The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

e-Book เรื่อง สมุดรายวันเฉพาะ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Lawan la-ong, 2019-06-04 00:28:08

e-Book เรื่อง สมุดรายวันเฉพาะ

e-Book เรื่อง สมุดรายวันเฉพาะ

บทท่ี 8
สมุดรายวนั เฉพาะ

ในบทท่ีผานมาไดอธิบายถึงวิธีการซ้ือขายสินคา และการบันทึกรายการซ้ือขาย
สินคาในสมุดรายวันทั่วไป การผานรายการไปยังบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวของ กิจการขนาดเล็ก
รายการคามีไมมากนัก การบันทึกรายการซื้อขายสินคาจะบันทึกในสมุดรายวันทั่วไปและผาน
ไปบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวของจึงไมยุงยาก แตในกิจการขนาดใหญมีรายการคาเปนจํานวนมาก
รายการซ้ือขายสินคามีมาก การบันทึกรายการในสมุดรายวันท่ัวไปและผานไปบัญชีแยก
ประเภทจะมีจํานวนมากทําใหเสียเวลาในการที่จะตองบันทึกรายการประเภทเดียวกันในสมุด
รายวันทั่วไป และผานไปยังบัญชีแยกประเภททั่วไปซํ้า ๆ กัน และไมสะดวกในการคนหา
ภายหลงั ดังนนั้ นกั บญั ชีจึงจดั รายการท่มี ลี กั ษณะเหมอื นกนั หรอื ประเภทเดยี วกนั ไวเปนกลุม ๆ
และบนั ทึกไวใน สมุดรายวันเฉพาะ แทนสมดุ รายวันทั่วไป

ความหมายของสมุดรายวนั เฉพาะ

สมุดรายวันเฉพาะเปนสมุดบัญชีท่ีชวยใหเกิดความรวดเร็วในการทํารายการคาท่ีซํ้า
กันเปนจํานวนมาก ซ่ึงนักวิชาการไดใหความหมายของสมุดรายวันเฉพาะ (special journal) ไว
หลายทัศนะ ดังน้ี

สมุดรายวันเฉพาะ หมายถึง สมุดบัยชีข้ันตนประเภทหน่ึงท่ีกิจการจะใชทําการ
บันทึกรายการธรุ กิจท่เี กิดขึน้ ในแตละวัน เชน เดียวกบั สมดุ รายวนั ทัว่ ไป แตส มุดรายวันเฉพาะแต
ละเลมจะใชบันทกรายการเฉพาะเร่ืองนั้น ๆ เพื่อกอใหเกิดความสะดวกและรวดเร็วในการ
บนั ทกึ บัญชี (กลั ยาภรณ ปานมะเรงิ เบอรค, 2546, หนา 107)

สมดุ รายวนั เฉพาะ หมายถงึ สมดุ รายวันเฉพาะ หมายถึง สมุดรายวันขั้นตนประเภท
หนึง่ ซง่ึ เหมาะสําหรบั กิจการที่มรี ายการคา เกิดข้ึนจํานวนมาก (ไพบูลย ผจงวงศ, 2547, หนา 163)

สมุดรายวันเฉพาะ หมายถึง สมุดข้ันตนที่ใชบันทึกรายการคาท่ีเกิดขึ้นในลักษณะ
เดียวกันไวดว ยกัน (สวุ รรณนา อนิ คลาย, 2547, หนา 3-12)

จากความหมายของสมุดรายวันเฉพาะดังกลาวขางตนสรุปไดวา สมุดรายวันเฉพาะ
หมายถึง สมุดบันทึกรายการขั้นตน ท่ีใชสําหรับบันทึกรายการประเภทใดประเภทหนึ่งโดยเฉพาะ
ซ่ึงรายการน้ันมักเกิดข้ึนบอย ๆ หรือมีจํานวนมาก วิธีนี้จะชวยลดงาน และยังสามารถแบงงานให

เจาหนาที่แตละคนรับผิดชอบได ในกิจการจําหนายสินคาโดยท่ัวไปสมุดรายวันเฉพาะท่ีใชใน
กิจการมดี งั น้ี

1. สมุดรายวันซื้อ ใชสําหรับบันทึกรายการเก่ียวกับการซ้ือสินคาเปนเงินเช่ือ
เทาน้ัน ทุก ๆ สิ้นเดือนจะรวมยอดสมุดรายวันซ้ือแลวผานรายการไปบัญชีแยกประเภทที่
เกย่ี วของ โดยเดบติ บญั ชีซอ้ื เดบิตบญั ชีภาษีซือ้ และเครดติ บญั ชเี จาหน้ี

2. สมุดรายวันสงคืน เปนสมุดรายวันเฉาพะท่ีบันทึกเก่ียวกับการสงคืนสินคา
ข้ันตอนการบันทกึ คลายกับการบนั ทึกในสมดุ รายวนั ซ้ือ ทุกวันส้ินเดือนจะรวมยอดสมุดรายวัน
สงคืน แลว ผานรายการไปบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวของ โดยเดบิตบัญชีเจาหน้ี และเครดิตบัญชี
สง คนื เครดติ ภาษีซอื้

3. สมุดรายวันขาย ใชสําหรับบันทึกการขายสินคาเปนเงินเชื่อเทาน้ัน ทุกวันส้ิน
เดือนจะรวมยอดการขายเช่ือ แลวผานรายการไปบัญชีแยกประเภทท่ีเกี่ยวของ โดยเดบิต
บัญชีลกู หนี้ เครดติ บัญชขี าย และเครดติ บญั ชีภาษีขาย

4. สมุดรายวันรับคืน เปนสมุดรายวันเฉพาะที่เปดข้ึนมาเพ่ือบันทึกการรับคืน
สินคาที่เกิดข้ึนบอย ๆ ขั้นตอนการบันทึกคลายกับสมุดรายวันขาย จะรวมยอดในวันส้ินเดือน
แลวผานรายการไปบัญชีแยกประเภทท่ีเก่ียวของ โดยเดบิต บัญชีรับคืน เดบิต บัญชีภาษีขาย
และเครดิต บัญชลี ูกหน้ี

5. สมุดรายวันรับเงิน ใชสําหรับบันทึกเกี่ยวกับการรับเงินและการนําเงินฝาก
ธนาคารรายการที่บันทึกในสมุดรายวันรับเงินแลว ไมตองนําไปบันทึกในสมุดรายวันทั่วไปอีก
ขั้นตอนการบันทึกในสมุดรายวันรับเงินจะเหมือนกับการบันทึกในสมุดรายวันท่ัวไป โดยระบุ
วา เดบิตบัญชีอะไร เครดิตบัญชีอะไร จํานวนเงินเทาใด ทุก ๆ สิ้นเดือนจะรวมยอดแลวผาน
รายการไปบัญชีแยกประเภทท่ีเกี่ยวของ โดย เดบิตบัญชีเงินสด เดบิต บัญชีเงินฝากธนาคาร
เดบิต บัญชีสวนลดจาย และเครดิต บัญชีลูกหนี้ เครดิต บัญชีขาย เครดิตบัญชีภาษีขาย สวน
เครดิต ในชอ งบญั ชีอน่ื ๆ ไดผ านไปบัญชแี ยกประเภททเี่ กีย่ วของท่รี ายการคา นัน้ เกดิ ขึน้

6. สมุดรายวันจายเงิน ใชสําหรับบันทึกเกี่ยวกับการจายเงิน และการจายเช็คจาก
ธนาคาร สมุดรายวันจายเงนิ จะใชค วบคูกบั สมดุ รายวันรับเงิน ทุกวันส้ินเดือนจะรวมยอดบัญชี
ตาง ๆ แลวผานรายการไปบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวของ โดย เครดิต บัญชีเงินสด เครดิต บัญชี
เงินฝากธนาคาร เครดิต บัญชีสวนลดรับ สวนชองเดบิต จะนําไปเดบิต บัญชีเจาหน้ี เดบิต บัญชี
ซอ้ื เดบิต บญั ชีภาษีซ้อื สว นชองบัญชอี นื่ ๆ ไดผา นไปเดบิตบญั ชแี ลวตั้งแตรายการคาเกิดขน้ึ

บัญชีคมุ ยอดและสมดุ แยกประเภทยอ ย

ในกิจการซื้อขายสินคายอมมีลูกหนี้และเจาหนี้การคาเปนจํานวนมาก การเปดสมุด
แยกประเภทท่วั ไป (general ledger) ลกู หนแี้ ละเจา หนแี้ ตล ะรายยอ มไมส ะดวก ดังน้ันจึงมีการ
นํารายการท่ีเกี่ยวกับลูกหนี้และเจาหน้ีทุก ๆ รายไปบันทึกไวในบัญชีแยกประเภทชนิดเดียวกัน
เชน จะนําเอาลูกหนี้การคาทุก ๆ รายไปบันทึกไวใน บัญชีลูกหนี้การคา และเจาหน้ีการคาทุก
ๆ รายบันทึกไวใน บัญชีเจาหนี้การคา บัญชีทั้งสองนี้เรียกอีกอยางหนึ่งวาเปน บัญชีคุมยอด
(control account) ในการทาํ งบทดลองจะนําเอายอดคงเหลอื ของบัญชคี มุ ยอดไปบนั ทึก

ในทางปฏิบัติเมื่อไดบันทึกรายการเกี่ยวกับลูกหน้ีการคา และเจาหน้ีการคาไวใน
บัญชีคุมยอดและแตละเลมแลว รายละเอียดตาง ๆ เก่ียวกับลูกหนี้การคาและเจาหนี้การคาท่ี
บนั ทึกไวในบัญชคี มุ ยอดยังใหร ายละเอียดไมเ พยี งพอ โดยไมท ราบวาใครเปน ลูกหนหี้ รอื เจา หน้ี
ของกิจการ วันที่เปนหนี้ และจํานวนเงินที่บันทึกการเปนหนี้ ดังน้ัน จึงเปดสมุดแยกประเภท
ยอยลูกหน้ีหรือสมุดแยกประเภทเจาหน้ีของกิจการเปนรายบุคคลไป โดยไมถือวาบัญชีเหลาน้ี
เปนสมุดแยกประเภททั่วไปเหมอื นบัญชีคมุ ยอด แตเ ปน บัญชีบัญชปี ระกอบบัญชีคุมยอดเรียกวา
สมุดแยกประเภทยอย (subsidiary ledger) เชน บัญชีคุมยอดลูกหน้ีการคาจะมีสมุดแยก
ประเภทยอยลูกหน้ีการคาเปนรายบุคคลประกอบ เปนตน ยอดคงเหลือของสมุดแยกประเภท
ยอยเมอ่ื รวมกันจะเทากบั ยอดคงเหลือของบัญชีคุมยอด แบบฟอรม บัญชีทใ่ี ชบ ันทกึ ถา เปน บัญชี
คุมยอดจะนยิ มใชบญั ชีแบบมาตรฐานสวนสมุดแยกประเภทยอ ยลูกหนี้หรือเจาหนี้รายตวั นยิ มใช
บญั ชีแบบแสดงยอดดุล เพราะสามารถบอกรายละเอียดตาง ๆ ไดชัดเจนและทราบยอดคงเหลือ
ไดท นั ที ตอไปนี้เปน ตวั อยา งสมุดบญั ชีแยกประเภทยอ ย

สมดุ บัญชแี ยกประเภทยอย

ชื่อเจา หนี้ ........................................... เลขที่ ......

วนั ท่ี รายการ เง่ือนไขการ หนา เดบิต เครดติ ยอด
คงเหลือ
ชาํ ระเงิน บญั ชี

ภาพที่ 8.1 สมุดแยกประเภทยอ ย
ทม่ี า (อรณุ ี ยอดบตุ ร, ม.ป.ป., หนา 285)

1. สมุดรายวันซื้อ (purchases journal) เปนสมุดบัญชีขั้นตนท่ีใชสําหรับจดบันทึก
รายการซ้อื สินคา เปนเงินเช่ือเทานนั้ ถามกี ารซือ้ สนิ คา ทีเ่ ปนเงินสด หรือซ้ือสินทรัพยประเภทอื่น
เปน เงนิ เชื่อ จะไมน าํ มาจดบันทึกในสมดุ รายวนั ซอ้ื แตจะนําไปจดบันทึกในสมุดเลมอ่ืน เม่ือการ
จดบันทึกรายการในสมุดรายวันซ้ือเรียบรอยแลวจะตองทําการผานรายการไปยังสมุดข้ันปลาย
นั่นคือในแตละวันทําการจะตองผานรายการไปยังสมุดบัญชีแยกประเภทเจาหนี้แตละราย และ
เมื่อผานบัญชีเรียบรอยแลวใหยอนไปใสเครื่องหมาย 3 ในชองของการผานบัญชีของสมุด
รายวันซื้อสินคาดวย ซ่ึงยอดคงเหลือของเจาหนี้การคาแตละรายในสมุดบัญชีแยกประเภทยอย
รวมกันตองเทากับยอดคงเหลือของบัญชีเจาหน้ีการคาในสมุดแยกประเภทท่ัวไป และทุกส้ิน
เดือนกิจการตองทําการผานรายการจากสมุดรายวันซื้อสินคาไปยังสมุดบัญชีแยกประเภทท่ัวไป
ทีเ่ กย่ี วขอ ง คอื บญั ชีซ้ือ ภาษซี อื้ และบัญชเี จาหนีก้ ารคา

ตอไปน้ีเปน ตวั อยา งสมุดรายวนั ซือ้

(1) สมดุ รายวันซื้อ (2)หนา ......
เครดติ
เลขที่ หนา เดบิต(7) เจาหนี้
วนั ที่ ใบกาํ กบั ซ้ือ ภาษซี ื้อ (8)
(3) สินคา ช่อื เจาหน้ี บญั ชี

(4) (5) (6)

ภาพที่ 8.2 สมุดรายวนั ซื้อ
ทม่ี า (กรมพัฒนาธรุ กจิ การคา , 2547, หนา 18)

จากภาพที่ 8.2 สมดุ รายวันซ้ือมีรายละเอียด ดังนี้
1. ชอ่ื สมดุ รายวนั ซอื้
2. หนา แสดงหนา ของสมดุ รายวนั ซื้อซ่ึงจะเรยี งลาํ ดบั ไป
3. ชองวนั ที่ แสดง วัน เดือน ป ท่ีเกิดรายการซือ้ เชอ่ื

4. ชองเลขที่ใบกํากับสินคา สําหรับอางอิงเลขท่ีของใบกํากับสินคา/ใบกํากับภาษี
หรอื ใบสงของท่ีเก่ียวกบั การซ้อื

5. ชองช่อื เจา หน้ี สาํ หรบั บนั ทกึ ช่ือเจา หนี้ หรือผูขายสนิ คา
6. ชองหนาบัญชี ใชสําหรับการอางอิงถึงบัญชีแยกประเภทเจาหน้ีรายการบุคคล

เม่ือไดผานรายการคาแลวใหใชเคร่ืองหมายตอไปน้ี 3 เปนตัวอยางแสดงการ
บันทึกรายการคาในสมุดรายวันซื้อ การผานรายการไปสมุดแยกประเภทเจาหน้ี
รายตัวและสมุดแยกประเภทท่ัวไป
7. ชองเดบติ ใชส าํ หรับบันทึกจํานวนเงินของยอดซอ้ื และภาษซี ื้อ
8. ชองเครดติ เจาหนี้ ใชสําหรับบนั ทึกจาํ นวนเงินรวมของบัญชีเจาหน้ีซ่ึงตองเทากับ
ยอดรวมของยอดซ้อื และภาษีซ้ือในชองเดบติ
ทั้งนี้สมุดรายวันซ้ือของแตละกิจการอาจมีรูปแบบที่แตกตางกันตามความเหมาะสม
และความตองการขอมูล

ตัวอยา งท่ี 8.1 บรษิ ทั สยามพารา จาํ กดั มีรายละเอียดของเจา หนี้ ยกมาเมอื่ 1 มกราคม 25x1 ดงั นี้

บรษิ ัท เทพนคร จาํ กดั 5,000 บาท

บริษัทเกษมศาสน 12,000 บาท

ในระหวางเดอื น มกราคม มรี ายการเกย่ี วกับการซอ้ื สินคา เปน เงนิ เชื่อดังนี้

25x1

ม.ค. 5 ซ้ือสินคาจากบริษัท เทพนคร จํากัด 8,000 บาท ตามใบกํากับสินคาเลขท่ี1150

ภาษีมลู คา เพม่ิ 7% เงอ่ื นไขการชาํ ระเงิน 2/10, n/30

12 ซอ้ื สนิ คาจากรา นนารัก 41,200 บาท ตามใบกํากบั สนิ คาเลขที่ 1487 ภาษีมูลคาเพ่ิม 7%

เง่ือนไขการชําระเงนิ n/30

15 ซ้ือสินคาจากบริษัทเกษมศาสน 5,500บาท ตามใบกํากับสินคาเลขที่ 1562

ภาษมี ูลคา เพม่ิ 7% เงอื่ นไขการชําระเงิน 3/10, n/30

จากขอมูลดังกลา วบรษิ ัท สยามพารา จาํ กดั สามารถนํามาบนั ทึกรายการไดดงั นี้

สมดุ รายวนั ซอ้ื หนา 1

เลขที่ หนา เดบติ เครดติ

วันท่ี ใบกํากับ ชือ่ เจาหนี้ บัญชี ซอื้ ภาษีซ้ือ เจาหน้ี
สินคา

25x1

ม.ค. 5 1150 บรษิ ทั เทพนคร จํากัด 3 8,000 - 560 - 8,560 -
12 1487 รา นนารกั 3 41,200 - 2,884 - 44,084 -
15 1562 บริษทั เกษมศาสนจ ํากดั 3 5,500 - 385 - 5,885 -
เดบติ ซ้ือ, ภาษีซ้อื 54,700 - 3,829 - 58,529 -

เครดติ เจา หน้ี (501) (105) (201)

เม่อื บันทึกรายการในสมดุ รายวันซอื้ ในแตละวันตองทําการผา นรายการไปยังสมุด
บญั ชแี ยกประเภทยอ ยเจาหนก้ี ารคาแตละราย ซึง่ แสดงไดด งั น้ี

บรษิ ัท เทพนคร จาํ กัด เงอื่ นไขการ หนา เดบิต เลขท่ี
วันท่ี รายการ ชาํ ระเงิน บญั ชี
เครดิต ยอด
25x1 คงเหลือ
ม.ค. 1 ยอดยกมา
3 5,000
5 ซอ้ื 2/10, n/30 ซ.1 8,560 13,560

รานนารัก รายการ เงอ่ื นไขการ หนา เดบิต เลขท่ี
วนั ที่ ชาํ ระเงิน บัญชี เครดิต ยอด

คงเหลือ

25x1 n/30 3 44,084 44,084
ม.ค. 12 ซ้อื

บริษัท เกษมศาสน จาํ กดั เงอ่ื นไขการ หนา เดบิต เลขที่
วันที่ รายการ ชําระเงนิ บัญชี
เครดิต ยอด
25x1 คงเหลือ
ม.ค. 1 ยอดยกมา
3 12,000
15 ซื้อ 3/10, n/30 ซ.1 5,885 17,885

และทุก ๆ สิ้นเดือนกิจการจะทําการสรุปยอดในสมุดรายวันซ้ือเพื่อผานรายการยอด
รวมไปบญั ชีแยกประเภทท่วั ไปทเี่ กี่ยวของ คือ บญั ชเี จา หนี้การคา บญั ชีซอื้ และบัญชีภาษซี ้อื

วนั ท่ี รายการ บัญชภี าษซี ้อื รายการ เลขที่ 105
25x1
ม.ค. 31 ภาษีซอ้ื เชอื่ หนา จาํ นวนเงนิ วันที่ หนา จํานวนเงนิ
บญั ชี บัญชี
ซ.1 3,829 -

บญั ชีเจา หนก้ี ารคา เลขท่ี 105

วันที่ รายการ หนา จาํ นวนเงิน วันท่ี รายการ หนา จาํ นวนเงนิ

บัญชี 25x1 บญั ชี

ม.ค. 31 ยอดยกมา 3 17,000 -

ซื้อเชือ่ ประจําเดือน ซ.1 58,529 -

บัญชซี ือ้ รายการ เลขท่ี 105

วนั ท่ี รายการ หนา จาํ นวนเงนิ วันท่ี หนา จํานวนเงนิ
25x1 บญั ชี บัญชี
ม.ค. 31 ซ้ือเชอ่ื ประจาํ เดือน ซ.1 54,700 -

การสง คนื และขอลดราคาสินคา

สินคาท่ีกิจการซ้ือมาอาจมีสินคาที่ไมตรงตามสั่ง หรือสินคาชํารุดเสียหาย กิจการ
อาจยอมรับสินคานั้น โดยขอใหผูขายลดราคาให หรืออาจสงคืนใหกับผูขาย โดยผูซื้อออกใบ
ขอลดหน้ี เพ่ือแจงใหผูขายทราบ เมื่อผูขายไดรับแจงการสงคืนหรือขอลดราคาสินคาแลว
ผูขายตกลงยนิ ยอมก็จะทําเอกสารทเ่ี รียกวาใบลดหนแี้ จง ใหผซู ื้อทราบ

รายการสงคืนสินคาหรือขอลดราคาสินคานั้น จะมีผลตรงกันขามกับรายการซื้อ
สินคา ถารายการสงคืนสินคาเกิดจากการซ้ือสินคาเปนเงินเช่ือก็จะมีผลทําใหยอดซื้อ ภาษีซ้ือ
และเจาหนี้ลดลง ซึ่งในทางปฏิบัติไมนิยมลดยอดบัญชีซื้อโดยตรง แตจะบันทึกไวบัญชีสงคืน
กอนและเมื่อสิ้นงวดก็จะนํายอดบัญชีสงคืนไปหักจากยอดบัญชีซื้อในงบกําไรขาดทุน เพ่ือหา
ยอดซ้ือสุทธกิ จิ การที่มกี ารสง คนื สินคาเปนจาํ นวนมาก ๆ หรือเกิดขึ้นบอย ๆ อาจเปด สมุดรายวัน
สงคืน สําหรับการบันทึกการสงคืนสินคา ซ่ึงเปนการสงคืนสินคาท่ีซื้อมาเปนเงินเช่ือเทาน้ัน
ซึ่งเม่ือบันทึกรายการแลวจะไปลดยอดเจาหนี้ในสมุดแยกประเภทยอยเจาหน้ีรายบุคคล พอสิ้น
เดือนจะรวมยอดในสมุดรายวันสงคืนผานไปบัญชีท่ีเกี่ยวของ คือ บัญชีเจาหนี้ บัญชีสงคืน
และบัญชีภาษีซ้ือ ในกรณีที่กิจการมีรายการสงคืนสินคาไมมากนัก ก็ไมจําเปนตองเปดสมุด
รายวันสงคืนสินคา แตบ ันทกึ รายการสง คืนในสมดุ รายวันทั่วไปแทน

ตอไปนเี้ ปน ตวั อยางสมดุ รายวันสงคนื

(1) สมดุ รายวนั สง คืน (2)หนา 1
(8)เครดิต
วันท่ี เลขที่ใบ หนา เดบติ ซื้อ ภาษซี ้อื
(3) ลดหน้ี
ชื่อเจาหนี้ บัญชี เจาหน้ี
(4)
(5) (6) (7)

ภาพท่ี 8.2 สมดุ รายวันสง คนื

จากภาพท่ี 8.2 สมุดรายวนั สง คืนมรี ายละเอียด ดงั นี้
1. ชอ่ื สมุดรายวนั สงคืน

2. หนา แสดงหนาของสมดุ รายวันสงคนื ซึ่งจะเรียงลาํ ดับไป
3. ชองวันที่ แสดง วนั เดือน ป ทเ่ี กดิ รายการสงคืนlbo8hk
4. ชองเลขท่ีใบลดหน้ี สําหรับอางอิงเลขท่ีของใบลดหนี้/ใบขอลดหน้ีที่เก่ียวกับการ

สงคนื สนิ คา
5. ชองชอ่ื เจาหนี้ สาํ หรับบันทึกชือ่ เจาหน้ี หรือผขู ายสนิ คา
6. ชองหนาบัญชี ใชสําหรับการอางอิงถึงบัญชีแยกประเภทเจาหนี้รายการบุคคล

เม่ือไดผานรายการคาแลวใหใชเครื่องหมายตอไปนี้ 3 เปนตัวอยางแสดงการ
บันทึกรายการคาในสมุดรายวันสงคืน การผานรายการไปสมุดแยกประเภท
เจาหนีร้ ายตัวและสมุดแยกประเภทท่ัวไป
7. ชอ งเดบิตเจา หน้ี ใชส ําหรบั บันทึกจํานวนเงนิ ทข่ี อลดหน้ี
8. ชองเครดิตซ้ือ และภาษีซื้อ ใชสําหรับบันทึกจํานวนเงินขิงยอดซ้ือ และภาษีซื้อที่
สงคืนสินคา
ตัวอยางท่ี 8.2 จากตัวอยางที่ 8.1 วันที่ 20 มกราคม 25x1 บริษัท สยามพารา จํากัด สงสินคาคืน
บรษิ ัท เทพนคร จํากัด ไดรบั ใบลดหนี้เลขที่ 113 จํานวนเงิน 500 บาท บนั ทกึ ในสมุดรายวันรับคืน
ดงั น้ี

สมดุ รายวนั สงคนื หนา 1
เครดิต
วันท่ี เลขทใ่ี บ หนา เดบิต ซื้อ ภาษีซอื้
ลดหนี้ เจา หน้ี
ชอ่ื เจาหนี้ บัญชี

25x1 3 535 - 500 - 35 -
ม.ค.20 113 บรษิ ทั เทพนคร จํากัด 535 - 500 - 35 -
(105) (501)
เดบติ เจาหนี้

เครดิต ซื้อ (201)

ภาษีซื้อ

บริษัท เทพนคร จํากดั เง่อื นไขการ หนา เดบติ เลขท่ี
วันท่ี รายการ ชาํ ระเงิน บัญชี
เครดติ ยอด
25x1 คงเหลือ
ม.ค. 1 ยอดยกมา
3 5,000
5 ซ้อื 2/10, n/30 ซ.1 8,560 13,560
20 สง คืน 535 13,025
สค.1

สมุดรายวนั ขาย

ในการขายสินคาเปนเงินเช่ือเกิดขึ้นบอย ๆ แทนท่ีจะบันทึกรายการในสมุดรายวัน
ทั่วไปแลวผานราการไปสมุดแยกประเภทท่ัวไปทุก ๆ คร้ังท่ีมีการขายเช่ือ ทําใหเสียเวลาและ
ทาํ ซ้ํา ๆ กัน กจิ การอาจแยกบนั ทกึ รายการขายเชื่อไว ในสมุดรายวันเฉพาะ เรียกวา สมุดรายวัน
ขาย (sales journal) เชนเดียวกับสมุดรายวันซื้อแลวจึงผานยอดรวมขายเชื่อทั้งเดือน ผาน
รายการไปเดบิตบัญชีลูกหนี้ เครดิตบัญชีขาย และบัญชีภาษีขาย เดือนละคร้ังทุกวันส้ินเดือน
นอกจากนน้ั แลวใหผา นรายการขายเช่อื ไปเดบติ สมุดแยกประเภทยอ ยลูกหนี้รายบคุ คล ในแตล ะ
วนั ท่ีมรี ายการขายเช่อื เกิดขนึ้

แบบฟอรมของสมุดรายวันขาย

(1) สมุดรายวันขาย

(2) หนา 1

ว.ด.ป. บัญชที ่ี ใบกาํ กับสินคา / เงอื่ นไข หนาบญั ชี จาํ นวนเงิน จาํ นวนเงนิ เดบิต

เครดิต ใบกาํ กับภาษี เครดิต ขาย ภาษีขาย

(3) (4) (5) (6) (7) (8) (9) (9)

คาํ อธิบายรปู แบบของสมดุ รายวนั ขาย
1. ชอ่ื สมุดรายวนั ขาย
2. หนา ของสมดุ รายวนั ขายซอ้ื จะเรียงลาํ ดับไป
3. วัน เดอื น ป ท่เี กดิ รายการขายเช่ือ
4. บัญชที ่ีเดบิต สาํ หรบั บันทกึ ชื่อลูกหนี้ หรอื ผูซอ้ื สินคาจากกิจการ
5. เลขทใ่ี บกํากบั สนิ คา/ใบกาํ กบั ภาษี สําหรบั อา งอิงเลขท่ขี องใบกาํ กบั สนิ คา /
ใบกํากบั ภาษซี ่ึงลกู คาไดล งนามรับสินคา ในใบน้ี
6. เงือ่ นไขการชาํ ระเงิน เปน เง่อื นไขท่ีกจิ การใหก บั ลกู คา
7. หนาบัญชใี ชสาํ หรับการอางองิ ถึงบญั ชแี ยกประเภทลกู หนี้รายการคา เมอื่ ไดผาน
รายการคา แลวใหใ ชเ ครื่องหมายตอไปน้ี 3 เปนตัวอยา งแสดงการบนั ทึกรายการ
คาในสมดุ รายวนั ขาย การผานรายการไปสมุดแยกประเภทลูกหนีร้ ายตัวและสมุด
แยกประเภททวั่ ไป
8. จาํ นวนเงนิ สําหรบั บันทกึ ยอดขายสินคา รวมท้งั ภาษีขาย ซ่ึงเปนยอดรวมของเจาหน้ี
9. จํานวนเงินเครดติ สาํ หรับบันทึกยอดขายและภาษขี าย

ตวั อยา งท่ี 3 บริษทั สยามพารา จํากัด มรี ายละเอียดของลกู หนี้ ยกมาเมือ่ 1 มกราคม 25x1

ดงั น้ี

บริษัทอายุวฒั น จํากัด 25,000 บาท

รานขนสงสยาม 12,000 บาท

ในระหวางเดอื น มกราคม มีรายการเกยี่ วกับการซื้อสินคา เปนเงนิ เชื่อดงั นี้

25x1

ม.ค. 7 ขายสินคาใหน ายสภุ าพ 20,000 บาท ตามใบกาํ กบั สนิ คา เลขที่ 111

ภาษีมูลคา เพิม่ 7% เงื่อนไขการชําระเงิน 2/10, n/30

10 ขายสนิ คาใหร า นขนสง สยาม 4,500 บาท ตามใบกํากบั สินคา เลขที่ 112
ภาษีมูลคาเพิม่ 7% เงือ่ นไขการชําระเงนิ 2/10, n/30

24 ขายสนิ คา ใหบ ริษัทอายุวัฒน จํากัด 10,000 บาท ตามใบกํากับสินคาเลขท่ี
113 ภาษมี ลู คา เพมิ่ 7% เงือ่ นไขการชาํ ระเงนิ n/30

สมุดรายวนั ขาย

หนา 1

ว.ด.ป. บญั ชีท่เี ครดติ ใบกํากบั สนิ คา/ เงอ่ื นไข หนา จาํ นวนเงิน จาํ นวนเงินเดบิต

ใบกาํ กับภาษี บญั ชี เครดติ ขาย ภาษีขาย

25x1

ม.ค. 7 นายสุภาพ 111 2/10, n/30 3 21,400 - 500 - 1,400 -
10 รา นขนสงสยาม
24 บ.อายุวัฒน จํากัด 112 2/10, n/30 3 4,815 - 315 -

เดบติ ลูกหน้ี 113 n/30 3 10,700 - 700 -

36,915 - 34,500 - 2,415 -

เครดิต ขาย,ภาษีขาย (103) (401) (204)

วนั เดือนป รายการ นายสภุ าพ
เงอื่ นไขการชําระเงนิ หนา เดบิต เครดิต คงเหลือ
25x1
ม.ค. 7 ขาย บัญชี

2/10, n/30 ข.1 21,400 21,400

วันเดือนป รายการ รานขนสงสยาม
เงอ่ื นไขการชาํ ระเงนิ หนา เดบติ เครดติ คงเหลอื
25x1
ม.ค. 1 ยอดยกมา บัญชี

10 ขาย 2/10, n/30 3 12,000 12,000
ข.1 4,815 16,815

วันเดอื นป รายการ บริษทั อายวุ ัฒน จาํ กดั
เงือ่ นไขการชาํ ระเงิน หนา เดบิต เครดติ คงเหลอื
25x1
ม.ค. 1 ยอดยกมา บญั ชี

24 ขาย 3 25,000 25,000

n/30 ข.1 10,700 35,700

และทุก ๆ สนิ้ เดือนกิจการจะทาํ การสรปุ ยอดในสมดุ รายวนั ขาย เพอ่ื ผา นรายการยอดรวมไป
บัญชแี ยกประเภททวั่ ไปท่เี กยี่ วขอ ง คอื บญั ชีลกู หนี้การคา บญั ชีขาย และบญั ชภี าษขี าย

ลกู หน้ี

103

25x1

ม.ค. 1 ยอดยกมา 3 37,000 -

31 ขายเช่อื ประจําเดอื น ข.1 36,915 -

ภาษีขาย ข.1 2,415 -
204

25x1
ม.ค. 31 ภาษขี ายเชอ่ื

ขาย
401

25x1
ม.ค. 31 ขายเชอื่ ประจาํ เดอื น ข.1 34,500 -

การรบั คืนและลดราคาสนิ คา (Sales Returns and Allowance)
สินคาท่ีกิจการขายใหกับลูกคาไปแลว ลูกคาอาจขอสงคืนสินคาท้ังหมดหรือบางสา

วนเพราะชํารุดเสียหาย หรือมีตําหนิ หรือไมตรงตามสั่ง บางคร้ังลูกคาจะขอลดราคาของท่ีซื้อ
ไปหรืออาจจะสงคืนสวนที่เปนปญหา เม่ือกิจการยินยอมจะแจงใหลูกคาทราบโดยออก Credit
Note หรือ Credit Memorandum หรือใบหักหน้ีใหกับลูกคา ผลของการรับคืนและจํานวนท่ี
ยอมลดใหก ับลูกคา ทําใหยอดขาย ภาษีขายและลูกหนี้ลดลงดวย ในทางปฏิบัติจะเปนบัญชีรับ
คืนและจํานวนที่ลดให เพื่อบันทึกรายการที่เกิดข้ึนบอย ๆ เม่ือสิ้นงวดจะนํายอดบัญชีรับคืน
และจํานวนทล่ี ดใหไปหักจากยอดขายเพือ่ หาขายสุทธิ

ในกรณีที่มีการรับคืนสินคา และจํานวนท่ีลดใหมีไมมาก นาน ๆ จะเกิดเหตุการณ
ดังกลาวข้ึน กิจการไมจําเปนจะตองเปดสมุดรายวันเฉพาะ แตจะนําเอารายการน้ีไปบันทึกใน
สมุดรายวันท่ัวไป แตถามีรายการรับคืนเปนจํานวนหลายคร้ังหรือเกิดข้ึนบอย ๆ ก็จะเปด สมุด
รายวันรับคืน ดังตวั อยา งตอไปนี้

ว.ด.ป. บญั ชที ่เี ครดิต สมุดรายวนั รับคนื จํานวนเงินเดบิต
หนา 1 รบั คืน ภาษีขาย
25x1
ม.ค.28 ลูกหน้ี – บ.อายุ ใบกํากับสินคา/ หนา จาํ นวนเงิน
ใบกาํ กบั ภาษี บญั ชี เครดิต
วัฒน จํากดั
เดบติ รบั คนื , ภาษี 3 535 - 500 - 35 -
ขาย เครดติ ลูกหนี้
535 - 500 - 35 -

(103) (402) (204)

วันเดือนป รายการ บริษัทอายวุ ฒั น จํากดั
25x1 เง่อื นไขการชาํ ระเงิน หนา เดบติ เครดิต คงเหลอื

บญั ชี

ม.ค. 1 ยอดยกมา 3 25,000 25,000
24 ขาย n/30 ข.1 10,700
28 สง คืน 35,700
ส.ค. 1 535 35,165

สมดุ รายวนั รับเงนิ (Cash Receipts Journal)

ธุรกิจที่มีรายการรับจายเงินสดในแตละวันเปนจํานวนมาก จําเปนอยางย่ิงท่ีตองมี
วธิ ีการควบคมุ เงนิ สดทรี่ ดั กุม ดงั นนั้ จึงมักแยกรายการทีม่ กี ารรบั เงินสด และการจายเงนิ สดออก
ตางหากจากกัน โดยเปดสมุดรายวันเฉพาะขึ้นมาเลมหน่ึงตางหาก เรียกวา “สมุดรายวันรับ
เงิน” สําหรับบันทึกรายการรับเงินสดและการนําเงินฝากธนาคาร รายการท่ีบันทึกในสมุด
รายวันรับเงนิ แลว ไมต อง บันทกึ ในสมุดรายวนั ทัว่ ไป

คําอธิบายรูปแบบของสมุดรายวันรบั เงิน
1. ชอื่ สมุดรายวันรับเงนิ
2. หนาของสมดุ รายวันรบั เงินซึ่งจะเรียงตอกนั ไป
3. วันเดอื นปที่เกิดรายการ
4. เลขท่ใี บสําคัญ สาํ หรบั บันทึกเอกสาร หรอื ใบสําคญั ทปี่ ระกอบรายการ
5. ช่อื บัญชี สําหรับช่ือบญั ชีทางดา นเครดติ
6. รายการ สําหรบั อธิบายรายการที่เกิดขึ้น
7. ชองเดบิตมี 3 ชองประกอบดวย บัญชีเงินสด บัญชีธนาคาร บัญชีสวนลดจาย
สําหรับบันทึกการรับเงินสด การนําเงินสดฝากธนาคารและการใหสวนลดกับผูท่ี
ชาํ ระหนี้ตามเงอื่ นไข
8. ชองเครดิตลูกหนี้ สําหรับบันทึกรายการลูกหน้ีท่ีชําระหนี้แลวผานรายการไปที่
ลูกหน้รี ายบคุ คลโดยใส 3 เมอ่ื ผา นรายการเรียบรอย
9. ชองเครดติ ขาย บนั ทกึ รายการขายสินคา เปน เงนิ สด
10. เลขท่ใี บกาํ กบั ภาษี สาํ หรบั เก็บเอกสารเกี่ยวกบั ภาษมี ลู คา เพ่มิ ตามเลขท่ี เลมท่ี
11. ชองเครดติ ภาษขี าย สาํ หรบั บนั ทึกรายการภาษีขายสนิ คา
12. ชองเครดิตบัญชีอื่น ๆ สําหรับบันทึกรายการที่ไมสามารถใสในชองรายการเฉพาะ
ได จึงนํามาใสในชองอ่ืน ๆ พรอมท้ังผานรายการไปบัญชีแยกประเภทที่เก่ียวของ
โดยนาํ เลขที่บัญชนี ั้นมาใสในชองเลขทบ่ี ญั ชดี ว ย

แบบฟอรม ของสมุดรายวนั รบั เงนิ
.

สมดุ รายวนั รับเงิน

หนา (2)

วัน เลขท่ี เดบิต

เดือน ใบ สวนลด

ป สาํ คัญ ช่อื บญั ชี รายการ เงินสด ธนาคาร จา ย

(3) (4) (5) (6) (7) (7) (7)

น (1)

เครดติ
ลกู หน้ี (8) เลขที่ บญั ชอี ่นื ๆ (12)
3 จํานวนเงิน ขาย ใบกาํ กบั ภาษีขาย

(9) ภาษี (10) (11) เลขที่ จํานวนเงิน

สมดุ รายวนั จายเงนิ (Cash Disbursements Journal)

สมดุ รายวันจายเงนิ เปนสมดุ บนั ทกึ ข้นั ตน อีกเลมหน่ึงที่ใชควบคกู ับสมุดรายวันรับ
เงิน เพ่ือบันทึกราการจายเงินสดและจายเช็คจากบัญชีเงินฝากธนาคาร การบันทึกรายการใน
สมดุ รายวนั จา ยเงินมวี ิธปี ฏบิ ตั ิเชนเดยี วกับสมดุ รายวันทั่วไป กลาวคือ ตองบนั ทกึ เดบติ บญั ชใี ด
และเครดิตบัญชีใดเปนจํานวนเงินเทาใด ซ่ึงในสมุดรายวันจายเงินน้ีจะแสดงชองเครดิตกอน
ชองเดบิตเพื่อเนนในเร่ืองการจายเงิน รายการไหนที่บันทึกในสมุดรายวันจายเงินแลวไมตอง
บันทึกในสมุดรายวันทวั่ ไป

คําอธบิ ายรปู แบบของสมดุ รายวันจา ยเงนิ
1. ชอ่ื สมุดรายวันจา ยเงนิ
2. หนา ของสมุดรายวนั จายเงนิ ซึง่ จะเรยี งตอกันไป
3. วนั เดือนปทเ่ี กิดรายการ
4. เลขที่ใบสําคัญ สาํ หรบั บันทึกเอกสารหรือใบสาํ คญั ท่ีประกอบรายการ
5. ชอ่ื บัญชี สําหรับช่ือบัญชีทางดา นเดบติ
6. รายการ สาํ หรับอธิบายรายการที่เกิดขนึ้
7. ชองเครดิตมี 3 ชองประกอบดวย บัญชีเงินสด บัญชีธนาคาร บัญชีสวนลดรับ
สําหรับบันทึกการจายเงินสด การจายเช็คออกจาก บัญชีเงินฝากธนาคาร และการ
ไดร บั สวนลดในกรณีทีก่ จิ การชาํ ระหน้ตี ามเงอ่ื นไข
8. ชองเดบิตเจาหน้ี สําหรับบันทึกรายการเจาหน้ีที่ชําระหนี้แลวผานรายการไปท่ี
เจาหน้รี ายบุคคลโดยใส 3 เม่ือผา นรายการเรียบรอ ย
9. ชอ งเดบติ ซ้ือ บนั ทกึ รายการซื้อสนิ คา เปน เงินสด
10. เลขทใี่ บกํากบั ภาษี สาํ หรบั เกบ็ เอกสารเกย่ี วกบั ภาษีมูลคา เพม่ิ ตามเลขที่ เลม ที่
11. ชอ งเดบิตภาษซี อ้ื สําหรบั บันทกึ รายการภาษซี ื้อสินคา
12. ชองเดบิตบัญชีอ่ืน ๆ สําหรับบันทึกรายการท่ีไมสามารถใสในชองรายการเฉพาะ
ได จึงนํามาใสในชองอ่ืน ๆ พรอมท้ังผานรายการไปบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวของ
โดยนาํ เลขท่บี ญั ชีนน้ั มาใสใ นชอ งเลข

ตอ ไปนีเ้ ปน แบบฟอรม ของสมุดรายวันจา ยเงนิ

วนั เลขที่ สมดุ รายวันรบั เงิน (1)
หนา (2)
เดอื น ใบ เดบติ

ป สาํ คญั ช่อื บัญชี รายการ สวนลด
(6) เงนิ สด ธนาคาร รับ 3
(3) (4) (5)
(7) (7) (7)

เครดิต
เจา หนี้ (8) เลขท่ี บัญชีอื่นๆ (12)

จํานวนเงิน ขาย ใบกาํ กับ ภาษซี ื้อ
(9) ภาษี (10) (11) เลขที่ จาํ นวนเงิน

ตอ ไปนีเ้ ปน ตวั อยา งของรานเทพประธานการคา

ในวันที่ 1 มกราคม 25x1 รา นคาแหงหนง่ึ มสี ินทรพั ย หน้ีสนิ และสวนของเจาของดงั ตอไปนี้

เงนิ สด 4,300 บาท

เงินฝากธนาคาร 25,000 บาท

ลูกหน้ี – นายสมโชค 1,200 บาท

ลกู หน้ี – นายสมเกียรติ 1,650 บาท

สนิ คา 12,000 บาท

เครือ่ งตกแตง 1,100 บาท

เจาหน้ี – นายประสทิ ธิ 2,100 บาท

เจา หน้ี – นายประสาท 700 บาท

ทนุ เรอื นหุน 30,000 บาท

กาํ ไรสะสม 13,250 บาท

รายการคา ในเดอื นมกราคม มีดังตอไปนี้

25x1

ม.ค. 2 ขายสินคา ไดเงินสด 400 บาท ภาษมี ลู คา เพม่ิ 7% ตามใบเสร็จรับเงิน/

ใบกาํ กบั ภาษี เลมท่ี 1 เลขท่ี 001

5 ซื้อสินคาดวยเช็ค 1,200 บาท จายภาษีมูลคาเพ่ิม 7% ตามใบเสร็จรับเงิน /

ใบกํากับภาษีเลขที่ 2 เลมที่ 003

6 ขายสินคา เช่ือใหน ายสมโชค 2,000 บาท ภาษีมูลคาเพ่ิม 7% ตามใบกาํ กบั

สนิ คา/ใบเสรจ็ รับเงิน เลขที่ 1 เลขท่ี 002 และขายสินคาเปน เงินเชอ่ื ใหนาย

สมเกียรติ 1,400 บาท เงอื่ นไข 2/10, n/30 ภาษีมลู คาเพิม่ 7% ตามใบกาํ กับ

สินคา /ใบกํากับภาษี เลม ท่ี 1 เลขท่ี 003

9 จายคาขนสง สินคาไปใหล กู คา 80 บาท

12 นาํ เงินสดฝากธนาคาร 2,500 บาท

17 ชําระหนี้ใหน ายประสิทธบ์ิ างสว นดวยเช็คจํานวนหน้ี 1,500 บาท ในจาํ นวน

น้ีไดรับสว นลด 2%

20 ซ้ือสินคาเชื่อจากนายประสาท 1,500 บาท เงื่อนไข 2/10, n/30 จาย
ภาษีมูลคาเพ่ิมอีก 7% ตามใบกํากับสินคา/ใบกํากับภาษี เลมที่ 3 เลขท่ี 015
และไดจ ายคา ขนสง สินคาไปใหนายประสาทไปกอน 100 บาท

22 ถอนเงนิ จากธนาคารมาใชหมุนเวียนในกิจการ 1,000 บาท
25 รับคืนสินคา จากนายสมเกยี รติ 200 บาท และรบั ชาํ ระหนี้ทีค่ างอยทู งั้ สนิ้ เปน

เงนิ สด
28 ชาํ ระหนใ้ี หนายประสาทดว ยเชค็ สําหรับหน้ีที่คางอยูทงั้ สิ้น
30 จายเงนิ เดอื นพนกั งาน 2,000 บาท และหักภาษีไว 100 บาท คงจายเงนิ สดให

ผูรับเพยี ง 1,900 บาท

สมดุ รายวันทว่ั ไป

หนา ท่ี 1

วนั เดือนป รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต

บัญชี 4,300
25,800
25x1 1,200
1,650
ม.ค. 1 เงินสด 101 12,000
1,100
เงนิ ฝากธนาคาร 102
2,100
ลกู หน-้ี นายสมโชค 103/3 700
30,000
ลูกหน-้ี นายสมเกียรติ 103/3 13,250

สินคา 104 200
14
เครื่องตกแตง 105
214
เจาหน-ี้ นายประสิทธ์ิ 201/3

เจาหน-ี้ นายประสาท 201/3

ทนุ เรือนหนุ 301

กาํ ไรสะสม 302

ยอดยกมาจากงวดบัญชีกอน

25 รับคืน 402

ภาษขี าย 204

ลกู หน-้ี นายสมเกยี รติ 103

รบั คืนสนิ คาจากนายสมเกียรติ 504 100
30 เงนิ เดือน 203 100

ภาษีหกั ณ ทจ่ี าย
หกั ภาษีเงินเดอื น 100 บาท

วัน เลขที่ ช่อื บญั ชี รายการ สม
เดือน ใบ หนา 1
ป สําคญั
เดบิต
สวน

เงินสด ธนาคาร จา

25x1

ม.ค. 2 ขายสินคา ขายสนิ คา ไดเ งนิ สด 428 -

12 ธนาคาร นาํ เงินสดฝากธนาคาร 2,500 -

22 เงินสด ถอนเงนิ จากธนาคาร

มาใชในกิจการ 1,000 -

25 ลูกหน้ี-นาย รับชําระหนี้เปน เงนิ สด

สมเกยี รติ 2,948 -

4,376 - 2,500 -

(11) (12) (43)

มุดรายวันรับ

เครดติ

นลด ลูกหน้ี เลขท่ี บัญชอี น่ื ๆ

าย 3 จํานวนเงิน ขาย ใบกํากบั ภาษีขาย

ภาษี เลขที่ จาํ นวนเงิน

400 - 1/001 28 -
C
2,500 -

C 1,000 -

3 2,948 - 28 - 3,500 -
2,948 - 400 - (22)

) (13) (41)

วันเดือน เลขที่ ชอ่ื บัญชี รายการ สมดุ รายวนั
ป ใบ หนา 1
สําคัญ
เดบิต

เงนิ สด ธนาคาร

25x1

ม.ค. 5 ซื้อสนิ คา ซอื้ สนิ คา ดวยเชค็ 1,284 -

9 คาขนสง จา ยคา ขนสง สินคา ให

ออก ลูกคา 80 -

12 เงินฝาก นําเงินสดฝากธนาคาร

ธนาคาร ชาํ ระหน้ใี หน าย 2,500 -

17 เจา หนี้- ประสทิ ธดิ วยเชค็

ประสิทธ์ิ จายคา ขนสงสินคา แทน 1,470 -

20 เจา หน-ี้ นายประสาท

ประสาท ถอนเงินจากธนาคารมา 100 -

22 เงนิ สด ใชใ นกจิ การ

ชาํ ระหนี้ใหน าย 1,000 -

28 เจาหน-้ี ประสาทดวยเชค็

ประสาท จายเงินเดือน - 2,715 -
1,900
30 เงนิ เดอื น 4,580 - 5,929 -
(12)
(11)

นจายเงิน

สว นลด ลูกหน้ี เครดิต บัญชอี ่ืนๆ
เลขท่ี เลขที่ จาํ นวนเงนิ
รบั 3 จํานวนเงิน ซื้อ ใบกาํ กับ ภาษซี ื้อ
ภาษี

1,200 - 2/003 84 -

55 80 -

C 2,500 -

30 - 3 1,500 -
3 100 -

C 1,000 -

30 - 3 2,205 -

54 1,900 -
5,480 -
60 - 3,805 - 1,200 - 84 -
(53) (21) (51) (14)

วัน บญั ชที ีเ่ ครดิต สมุดรายวนั ซอ้ื จาํ นวนเงินเดบิต
เดอื นป นายประสาท หนา 1 ซอื้ ภาษี
25x1 ใบกาํ กับสินคา / หนา จาํ นวนเงนิ
ม.ค. 20
ใบกาํ กับภาษี บัญชี เครดติ

3/015 3 1,605 - 1,500 - 105 -

1,605 - 1,500 - 105 -

เดบิต ซื้อ (201) (501) (104)
เครดิต เจาหนี้

วัน บัญชีทีเ่ ดบิต สมดุ รายวันขาย จาํ นวนเงนิ เดบติ
เดอื นป หนา 1 ซ้อื ภาษี
25x1 นายสมโชค ใบกาํ กับสนิ คา / หนา จํานวนเงนิ
ม.ค. 6 นายสมเกยี รติ
เดบิต ลูกหน้ี ใบกํากับภาษี บญั ชี เครดิต

เครดิต ขาย 1/002 3 2,140 - 2,000 - 140 -

1/003 3 1,498 - 1,400 - 98 -

3,638 - 3,400 - 238 -

(13) (41) (24)

สมดุ แยกประเภทยอยลกู หนรี้ ายตวั

ลูกหน้ี - นายสมโชค

วันเดือน รายการ หนา เดบติ เครดติ ยอดคงเหลอื

ป บญั ชี 1,200 -
3,340 -
25x1

ม.ค. 1 ยอดยกมา รว.1 1,200 -

6 สมดุ รายวนั ขาย ข.1 2,140 -

วนั เดอื น รายการ ลกู หน้ี - นายสมเกียรต์ิ เครดิต ยอดคงเหลอื
หนา เดบติ
ป บัญชี

25x1 รว.1 1,650 -
ข.1 1,498 -
ม.ค. 1 ยอดยกมา รว.1 1,650 -
รง.1 3,148 -
6 สมดุ รายวนั ขาย 2,948 -

25 รับคนื 200 -
2,948 -
สมดุ รายวนั รบั เงิน

สมดุ แยกประเภทยอ ยเจา หนรี้ ายตัว

เจา หนี้ - นายประสทิ ธ์ิ

วนั เดอื น รายการ หนา เดบิต เครดติ ยอดคงเหลอื

ป บัญชี

25x1

ม.ค. 1 ยอดยกมา รว.1 2,100 - 2,100 -
600 -
17 สมุดรายวันจา ยเงนิ จง.1 1,500 -

วนั เดอื น รายการ เจาหนี้ - นายประสาท เครดติ ยอดคงเหลอื
หนา เดบิต
ป บญั ชี

25x1 รว.1
ซ.1
ม.ค. 1 ยอดยกมา จง.1 100 - 700 - 700 -
จง.1 2,205 - 1,605 - 2,305 -
20 สมดุ รายวนั ซอ้ื 2,205

สมุดรายวนั จายเงิน

28 สมุดรายวันจายเงนิ

เงินสด

ว.ด.ป รายการ หนา จาํ นวนเงนิ ว.ด.ป รายการ หนา จํานวนเงนิ

บญั ชี บัญชี

25x1 25x1

ม.ค.1 ยอดยกมา รว.1 4,300 ม.ค. 31 รายจายประจาํ เดือน จง.1 4,580

31 รายรับประจาํ เดือน รง.1 4,376

เงินฝากธนาคาร

ว.ด.ป รายการ หนา จํานวนเงิน ว.ด.ป รายการ หนา จํานวนเงนิ
บญั ชี
25x1 บัญชี
ม.ค.1 ยอดยกมา จง.1 5,929
25x1
31 รายรับประจําเดือน
รว.1 25,800 ม.ค. 31 รายจา ยประจําเดือน

ร3.1 2,500

ลกู หนี้

ว.ด.ป รายการ หนา จํานวนเงนิ ว.ด.ป รายการ หนา จาํ นวนเงนิ
บญั ชี
บญั ชี
รว.1 200
25x1 25x1 รง.1 2,948

ม.ค.1 ยอดยกมา รว.1 2,850 ม.ค. 25 รบั คืน-สมเกยี รติ

31 ขายเชอ่ื ประจําเดือน ข.1 3,638 สมดุ รายวันรบั เงิน

ว.ด.ป รายการ ภาษซี อ้ื รายการ หนา จํานวนเงิน
บัญชี
25x1 หนา จํานวนเงิน ว.ด.ป
ม.ค.31 สมดุ รายวันซื้อ บัญชี

สมดุ รายวนั จายเงนิ ซ.1 105
ข.1 84

ว.ด.ป รายการ สินคา ว.ด.ป รายการ หนา จาํ นวนเงิน
บญั ชี
25x1 หนา จํานวนเงิน
ม.ค.1 ยอดยกมา บัญชี

รว.1 12,000

ว.ด.ป รายการ เครื่องตกแตง รายการ หนา จาํ นวนเงนิ
บญั ชี
25x1 หนา จาํ นวนเงิน ว.ด.ป
ม.ค.1 ยอดยกมา บญั ชี

รว.1 1,100

เจา หนี้

ว.ด.ป รายการ หนา จาํ นวนเงิน ว.ด.ป รายการ หนา จาํ นวนเงนิ
บัญชี
25x1 บัญชี
ม.ค.31 สมุดรายวนั จายเงิน รว.1 2,800
25x1 ซ.1 1,605

จง.1 3,805 ม.ค. 1 ยอดยกมา

31 สมดุ รายวนั ซื้อ

ภาษหี ัก ณ ทจ่ี า ย

ว.ด.ป รายการ หนา จาํ นวนเงิน ว.ด.ป รายการ หนา จํานวนเงิน

บญั ชี บัญชี

25x1

ม.ค.30 เงินเดอื น รว.1 100

ว.ด.ป รายการ หนา ภาษีขาย รายการ หนา จํานวนเงนิ
บญั ชี บัญชี
25x1 จํานวนเงนิ ว.ด.ป
ม.ค. 25 ลูกหนี้-นายสมเกียรติ รว.1 รง.1 28
25x1 ข.1 238
14 ม.ค.31 สมุดรายวันรับเงิน

สมดุ รายวนั ขาย

ทุนเรอื นหุน

ว.ด.ป รายการ หนา จํานวนเงิน ว.ด.ป รายการ หนา จาํ นวนเงนิ

บญั ชี บัญชี

25x1

ม.ค.1 ยอดยกมา รว.1 30,000

กําไรสะสม

ว.ด.ป รายการ หนา จาํ นวนเงนิ ว.ด.ป รายการ หนา จํานวนเงนิ

บญั ชี บญั ชี

25x1

ม.ค.1 ยอดยกมา รว.1 13,250

ขาย

ว.ด.ป รายการ หนา จํานวนเงิน ว.ด.ป รายการ หนา จาํ นวนเงนิ

บัญชี บญั ชี

25x1

ม.ค.31 ขายเชื่อประจําเดือน ข.1 3,400

สมดุ รายวันรบั เงิน รง.1 400

ว.ด.ป รายการ หนา รบั คนื ว.ด.ป รายการ หนา จํานวนเงิน
บัญชี บญั ชี
จาํ นวนเงิน
25x1
ม.ค.31 ลกู หนี้-นายสมเกยี รติ รว.1 200

ซื้อ

ว.ด.ป รายการ หนา จาํ นวนเงิน ว.ด.ป รายการ หนา จาํ นวนเงิน
บัญชี
บญั ชี

25x1

ม.ค.5 สมุดรายวันจายเงิน จง.1 1,200

31 ซื้อเช่อื ประจาํ เดือน ซ.1 1,500

สว นลดรับ

ว.ด.ป รายการ หนา จาํ นวนเงิน ว.ด.ป รายการ หนา จํานวนเงนิ

บัญชี บัญชี

25x1

ม.ค.17 สมุดรายวนั จายเงิน จง.1 30

ว.ด.ป รายการ เงนิ เดอื น รายการ หนา จํานวนเงนิ
บัญชี
25x1 หนา จาํ นวนเงนิ ว.ด.ป
ม.ค.31 สมดุ รายวนั ท่ัวไป บญั ชี

ภาษหี ัก ณ ท่ีจา ย จง.1 1,900
รว.1 100

ว.ด.ป รายการ คาขนสงออก รายการ หนา จาํ นวนเงนิ
บัญชี
25x1 หนา จํานวนเงนิ ว.ด.ป
ม.ค.31 สมุดรายวันจา ยเงนิ บัญชี

จง.1 80


Click to View FlipBook Version