบ้ รรทดั ยอดรวมของ
แต่ละบญั ชีเพื่อผา่ นรายการไปยงั บญั ชีแยกประเภทที่เกี่ยวขอ้ ง

เมื่อบนั ทึกรายการในสมุดรายวนั ขายสินคา้ และสมุดรายวนั รับคืนสินคา้ ฯ แลว้ จะตอ้ งผา่ น
รายการไปยงั

- บญั ชีแยกประเภทลูกหน้ีรายตวั
- จดั ทางบรายละเอียดลูกหน้ี
- บญั ชีแยกประเภททวั่ ไปเพื่อจดั ทาบญั ชีคุมยอดลูกหน้ี
บัญชีแยกประเภทลกู หนี้รายตวั เป็นบญั ชีแยกประเภทยอ่ ยท่ีแสดงวา่ มีลูกหน้ีจากการขาย
สินคา้ ของกิจการจานวนกี่ราย แต่ละรายมีรายละเอียดการเป็นหน้ี การรับชาระหน้ี และยอดหน้ีท่ียงั
คา้ งอยเู่ ป็นจานวนเทา่ ใด รูปแบบของแยกประเภทลูกหน้ีรายตวั เป็นดงั น้ี

ชื่อลูกหนี.้ .....(1)...... รายการ หน้า เดบติ เครดติ ยอดคงเหลือ
(3)
พ.ศ. บญั ชี บาท ส.ต. บาท ส.ต. บาท ส.ต.
เดือน วนั ท่ี
(4) (5) (6) (7)
(2)

171

ส่วนประกอบและข้ันตอนการจัดทาลกู หนีร้ ายตัว

หมายเลข หมายถึง

1 ชื่อลูกหน้ีการคา้

2 วนั เดือน ปี ท่ีมีการ ขายสินคา้ เป็นเงินเชื่อ หรือ รับคืนสินคา้ ฯ

3 คาอธิบายรายการ เช่น ขายสินคา้ ตาม Inv.#... หรือ รับคืนสินคา้ ตาม Dr note #

4 อา้ งอิงแหล่งท่ีมาของขอ้ มูล เช่น ข.1 คือ มาจาก สมุดรายวนั ขายสินคา้ หนา้ 1รค.

1 คือ มาจากสมุดรายวนั รับคืนสินคา้ ฯ หนา้ 1 เป็นตน้

5 ใส่ยอดเงินที่ทาใหย้ อดลูกหน้ีเพ่มิ ข้ึน เช่น การขายสินคา้ เป็ นเงินเชื่อ

6 ใส่ยอดท่ีทาใหล้ ูกหน้ีลดลง เช่น การรับชาระหน้ีจากลูกหน้ี, การรับคืนสินคา้ และ

จานวนท่ีลดให้, ส่วนลดจา่ ยท่ีลดใหล้ ูกหน้ี

7 มาจากผลตา่ งของยอดลูกหน้ี หกั ดว้ ยรายการที่ทาใหล้ ูกหน้ีลดลง หรือ เป็น

ผลต่างระหวา่ งช่องท่ี 5 - ช่องที่ 6

** ยอดคงเหลือในบรรทดั สุดทา้ ยของลูกหน้ีแต่ละรายในวนั สิ้นเดือนจะนาไป
แสดงในงบรายละเอียดลูกหน้ี

งบรายละเอยี ดลูกหนีก้ ารค้า เป็นรายงานท่ีแสดงถึงรายละเอียดของลูกหน้ีการคา้ ท่ียงั คา้ ง
ชาระกิจการอยู่ ณ วนั สิ้นเดือน โดยจะแสดงให้เห็นวา่ กิจการยงั มีลูกหน้ีการคา้ อีกกี่รายแตล่ ะราย
ยงั คา้ งชาระอีกเป็นจานวนเท่าใด แลว้ รวมยอดเป็นยอดลูกหน้ีการคา้ ของกิจการท้งั สิ้นซ่ึงยอดเงินน้ี
จะตอ้ งมียอดเทา่ กบั ผลต่างในบญั ชีแยกประเภทลูกหน้ี (บญั ชีคุมยอดลูกหน้ี) ท่ีจะนาไปแสดงเป็น
สินทรัพยใ์ นงบดุลของกิจการต่อไป รูปแบบของงบรายละเอียดลูกหน้ีการคา้ เป็นดงั น้ี

ชื่อ กจิ การ

รายละเอยี ดลูกหนีก้ ารค้า

ณ วนั ท่ี เดือน พ.ศ. .

ช่ือลูกหน้ี xx บาท
ช่ือลูกหน้ี xx บาท
ช่ือลูกหน้ี xx บาท
xx บาท
รวม

172

สมุดแยกประเภททว่ั ไป ใชบ้ นั ทึกกรายการท่ีผา่ น (Post) มาจาก สมุดรายวนั ขายสินคา้ และ
สมุดรายวนั รับคืนสินคา้ ฯ ซ่ึงประกอบดว้ ยบญั ชี ขายสินคา้ ภาษีขาย ลูกหน้ีการคา้ และรับคืนสินคา้ ซ่ึง
ในสมุดรายวนั เฉพาะท้งั สองเล่มที่กล่าวน้ีไดร้ วมยอดไวแ้ ลว้ ในวนั สิ้นเดือนใหน้ ายอดรวมน้นั ผา่ นมา
บญั ชีแยกประเภทท่ีเก่ียวขอ้ งหลกั ในการผา่ นบญั ชีกค็ ลา้ ยกบั การบญั ชี1 ที่ไดศ้ ึกษามาแลว้ ต่างกนั ตรง
การอา้ งอิงชื่อบญั ชีแทนที่จะอา้ งบญั ชีตรงกนั ขา้ ม ก็ให้อา้ งช่ือสมุดรายวนั เฉพาะเล่มน้นั ๆ แทนเม่ือ
ผา่ นรายการจากสมุดรายวนั ขายสินคา้ และสมุดรายวนั รับคืนสินคา้ ฯ เรียบร้อยแลว้ ผลต่างของบญั ชี
แยกประเภทลูกหน้ี ณ วนั สิ้นเดือน จะตอ้ งเท่ากบั ยอดรวมในงบรายละเอียดลูกหน้ี

ตัวอย่างที่ 2 ตอ่ ไปน้ีเป็นรายการขายสินคา้ เป็นเงินเชื่อของร้าน สุวรรณ การคา้ ระหวา่ งเดือน
สิงหาคม 2549 โดยใหใ้ บกากบั สินคา้ (Invoice #) เร่ิมตน้ ที่เลขท่ี 8-01 Cr Note เร่ิมตน้ เลขที่ 14
ส.ค. 1 ขายสินคา้ เป็นเงินเช่ือให้ร้านสุวทิ ย์ 8,000 บาท ภาษีมูลค่าเพม่ิ 7% เง่ือนไข 2/10, n/45

4 ขายสินคา้ เป็นเงินเช่ือใหร้ ้านสุธี 12,000 บาท ส่วนลดการคา้ 5% ภาษีมูลค่าเพม่ิ 7%
7 รับคืนสินคา้ จากร้าน สุธี 500 บาทเป็นราคาท่ีหกั ส่วนลดแลว้ ภาษีมูลคา่ เพิ่ม 7%
18 ขายสินคา้ เป็นเงินเช่ือใหร้ ้านสุธรรม 7,500 บาท ภาษีมูลคา่ เพ่ิม 7% เงื่อนไข 3/15, n/30
21 รับคืนสินคา้ จากร้านสุธรรม 400 บาท ภาษีมูลค่าเพ่ิม 7%
27 ขายสินคา้ เป็นเงินเชื่อใหร้ ้านสุวทิ ย์ 4,800 บาท ภาษีมูลคา่ เพมิ่ 7% เง่ือนไข 1/10, n/30
30 ขายสินคา้ เป็นเงินเชื่อใหร้ ้านสุธี 3,200 บาท ภาษีมูลค่าเพมิ่ 7%
31 รับคืนสินคา้ จากร้านสุวทิ ย์ 300 บาท พร้อมภาษี
ให้ทา 1. บนั ทึกรายการขา้ งตน้ ในสมุดรายวนั ขายสินคา้
2. บนั ทึกรายการรับคืนสินคา้ ในสมุดรายวนั รับคืนสินคา้
3. ผา่ นรายการไปยงั บญั ชียอ่ ยลูกหน้ีรายตวั
4. ผา่ นรายการไปยงั บญั ชีแยกประเภททวั่ ไปที่เก่ียวขอ้ ง
5. จดั ทางบรายละเอียดลูกหน้ี

173

1. บนั ทกึ รายการข้างต้นในสมุดรายวนั ขายสินค้า

สมุดรายวนั ขายสินค้า หน้า 1

พ.ศ. 2549 เลขที่ ช่ือลูกหนี้ เง่ือนไข เลขท่ี เครดติ เดบิต
ใบสาคญั บญั ชี ขายสินค้า ภาษีขาย ลูกหนกี้ ารค้า
เดือน วนั ท่ี ร้านสุวทิ ย์
8-01 ร้านสุธี 2/10, n/45  8,000 - 560 - 8,560 -
ส.ค. 1 8-02 ร้านสุธรรม -  11,400 - 798 - 12,198 -
4 8-03 ร้านสุวทิ ย์  7,500 - 525 - 8,025 -
18 8-04 ร้านสุธี 3/15, n/30  4,800 - 336 - 5,136 -
27 8-05 1/10, n/30  3,200 - 224 - 3,424 -
30 37,343 -
- 34,900 - 2,443 -
(103)
(401) (203)

2. บันทกึ รายการข้างต้นในสมุดรายวนั รับคืนสินค้าฯ

สมุดรายวนั รับคืนสินค้าและจานวนทล่ี ดให้ หน้า 1

พ.ศ. 2549 เลขท่ี ชื่อลูกหนี้ เลขที่ เดบติ เครดติ
Cr. Note บัญชี รับคืนสินค้า ภาษขี าย ลูกหนีก้ ารค้า
เดือน วนั ที่
ส.ค. 7 14 ร้านสุธี  500 - 35 - 535 -
15 ร้านสุธรรม  400 - 28 - 428 -
21 16 ร้านสุวทิ ย์  300 - 21 - 321 -
31 1,284 -
1,200 - 84 -
(103)
(402) (203)

3. ผ่านรายการไปยงั บัญชีแยกประเภทลกู หนีร้ ายตวั

ร้าน สุวทิ ย์

พ.ศ. 2549 รายการ หน้า เดบติ เครดติ ยอดคงเหลือ
เดือน วนั ท่ี บัญชี
บาท ส.ต. บาท ส.ต. บาท ส.ต.
ส.ค. 1 ขายสินคา้ ตามใบ Inv # 8-01 ข.1 8,560 - 8,560 -
27 ขายสินคา้ ตามใบ Inv # 8-04 ข.1 5,136 - 13,696 -
31 รับคืนสินคา้ ตาม Cr Note # 16 รค.1
321 - 13,375 -

174

ร้าน สุธี

พ.ศ. 2549 รายการ หน้า เดบติ เครดติ ยอดคงเหลือ
เดือน วนั ที่ บัญชี บาท ส.ต.
12,198 - บาท ส.ต. บาท ส.ต.
ส.ค. 4 ขายสินคา้ ตามใบ Inv # 8-02 ข.1 12,198 -
รค.1 3,424 -
7 รับคืนสินคา้ ตาม Cr Note # 14 ข.1 535 - 11,663 -
15,087 -
30 ขายสินคา้ ตามใบ Inv # 8-05

ร้าน สุธรรม

พ.ศ. 2549 รายการ หน้า เดบติ เครดติ ยอดคงเหลือ
เดือน วนั ท่ี
บัญชี บาท สต บาท สต บาท สต

ส.ค. 18 ขายสินคา้ ตามใบ Inv # 8-03 ข.1 8,025 - 8,025 -
21 รับคืนสินคา้ ตาม Cr Note # 15 รค.1 428 - 7,597 -

4. ผ่านรายการไปยงั บัญชีแยกประเภททว่ั ไปทเี่ กย่ี วข้อง

ขายสินค้า เลขท่ี 401

พ.ศ. 2549 รายการ หน้า เดบิต พ.ศ. 2549 รายการ หน้า เครดติ
เดือน วนั ท่ี บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่ บัญชี บาท ส.ต.
ข.1 34,900 -
ส.ค. 31 สมุดรายวนั ขาย

พ.ศ. 2549 รายการ หน้า รับคืนสินค้า รายการ เลขที่ 402
เดือน วนั ที่ บญั ชี
เดบิต พ.ศ. 2549 หน้า เครดติ
บาท ส.ต. เดือน วนั ที่ บญั ชี บาท ส.ต.
1,200 -
ส.ค. 31 สมดุ รายวนั รับคืน รค.1

ภาษีขาย เลขท่ี 203

พ.ศ. 2549 รายการ หน้า เดบิต พ.ศ. 2549 รายการ หน้า เครดติ
เดือน วนั ที่ บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่ บัญชี บาท ส.ต.
ข.1 2,443 -
ส.ค. 31 สมดุ รายวนั ส่งคืน รค.1 84 - ส.ค. 31 สมดุ รายวนั ขาย

175

ลูกหนีก้ ารค้า เลขที่ 103

พ.ศ. 2549 รายการ หน้า เดบติ พ.ศ. 2549 รายการ หน้า เครดติ
เดือน วนั ท่ี บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ท่ี บัญชี บาท ส.ต.

ส.ค. 31 สมุดรายวนั ขาย ข.1 37,343 - ส.ค. 31 สมุดรายวนั รับคืน รค.1 1,284 -

5. ทางบรายละเอยี ดลูกหนีก้ ารค้า

ร้าน สุวรรณ การค้า
รายละเอยี ดลูกหนีก้ ารค้า
ณ วนั ที่ 31 สิงหาคม 2549

ร้านสุวทิ ย์ 13,375 บาท

ร้านสุธี 15,087 บาท

ร้านสุธรรม 7,597 บาท

รวม 36,059 บาท

4. ข้นั ตอนการบันทกึ รายการค้าในสมุดรายวนั เฉพาะทเ่ี กย่ี วกับการรับจ่ายเงินสด ประกอบดว้ ย

4.1 สมุดเงินสด (Cash Book) เป็ นสมุดรายการข้นั ตน้ และข้นั ปลายอยใู่ นเล่มเดียวกนั ใช้

บนั ทึกการเพม่ิ ข้ึนหรือลดลงของเงินสดและเงินฝากธนาคาร บนั ทึกการรับ การจา่ ยเงินสดไว้

ในเล่มเดียวกนั และผา่ นรายการไปยงั บญั ชีแยกประเภทที่เกี่ยวขอ้ งทนั ทีท่ีเกิดรายการคา้ ข้ึน

สมุดเงินสดจึงเหมาะกบั กิจการคา้ ขนาดเลก็ มีจานวนรายการคา้ ไม่มากนกั จดั แบง่ ไดห้ ลายประเภท

แตท่ ่ีจะกล่าวถึงคือ สมุดเงินสด 2 ช่อง และ สมุดเงินสด 3 ช่อง

4.1.1 สมุดเงนิ สด 2 ช่อง ใชส้ าหรับกิจการขนาดเลก็ มีรายการเก่ียวกบั เงินสดไมม่ าก

นกั จึงไมจ่ าเป็นตอ้ งแยกสมุดรายวนั รับเงินและสมุดรายวนั จ่ายเงินออกจากกนั โดยสมุดเงินสด 2

ช่องจะทาหนา้ ท่ีเป็นท้งั สมุดบนั ทึกรายการข้นั ตน้ และบญั ชีแยกประเภททว่ั ไป (ผกาพรรณ พรหม

สาขา ณ สกลนคร. 2549 : 8-261) ไดใ้ นตวั ส่วนใหญ่เจา้ ของกิจการมกั จะเป็ นผจู้ ดบนั ทึกรายการใน

สมุดเงินสดเอง สมุดเล่มน้ีใชบ้ นั ทึกการเพ่มิ ข้ึนและลดลงของ เงินสด และเงินฝากธนาคารของ

กิจการ โดยแบง่ สมุดออกเป็ น 2 ดา้ น คือ ดา้ นซา้ ยมือ (ดา้ นเดบิต) ใชบ้ นั ทึกการเพิ่มข้ึนของเงินสด

และเงินฝากธนาคาร ส่วนดา้ นขวามือ (ดา้ นเครดิต) ใชบ้ นั ทึกการลดลงของเงินสดและเงินฝาก

ธนาคาร กิจการสามารถสามารถทราบยอดคงเหลือของเงินสดและเงินฝากธนาคารของกิจการได้

จากการหาผลต่างในสมุดเงินสดโดยการนายอดเงินสดยกมา บวกดว้ ยดา้ นรับเงินท้งั หมด หกั ดว้ ย

ยอดดา้ นจ่ายท้งั หมดก็จะไดย้ อดคงเหลือ ณ วนั น้นั

176

รูปแบบของสมุดเงนิ สด 2 ช่องเป็ นดังนี้

สมุดเงนิ สด 2 ช่อง (1) หน้า (2)

พ.ศ. เลขท่ี ชื่อบญั ชีที่ Cr เลขที่ เงนิ สด ธนาคาร พ.ศ. เลขท่ี ช่ือบญั ชีที่ Dr เลขที่ เงนิ สด ธนาคาร
เดือน วนั ที่ ใบสาคญั บญั ชี เดือน วนั ที่ ใบสาคญั บญั ชี

(3) (4) (5) (6) (7) (8) (9) (10) (11) (12) (13) (14)

หมายเลข ส่วนประกอบและข้ันตอนการจัดทาสมุดเงนิ สด 2 ช่อง
1
2 หมายถงึ

3 และ 9 ชื่อสมุดบญั ชี
4 และ 10 หนา้ สมุดบญั ชี
5 และ 11 ใส่ วนั เดือน ปี ที่มีรายการคา้ เกิดข้ึน
6 และ 12 เลขท่ีใบสาคญั รับ และ เลขที่ใบสาคญั จ่าย
7 และ 13 ชื่อบญั ชีท่ีตรงขา้ มใชใ้ นการผา่ นรายการไปยงั บญั ชีแยกประเภทที่เก่ียวขอ้ ง
8 และ 14 ใชใ้ ส่เลขท่ีบญั ชีของบญั ชีท่ีเก่ียวขอ้ ง
ช่องเงินสดเพิ่ม และช่องเงินสดลด ตามลาดบั
ช่องเงินฝากธนาคารเพ่ิม และ ช่องเงินฝากธนาคารลด ตามลาดบั

** เมื่อบนั ทึกรายการในสมุดเงินสดแลว้ ใหผ้ า่ นรายการไปยงั บญั ชีแยกประเภทท่ี
เกี่ยวขอ้ งทนั ทีท่ีเกิดรายการคา้ ข้ึน ยกเวน้ บญั ชีเงินสด และเงินฝากธนาคาร
ไมต่ อ้ งผา่ นไปบญั ชีแยกประเภทเพราะ สามารถหายอดคงเหลือของเงินสดและ
เงินฝากธนาคารจากสมุดเงินสด 2 ช่องไดโ้ ดยการนายอดรับรวมหกั ยอดจา่ ยรวม
ผลต่างที่ไดค้ ือยอด เงินสดคงเหลือ และเงินฝากธนาคารคงเหลือ

ตวั อย่างที่ 3 นายณรงคเ์ ดช เริ่มดาเนินกิจการคา้ เมื่อ วนั ที่ 1 มกราคม 2550 โดยมีรายการคา้ ดงั น้ี
ม.ค. 1 นายณรงคเ์ ดช นาเงินสด 25,000 บาท เงินฝากธนาคาร 86,000 บาท มาลงทุน

3 ขายสินคา้ เป็นเงินสด 13,600 บาท
6 จา่ ยเช็คซ้ือสินคา้ 14,300 บาท
8 ขายสินคา้ ไดร้ ับเงินสด 8,400 บาท ไดร้ ับเป็ นเช็ค 15,000 บาท นาเช็คฝากธนาคารทนั ที
11 ซ้ือสินคา้ เป็นเงินสด 7,750 บาท
14 รับชาระหน้ีจากลูกหน้ีเป็ นเงินสด 2,100 บาท

177

16 ถอนเงินจากธนาคารมาใชใ้ นกิจการ 18,000 บาท

18 ซ้ืออุปกรณ์สานกั งานราคา 56,000 บาท จ่ายเป็นเงินสด 20,000 บาท ท่ีเหลือจ่ายเป็ นเช็ค

21 จ่ายเช็คเป็นคา่ โฆษณา 3,400 บาท

26 ขายสินคา้ เป็นเงินสด 23,100 บาท

28 จา่ ยชาระหน้ีให้เจา้ หน้ีการคา้ เป็นเช็ค 4,000 บาท

30 นาเงินสดฝากธนาคาร 30,000 บาท

31 จ่ายเงินเดือนคนงานเป็นเช็ค 3 คน ๆ ละ 3,500 บาท

ให้ทา 1. บนั ทึกรายการขา้ งตน้ ในสมุดเงินสด 2 ช่อง

2. ผา่ นรายการไปยงั บญั ชีแยกประเภทท่ีเก่ียวขอ้ ง

1. บันทกึ รายการข้างต้นในสมุดเงนิ สด 2 ช่อง

สมุดเงนิ สด 2 ช่อง หน้า 1

พ.ศ. 2550 เลขท่ี ชื่อบัญชีท่ี Cr เลขท่ี เงนิ สด ธนาคาร พ.ศ. 2550 เลขท่ี ช่ือบญั ชีท่ี Dr เลขท่ี เงนิ สด ธนาคาร
เดือน วนั ที่ ใบสาคญั บญั ชี เดือน วนั ที่ ใบสาคญั บญั ชี

ม.ค. 1 ร. 1 ทุน-ณรงคเ์ ดช 301 25,000 - 86,000 - ม.ค. 6 จ.1 ซ้ือสินคา้ 501 14,300 -

3 ร.2 ขายสินคา้ 401 13,600 - 11 จ.2 ซ้ือสินคา้ 501 7,750 - 18,000 -
20,000 - 36,000 -
8 ร.3 ขายสินคา้ 401 8,400 - 15,000 - 16 - เงินสด C 3,400 -
30,000 - 4,000 -
14 ร.4 ลูกหน้ี 103 2,100 - 18 จ.3 อุปกรณ์ฯ 104 32,450 -
90,200 - 10,500 -
16 - ธนาคาร C 18,000 - 21 จ.4 คา่ โฆษณา 504 44,800 -
131,000 -
26 ร.5 ขายสินคา้ 401 23,100 - 28 จ.5 เจา้ หน้ีการคา้ 201

30 - เงินสด C 30,000 - 30 - ธนาคาร C

31 จ.6 เงินเดือน 505

31 - ยอดยกไป 

90,200 - 131,000 -

ก.พ. 1 - ยอดยกมา  32,450 - 44,800 -

2. ผ่านรายการไปยงั บัญชีแยกประเภทท่ีเกย่ี วข้อง

ลูกหนกี้ ารค้า เลขที่ 103

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เดบิต พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เครดติ
เดือน วนั ที่ บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่ บญั ชี บาท ส.ต.
งส.1 2,100 -
ม.ค. 14 เงินสด

178

พ.ศ. 2550 รายการ อุปกรณ์สานักงาน รายการ เลขที่ 104
เดือน วนั ท่ี หน้า เครดติ
หน้า เดบิต พ.ศ. 2550 บัญชี บาท ส.ต.
บญั ชี บาท ส.ต. เดือน วนั ท่ี
ม.ค. 18 เงินสด
งส.1 20,000 -
ธนาคาร งส.1 36,000 -

พ.ศ. 2550 รายการ เจ้าหนกี้ ารค้า รายการ เลขท่ี 201
เดือน วนั ที่ หน้า เครดติ
หน้า เดบติ พ.ศ. 2550 บญั ชี บาท ส.ต.
บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ท่ี
ม.ค. 28 ธนาคาร งส.1 4,000 -

ทุน - ณรงค์เดช เลขท่ี 301

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เดบติ พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เครดติ
เดือน วนั ท่ี บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่ บญั ชี บาท ส.ต.
งส.1 25,000 -
ม.ค. 1 เงินสด งส.1 86,000 -
ธนาคาร

ขายสินค้า เลขที่ 401

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เดบิต พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เครดติ
เดือน วนั ท่ี บญั ชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่ บญั ชี บาท ส.ต.
งส.1 2,443 -
ม.ค. 3 เงินสด งส.1 8,400 -
งส.1 15,000 -
8 เงินสด งส.1 23,100 -

ธนาคาร

26 เงินสด

พ.ศ. 2550 รายการ ซื้อสินค้า รายการ เลขท่ี 501
เดือน วนั ที่ หน้า เครดติ
หน้า เดบิต พ.ศ. 2550 บัญชี บาท ส.ต.
บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่
ม.ค. 6 ธนาคาร งส.1 14,300 -
งส.1 7,750 -
11 เงินสด

179

พ.ศ. 2550 รายการ ค่าโฆษณา รายการ เลขท่ี 504
เดือน วนั ที่ หน้า เครดติ
หน้า เดบิต พ.ศ. 2550 บัญชี บาท ส.ต.
บญั ชี บาท ส.ต. เดือน วนั ท่ี
ม.ค. 21 ธนาคาร งส.1 3,400 -

พ.ศ. 2550 รายการ เงนิ เดือน รายการ เลขที่ 505
เดือน วนั ที่ หน้า เครดติ
หน้า เดบิต พ.ศ. 2550 บัญชี บาท ส.ต.
บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ท่ี
ม.ค. 31 ธนาคาร งส.1 10,500 -

4.1.2 สมุดเงนิ สด 3 ช่อง สมุดเงินสดอาจมีแบบฟอร์มแตกต่างกนั ไปในแตล่ ะธุรกิจ
การแบ่ง ช่องออกมากนอ้ ยเพียงใดกแ็ ลว้ แตค่ วามจาเป็นและความตอ้ งการเพ่อื ประโยชน์ในการ
ปฏิบตั ิงานของธุรกิจน้นั ๆ (ธารี หิรัญรัศมี และคณะ. 2548 : 239) กิจการขนาดเลก็ ส่วนใหญ่จะเลือก
สมุดเงินสด 2 ช่อง และถา้ เป็นกิจการท่ีมีขนาดกลางกจ็ ะเลือกสมุดเงินสด 3 ช่อง เพราะในกรณีท่ีมี
ส่วนลดเงินสดเขา้ มาเก่ียวขอ้ งไม่วา่ จะเป็นส่วนลดรับหรือส่วนลดจา่ ยกต็ าม หากส่วนลดรับและ
ส่วนลดจ่ายน้นั เกิดข้ึนค่อนขา้ งสม่าเสมอ อาจกาหนดใหม้ ีช่องเฉพาะอีกช่อง คือ มีช่องส่วนลดจ่าย
ทางดา้ นเดบิต และช่องส่วนลดรับทางดา้ นเครดิต ช่องส่วนลดรับและส่วนลดจา่ ยจะทาหนา้ ที่เป็น
สมุดลงรายการเบ้ืองตน้ เท่าน้นั ตอนสิ้นเดือนจะตอ้ งผา่ นยอดรวมของส่วนลดรับและส่วนลดจ่ายไป
บญั ชีแยกประเภทส่วนลดรับและส่วนลดจ่ายเช่นเดียวกบั บญั ชีแยกประเภทอื่น ๆ (ดวงสมร อรพินท์
และคณะ. 2548 : 228) ยกเวน้ บญั ชีเงินสดและเงินฝากธนาคารที่ไมต่ อ้ งผา่ นรายการไปบญั ชีแยก
ประเภทเพราะในสมุดเงินสด 3 ช่องน้นั ทาหนา้ ที่ท้งั สมุดรายการข้นั ตน้ และสมุดรายการข้นั ปลาย
(แยกประเภททว่ั ไป) ของบญั ชีเงินสด และเงินฝากธนาคารแลว้ คือ สามารถหายอดคงเหลือของ
บญั ชีเงินสดและเงินฝากธนาคารไดจ้ ากสมุดเงินสด 3 ช่อง โดยนายอดคงเหลือยกมาบวก รายรับ
ท้งั สิ้น หกั รายจ่ายท้งั สิ้นกจ็ ะไดย้ อดเงินคงเหลือตามท่ีตอ้ งการ

รูปแบบของสมุดเงนิ สด 3 ช่องเป็ นดงั นี้

สมุดเงนิ สด 3 ช่อง (1) หน้า (2)

พ.ศ. เลขที่ ช่ือบัญชี เลขที่ เงินสด ธนาคาร ส่วนลด พ.ศ. เลขท่ี ช่ือบัญชี เลขท่ี เงนิ สด ธนาคาร ส่ วนลด
เดือน วันที่ ใบสาคญั ที่ Cr บัญชี บัญชี รับ
จ่าย เดือน วันท่ี ใบสาคัญ ท่ี Dr

(3) (4) (5) (6) (7) (8) (9) (10) (11) (12) (13) (14) (15) (16)

180

ส่วนประกอบและข้ันตอนการจัดทาสมุดเงนิ สด 3 ช่อง

หมายเลข หมายถงึ
1
2 ช่ือสมุดบญั ชี
หนา้ สมุดบญั ชี
3 และ 10 ช่อง วนั เดือน ปี ท่ีมีรายการคา้ เกิดข้ึน
4 และ 11 ช่อง เลขที่ใบสาคญั รับ และเลขท่ีใบสาคญั จา่ ย
5 และ 12 ชื่อบญั ชีท่ีตรงขา้ มใชใ้ นการผา่ นรายการไปยงั บญั ชีแยกประเภทที่เก่ียวขอ้ ง
6 และ 13 ใส่เลขที่บญั ชีของบญั ชีที่เกี่ยวขอ้ ง
7 และ 14 ช่องเงินสดเพม่ิ และช่องเงินสดลด ตามลาดบั
8 และ 15 ช่องเงินฝากธนาคารเพิม่ และ ช่องเงินฝากธนาคารลด ตามลาดบั
9 และ 16 ช่องส่วนลดจ่ายหรือส่วนลดท่ีลดใหก้ บั ลูกหน้ี และช่องส่วนลดรับหรือ
ส่วนลดท่ีเจา้ หน้ีลดใหก้ ิจการ ตามลาดบั

** เม่ือบนั ทึกรายการในสมุดเงินสดแลว้ ใหผ้ า่ นรายการไปยงั บญั ชี
แยกประเภทที่เกี่ยวขอ้ งทนั ทีที่เกิดรายการคา้ ข้ึน ยกเวน้ บญั ชีเงินสด และ
เงินฝากธนาคารไม่ตอ้ งผา่ นไปบญั ชีแยกประเภท เพราะสามารถหา
ยอดคงเหลือของเงินสดและเงินฝากธนาคารจากสมุดเงินสด 3 ช่องไดโ้ ดย
การนายอดรวมรับหกั ยอดรวมจา่ ยผลต่างท่ีได้ คือ เงินสดคงเหลือ และ
เงินฝากธนาคารคงเหลือ การอา้ งอิงเลขที่บญั ชีของบญั ชีเงินสดและเงินฝาก
ธนาคาร กรณีกิจการนาเงินสดฝากธนาคาร และ กิจการถอนเงินจากธนาคาร
มาใชใ้ นกิจการน้นั ใหใ้ ชต้ วั อกั ษร “C” ซ่ึงยอ่ มาจากคาวา่ Contra ที่หมายถึง
การอา้ งอิงซ่ึงกนั และกนั ที่ภาษาบญั ชีเรียกวา่ ยนั กนั เช่น การนาเงินสดฝาก
ธนาคาร บัญชีเงินฝากธนาคาร ท่ีบนั ทึกดา้ นเดบิตของสมุดเงินสดในช่อง
เลขที่บญั ชีจะใส่ตวั อกั ษร “C” บญั ชีเงนิ สด ที่บนั ทึกดา้ นเครดิตของสมุดเงิน
สด ในช่องเลขที่บญั ชีก็จะใส่อกั ษร “C” เช่นกนั เพือ่ เป็นการอา้ งอิง
ถึงกนั และกนั

181

ตวั อย่างที่ 4 ต่อไปน้ีเป็นรายการรับ จ่ายเงินของ ร้านเจริญสุข การคา้ ในเดือน พฤษภาคม 2550 ดงั น้ี
พ.ค. 1 นายเจริญนาเงินสด 44,000 บาท และเงินฝากธนาคาร 120,000 บาทมาลงทุน

3 ซ้ือสินคา้ เป็นเงินสด 8,200 บาท ไดส้ ่วนลดการคา้ 200 บาท
7 ขายสินคา้ ไดเ้ งินสด 13,200 บาท นาเงินฝากธนาคาร 7,000 บาท
9 จ่ายคา่ รับรองลูกคา้ เป็นเงินสด 1,200 บาท
12 รับชาระหน้ีจากนายสมาน ยอดหน้ี 9,500 บาทใหส้ ่วนลดนายสมานไป 2%
15 จ่ายเช็คซ้ือสินคา้ 6,800 บาท
17 นาเงินสดไปฝากธนาคาร 25,000 บาท
19 จ่ายชาระหน้ีเจา้ หน้ีนายดิลกยอดหน้ี 8,400 บาท นายดิลกใหส้ ่วนลด 3%
24 จ่ายเช็คเป็นคา่ โฆษณา 3,600 บาท
28 ขายสินคา้ เป็นเงินสด 5,100 บาท
30 นายเจริญนาเงินสดไปใชส้ ่วนตวั 5,000 บาท
31 ถอนเงินจากธนาคารมาใชใ้ นกิจการ 20,000 บาท

จ่ายค่าน้า ค่าไฟ เป็นเงินสด 2,120 บาท จ่ายเงินเดือนลูกจา้ งเป็นเงินสด 4,000 บาท
จา่ ยเป็นเช็ค 8,000 บาท
ให้ทา 1. บนั ทึกรายการขา้ งตน้ ในสมุดเงินสด 3 ช่อง
2. ผา่ นรายการไปยงั บญั ชีแยกประเภทท่ีเกี่ยวขอ้ งทุกบญั ชี

สมุดเง

พ.ศ. 2550 เลขท่ี ชื่อบญั ชี เลขท่ี เงนิ สด ธนาคาร ส่วนลดจ่าย เ
เดือน วนั ท่ี ใบสาคญั ที่ Cr บัญชี 120,000 - 190 - พ
พ.ค. 1 ร.1 ทุน - เจริญ 44,000 -
301 6,200 - 7,000 -
7 ร.2 ขายสินคา้ 401 9,310 -
12 ร.3 ลกู หน้ีการคา้ 103 25,000 -
17 - เงินสด C 5,100 -
28 ร.4 ขายสินคา้ 401 20,000 -
31 - ธนาคาร C

84,610 - 152,000 - 190 -

มิ.ย. 1 ยอดยกมา 84,610 - 152,000 -
 31,142 - 113,600

งินสด 3 ช่อง หน้า 1

พ.ศ. 2550 เลขที่ ชื่อบญั ชี เลขที่ เงนิ สด ธนาคาร ส่วนลดรับ

เดือน วนั ท่ี ใบสาคญั ท่ี Dr บัญชี 8,000 -
1,200 -
พ.ค. 3 จ.1 ซ้ือสินคา้ 501
9 จ.2 คา่ รับรอง 504 25,000 -
8,148 -
15 จ.3 ซ้ือสินคา้ 501 6,800 -
17 - ธนาคาร C 5,000 -

19 จ.4 เจา้ หน้ีการคา้ 201 2,120 - 252 -
4,000 - 252 -
24 จ.5 ค่าโฆษณา 505 53,468 - 3,600 -
31,142 -
30 จ.6 ถอนใชส้ ่วนตวั 302 84,610 -

31 - เงินสด C 20,000 -
31 จ.7 ค่าน้าคา่ ไฟ 506
31 จ.8 เงินเดือน 507 8,000 -
38,400 -
31 ยอดยกไป  113,600 -
152,000 -

182

183

ลูกหนีก้ ารค้า เลขที่ 103

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เดบิต พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เครดติ
เดือน วนั ท่ี บญั ชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่ บัญชี บาท ส.ต.
งส.1 9,310 -
พ.ค. 1 ยอดยกมา  9,500 พ.ค. 12 เงินสด งส.1 190 -

ส่วนลดจ่าย

พ.ศ. 2550 รายการ เจ้าหนกี้ ารค้า รายการ เลขท่ี 201
เดือน วนั ท่ี หน้า เครดติ
หน้า เดบิต พ.ศ. 2550 บัญชี บาท ส.ต.
บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่
พ.ค. 19 เงินสด งส.1 8,148 -
งส.1 252 -
ส่วนลดรับ

ทนุ - เจริญ เลขที่ 301

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เดบิต พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เครดติ
เดือน วนั ท่ี บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ท่ี บัญชี บาท ส.ต.
งส.1 44,000 -
พ.ค. 1 เงินสด งส.1 120,000 -

ธนาคาร

พ.ศ. 2550 รายการ ถอนใช้ส่วนตวั รายการ เลขที่ 302
เดือน วนั ที่ หน้า เครดติ
หน้า เดบิต พ.ศ. 2550 บัญชี บาท ส.ต.
บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่
พ.ค. 30 เงินสด งส.1 5,000 -

ขายสินค้า เลขที่ 401

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เดบิต พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เครดติ
เดือน วนั ที่ บญั ชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่ บัญชี บาท ส.ต.
งส.1 6,200 -
พ.ค. 7 เงินสด งส.1 7,000 -
งส.1 5,100 -
ธนาคาร

28 เงินสด

184

พ.ศ. 2550 รายการ ส่วนลดจ่าย รายการ เลขท่ี 403
เดือน วนั ที่
หน้า เดบติ พ.ศ. 2550 หน้า เครดติ
บญั ชี บาท ส.ต. เดือน วนั ท่ี บัญชี บาท ส.ต.
งส.1 190 -
พ.ค. 31 สมดุ เงินสด

พ.ศ. 2550 รายการ ซื้อสินค้า รายการ เลขท่ี 501
เดือน วนั ที่ หน้า เครดติ
หน้า เดบิต พ.ศ. 2550 บัญชี บาท ส.ต.
บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่
พ.ค. 3 เงินสด งส.1 8,000 -
งส.1 6,800 -
15 ธนาคาร

ส่วนลดรับ เลขท่ี 503

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เดบติ พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เครดติ
เดือน วนั ท่ี บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่ บญั ชี บาท ส.ต.
งส.1 252 -
พ.ค. 31 สมดุ เงินสด

พ.ศ. 2550 รายการ ค่ารับรอง รายการ เลขท่ี 504
เดือน วนั ท่ี หน้า เครดติ
หน้า เดบิต พ.ศ. 2550 บัญชี บาท ส.ต.
บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่
พ.ค. 9 เงินสด งส.1 1,200 -

พ.ศ. 2550 รายการ ค่าโฆษณา รายการ เลขที่ 505
เดือน วนั ที่ หน้า เครดติ
หน้า เดบติ พ.ศ. 2550 บญั ชี บาท ส.ต.
บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ท่ี
พ.ค. 24 เงินสด งส.1 3,600 -

พ.ศ. 2550 รายการ ค่านา้ ค่าไฟ รายการ เลขที่ 506
เดือน วนั ท่ี หน้า เครดติ
หน้า เดบิต พ.ศ. 2550 บญั ชี บาท ส.ต.
บญั ชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่
พ.ค. 31 เงินสด งส.1 2,120 -

185

พ.ศ. 2550 รายการ เงนิ เดือน รายการ เลขที่ 507
เดือน วนั ท่ี หน้า เครดติ
หน้า เดบติ พ.ศ. 2550 บัญชี บาท ส.ต.
บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ท่ี
พ.ค. 31 เงินสด งส.1 4,000 -
งส.1 8,000 -
ธนาคาร

4.2 สมุดรายวนั รับเงนิ (Cash Receipts Journal) การบนั ทึกรายการรับเงินและรายการ
จ่ายเงินโดยใชส้ มุดเงินสดเพียงเล่มเดียวตามที่กล่าวขา้ งตน้ อาจจะเหมาะสมสาหรับกิจการคา้
ขนาดเลก็ ซ่ึงมีรายการคา้ จานวนนอ้ ย ทาใหไ้ ม่เสียเวลาในการบนั ทึก สาหรับกิจการท่ีมีรายการคา้
ท่ีเกี่ยวกบั เงินสด บ่อยคร้ังในแต่ละวนั การบนั ทึกในสมุดเงินสดอาจทาให้เกิดความล่าชา้ ดงั น้นั
กิจการจึงใชส้ มุดเงินสดรับ เพือ่ บนั ทึกเฉพาะการรับเงินสดและใชส้ มุดเงินสดจ่ายเพ่อื บนั ทึกเฉพาะ
การจา่ ยเงินสด การกระทาดงั กล่าวทาใหก้ ิจการสามารถบนั ทึกรายการไดร้ วดเร็วข้ึน (วฒั นา ศิวะเก้ือ
และคณะ. 2547 : 297)

สมุดรายวนั รับเงินหรือสมุดเงินสดรับเป็ นสมุดลงรายการเบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั รายไดข้ องกิจการ
ท้งั หมด สมุดเงินสดรับทาหนา้ ท่ีเป็นสมุดบนั ทึกรายการข้นั ตน้ ดงั น้นั จึงตอ้ งมีบญั ชีแยกประเภทเงิน
สดเพิ่มข้ึนมาอีก 1 บญั ชี เพ่ือบนั ทึกท้งั รายการรับและจา่ ยเงินสด ตลอดจนหายอดคงเหลือของเงิน
สดในวนั ใดวนั หน่ึงไดด้ ว้ ย (เชาวลีย์ พงศผ์ าติโรจน์ และวรศกั ด์ิ ทุมมานนท.์ 2548 : 370) สมุดเงินสด
รับใชส้ าหรับบนั ทึกรายการคา้ ทุกรายการท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การรับเงินสด เช่น การขายสินคา้ เป็นเงินสด
การรับชาระหน้ีจากลูกหน้ีการคา้ หรือรับเงินตามตวั๋ เงินรับ การนาเงินสดมาลงทุนเพ่ิม การกเู้ งินจาก
ธนาคาร (ธารี หิรัญรัศมีและคณะ. 2548 : 276) เป็ นตน้

รูปแบบของสมุดเงนิ สดรับหรือสมุดรายวันรับเงิน เป็ นดังนี้

สมุดรายวนั รับเงิน (1) หน้า (2)

พ.ศ. เลขท่ี เดบิต เครดติ
ธนาคาร
เดือน วันท่ี ใบ ชื่อบัญชีท่ี คาอธิบาย เงนิ สด ส่วนลด ลกู หนกี้ ารค้า ขาย บัญชีอื่น ๆ
สาคญั เครดติ จ่าย  จานวนเงนิ สินค้า ภาษขี าย เลขท่ี จานวน

บญั ชี เงนิ

(3) (4) (5) (6) (7) (8) (9) (10) (11) (12) (13) (14) (15)

186

หมายเลข ส่วนประกอบและข้ันตอนการจัดทาสมุดรายวนั รับเงิน

1 หมายถึง
2
3 ช่ือของสมุดบญั ชี
4 เลขหนา้ ของสมุดบญั ชี
5 วนั เดือน ปี ที่เกิดรายการคา้ ข้ึน
6 ใส่เลขที่เอกสารรับท่ีใชอ้ า้ งอิง เช่น เลขที่ใบสาคญั รับ, เลขที่ Inv.
7 ใส่ช่ือบญั ชีที่อา้ งอิงซ่ึงเป็นช่ือบญั ชีท่ีอยดู่ า้ นเครดิต
8 อธิบายวา่ มีรายการคา้ อะไรเกิดข้ึน
9 ใส่ยอดเงินสดท่ีเพ่มิ ข้ึน
10 ใส่ยอดเงินฝากธนาคารท่ีเพิ่มข้ึน
11 ใส่ยอดส่วนลดที่ลดใหล้ ูกหน้ีเม่ือลูกหน้ีชาระหน้ีภายในกาหนด
12 ใส่เคร่ืองหมาย  เมื่อผา่ นรายการคา้ ไปยงั แยกประเภทลูกหน้ีรายตวั
13 ใส่ยอดลูกหน้ีท่ีลดลงเน่ืองจากชาระหน้ีแลว้
14 ใส่ยอดมูลค่าสินคา้ ท่ีขาย
15 ใส่ยอดภาษีมูลคา่ เพ่มิ ไดจ้ าก (ราคาขาย  7%)
ใส่เลขท่ีบญั ชีเม่ือมีการผา่ นรายการไปบญั ชีแยกประเภทท่ีเก่ียวขอ้ งแลว้
ใส่ยอดเงินที่เป็ นบญั ชีเครดิตอ่ืน ๆ ที่ไม่ใช่ลูกหน้ีการคา้ ขายสินคา้ และภาษีขาย

ตวั อย่างที่ 5 เม่ือวนั ท่ี 1 กรกฎาคม 2550 กิจการมียอดบญั ชีบางบญั ชียกมาดงั น้ี

เงินสด 46,000 บาท เงินฝากธนาคาร 82,000 บาท

ลูกหน้ีการคา้ 30,388 บาท ซ่ึงประกอบดว้ ย :-

ร้านสดใส 12,198 บาท (รวมภาษีมูลคา่ เพ่ิมไวแ้ ลว้ )

ร้านสดศรี 8,774 บาท (รวมภาษีมูลค่าเพิ่มไวแ้ ลว้ )

ร้านสดช่ืน 9,416 บาท (รวมภาษีมูลค่าเพิม่ ไวแ้ ลว้ )

รายการค้าทเี่ กดิ ขึน้ ระหว่างเดือน กรกฎาคม 2550 มดี งั นี้

ก.ค. 1 ขายสินคา้ เป็นเงินสด 7,200 บาท ภาษีมูลค่าเพ่ิม 7%

8 รับชาระหน้ีจากร้านสดศรี ท้งั หมด ใหส้ ่วนลด 2%

12 รับเงินคา่ เช่าหนา้ ร้านวางแผงขายสินคา้ 1,200 บาท

17 นาเงินสดฝากธนาคาร 21,000 บาท

21 ขายสินคา้ เป็นเงินสด 4,500 บาท ภาษีมูลคา่ เพมิ่ 7% นาเงินฝากธนาคารทนั ที

26 รับชาระหน้ีจากร้านสดใสบางส่วน 6,420 บาท รวมภาษี 7 % ใหส้ ่วนลด 2%

187

27 ขายสินคา้ เป็นเงินสด 3,200 บาท ภาษีมูลคา่ เพ่มิ 7% ใบกากบั ภาษีเลขที่ 189
29 ถอนเงินจากธนาคารมาใชใ้ นกิจการ 5,000 บาท
31 รับชาระหน้ีจากร้านสดชื่นบางส่วน 3,745 บาท
ให้ทา 1. บนั ทึกรายการขา้ งตน้ ในสมุดรายวนั รับเงิน โดยใบสาคญั รับเร่ิมท่ีเลขท่ี บร.101

2. ผา่ นรายการไปยงั บญั ชีแยกประเภทลูกหน้ีรายตวั
3. ผา่ นรายการไปยงั บญั ชีแยกประเภททวั่ ไปท่ีเกี่ยวขอ้ ง

1. บนั ทกึ รายการข้างต้นในสมุดรายวนั รับเงิน

พ.ศ.25.. เลขท่ี สมุดรา
ใบ
เดือน วนั ท่ี สาคญั ช่ือบญั ชีทีเ่ ครดติ คาอธิบาย เงนิ สด เดบิต
ธนาคาร
ก.ค. 1 บร.101 ขายสินคา้ ขายสินคา้ เป็นเงินสด 7,704 -
8 บร.102 ลูกหน้ีการคา้ 8,610 - 21,000
12 บร.103 รายไดอ้ ื่น ๆ รับชาระหน้ีจากสดศรี 1,200 - 4,815
17 - เงินสด รับเงินค่าเช่าหนา้ ร้าน
นาเงินสดฝากธนาคาร 6,300 - 25,815
21 บร.104 ขายสินคา้ 3,424 - (102)
ขายสินคา้ เป็นเงินสดนาเงิน 5,000 -
26 บร.105 ลูกหน้ีการคา้ ฝากธนาคารทนั ที 3,745
35,983 -
27 บร.106 ขายสินคา้ รับชาระหน้ีจากร้านสด ใส (101)
บางส่วน ลดให้1%
29 - เงินฝากธนาคาร
ขายสินคา้ เป็นเงินสด
31 บร.107 ลูกหน้ีการคา้
ถอนเงินจากธนาคารมาใช้
ในกิจการ

รับชาระหน้ีจากสดช่ืน

หมายเหตุ C* หมายถึง การผา่ นรายการท่ีอา้ งอิงกนั (Contra ) หรือตรงขา้ มกนั ในท่ีน้ีเป็ นการ
ธนาคารน้นั เงินสดของกิจการลดลงและเงินฝากธนาคารของกิจการเพิ่มข้ึนเป็ นการเปล่ียนสภาพ
ยอดสินทรัพยร์ วมไม่มีการเปลี่ยนแปลงจึงไม่ตอ้ งผา่ นรายการไปยงั บญั ชีแยกประเภทเงินสด และ

ายวนั รับเงิน หน้า

ลกู หนกี้ ารค้า เครดติ
ร ส่วนลดจ่าย  จานวนเงนิ
บญั ชีอ่ืน ๆ
164 -  8,774 -
0- ขายสินค้า ภาษขี าย เลขท่ี จานวนเงนิ
5- บญั ชี

120 -  6,420 - 7,200 - 504 -

404 1,200 -
C* 21,000 -

4,500 - 315 -

3,200 - 224 -
C*
5,000 -

 3,745 -

5 - 284 - 18,939 - 14,900 - 1,043 - 27,200 -
(401) (203)
(403) (103)

รอา้ งอิงระหวา่ งสมดุ เงินสดรับและสมดุ เงินสดจ่ายเพราะรายการคา้ น้ีเป็ นการนาเงินสดฝาก
พของสินทรัพยจ์ ากเงินสดไปเป็ นเงินฝากธนาคารไมม่ ีการโอนเปล่ียนแปลงกรรมสิทธ์ิไปใหผ้ อู้ ่ืน
ะเงินฝากธนาคาร

188

189

2. ผ่านรายการไปยงั บัญชีแยกประเภทลกู หนีร้ ายตวั

ร้าน สดใส

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เดบิต เครดติ ยอดคงเหลือ
เดือน วนั ที่ บัญชี บาท ส.ต. บาท สต
 บาท ส.ต.
ก.ค. 1 ยอดยกมา รง.1 6,420 - 12,198 -
5,778 -
26 รับชาระหน้ีเป็ นเงินสด

ร้าน สดศรี

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เดบิต เครดติ ยอดคงเหลือ
เดือน วนั ที่
บญั ชี บาท ส.ต. บาท ส.ต. บาท ส.ต.

ก.ค. 1 ยอดยกมา  8,774 -
8 รับชาระหน้ีเป็ นเงินสด
รง.1 8,774 - -0- -

ร้าน สดช่ืน

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เดบติ เครดติ ยอดคงเหลือ
เดือน วนั ที่
บญั ชี บาท ส.ต. บาท ส.ต บาท ส.ต

ก.ค. 1 ยอดยกมา  9,416 -
31 รับชาระหน้ีเป็ นเงินสด
รง.1 3,745 - 5,671 -

3. ผ่านรายการไปยงั บัญชีแยกประเภททวั่ ไปทเี่ กี่ยวข้อง

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เงนิ สด รายการ เลขท่ี 101
เดือน วนั ที่ บญั ชี หน้า เครดติ
เดบติ พ.ศ. 2550 บญั ชี บาท ส.ต.
ก.ค. 1 ยอดยกมา  บาท ส.ต. เดือน วนั ท่ี
46,000 - เลขท่ี 102
31 สมดุ รายวนั รับเงิน รง.1 35,983 - หน้า เครดติ
บญั ชี บาท ส.ต.
พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เงนิ ฝากธนาคาร รายการ
เดือน วนั ท่ี บัญชี
เดบิต พ.ศ. 2550
ก.ค. 1 ยอดยกมา  บาท ส.ต. เดือน วนั ที่
82,000 -
31 สมุดรายวนั รับเงิน รง.1 25,815 -

189

190

ลูกหนีก้ ารค้า เลขท่ี 103

พ.ศ. 2549 รายการ หน้า เดบิต พ.ศ. 2549 รายการ หน้า เครดติ
เดือน วนั ท่ี บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่ บญั ชี บาท ส.ต.

ก.ค. 1 ยอดยกมา  30,388 - ก.ค. 31 สมุดรายวนั รับเงิน รง.1 18,939 -

ภาษีขาย เลขที่ 203

พ.ศ. 2549 รายการ หน้า เดบติ พ.ศ. 2549 รายการ หน้า เครดติ
เดือน วนั ที่ บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่ บญั ชี บาท ส.ต.

ก.ค. 31 สมดุ รายวนั รับเงิน รง.1 1,043 -

ขายสินค้า เลขท่ี 401

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เดบติ พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เครดติ
เดือน วนั ท่ี บญั ชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่ บญั ชี บาท ส.ต.

ก.ค. 31 สมุดรายวนั รับเงิน รง.1 14,900 -

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า ส่วนลดจ่าย รายการ เลขที่ 403
เดือน วนั ที่ บัญชี เดบิต พ.ศ. 2550 หน้า เครดติ
บาท ส.ต. เดือน วนั ที่ บญั ชี บาท ส.ต.
284 -
ก.ค. 31 สมุดรายวนั รับเงิน รง.1

รายได้อ่ืน ๆ เลขที่ 404

พ.ศ. 2549 รายการ หน้า เดบิต พ.ศ. 2549 รายการ หน้า เครดติ
เดือน วนั ที่ บญั ชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่ บัญชี บาท ส.ต.
รง.1 1,200 -
ก.ค. 12 เงินสด

4.3 สมุดรายวนั จ่ายเงิน (Cash Payments Journal) หรือสมุดเงินสดจ่ายใชส้ าหรับบนั ทึก
รายการที่เกี่ยวขอ้ งกบั การจ่ายเงินสด เช่น การซ้ือสินคา้ เป็นเงินสด การจ่ายเงินสดชาระหน้ี
การจ่ายเงินสดเป็นค่าใชจ้ ่ายในการดาเนินงาน การจดั ทาสมุดรายวนั จา่ ยเงินจะใชห้ ลกั เดียวกบั
การจดั ทาสมุดรายวนั รับเงินเพยี งแต่เปล่ียนจากการรับเงินเป็นการจ่ายเงิน และเมื่อสิ้นเดือนตอ้ ง
นายอดรวมของเงินสด เงินฝากธนาคาร ผา่ นรายการไปท่ีบญั ชีแยกประเภทเงินสดและแยกประเภท
เงินฝากธนาคารเพอ่ื นาไปเปรียบเทียบหาผลต่างกบั ยอดเงินท่ีผา่ นจากสมุดรายวนั รับเงิน

191

รูปแบบของสมุดรายวนั จ่ายเงนิ หรือสมุดเงนิ สดจ่าย เป็ นดังนี้

สมุดรายวนั จ่ายเงิน (1) หน้า (2)

พ.ศ. เลขที่ เครดติ เดบิต

เดือน วนั ท่ี ใบ ชื่อบัญชีท่ี คาอธิบาย เงนิ สด ธนาคาร ส่วนลด เจ้าหนกี้ ารค้า ซื้อสินค้า บัญชีอื่น ๆ
สาคญั เดบติ รับ  จานวนเงนิ ภาษซี ื้อ เลขท่ี จานวน

บญั ชี เงนิ

(3) (4) (5) (6) (7) (8) (9) (10) (11) (12) (13) (14) (15)

หมายเลข รายละเอยี ดและข้ันตอนการจัดทาสมุดรายวนั จ่ายเงนิ

1 หมายถงึ
2
3 ชื่อของสมุดบญั ชี
4 เลขหนา้ ของสมุดบญั ชี
5 วนั เดือน ปี ท่ีเกิดรายการคา้ ข้ึน
6 ใส่เลขท่ีเอกสารจา่ ยที่ใชอ้ า้ งอิง เช่น เลขที่ใบสาคญั จา่ ย, เลขท่ี Inv.
7 ใส่ชื่อบญั ชีท่ีอา้ งอิงซ่ึงเป็นช่ือบญั ชีท่ีอยดู่ า้ นเดบิต
8 อธิบายวา่ มีรายการคา้ อะไรเกิดข้ึน
9 ใส่ยอดเงินสดที่ลดลง
10 ใส่ยอดเงินฝากธนาคารท่ีลดลง
11 ใส่ยอดส่วนลดที่เจา้ หน้ีลดใหเ้ ม่ือกิจการชาระหน้ีภายในกาหนด
12 ใส่เคร่ืองหมาย  เม่ือผา่ นรายการคา้ ไปยงั แยกประเภทเจา้ หน้ีรายตวั แลว้
13 ใส่ยอดเจา้ หน้ีท่ีลดลงเน่ืองจากจา่ ยชาระหน้ีแลว้
14 ใส่ยอดมูลค่าสินคา้ ที่ซ้ือ
15 ใส่ยอดภาษีมูลคา่ เพม่ิ ไดจ้ าก (ราคาซ้ือ  7%)
ใส่เลขที่บญั ชีเมื่อมีการผา่ นรายการไปบญั ชีแยกประเภทท่ีเกี่ยวขอ้ งแลว้
ใส่ยอดเงินท่ีเป็ นบญั ชีเดบิตอ่ืน ๆ ที่ไมใ่ ช่เจา้ หน้ีการคา้ ซ้ือสินคา้ และภาษีซ้ือ

192

ตวั อย่างที่ 6 ร้านดวงดีทวสี ุข มีรายการคา้ เก่ียวกบั การจา่ ยเงินและยอดคงเหลือบางบญั ชี ในวนั ท่ี 1

เมษายน 2550 ดงั น้ี

เงินสด 62,500 บาท

เงินฝากธนาคาร 143,200 บาท

เจา้ หน้ีการคา้ ประกอบดว้ ย :-

ร้าน ชอบ 12,840 บาท (รวมภาษีมูลค่าเพ่มิ แลว้ )

ร้าน ชิด 9,202 บาท (รวมภาษีมูลคา่ เพม่ิ แลว้ )

ร้าน ชยั 5,136 บาท (รวมภาษีมูลคา่ เพิ่มแลว้ )

รวม 27,178 บาท

รายการคา้ ท่ีเกิดข้ึนระหวา่ งเดือนเมษายน มีดงั น้ี :-

เม.ย. 1 ซ้ือสินคา้ จา่ ยเป็นเงินสด 14,000 บาท ภาษีมูลคา่ เพม่ิ 7%

3 จ่ายคา่ รับรองลูกคา้ เป็นเงินสด 1,580 บาท

7 จา่ ยเช็คชาระหน้ี ร้านชอบ 8,560 บาท เป็นยอดรวมภาษีมูลคา่ เพ่มิ ร้านชอบลดให้ 2%

9 จ่ายเป็นเช็คซ้ือสินคา้ 7,200 บาท ภาษีมูลคา่ เพิม่ 7%

11 ซ้ือเคร่ืองตกแตง่ ร้านราคา 26,000 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% จา่ ยเป็นเงินสดคร่ึงหน่ึง

เป็ นเช็คคร่ึ งหน่ึง

13 จา่ ยเงินสดชาระหน้ี ร้านชิด 4,494 บาท เป็นยอดท่ีรวมภาษีมูลคา่ เพิม่ ร้านชิด

ใหส้ ่วนลด 1%

14 นายดวงดีเจา้ ของกิจการนาเงินสดไปใชส้ ่วนตวั 4,000 บาท

18 ถอนเงินจากธนาคารมาใชใ้ นกิจการ 25,000 บาท

22 จา่ ยชาระหน้ี ร้านชยั ท้งั จานวนไดส้ ่วนลด 2%

27 ซ้ือสินคา้ เป็นเงินสด 3,400 บาท ภาษีมูลค่าเพิม่ 7%

28 จา่ ยคา่ โฆษณาเป็นเช็ค 2,800 บาท

29 จ่ายเช็คซ้ือสินคา้ 4,750 บาท ภาษีมูลคา่ เพม่ิ 7%

30 จา่ ยเงินเดือนพนกั งานเป็ นเงินสด 5,200 บาท จ่ายเป็นเช็ค 11,000 บาท

ให้ทา 1. บนั ทึกรายการขา้ งตน้ ในสมุดรายวนั จา่ ยเงิน
2. ผา่ นรายการไปยงั บญั ชีแยกประเภทเจา้ หน้ีรายตวั
3. ผา่ นรายการไปแยกประเภททว่ั ไปที่เกี่ยวขอ้ ง

1. บนั ทกึ รายการข้างต้นในสมุดรายวนั จ่ายเงิน

พ.ศ. 2550 เลขท่ี ชื่อบัญชีท่ี สมุดรา
เดบิต
เดือน วนั ท่ี ใบ คาอธิบาย เงนิ สด เครดติ
สาคญั
14,980 - ธนาคาร
เม.ย. 1 บจ. 001 ซ้ือสินคา้ ซ้ือสินคา้ เป็ นเงินสด 1,580 -
8,400 -
4 บจ.002 คา่ รับรองลูกคา้ จ่ายค่ารับรองลูกคา้ 13,910 - 7,704 -
4,452 - 13,910 -
7 บจ.003 เจา้ หน้ีการคา้ จา่ ยชาระหน้ีร้านชอบ 4,000 -
25,000 -
9 บจ.004 ซ้ือสินคา้ จา่ ยเช็คซ้ือสินคา้ 5,040 -
3,638 - 2,800 -
11 บจ.005 เครื่องตกแตง่ ซ้ือเครื่องตกแต่ง 5,082 50
5,200 - 11,000 -
13 บจ.006 เจา้ หน้ีการคา้ จา่ ยชาระหน้ีร้านชิด 52,800 - 73,896 50
(101) (102)
14 บจ.007 ถอนใชส้ ่วนตวั นายดวงดีถอนใชส้ ่วนตวั

18 - เงินสด ถอนเงินจากธนาคารมา
ใชใ้ นกิจการ

22 บจ.008 เจา้ หน้ีการคา้ จ่ายชาระหน้ีร้านชยั

27 บจ.009 ซ้ือสินคา้ ซ้ือสินคา้ เป็ นเงินสด

28 บจ.010 คา่ โฆษณา จา่ ยค่าโฆษณาเป็นเช็ค

29 บจ.011 ซ้ือสินคา้ จา่ ยเช็คซ้ือสินคา้

30 บจ.012 เงินเดือน จ่ายเงินเดือนพนกั งาน

หมายเหตุ C* หมายถึง การผา่ นรายการที่อา้ งอิงกนั (Contra ) หรือตรงขา้ มกนั ในท่ีน้ีเป็ นการ
ธนาคารมาใชใ้ นกิจการทาให้ เงินฝากธนาคารของกิจการลดลงและเงินสดของกิจการเพมิ่ ข้ึนเป็ น
กรรมสิทธ์ิไปใหผ้ อู้ ืน่ ยอดสินทรัพยร์ วมไมม่ ีการเปลี่ยนแปลงจึงไมต่ อ้ งผา่ นรายการไปยงั บญั ชีแย

ายวนั จ่ายเงิน หน้า 1

เดบติ

เจ้าหนกี้ ารค้า บัญชีอ่ืน ๆ
 จานวนเงนิ
ส่วนลดรับ ซื้อสินค้า ภาษซี ื้อ เลขที่ จานวนเงนิ
บัญชี

14,000 - 980 -

505 1,580 -

160 -  8,560 -

7,200 - 504 -
1,820 - 104
26,000 -

42 -  4,494 -

302 4,000 -
C* 25,000 -

96 -  5,136 -

298 - 18,190 - 3,400 - 238 - 2,800 -
(504) (201) 506
4,750 - 16,200 -
332 50 75,580 -
29,350 - 507
(501)
3,874 50

(103)

รอา้ งอิงระหวา่ งสมุดเงินสดรับและสมุดเงินสดจ่ายเพราะรายการคา้ น้ีเป็ นการถอนเงินจาก
นการเปล่ียนสภาพของสินทรัพยจ์ ากเงินฝากธนาคารไปเป็ นเงินสดไมม่ ีการโอนเปล่ียนแปลง
ยกประเภทเงินสด และเงินฝากธนาคาร

193

194

2. ผ่านรายการไปบญั ชีแยกประเภทเจ้าหนีร้ ายตัว

ร้าน ชอบ

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เดบิต เครดติ ยอดคงเหลือ
เดือน วนั ท่ี บญั ชี บาท ส.ต. บาท ส.ต.
 บาท ส.ต.
เม.ย. 1 ยอดยกมา จง.1 8,560 - 12,840 -
7 จ่ายชาระหน้ีเป็ นเช็ค 4,280 -

ร้าน ชิด

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เดบติ เครดติ ยอดคงเหลือ
เดือน วนั ท่ี
บัญชี บาท ส.ต. บาท ส.ต. บาท ส.ต.

เม.ย. 1 ยอดยกมา  9,202 -
1 จ่ายชาระหน้ีเป็ นเงินสด
3 จง.1 4,494 - 4,708 -

ร้าน ชัย

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เดบิต เครดติ ยอดคงเหลือ
เดือน วนั ที่
บญั ชี บาท ส.ต. บาท ส.ต. บาท ส.ต.

เม.ย. 1 ยอดยกมา  5,136 -

22 จ่ายชาระหน้ีเป็ นเงินสด จง.1 5,136 - -0- -

3. ผ่านรายการไปยงั บัญชีแยกประเภททว่ั ไปทเ่ี กยี่ วข้อง

เงนิ สด เลขท่ี 101

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เดบิต พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เครดติ
เดือน วนั ที่ บญั ชี บาท ส.ต. เดือน วนั ท่ี บญั ชี บาท ส.ต.

เม.ย. 1 ยอดยกมา  62,500 - เม.ย. 30 สมดุ รายวนั จ่ายเงิน จง.1 52,800 -

เงนิ ฝากธนาคาร เลขท่ี 102
เครดติ
พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เดบิต พ.ศ. 2550 รายการ หน้า บาท ส.ต.
เดือน วนั ท่ี บญั ชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่ บัญชี 73,896 50

เม.ย. 1 ยอดยกมา  143,200 - เม.ย. 30 สมดุ รายวนั จ่ายเงิน จง.

195

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า ภาษีซื้อ รายการ เลขท่ี 103
เดือน วนั ท่ี บัญชี หน้า เครดติ
เดบติ พ.ศ. 2550 บัญชี บาท ส.ต.
เม.ย. 30 สมดุ รายวนั จ่ายเงิน จง.1 บาท ส.ต. เดือน วนั ที่
3,874 50 เลขที่ 104
หน้า เครดติ
พ.ศ. 2550 รายการ เครื่องตกแต่ง รายการ บัญชี บาท ส.ต.
เดือน วนั ท่ี
หน้า เดบติ พ.ศ. 2550 เลขที่ 201
เม.ย. 11 เงินสด บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ท่ี หน้า เครดติ
จง.1 13,000 - บัญชี บาท ส.ต.
ธนาคาร จง.1 13,000 -  27,178 -

เจ้าหนีก้ ารค้า เลขที่ 302
หน้า เครดติ
พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เดบิต พ.ศ. 2550 รายการ บัญชี บาท ส.ต.
เดือน วนั ท่ี บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่
เลขที่ 501
เม.ย. 30 สมุดรายวนั จ่ายเงิน จง.1 18,190 - เม.ย. 1 ยอดยกมา หน้า เครดติ
บญั ชี บาท ส.ต.
พ.ศ. 2550 รายการ ถอนใช้ส่วนตวั รายการ
เดือน วนั ท่ี
หน้า เดบิต พ.ศ. 2550
เม.ย. 14 เงินสด บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่
จง.1 4,000 -

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า ซื้อสินค้า รายการ
เดือน วนั ที่ บญั ชี เดบิต พ.ศ. 2550
บาท ส.ต. เดือน วนั ที่
เม.ย. 30 สมุดรายวนั จ่ายเงิน จง.1 29,350 -

ส่วนลดรับ เลขที่ 504

พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เดบติ พ.ศ. 2550 รายการ หน้า เครดติ
เดือน วนั ที่ บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ท่ี บญั ชี บาท ส.ต.

เม.ย. 30 สมดุ รายวนั จ่ายเงิน จง.1 298 -

196

พ.ศ. 2550 รายการ ค่ารับรองลูกค้า รายการ เลขท่ี 505
เดือน วนั ท่ี หน้า เครดติ
หน้า เดบติ พ.ศ. 2550 บัญชี บาท ส.ต.
บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่
เม.ย. 4 เงินสด จง.1 1,580 -

พ.ศ. 2550 รายการ ค่าโฆษณา รายการ เลขที่ 506
เดือน วนั ท่ี หน้า เครดติ
หน้า เดบิต พ.ศ. 2550 บญั ชี บาท ส.ต.
บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ท่ี
เม.ย. 28 ธนาคาร จง.1 2,800 -

พ.ศ. 2550 รายการ เงนิ เดือน รายการ เลขที่ 507
เดือน วนั ที่ หน้า เครดติ
หน้า เดบติ พ.ศ. 2550 บัญชี บาท ส.ต.
บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่
เม.ย. 31 เงินสด จง.1 5,200 -
จง.1 11,000 -
ธนาคาร

197

5. งบทดลองก่อนรายการปรับปรุง เป็นงบที่กิจการจดั ทาข้ึนเพอื่ พิสูจนว์ า่ ไดผ้ า่ นรายการจากสมุด
รายการข้นั ตน้ ทุกเล่มไปที่สมุดรายการข้นั ปลาย (บญั ชีแยกประเภททวั่ ไป) ครบถว้ นทุกบญั ชีแลว้
หรือไม่ ท้งั น้ีงบทดลองน้ีจดั ทาข้ึนก่อนที่จะมีการบนั ทึกรายการปรับปรุงรายได้ คา่ ใชจ้ ่าย ณ วนั สิ้น
งวดบญั ชี

ข้นั ตอนในการจดั ทางบทดลองก่อนปรับปรุงของกิจการจาหน่ายสินคา้ คลา้ ยกบั กิจการ
ใหบ้ ริการ โดยสรุปข้นั ตอนไดด้ งั น้ี

1. ผา่ นรายการจากสมุดรายการข้นั ตน้ ทุกเล่ม คือ สมุดรายวนั ทว่ั ไป และสมุดรายวนั
เฉพาะไปยงั บญั ชีแยกประเภททว่ั ไปที่เก่ียวขอ้ งทุกบญั ชี

2. รวมยอดดา้ นเดบิตและดา้ นเครดิตของแตล่ ะบญั ชีแลว้ หาผลตา่ งดว้ ยดินสอ
(Pencil footing) ของบญั ชีท้งั 5 หมวด ทุกบญั ชี

3. นายอดผลตา่ งที่หาไดใ้ นข้นั ที่ 2 ไปแสดงเรียงตามลาดบั เลขท่ีบญั ชีในงบทดลองท้งั
ช่อง ชื่อบญั ชี เลขที่บญั ชี จานวนเงินผลต่างท้งั ดา้ นเดบิตและเครดิต

4. รวมยอดดา้ นเดบิต และเครดิต ยอดรวมท้งั 2 ดา้ นจะตอ้ งเทา่ กนั
5. หากยอดรวมในขอ้ ที่ 4 ท้งั ดา้ นเดบิตและดา้ นเครดิตไมเ่ ท่ากนั แสดงวา่ มีขอ้ ผิดพลาด
เกิดข้ึนตอ้ งทาการตรวจสอบโดย การยอ้ นกลบั การบนั ทึกบญั ชีก่อนท่ีจะจดั ทางบทดลอง โดย

5.1 รวมตวั เลขจานวนเงินในช่องเดบิตและเครดิตในงบทดลองใหม่เพอื่ ความมนั่ ใจ
อีกคร้ัง

5.2 ตรวจสอบการยกยอดคงเหลือจากบญั ชีแยกประเภทมาใส่ในงบทดลองวา่
ถูกดา้ นหรือไม่ยอดจานวนเงินถูกตอ้ งหรือไม่

5.3 ตรวจสอบข้นั ตอนการหาผลตา่ งดว้ ยดินสอ (Pencil footing) ในบญั ชีแยกประเภท
ทุกบญั ชีวา่ คานวณตวั เลขถูกตอ้ งหรือไม่

5.4 ตรวจสอบการผา่ นรายการจากสมุดรายวนั ทว่ั ไป ไปยงั บญั ชีแยกประเภททว่ั ไปวา่
ถูกตอ้ งครบถว้ นทุกบญั ชีหรือไม่ ซ่ึงในข้นั ตอนน้ีมกั พบขอ้ ผดิ พลาดที่เกิดข้ึนเสมอ คือ

- ผา่ นบญั ชีผิดดา้ น หรือผา่ นดว้ ยยอดเงินไม่ถูกตอ้ ง
- ลืมผา่ นบญั ชีบางบญั ชีจากสมุดรายวนั ทว่ั ไป ไปยงั บญั ชีแยกประเภททว่ั ไปคือ
ผา่ นรายการไปแยกประเภททว่ั ไปไม่ครบทุกบญั ชี
- ผา่ นรายการบางบญั ชีซ้ากนั 2 คร้ัง

198

ตวั อย่างที่ 7 ตอ่ ไปน้ีเป็นยอดรวมดา้ นเดบิตและดา้ นเครดิตพร้อมท้งั ผลตา่ งในบญั ชีแยกประเภท
ทุกบญั ชีของร้าน เด่นเดือน เม่ือวนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2550

ชื่อบญั ชี เดบติ เครดิต คงเหลือ
198,000 -
เงินสด 243,200 - 216,000 - เดบิต เครดติ
เงินฝากธนาคาร 353,700 - 22,600 -
ลูกหน้ีการคา้ 32,000 - 45,200 -
คา่ เผอื่ หน้ีสงสยั จะสูญ 1,220 - 137,700 -
สินคา้ คงเหลือ 17,000 -
วสั ดุสานกั งาน 4,800 - 2,700 - 9,400 -
อุปกรณ์สานกั งาน 38,000 - 14,300 - 1,220 -
ค่าเส่ือมราคาสะสมอุปกรณ์ 34,500 -
อาคาร 367,000 - 220,000 - 17,000 -
ค่าเสื่อมราคาสะสมอาคาร 325,060 - 4,800 -
เจา้ หน้ีการคา้ 18,300 - 173,400 - 38,000 -
เงินกจู้ านอง 5,340 -
ทุน-เด่นเดือน 6,500 - 2,700 -
ถอนใชส้ ่วนตวั 1,100 - 367,000 -
ขายสินคา้ 2,100 -
รายไดอ้ ่ืน ๆ 89,500 - 14,300 -
รับคืนสินคา้ 16,200 -
ซ้ือสินคา้ 2,500 - 220,000 -
ส่งคืนสินคา้ 3,800 - 325,060 -
ค่าขนส่งเขา้ 2,150 - 6,500 -
ค่าโฆษณา 13,000 - 173,400 -
ค่ารับรองลูกคา้ 2,400 - 5,340 -
ค่าเช่า 1,870 - 2,100 -
ค่าขนส่งออก 16,400 - 89,500 -
คา่ สาธารณูปโภค 1,100 -
เงินเดือนพนกั งาน 2,500 -
3,800 -
2,150 -
13,000 -
2,400 -
1,870 -
16,400 -

ให้ทา งบทดลองก่อนรายการปรับปรุง สาหรับ 1 ปี สิ้นสุดวนั ที่ 31 ธนั วาคม 2550

199

ร้านเด่นเดือน

งบทดลองก่อนรายการปรับปรุง

สาหรับระยะเวลา 1 ปี สิ้นสุดวนั ที่ 31 ธันวาคม 2550

ช่ือบัญชี เลขที่ เดบิต เครดติ
บญั ชี บาท ส.ต. บาท ส.ต.

เงินสด 101 45,200 - 1,220 -
เงินฝากธนาคาร 102 137,700 -
ลูกหน้ีการคา้ 103 9,400 - 2,700 -
ค่าเผอื่ หน้ีสงสัยจะสูญ 104
สินคา้ คงเหลือ 105 17,000 - 14,300 -
วสั ดุสานกั งาน 106 4,800 - 16,200
อุปกรณ์สานกั งาน 107 38,000 - 220,000 -
คา่ เส่ือมราคาสะสมอุปกรณ์ 108 325,060 -
อาคาร 109 367,000 -
คา่ เสื่อมราคาสะสมอาคาร 110 173,400 -
เจา้ หน้ีการคา้ 201
เงินกจู้ านอง 202
ทุน-เด่นเดือน 301
ถอนใชส้ ่วนตวั 302 6,500
ขายสินคา้ 401 -
รับคืนสินคา้ 402 2,100

รายไดอ้ ่ืน ๆ 403 - 5,340 -
ซ้ือสินคา้ 501 89,500 -
ส่งคืนสินคา้ 502 1,100 -
ค่าขนส่งเขา้ 503 2,500 -
คา่ โฆษณา 504 3,800 -
ค่ารับรองลูกคา้ 505 2,150 -
ค่าเช่า 506 13,000 -
ค่าขนส่งออก 507 2,400 -
คา่ สาธารณูปโภค 508 1,870 -
เงินเดือนพนกั งาน 509 16,400 -

759,320 - 759,320 -

200

ตวั อย่างที่ 8 ในวนั ท่ี 1 สิงหาคม 2551 นางสุขใจ เริ่มดาเนินกิจการขายสินคา้ โดยไดจ้ ดทะเบียน
ภาษีมูลค่าเพมิ่ 7% ต้งั ชื่อร้านวา่ “ร้านสุขใจ” ต่อไปน้ีเป็ นรายการคา้ ท่ีเกิดข้ึนระหวา่ งเดือนสิงหาคม
2551
ส.ค. 1 นางสุขใจนาสินทรัพยต์ ่าง ๆ มาลงทุน ดงั น้ี

เงินสด 7,000 บาท เงินฝากธนาคาร 342,000 บาท อาคาร 385,000 บาท
อุปกรณ์สานกั งาน 125,000 บาท ที่ดิน 420,000 บาท
2 ซ้ือสินคา้ เป็ นเงินเชื่อจากร้านนงนุช 126,000 บาท เงื่อนไข 2/10, n/45 ภาษีมูลค่าเพิม่ 7%
Invoice # 052
3 ส่งคืนสินคา้ ให้ร้านนงนุช 2,500 บาท ภาษีมูลคา่ เพิ่ม 7% Dr Note เลขที่ 80
4 จ่ายค่าขนส่งสินคา้ ที่ซ้ือเมื่อวนั ท่ี 2 จานวน 750 บาท เป็นเงินสด ใบสาคญั จา่ ยเลขที่ 511
5 ขายสินคา้ เป็ นเงินเช่ือใหร้ ้านสมนึก 98,000 บาท เง่ือนไข 2/15, n/30 ภาษีมูลคา่ เพิ่ม 7%
Invoice # 801
6 รับคืนสินคา้ จากร้านสมนึก 2,000 บาท ภาษีมูลคา่ เพมิ่ 7% Cr Note เลขท่ี 44
7 ขายสินคา้ เป็ นเงินสด 32,500 บาท ภาษีมูลคา่ เพิ่ม 7% ใบสาคญั รับเลขที่ 411
8 ถอนเงินจากธนาคารมาใชใ้ นกิจการ 34,000 บาท
9 ซ้ือสินคา้ เป็ นเงินสด 41,000 บาท ภาษีมูลค่าเพ่มิ 7% ใบสาคญั จ่ายเลขท่ี 512
10 ส่งคืนสินคา้ ท่ีซ้ือมาเป็ นเงินสด 1,000 บาท เน่ืองจากไม่ตรงตามที่สง่ั ภาษีมูลคา่ เพิ่ม 7%
กิจการไดร้ ับเงินสดคืนแลว้ ใบสาคญั รับเลขท่ี 412
11 จา่ ยค่ารับรองลูกคา้ เป็นเงินสด 2,800 บาท ใบสาคญั จ่ายเลขที่ 513
12 จา่ ยชาระหน้ีร้านนงนุชท้งั สิ้น โดยจ่ายเป็ นเช็ค 80,000 บาท ท่ีเหลือจ่ายเป็ นเงินสด
ใบสาคญั จ่ายเลขท่ี 514
13 ขายสินคา้ เป็ นเงินเช่ือให้ร้านสมหวงั 37,000 บาท เงื่อนไข 3/15, n/60 ภาษีมูลคา่ เพมิ่ 7%
Invoice # 802
14 รับคืนสินคา้ สินคา้ จากร้านสมหวงั 1,000 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% Cr Note เลขที่ 45
15 ซ้ือวสั ดุสานกั งานเป็ นเงินเชื่อ 18,700 บาท จากร้านคลงั ศึกษา ภาษีมูลค่าเพ่มิ 7%
16 ซ้ือสินคา้ เป็ นเงินเชื่อจากร้านนงเยาว์ 72,000 บาท เง่ือนไข 2/1, n/30 ภาษีมูลคา่ เพม่ิ 7%
Invoice # 137
17 ส่งคืนสินคา้ ใหร้ ้านนงเยาว์ 1,500 บาท ภาษีมูลค่าเพิม่ 7% Dr Note เลขท่ี 81
18 ขายสินคา้ จานวน 75,000 บาท ไดร้ ับชาระเป็นเช็คนาฝากธนาคารทนั ที 45,000 บาท
ที่เหลือรับชาระเป็นเงินสด ภาษีมูลค่าเพิม่ 7% ใบสาคญั รับเลขที่ 413
19 รับคืนสินคา้ ท่ีขายไปเป็ นเงินสด 1,200 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ใบสาคญั จา่ ยเลขท่ี 515

201

20 รับชาระหน้ีจากร้านสมนึกเป็ นเงินสดท้งั สิ้น ใบสาคญั รับเลขท่ี 414
21 นาเงินสดฝากธนาคาร 42,000 บาท และขายสินคา้ เป็นเงินเชื่อใหแ้ ก่ร้านสมนึก 76,000 บาท

เง่ือนไข 3/15, n/60 ภาษีมูลคา่ เพมิ่ 7% Invoice # 803
23 จ่ายค่าโฆษณาทางหนงั สือพิมพท์ อ้ งถิ่น 5,000 บาท เป็นเงินสด ใบสาคญั จา่ ยเลขที่ 516
24 ขายสินคา้ เป็นเงินสด 52,000 บาท ภาษีมูลคา่ เพมิ่ 7% ใบสาคญั รับเลขที่ 415
25 ซ้ือสินคา้ เป็นเงินเชื่อจากร้านนงศรี 46,000 บาท เง่ือนไข 3/15, n/45 ภาษีมูลคา่ เพิม่ 7%

Invoice # 214
26 จ่ายชาระหน้ีร้านนงเยาวท์ ้งั สิ้นโดยจ่ายเป็ นเช็ค 50,000 บาท ที่เหลือจ่ายเป็ นเงินสด

ใบสาคญั จา่ ยเลขท่ี 517
27 ซ้ือสินคา้ เป็นเงินเชื่อจากร้านนงนุช 65,000 บาท เง่ือนไข 2/10, n/45 ภาษีมูลค่าเพิม่ 7%

Invoice # 079
28 รับชาระหน้ีท้งั สิ้นจากร้านสมหวงั เป็นเงินสด ใบสาคญั รับเลขท่ี 416
29 ซ้ือเครื่องตกแตง่ สานกั งานเป็ นเงินเชื่อจากร้าน เจนการคา้ 54,000 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%

และ ซ้ือสินคา้ เป็นเงินเชื่อจากร้านนงเยาว์ 61,000 บาท บาท เงื่อนไข 3/15, n/45
ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% Invoice #153
30 ขายสินคา้ เป็นเงินเชื่อให้ร้านสมฤดี 155,000 บาท เงื่อนไข 2/15, n/60 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%
Invoice # 804
31 จา่ ยเงินเดือนพนกั งานเป็ นเช็ค 33,000 บาท และจา่ ยค่าแรงงานเป็นเงินสด 11,500 บาท
ใบสาคญั จา่ ยเลขที่ 518
ให้ทา 1. บนั ทึกรายการเปิ ดบญั ชี และรายการท่ีไมส่ ามารถบนั ทึกในสมุดรายวนั เฉพาะเล่มใดได้ ลง
ในสมุดรายวนั ทว่ั ไป
2. บนั ทึกรายการในสมุดรายวนั ซ้ือสินคา้
3. บนั ทึกรายการในสมุดรายวนั ส่งคืนสินคา้ และจานวนท่ีไดล้ ด
4. บนั ทึกรายการในสมุดรายวนั ขายสินคา้
5. บนั ทึกรายการในสมุดรายวนั รับคืนสินคา้ และจานวนที่ลดให้
6. บนั ทึกรายการในสมุดรายวนั รับเงิน
7. บนั ทึกรายการในสมุดรายวนั จ่ายเงิน
8. ผา่ นรายการขา้ งตน้ ไปยงั บญั ชีแยกประเภทเจา้ หน้ีรายตวั และลูกหน้ีรายตวั
9. ผา่ นรายการขา้ งตน้ ไปยงั บญั ชีแยกประเภททว่ั ไปที่เกี่ยวขอ้ งทุกบญั ชี
10. จดั ทางบรายละเอียดเจา้ หน้ีและงบรายละเอียดลูกหน้ี
11. จดั ทางบทดลองก่อนปรับปรุง

202

ข้อสังเกต

1. รายการคา้ ในวนั ท่ี 1 สิงหาคม 2551 เป็นการบนั ทึกการลงทุนคร้ังแรกท่ีเร่ิมเปิ ดกิจการ

หรือที่เรียกวา่ รายการเปิ ดบญั ชี จึงตอ้ งบนั ทึกรายการในสมุดรายวนั ทวั่ ไป

2. รายการคา้ ในวนั ท่ี 15 และวนั ท่ี 29 สิงหาคม 2551 เป็นรายการที่กิจการซ้ือสินทรัพยม์ าไว้

ใชใ้ นกิจการเป็นเงินเชื่อ ไมส่ ามารถบนั ทึกรายการในสมุดรายวนั เฉพาะเล่มใดเล่มหน่ึง จึงตอ้ งบนั ทึก

ไวใ้ นสมุดรายวนั ทวั่ ไป

3. การรับชาระหน้ี และการจา่ ยชาระหน้ีในตวั อยา่ งจะรับชาระและจา่ ยชาระภายใตเ้ งื่อนไข

ท่ีจะตอ้ งใหส้ ่วนลดและไดร้ ับส่วนลด ซ่ึงจานวนเงินท่ีจะนามาคิดส่วนลดน้นั จะนามาจากมูลค่าของ

สินคา้ ที่ซ้ือขายกนั หกั ดว้ ย รายการส่งคืนสินคา้ หรือรับคืนสินคา้ แลว้ จึงนามาคูณอตั ราส่วนลดในแต่

ละเง่ือนไข ผลที่ไดจ้ ะเป็น ส่วนลดรับหรือส่วนลดจา่ ยแลว้ แต่กรณี จะเห็นวา่ ยอดเงินท่ีนามาคานวณ

ส่วนลดน้นั ไมไ่ ดร้ วมภาษีซ้ือหรือภาษีขาย เช่น

- วนั ท่ี 2 ซ้ือสินคา้ เชื่อจากร้านนงนุช 126,000 บาทเงื่อนไข 2/10, n/45 ภาษีมูลค่าเพ่มิ 7%

- วนั ท่ี 3 ส่งคืนสินคา้ ให้ร้านนงนุช 2,500 บาท ภาษีมูลคา่ เพม่ิ 7%

- วนั ที่ 12 จ่ายชาระหน้ีร้านนงนุชเป็ นเช็ค 80,000 บาท ท่ีเหลือจา่ ยเป็ นเงินสด

จากกรณีตวั อยา่ งที่ยกมาขา้ งตน้ จะเห็นวา่ ร้านสุขใจ จ่ายชาระหน้ีร้านนงนุชภายใตเ้ งื่อนไขท่ีจะ

ไดส้ ่วนลด 2% การคานวณยอดเงินท่ีจะตอ้ งจ่ายชาระใหร้ ้านนงนุช ในวนั ที่ 12 สิงหาคม 2551 เป็นดงั น้ี

มูลค่าของสินคา้ ที่ร้านสุขใจซ้ือจากร้านนงนุช 126,000 บาท

บวก ภาษีซ้ือ (126,000  7%) 8,820 บาท

รวมร้านสุขใจเป็นหน้ีร้านนงนุชท้งั สิ้น 134,820 บาท

หกั ส่งคืนสินคา้ ใหน้ งนุช 2,500 + (2,500  7%) 2,675 บาท

ยอดหน้ีคงเหลือ 132,145 บาท

หกั ส่วนลดรับ (126,000 - 2,500)  2% 2,470 บาท

ฉะน้นั ยอดเงินที่ร้านสุขใจตอ้ งจ่ายชาระใหร้ ้านนงนุชคือ 129,675 บาท

หกั ร้านสุขใจจ่ายชาระเป็ นเช็คใหน้ งนุช 80,000 บาท

ดงั น้นั ร้านสุขใจตอ้ งจา่ ยเป็ นเงินสดให้นงนุชอีก 49,675 บาท

การคานวณในดา้ นของการรับชาระหน้ีก็คานวณในลกั ษณะเดียวกนั เช่น
- วนั ที่ 5 ขายสินคา้ เช่ือให้ร้านสมนึก 98,000 บาท เงื่อนไข 2/15, n/30 ภาษีมูลค่าเพม่ิ 7%
- วนั ที่ 6 รับคืนสินคา้ จากร้านสมนึก 2,000 บาท ภาษีมูลคา่ เพ่ิม 7%
- วนั ท่ี 20 รับชาระหน้ีจากร้านสมนึกเป็นเงินสดท้งั สิ้น

203

จานวนเงินที่ร้านสุขใจจะไดร้ ับชาระจากร้านสมนึก คานวณไดด้ งั น้ี 98,000 บาท
มูลค่าของสินคา้ ท่ีร้านสุขใจขายใหร้ ้านสมนึก 6,860 บาท
บวก ภาษีขาย (98,000  7%) 104,860 บาท
รวมร้านสมนึกเป็ นหน้ีร้านสุขใจท้งั สิ้น 2,140 บาท
หกั รับคืนสินคา้ จากร้านสมนึก 2,000 + (2,000  7%) 102,720 บาท
ยอดลูกหน้ีคงเหลือ 1,920 บาท
หกั ส่วนลดจา่ ย (98,000 - 2,000)  2% 100,800 บาท
ฉะน้นั ยอดเงินสดที่ร้านสุขใจจะไดร้ ับจากร้านสมนึกคือ

1. บนั ทกึ รายการเปิ ดบญั ชี และรายการค้าทไี่ ม่สามารถบันทกึ ในสมุดรายวนั เฉพาะเล่มใดได้

ลงในสมุดรายวนั ทว่ั ไป

สมุดรายวนั ทวั่ ไป หน้า 1

พ.ศ. 2551 รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต
เดือน วนั ที่
บัญชี บาท ส.ต. บาท ส.ต.

ส.ค. 1 เงินสด 101 87,000 -

เงินฝากธนาคาร 102 342,000 -

อุปกรณ์สานกั งาน 106 125,000 -

อาคาร 108 385,000 -

ท่ีดิน 109 420,000 -

ทุน - สุขใจ 301 1,359,000 -

นางสุขใจนาสินทรัพยต์ ่าง ๆ มาลงทุน

15 วสั ดุสานกั งาน 105 18,700 -

ภาษีซ้ือ (18,700  7%) 104 1,309 -
เจา้ หน้ี - คลงั ศึกษา 203 20,009 -

ซ้ือวสั ดุสานกั งานเป็นเงินเช่ือ

29 เคร่ืองตกแต่งสานกั งาน 107 54,000 -

ภาษีซ้ือ (54,000  7%) 104 3,780 -

เจา้ หน้ี - เจนการคา้ 204 57,780 -

ซ้ือเคร่ืองตกแต่งเป็ นเงินเชื่อจากร้านเจน


Click to View FlipBook Version