The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pa0936182147, 2019-10-02 00:52:53

Unit 10

Unit 10

หน่วยท่ี 10

การจดั การผลผลิตและ
การจาหนา่ ย

146

หัวขอ้ เรือ่ ง
1. การจดั การผลผลติ สัตวป์ กี
2. การจาหนา่ ยผลผลติ สัตว์ปกี

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายข้ันตอนและวิธีการจดั การผลผลิตสัตวป์ ีกได้
2. อธิบายการจาหน่ายผลผลิตสัตว์ปกี ได้

เนื้อหาการสอน

1. การจดั การผลผลติ สตั วป์ ีก
1.1 การจดั การผลผลิตและการจาหนา่ ยสตั วป์ ีกให้เน้ือ
1.1.1 การจัดการไกเ่ นอ้ื กอ่ นการจับ (Pre-processing management) กอ่ นจะเรมิ่ ต้นจับไก่

จะต้องมีการจัดการตามข้นั ตอนดงั ตอ่ ไปนี้
- แสงสวา่ ง (Light) จะต้องใหแ้ สงสว่าง 23 ชั่วโมง/วนั ท่ีระดับความเข้มแสงต่าสุด 5-10 ลกั ซ์

หรือ 0.5-1.0 ฟุตเทียนติดต่อกันอย่างน้อย 3 วันก่อนถึงกาหนดการจับไก่เพื่อให้ไก่มีอาการสงบในขณะจับไก่
- การอดอาหาร (Feed withdrawal) การอดอาหารก่อนการจับส่งโรงงานชาแหละเป็น

ข้ันตอนท่ีสาคัญและจาเป็นมากเพ่ือไม่ให้มีอาหารตกค้างอยู่ในระบบทางเดินอาหาร ลดความเส่ียงในการ
ปนเปอ้ื นมลู ระหว่างการขนสง่ และในโรงงานชาแหละ การอดอาหารจะต้องมรี ะยะเวลาทเ่ี หมาะสม ซ่งึ ถา้ มีการ
อดอาหารนานเกินไปจะส่งผลให้มีการสูญเสียน้าหนักตัวมากเกินไป ระยะเวลาท่ีอาหารถูกขับถ่ายออกมาจน
หมดใชเ้ วลาประมาณ 8-12 ช่วั โมง การอดอาหารไมเ่ พียงพอจะทาใหม้ ีอาหารตกค้างอยใู่ นระบบทางเดนิ อาหาร
ทาให้การประเมนิ นา้ หนักตัวมีชวี ิตผิดพลาดและเส่ียงตอ่ การปนเปื้อนมลู ในระหว่างการชาแหละ แตถ่ ้ามีการอด
อาหารนานเกินไปก็จะทาให้เกิดการสูญเสียน้าหนักตัวมากเกินไปซึ่งจะส่งผลเสียหายทางเศรษฐกิจและได้ผล
ผลิตเนื้อไม่ตรงตามเป้าหมายท่ีต้ังไวเ้ ช่นกนั

1.1.2 ข้อปฏิบัติในการอดอาหารไก่ก่อนจบั ส่งโรงงานชาแหละ
(1) ก่อนถึงกาหนดการอดอาหารอย่างนอ้ ยในชว่ ง 24 ชวั่ โมงจะต้องมอี าหารให้ไก่กิน

เป็นปกติ ซึ่งถ้าหากมีการเปลี่ยนแปลงอย่างใดอย่างหน่ึงก็อาจจะทาให้ไก่กินอาหารมากหรือน้อยเกินไปจึง
อาจจะส่งผลตอ่ เวลาที่ระบบทางเดนิ อาหารว่างก็ได้ ปจั จัยท่มี ผี ลตอ่ การกินอาหารของไก่ ได้แก่ ปริมาณอาหาร
และพน้ื ทีก่ ารให้อาหาร โปรแกรมการใหแ้ สงสวา่ งและอุณหภูมิภายในโรงเรอื น เปน็ ต้น

(2) ระหว่างการอดอาหารให้ลดระดับจานอาหารลงมาต่าสุดจะกว่าจะเร่ิมต้นจับไก่
เพ่อื ลดการจิกกนิ วสั ดรุ องพื้น

(3) เม่ือเร่ิมต้นการอดอาหารไม่ควรรบกวนไก่โดยไม่จาเป็น เช่น การเดินเข้าไปใน
โรงเรือนหรือการเปิดประตูโรงเรอื นโดยไม่จาเปน็

147

(4) ถ้ามีโปรแกรมการให้เมล็ดธัญพืช (Whole grain) จะต้องงดให้เมล็ดธัญพืชอย่าง
นอ้ ย 2 วันกอ่ นกาหนดการจบั ไกเ่ พ่อื ลดการตกค้างของเมล็ดธัญพืชในระบบทางเดินอาหาร

ระยะเวลาในการอดอาหาร สามารถคานวณได้ ดงั น้ี
เวลาในการอดอาหาร = เวลาท่ีอดอาหารในโรงเรือน + เวลาท่ใี ชใ้ นการจับไก่ + เวลาท่ใี ช้ในการขนส่ง
+ เวลาทไ่ี กพ่ กั หนา้ โรงงานชาแหละก่อนเขา้ เชือด/รอควิ เชอื ด

1.1.3 การอดอาหารและการสูญเสียนา้ หนกั ตัว
เมอ่ื ไก่ขับถา่ ยมูลออกมาจนระบบทางเดินอาหารว่างเปล่าแล้ว นา้ หนักตัวทีล่ ดลงหลงั จากน้ัน
จะหมายถึง ปริมาณโปรตีนและไขมันที่สะสมไว้ในร่างกายถูกดึงออกมาใช้เป็นพลังงานทาให้ผลผลิตเนื้อและ
คุณภาพเนื้อลดลง หลังจากท่ีระบบทางเดินอาหารว่างเปล่าแล้วน้าหนักตัวที่ลดลงหลังจากน้ันจะประมาณ
0.1 - 0.5 % ต่อช่วั โมง การลดลงของนา้ หนักตัวจะผนั แปรข้นึ อยกู่ บั ปัจจยั ต่างๆ ได้แก่

(1) อายุ ไกท่ ่ีมอี ายุมากจะสญู เสยี นา้ หนกั มากกว่า
(2) เพศ ไก่เพศผูจ้ ะสญู เสียน้าหนกั ตวั มากกว่าไก่เพศเมีย
(3) อุณหภูมิโรงเรอื น การลดน้าหนักตัวจะเพิ่มขึ้นเม่ือไก่อยู่ในสภาพอุณหภูมิสูงหรอื
ตา่ เกนิ ไป
(4) การรบกวนการกินอาหารของไก่ก่อนการอดอาหารจะส่งผลให้ระยะเวลาในการ
ขบั ถา่ ยมลู ไม่แน่นอน
(5) เวลาในการขนสง่ ถา้ หากใชเ้ วลาในการขนส่งมากจะส่งผลให้ไก่สูญเสียน้าหนักตัว
มากขน้ึ
(6) อุณหภูมิในขณะขนส่งและขณะพัก ในขณะท่ีขนส่งหรือในขณะพักไก่ไว้หน้า
โรงงานชาแหละถ้ามอี ณุ หภูมสิ งู จะสง่ ผลให้มกี ารสูญเสียน้าหนกั ตัวมากขน้ึ

1.1.4 การวางแผนการอดอาหาร
การวางแผนการอดอาหารไก่จะต้องมีการตรวจสอบดูแลอย่างใกล้ชิดและอาจจะมีการ
ปรับเปล่ียนโปรแกรมได้ถ้าหากจาเป็น เน่ืองจากถ้าหากมีการจัดการที่ไม่เหมาะสมจะส่งผลเสียต่อสวัสดิภาพ
สัตว์ ผลกาไร คุณภาพไก่มีชีวิตและคุณภาพของเนื้อไก่ตลอดจนระยะเวลาเก็บบนช้ันจาหน่าย (Shelf life)
การตรวจสอบว่ามีการอดอาหารเหมาะสมหรือไม่ให้สังเกตมูลไก่ที่ขับถ่ายออกมา ถ้าหากไก่ขับถ่ายมูล
เหลวปนนา้ แสดงวา่ การอดอาหารเหมาะสม ถ้ามีมูลปนนา้ และมีวสั ดุรองพนื้ อยู่ในกระเพาะพักและกระเพาะบด
แสดงว่าการอดอาหารนานเกินไปหรืออาจจะนานเกิน 12 ช่ัวโมง แต่ถ้ายังมีอาหารตกค้างอยู่ในกระเพาะพัก
หรือมีมูลปนเปื้อนในโรงงานชาแหละแสดงว่าระยะเวลาในการอดอาหารส้ันเกินไปหรือนอ้ ยกวา่ 8 ช่วั โมง
การให้น้าระหว่างการอดอาหารต้องแน่ใจว่าไก่จะได้รับน้าด่ืมอย่างเต็มที่ตามความต้องการ
จนกระท่ังเร่ิมต้นการจับไก่ ถ้าไก่อดน้าจะทาให้เกิดการสูญเสียความช้ืนจากร่างกายมาก (Dehydration) และ
อตั ราการวา่ งของระบบทางเดินอาหารจะชา้ ลง นอกจากนี้จะส่งผลให้อตั ราการตายสูงขนึ้ ดว้ ย

148

การจัดการให้น้าในระหวา่ งการอดอาหารทาไดโ้ ดย
- เพม่ิ จานวนอุปกรณ์ให้น้า
- แบง่ ไก่ออกเปน็ ห้องเลก็ ๆ
- ถา้ ให้นา้ แบบถงั อัตโนมตั ิรูประฆังจะตอ้ งคอ่ ยๆ เก็บถังนา้ เมอ่ื จะจับไก่ในบรเิ วณนนั้

1.1.5 การจับไก่ (Catching)
คุณภาพของเน้ือไก่จะลดลงและอาจจะเกิดความเสียหายมาก ถ้าหากมีการจับไก่ที่ไม่ถกู ตอ้ ง
ฉะนั้นพนักงานจับไก่จะต้องจับไก่อยา่ งนมิ่ นวลและจับอยา่ งถูกวิธี อุปกรณ์ในการจับไก่ ภาชนะในการบรรจุไก่
และยานพาหนะในการเคลอื่ นย้ายจะต้องเหมาะสม ก่อนการเริม่ จบั ไก่และในระหวา่ งการจบั ไกฝ่ งู นนั้ จะต้องอยู่
กันอยา่ งสงบน่งิ และมีกจิ กรรมน้อยทีส่ ุดเพ่อื ป้องกนั การเกิดรอยฟกช้า บาดแผล ปีกหกั และขาหัก เป็นตน้

ตารางที่ 10.1 ขอ้ ปฏิบัติกอ่ นเรม่ิ กระบวนการจับไก่ จะตอ้ งมีการตรวจสอบและมีการเตรียมการดังต่อไปน้ี

การตรวจสอบ การทางาน/กจิ กรรม
เวลาที่จะเร่ิมต้นจับไกแ่ ละขนส่ง คานวณระยะเวลาท่ีจะต้องใช้ในการจับไก่ เวลาที่
จ ะ ต้ อ ง ใ ช้ ใ น ก า ร ข น ส่ ง แ ล ะ คิ ว ห รื อ เ ว ล า ที่ จ ะ เ ข้ า
จานวนกลอ่ งบรรจไุ ก่ (Crates) และโมดูล โรงงานชาแหละเพื่อจะได้คานวณเวลาในการเรม่ิ ตน้
(Modules) ทีใ่ ช้ในการบรรจุไก่ อดอาหารและเวลาที่จะเร่ิมตน้ จับไกท่ เ่ี หมาะสมได้
อปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ท่ีจะตอ้ งใช้ คานวณหรือประมาณการจานวนกล่องบรรจุไก่และ
โมดูลท่ีจะต้องใช้ รวมท้ังจานวนรถบรรทุกที่จะต้อง
พืน้ ดิน/ทางเข้าโรงเรอื น ใช้ในการขนส่งให้เหมาะสมกับจานวนไก่ก่อนจะ
วสั ดุรองพ้นื เรมิ่ ต้นจับไก่
อปุ กรณใ์ หอ้ าหาร ต้องแน่ใจว่าอุปกรณ์ทุกอย่างท่ีจาเป็นจะต้องใช้ท้ัง
รถบรรทุก กล่องบรรจุไก่ โมดูล แผงตาข่ายก้ันไก่
จะต้องสะอาดและผ่านการฆ่าเช้ืออย่างเหมาะสม
มาแล้วและจะตอ้ งอยใู่ นสภาพที่ใช้งานได้ดี
พื้นดิน/ทางเข้าโรงเรือนจะต้องเรียบไม่เป็นหลุมเป็น
บ่อหรือไม่ทาให้การขนส่งไก่สะดุดซึ่งจะทาให้ไก่
ไดร้ ับบาดเจบ็ ได้
ถ้ามีวัสดุรองพ้ืนส่วนใดส่วนหน่ึงเปียกแฉะอาจจะ
ต้องเอาออกหรือใช้วัสดุรองพ้ืนที่แห้งมากลบปิด
เอาไวเ้ พอื่ ป้องกันการสกปรก
ให้เอาอุปกรณ์ให้อาหารออกหรือยกระดับให้สูงขึ้น
เพ่อื ไม่ให้กดี ขวางการทางานของพนกั งานจับไก่

การตรวจสอบ 149
การกั้นหอ้ ง/แบ่งเปน็ ห้องเล็ก
ความเขม้ แสง การทางาน/กจิ กรรม
ในโรงเรือนขนาดใหญ่จาเป็นต้องใช้ตาข่ายก้ันซอย
การระบายอากาศ เป็นห้องเล็ก ๆ (Pen) เพ่ือปอ้ งกนั ไกไ่ ปสมุ ทับรวมกนั
ในพืน้ ทีเ่ ดียวกัน
ในระหว่างการจับไก่ให้ลดความเข้มแสงลงให้มาก
ที่สุดเท่าท่ีจะทาได้แต่ต้องไม่เป็นอุปสรรคต่อการ
จับไก่ เพ่ือให้ไก่อยู่กันอย่างสงบ การจับไก่ในช่วง
กลางคืนจะเหมาะสมท่ีสุดเนื่องจากสามารถควบคุม
ความเข้มแสงได้ดีกว่าช่วงกลางวัน ในขณะจับไก่ให้
เปดิ แสงสีฟา้ เพื่อให้ฝูงไก่สงบลง
จะต้องมีการระบายอากาศท่ีดีตลอดระยะเวลาใน
การจับไก่เพื่อป้องกันความร้อนสะสมในโรงเรือน
ลมจะต้องพัดผ่านตัวไก่ตลอดเวลาและต้องคอย
สังเกตอาการผิดปกติของไก่ เช่น อาการหอบ
เป็นต้น

ทมี่ า : ประภากร (2560)

วิธีการจับขาไก่ที่ถูกต้องจะต้องจับด้วยมืออย่างนุ่มนวลทั้ง 2 ขาและจะต้องเต็มมือ ถ้าหากจับที่ตัว
จะต้องใช้มือท้งั 2 ข้างรวบให้ปีกชดิ กับลาตัวเพ่ือป้องกันการดิน้ ของไก่

ภาพที่ 10.1 แสดงการจบั ไกท่ ถี่ ูกต้องโดยการใช้มือรวบขาทง้ั สองข้างหรือใชม้ อื จบั รอบอก

150
นอกจากน้ีการจับไกล่ งกล่องจะตอ้ งนมุ่ นวล หา้ มโยนหรือยดั ไก่ลงกลอ่ ง การใชโ้ มดูลในการเคลื่อนย้าย
ไก่จะเหมาะสมทีส่ ดุ เนือ่ งจากไกเ่ กดิ ความเครียดนอ้ ยและมกี ารสญู เสียน้อยกวา่ การใช้กลอ่ งบรรจไุ ก่ จานวนไก่ท่ี
จะบรรจุไกล่ งกลอ่ งหรือโมดลู จะต้องเหมาะ ในช่วงฤดรู อ้ นจะตอ้ งลดจานวนตัวต่อกลอ่ งหรือโมดลู ลงและจะต้อง
มีพัดลมเป่าในขณะบรรจุไก่ลงกล่องและนาข้ึนรถบรรทุก ควรมีช่องว่างระหว่างโมดูลหรือระหว่างกล่องอยา่ ง
น้อย 10 เซนติเมตร หรอื 2 นว้ิ ของทกุ ๆ 2 ชนั้ ของกลอ่ ง หรอื อาจจะใช้กล่องเปล่าคนั่ กลางเป็นระยะๆ เพ่ือให้
มกี ารระบายอากาศดขี น้ึ ในขณะท่ีไกอ่ ย่บู นรถบรรทกุ ความร้อนสะสมจะเพิม่ ขึ้นอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะอย่างยง่ิ
ในช่วงที่รถจอดอยู่กับที่จะไม่มีลมพัดผ่าน ดังน้ันจะต้องออกเดินทางทันทีท่ีจับไก่ข้ึนรถบรรทุกเสร็จเรียบร้อย
และการขนส่งจะต้องใช้ระยะเวลาให้น้อยท่ีสุดและจะต้องจอดพักรถให้น้อยท่ีสุดด้วย เม่ือรถบรรทุกไก่ถึง
โรงงานชาแหละแล้วในระหว่างรอคิวชาแหละจะต้องมีพัดลมเป่าตลอดเวลาเพื่อระบายความร้อนที่สะสม
อาจจะมีการฉีดพน่ สเปรยน์ า้ เพื่อลดความร้อนลงได้แตจ่ ะต้องระวังไม่ให้ความช้ืนในบรรยากาศสงู เกนิ 70%
1.1.6 การจาหนา่ ยไกเนอื้
การจาหน่ายไกเนื้อควรมีการเตรยี มความพรอมในเรื่องการงดอาหาร การจับไก การชั่งไก การขนสง่ ไก
รายละเอียด ดังนี้

1) งดอาหารไกกอ่ นถึงโรงฆ่า 10 ช่วั โมง ควรจับไก่เวลากลางคืนโดยเปดิ ไฟสลัว ๆ พอมองเห็น
ยา้ ยอปุ กรณ์ใหน้ า้ อาหารออก ใช้ผา้ ลอ้ มตอ้ นไก่ใหอ้ ยใู่ นบริเวณจากดั

ภาพท่ี 10.2 ใช้ผ้าล้อมตอ้ นไก่ใหอ้ ยู่ในบริเวณจากัด
2) จับไกใสรถขนย้ายมาหน้าฟาร์มดว้ ยความระมัดระวังไม่ใหไ้ กเกิดแผลถลอก

ภาพที่ 10.3 จับไก่ใสรถขนยา้ ยมาหนา้ ฟาร์ม

151

3) จับไกใส่กลองจานวนตามขนาดนา้ หนักไก่ ไมควรเกนิ 15 ตวั

ภาพที่ 10.4 จับไกใสกลองด้วยความระมดั ระวงั
4) ชัง่ น้าหนักไก คร้งั ละ 3-4 กลองโดยวางซ้อนกนั จดบนั ทึกนา้ หนกั ไกพรอมจานวนกล่อง

ภาพที่ 10.4 ชงั่ นา้ หนักไก ครัง้ ละ 3-4 กลองโดยวางซ้อนกนั

5) ขนย้ายกลองไก่ใสรถโดยวางเรียงซ้อนกันให้พอดีกับช่องว่างของรถ การขนส่งไมควรหยุด
รถบ่อยและนานจนเกนิ ไปเพราะจะทาใหไ้ กมอี ัตราการตายขณะขนส่งสูง

ภาพที่ 10.5 นากลองไก่ใสรถโดยวางเรียงซ้อนกนั

152

1.1.7 การฆ่าและชาแหละ (Processing Poultry)
เม่ือไกถึงโรงฆ่าจะต้องสุมตรวจสุขภาพไก จากเจ้าหน้าที่สัตวแพทย์ จากนั้นพนักงานจับไก หัว
ห้อยลง นาขาไกแขวนกับห่วงแขวนไก่ (Shackles) จากนั้นจะเคลื่อนไปตามรางผ่านเคร่ืองทาสลบ จากนั้น
พนกั งานทาหน้าท่ีฆ่าไกโดยจับหวั ไกหงายขึน้ ใช้มีดเชือดทีล่ าคอตรงรอยต่อระหว่างคอกบั หัวไกทางด้านซ้ายซ่ึงมี
เส้นเลือดใหญ่ 2 เส้นมารวมกันจากน้ัน 60-90 วินาทีเลือดไหลจากตัวไกหมด ซากไกจะเคล่ือนตามราง
ผ่านถังน้าร้อนลวกไกอุณหภูมิ 95-97 องศาเซลเซียส เวลาประมาณ 30 วินาที แล้วเคล่ือนไปยังเคร่ืองถอน
ขนทีเ่ ปน็ น้วิ ยางตรี อบซากไก ตอ่ มาซากไกจะกลับหัวขน้ึ เพือ่ ให้เคร่อื งถอนขนออกเกอื บหมดอกี ครง้ั

ภาพท่ี 10.6 นาขาไกแขวนกับหว่ งแขวนไก่ ภาพท่ี 10.7 การทาให้ไก่สลบ

ภาพที่ 10.8 การเชอื ดไก่เพอื่ เอาเลือดออก ภาพท่ี 10.9 การลวกนา้ ร้อนและถอนขน

ภาพท่ี 9.10 ซากไกทผ่ี า่ นการฆ่าและถอนขน

153
จากนั้นซากไก่จะถกู ตดั หัวและขาออก ผ่าท้องดงึ เอาเคร่ืองในออก เพ่อื ใหเ้ จ้าหน้าทส่ี ัตวแพทย์ตรวจอีก
ครั้ง เคร่อื งในจะถูกเกบ็ ไว้เฉพาะหัวใจ กึ๋น และตบั นอกน้ันจะทิ้งลงถงั ต่อมาซากไก่จะถูกเคร่ืองดูดดูดเอาปอด
และอวัยวะอ่ืนที่ตกค้างออก จากนั้นซากไกจะถูกนาไปผ่านช่องทาความสะอาดด้วยเคร่ืองฉีดน้าแรงดันสูงจน
สะอาดท้ังภายนอกและภายใน

ภาพที่ 10.11 ซากไกท่ผี ่านการฆ่าและถอนขน ภาพที่ 10.12 ซากไกทผ่ี า่ นการนาเคร่อื งในออก

ภาพท่ี 10.13 การล้างทาความสะอาดซากไก่
นาซากไกที่ผา่ นการนาเคร่ืองในออกมาผ่านขั้นตอนการแชเยน็ (Chilling) ด้วยการแช่ลงในนา้
เยน็ จนซากมอี ุณหภูมิ 4 องศาเซลเซยี ส หรอื ต่ากว่าแลว้ แขวนให้สะเดด็ น้า 4-5 นาที นาไปเก็บในหอ้ ง
เย็นรอการจาหน่าย หรือชาแหละบรรจุหบี ห่อตอ่ ไป

154

ภาพท่ี 10.14 การแช่เย็นซากไก่ ภาพท่ี 10.15 ซากไก่รอการชาแหละ

ภาพท่ี 10.16 การชาแหละแยกช้ินส่วน

ภาพท่ี 10.17 การแยกช้ินสว่ นบรรจหุ ีบห่อ

155

ภาพที่ 10.18 การชาแหละตัดแตง่ ซากไก่ เชน่ ไก่ไม่มีกระดกู อกไก่ไรห้ นัง ฯลฯ

ภาพที่ 10.19 การแปรรปู

ภาพท่ี 10.21 การบรรจุหบี หอ่ และการเกบ็ ในหอ้ งเย็น
สาหรับการฆ่าชาแหละไก่ในโรงฆ่าขนาดเล็กที่ไม มีระบบสายพานลาเรียงอัตโนมัติ แต่ใช้คน
จัดการทั้งหมดต้ังแต่เชือดคอ ลวกน้า ถอนขน เอาเคร่ืองในออก ล้างทาความสะอาด โดยส่วนมากการฆ่า
ชาแหละลักษณะดังกล่าวนี้ จะใช้เครื่องถอนขนมาช่วยถอนขนเพอ่ื ประหยดั แรงงานและเวลา

156

ภาพที่ 10.22 เคร่อื งถอนขน และน้ิวยางภายในเคร่อื ง
1.1.8 ตลาดและการจาหนา่ ยผลผลิตไก่เนอ้ื

ไก่เนือ้ แบบรบั จ้างเล้ยี ง

ไก่เน้ือแบบอสิ ระ

ภาพที่ 10.24 วิถีการตลาดไกเ่ นอื้

157
ตลาดสัตว์ปีก หมายถึง สถานที่รวบรวมแลกเปลี่ยน ซื้อขาย สัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก
ตลอดจนวัสดุ อุปกรณ์ท่ีเกี่ยวข้องกับการผลิตสัตว์ปีก ซึ่งมีองค์ประกอบ 2 ส่วนคือ ผู้ซื้อและผู้ขาย ได้แก่
เกษตรกรท้ังรายย่อย รายกลาง ผู้ประกอบการรายใหญ่ พ่อค้าคนกลางรวมถึงบริษัทผู้ส่งออก การตลาดเป็น
เรื่องของการจัดการท่ีต้องมีการตัดสินใจ เพ่ือใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างมี
ประสิทธิภาพเพื่อเกิดผลกาไร
ตลาดนับว่ามีบทบาทสาคัญและเป็นข้ันตอนสุดท้ายในการเลี้ยงไก่ ซึ่งจะเป็นตัวช้ีว่าธุรกจิ การเล้ียงไก่
จะประสบความสาเร็จมากน้อยเพยี งใด ถา้ ผู้เลีย้ งไกส่ ามารถขายไขไ่ ด้ราคาดี มีผลกาไรมากเท่าไร กจ็ ะยง่ิ ได้รับ
ความสาเร็จเท่านนั้ โดยทัว่ ไปแล้วตลาดไก่เน้อื แบ่งได้ 3 ประเภท ดังนี้

1) การขายปลีก โดยการนาไก่ไปวางขายในตลาดสด และขายตามบ้าน โดยติดพ่วงด้วย
อาหารชนิดอื่นๆ สะดวกแก่ผู้บริโภคไมต่ ้องออกไปซอ้ื ท่ตี ลาดสด

2) การขายส่ง ลักษณะการขายแบบนจ้ี ะได้ราคาท่ีต่ากว่าการขายปลีก การขายส่งอาจทาได้
โดยการนาไปขายให้กับตลาดกลาง หรือสง่ ขายตามรา้ นคา้ ขายปลกี หรือร้านค้าขายสง่ ในทอ้ งถิน่ ราคาจะขน้ึ อยู่
กบั ราคาตลาดในกรุงเทพมหานครเป็นผู้กาหนด

3) การขายประกันราคา ผู้เล้ียงไก่บางรายอาจขายไก่ในรูปของการทาสัญญากับบริษัทผลติ
อาหารสัตว์ โดยท่ีบริษัทดังกล่าวขายพันธ์ุไก่ อาหารและยาสัตว์ให้ แล้วบริษัทจะรับซื้อไก่ทั้งหมดในราคา
ประกาศตลอดทั้งปที ผี่ ู้เล้ียงมกี าไรพอสมควรและไม่ต้องเสย่ี งกบั การลงทุนเมอื่ ราคาไกต่ ก ราคาไกก่ ็เช่นเดยี วกับ
ราคาผลิตทางการเกษตรอ่ืนๆ ที่ผู้ผลิตไม่สามารถที่จะต้ังราคาได้เอง ราคาจึงขึ้นลงไม่แนน่ อนตามปรมิ าณการ
ผลติ และความตอ้ งการของตลาดมีบทบาทที่สาคญั ต่อราคาในประเทศเปน็ อยา่ งมาก

ภาพท่ี 10.25 การจาหนา่ ยไก่เนื้อ

158

1.2 การจดั การผลผลติ และการจาหน่ายสตั วป์ ีกให้ไข่
การขายไข่ให้ได้ราคาดีน้ันขึ้นอยู่กบั คุณภาพของไข่เป็นสาคัญ ซ่ึงคุณภาพของไข่ประกอบด้วยคณุ ภาพ
ภายนอกและคุณภาพภายในของไข่ โดยคุณภาพภายนอกเปน็ สิง่ แรกท่ผี ู้ซ้อื มองเหน็ คอื ไข่เปลอื กสะอาด สีเข้ม
รูปทรงสวยไม่บุบร้าว และขนาดไข่ พบว่าขนาดไข่ฟองโตเป็นท่ีนิยมซื้อมากกว่าขนาดไข่ฟองเล็ก สาหรับ
คุณภาพไข่ภายในตรวจสอบได้จากเคร่ืองมือส่องไข่เพ่ือตรวจดู ช่องอากาศ ไข่ขาว ไข่แดง จุดเลือดจุดเน้ือ ซึ่ง
จาเป็นต้องมีการสุ่มตรวจคุณภาพภายในเมื่อส่งออกไข่ไปต่างประเทศ ดังน้ันจึงสรุปได้ว่าผู้ซื้อภายในประเทศ
มักเลือกซื้อไข่ท่ีมีขนาดและน้าหนักมาก มีความสะอาด และความใหม่ของไข่ ดังนั้นเพ่ือให้การผลิตไข่มี
คณุ ภาพตรงกับความตอ้ งการของตลาด ควรปฏบิ ตั ิดังน้ี

1) เลือกเลีย้ งพนั ธไ์ุ ก่ และเป็ดที่ไข่ดกฟองโต
2) ควรเปลี่ยนวัสดุรองพื้นเสมอเพ่ือให้ไข่สะอาด ถ้าเล้ียงในกรงตับควรทาความสะอาดพื้น
กรงเสมอเช่นกัน
3) ควรเกบ็ ไขบ่ อ่ ย ๆ อย่างน้อยวันละ 3 ครัง้ โดยเฉพาะในฤดูรอ้ น
4) ไขส่ กปรกควรใชผ้ ้าหยาบ ๆ เช็ดอยา่ ล้างน้า
5) ถาดบรรจไุ ข่ควรเปน็ ถาดทมี่ กี ารระบ่ายอากาศดไี มค่ วรเกบ็ ไข่ไวใ้ นภาชนะทท่ี บึ
6) เก็บไข่ไว้ในห้องอุณหภูมิปกติ หรือเก็บในห้องเย็น 35-50 ˚ F ความช้ืนสัมพัทธ์
70 เปอรเ์ ซ็นต์

1.2.1 คุณภาพของฟองไข่ คุณภาพของฟองไข่จะดูจากท้ังภายนอกและภายในฟองไข่ คือ สิ่งท่ี

มองเห็นไดด้ ้วยตาเปล่า ได้แก่

1) ลกั ษณะรูปทรง เช่น สองขา้ งแหลม สองข้างปาน รูปไขแ่ หลมขา้ งเดียว กลม

2) ลักษณะสี เชน่ ขาว หม่น กลาง สีเขม้ เข้มจัด

3) ลักษณะเปลือก เชน่ หยาบ เกลีย้ ง เปน็ สนั รอ่ ง หรอื รว้ิ รอย

4) ลักษณะขนาด เช่น ใหญ่พเิ ศษ ใหญ่มาก ใหญก่ ลาง เล็ก เล็กมากหรอื จิ๋ว

ปัจจุบันการคัดไข่ใช้เคร่ืองคัดที่มีความเท่ียงตรงมากกว่าการใช้สายตาคัด และยังรวดเร็วเหมาะกับ

ฟารม์ ทีม่ ขี นาดใหญ่ จานวนผลผลติ ไขต่ ่อวนั โดยเครอื่ งคัดสามารถแยกไข่ตามขนาดเปน็ เบอร์ได้ ดงั น้ี

เบอร์ 0 มนี ้าหนกั มากกวา่ 70 กรัม/ฟอง

เบอร์ 1 มีนา้ หนัก 65-70 กรมั /ฟอง

เบอร์ 2 มีน้าหนกั 60-65 กรัม/ฟอง

เบอร์ 3 มนี ้าหนกั 55-60 กรมั /ฟอง

เบอร์ 4 มีน้าหนกั 50-55 กรัม/ฟอง

เบอร์ 5 มีนา้ หนัก 45-50 กรมั /ฟอง

เบอร์ 6 มนี ้าหนกั น้อยกวา่ 45 กรมั /ฟอง

159

1.2.2 คณุ ภาพภายในฟองไข่ คือ คณุ ภาพของไขไ่ ก่โดยการวดั คณุ ภาพของโปรตีนไขข่ าว (albumen)
ไดแ้ ก่

ค่าฮอกยูนิต วัดได้โดยใช้เคร่ืองมือวดั เรียกว่า Haugh unit micrometer โดยการต่อยเปลือกไข่ แยก
ออกจากเปลือกบนพื้นเรียบ หน่วยฮอกยูนิตได้จากการคานวณน้าหนักไข่และความสูงของไข่ขาวข้น ไข่ที่
ออกมาใหมจ่ ะมคี วามสด มีความสงู ของไขข่ าวข้นมาก เมอ่ื เวลาผ่านไปไข่ขาวจะเหลวมีคุณภาพลดลง มคี วามสูง
ลดลง

มาตรฐานคุณภาพไขก่ ระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา USDA ไดก้ าหนดค่าคา่ ฮอกยูนิต เปน็ ค่ามาตรฐาน
เพื่อกาหนดคณุ ภาพไข่ท่กี าหนด โดยแบ่งคุณภาพไขต่ ามคา่ ฮอกยูนิตเป็นชว่ งระดบั คือ

เกรดดับเบลิ้ เอ (AA) ค่า H.U. อยูใ่ นช่วงระหวา่ ง 83-100
เกรดเอ (A) คา่ H.U. อยใู่ นชว่ งระหวา่ ง 59-75
เกรดบี (B) ค่า H.U. อยู่ในช่วงระหวา่ ง 35-51
เกรดซี (C) ค่า H.U. อย่ใู นช่วงระหว่าง 11-21
ไข่ที่ออกมาจากแม่ไก่ใหม่จะมีความสดใหม่และมีคุณภาพอยู่ในช่วงดับเบ้ิลเอ เม่ือเวลาผ่านไป
คา่ ฮอกยนู ิตลดลง

ภาพที่ 10.26 มาตรฐานคุณภาพไข่ของกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมรกิ า USDA
การกาหนดค่าฮอกยูนิตของแต่ละประเทศอาจแตกต่างกัน กระทรวงเกษตรประเทศไทย กาหนด
คุณภาพความสดของไขไ่ ก่ไว้ ดงั น้ี

ระดับชั้นคณุ ภาพ AA คา่ H.U. มากกว่า 72
ระดบั ชัน้ คุณภาพ A ค่า H.U. อย่ใู นชว่ งระหวา่ ง 60 – 71
ระดบั ชัน้ คณุ ภาพ B คา่ H.U. น้อยกวา่ 60

160

1.2.3 การเปลี่ยนแปลงภายในไขร่ ะหวา่ งเก็บรกั ษา
1) การระเหยของน้าและการสูญเสยี แกส๊ จากภายในไข่
2) การเคลอ่ื นไหวของนา้ ภายในไข่
3) ไขข่ าวขน้ เปล่ียนเปน็ ไข่ขาวใส
4) การเสื่อมเสยี โดยจุลนิ ทรยี ์
5) การดูดกลน่ิ ทไี่ ม่ตอ้ งการ

1.2.4 การเกบ็ รักษาไข่
1) เก็บในที่อุณหภมู ิต่า
2) เก็บในท่ีมีความชน้ื สัมพัทธ์ 80-90 %
3) เกบ็ ในบรรยากาศของ CO2 0.55-2.5 %
4) จุ่มในน้ามนั
5) ลวกผิวเปลือกไข่
6) นามาทาผลติ ภณั ฑ์ไขเ่ คม็ หรอื ไข่เยย่ี วม้า
7) แชเ่ ยอื กแข็งหรอื ทาแห้ง

1.2.5 ตลาดและการจาหน่ายผลผลิตไข่ไก่

ภาพที่ 10.27 วิถีการตลาดไขไ่ ก่

161

การตลาดไก่ไข่ นับได้ว่ามีบทบาทสาคญั และเป็นขน้ั ตอนสดุ ท้ายของการเลย้ี งไก่ไข่ ซึ่งจะเป็นตวั ที่ชี้ว่า
ธุรกิจการเลี้ยงไกไ่ ข่ประสบความสาเร็จมากนอ้ ยแค่ไหน ขึ้นอยู่กับการจาหนา่ ยซึง่ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

1) การขายปลกี มขี อ้ ดี คอื ขายให้ผบู้ ริโภคโดยตรงในราคาสงู
2) การขายส่ง จะได้ราคาต่ากว่าการขายปลีกเน่ืองจากราคาขายจะข้ึนอยู่กับ ล้งไข่ เป็นผู้
กาหนดราคา
3) การขายประกันราคา บรษิ ัทจะรับซอ้ื ไข่ไก่เอง ท้ังหมดในราคาประกนั ตลอดปี แมร้ าคาไข่
จะสงู ข้ึน ผเู้ ล้ยี งแบบน้ีจะไดร้ าคาเท่าทท่ี าสัญญาไว้ ผู้เลย้ี งไก่ไข่ แบบอสิ ระ จะขายไดร้ าคาสงู กว่าเม่อื ไข่ราคาสูง
แตจ่ ะขาดทนุ เม่ือราคาไข่ตกต่า
การเล้ียงแบบประกันราคา โดยฟาร์มเลี้ยงไก่ขายไข่ไก่ให้กับบริษัทอาหารสัตว์ ตามราคาประกัน
ตามสญั ญาทท่ี างบรษิ ทั จะขายพันธไุ์ ก่ อาหาร ยาและอน่ื ๆ ให้แลว้ รับซอื้ ผลผลิตท่ไี ด้ท้งั หมดในราคาประกันไม่
วา่ ราคาไขใ่ นขณะนน้ั จะข้ึนหรอื ลงกต็ าม
1.2.6 การจาหน่ายผลผลติ ไข่ไก่ การจาหนา่ ยไขใ่ นประเทศไทยแบ่งได้เปน็ 3 ลกั ษณะ คือ
1) ขายไข่คละ เป็นการขายไข่ที่สะดวกและประหยัดแรงงานในการคัดไข่ แต่ขายได้ราคาต่า
กว่าไขค่ ัดขนาด
2) ขายไข่โดยช่ังน้าหนัก เป็นการขายท่ียุติธรรม เพราะไม่คานึงถึงขนาดไข่ ผู้ซ้ือต้องการ
จานวนฟองมากก็เลอื กซ้ือฟองเล็ก ๆ แตถ่ า้ เลือกไข่ฟองโตก็จะได้จานวนฟองไข่น้อยลง

3) ขายไข่โดยคัดขนาด ปัจจุบันการคัดไข่ใช้เคร่ืองคัดท่ีมีความเที่ยงตรงมากกว่าการใช้
สายตาคัด และยงั รวดเร็วเหมาะกับฟาร์มทมี่ ขี นาดใหญ่จานวนผลผลิตไข่ตอ่ วนั มาก

ขายสง่ ขายปลกี (คดั ขนาด) ขายแบบชัง่ นา้ หนกั

ภาพที่ 10.28 ลักษณะการจาหน่ายผลผลิตไข่ไก่

ภาพท่ี 10.29 เครือ่ งคัดขนาดไข่

162
ภาพที่ 10.30 เคร่อื งคัดขนาดและบรรจุไข่

ภาพท่ี 10.30 ขนั้ ตอนการทางานเครือ่ งคัดขนาดและบรรจุไข่

163
1.2.7 ช่องทางการจัดจาหนา่ ยไขไ่ ก่
ตลาดนับว่ามีบทบาทสาคัญและเป็นขั้นตอนสุดท้ายในการเล้ียงไก่ไข่ ซึ่งจะเป็นตัวช้ีวา่ ธุรกิจการเล้ยี ง
ไก่ไข่จะประสบความสาเร็จมากนอ้ ยเพยี งใด ถ้าผู้เล้ียงไก่ไข่สามารถขายไข่ได้ราคาดี มีผลกาไรมากเท่าไร ก็จะ
ยงิ่ ไดร้ บั ความสาเรจ็ เทา่ นนั้ โดยทั่วไปแลว้ ตลาดไขไ่ ก่แบง่ ได้ 3 ประเภท ดังนี้

1) การขายปลีก ลักษณะการขายแบบน้ีมักเกิดจากฟาร์มไก่ไข่ท่ีอยู่ใกล้ในเมืองใหญ่ ใกล้
แหล่งชุมชนหรืออยู่ใกล้ถนนใหญ่ ท้ังนี้เพราะว่าสามารถที่จะขายไข่ให้กับผู้บริโภคได้ และสามารถขายไข่ไดใ้ น
ราคาสูง การขายไข่แบบน้อี าจทาไดโ้ ดยการนาไขไ่ ปวางขายในตลาดสด ขายตามบ้าน หรืออาจมบี างฟาร์มที่ตั้ง
รา้ นขายไข่ไว้ริมถนนที่มรี ถยนตว์ งิ่ ผ่านไปมา

ภาพท่ี 10.31 การขายปลีก
2) การขายส่ง ลักษณะการขายแบบนจี้ ะได้ราคาที่ต่ากวา่ การขายปลีก การขายส่งอาจทาได้
โดยการนาไข่ไปขายให้กับตลาดกลางไข่ไก่หรือลังไข่ หรือส่งขายตามร้านค้าขายปลีกหรือร้านค้าขายส่งใน
ท้องถ่ิน ซึ่งอาจเป็นร้านขายอาหารสัตว์หรือร้านรวบรวมไข่ในท้องถิ่น ราคาไข่จะข้ึนอยู่กับราคาท่ีคลังไข่ใน
กรุงเทพมหานครเป็นผูก้ าหนด

ภาพท่ี 10.32 การขายสง่
3) การขายประกันราคา ผู้เลี้ยงไก่ไข่บางรายอาจขายไข่ในรูปของการทาสัญญากับบริษัท
ผลิตอาหารสัตว์ โดยที่บริษัทดังกล่าวขายพันธไ์ ก่ อาหารและยาสัตว์ให้ แล้วบริษัทจะรับซ้ือไข่ท้ังหมดในราคา
ประกาศตลอดท้ังปีท่ีผู้เลี้ยงมีกาไรพอสมควรและไม่ต้องเสี่ยงกับการลงทุนเมื่อราคาไข่ตก ราคาไข่ไก่ก็
เช่นเดียวกับราคาผลิตทางการเกษตรอ่ืน ๆ ที่ผู้ผลิตไม่สามารถท่ีจะตั้งราคาได้เอง ราคาจึงข้ึนลงไม่แน่นอน
ตามปรมิ าณการผลิตและความต้องการของตลาดมีบทบาทท่ีสาคญั ต่อราคาในประเทศเป็นอย่างมาก

164

1.2.8 การบรรจุหีบหอ่
ความสาคญั ของบรรจภุ ัณฑ์ หนา้ ทโี่ ครงสรา้ งของบรรจภุ ณั ฑ์ คอื ตอ้ งคมุ้ ครองปกป้องผลติ ภัณฑ์ทหี่ ่อหุ้ม
ให้คงสภาพเดิมไว้ได้ ช่วยรักษาคุณภาพและต้องสะดวกในการขนส่งผลิตภัณฑ์จากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค ดังนั้น
ผู้ผลิตจึงตอ้ งร้จู ักเลือกวัสดุท่ีใช้ทาบรรจภุ ัณฑท์ ี่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับชนิดและลักษณะของผลิตภัณฑ์ วสั ดุท่ี
ใช้ต้องสามารถปกป้องรักษาคุณภาพสินค้า ง่ายแก่การขนส่งและป้องกันความเสียหายท่ีอาจเกิดระหว่างการ
ขนสง่ ด้วย
ในปัจจุบันพฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไปทาให้บรรจุภัณฑ์เปลี่ยนแปลงและมีความหลากหลาย
สวยงามมากขึ้นท้ังการออกแบบรูปร่างและชนิดของวัสดุท่ีใช้มีการคา นึงถึงความสวยงามสะดุดตาแก่ผู้พบ
เห็น สะดวกในการใช้ผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์ที่ทาจากวัสดุช้ันดีและการออกแบบสวยงาม จะช่วยให้
ผลิตภัณฑ์ดูมีคุณค่า หรูหรา และมีระดับมากขึ้น ทาให้ผู้ผลิตสามารถที่จะกาหนดราคาผลิตภัณฑ์ให้สูงขึ้นได้
จึงอาจกล่าวได้ว่าบรรจุภัณฑ์ช่วยกระตุ้นให้เกิดการซ้ือบรรจุภัณฑ์ที่มีรายละเอียดครบถ้วนและสวยงาม
จะสามารถทาหน้าท่ีแทนพนักงานขายได้ เครื่องหมายย่ีห้อสัญลักษณ์ต่าง ๆ บนบรรจุภัณฑ์จะช่วยให้คนทวั่ ไป
รู้จักสินค้ามากขึ้น ขนาดที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ทาให้ผลิตภัณฑ์ท่ีขายเหมาะสมกับความต้องการของผู้
ใช้ได้อย่างดีนอกจากน้ี การเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์เสียใหม่ของผลิตภัณฑ์ใด ๆ จะทาให้ผลิตภัณฑ์นั้น ๆ กลายเป็น
ผลติ ภณั ฑใ์ หม่ในสายตาของผบู้ ริโภค ลกั ษณะของบรรจภุ ัณฑ์ทด่ี ี มีดงั นี้

1) จงู ใจให้ซ้อื บรรจุภัณฑ์จึงตอ้ งสะดดุ ตานา่ สนใจ
2) นาเสนอขอ้ มลู เก่ยี วกับสนิ ค้า
3) เร้าอารมณ์ให้อยากซ้ือ ขนาดและรูปแบบที่เหมาะสมของบรรจุภัณฑ์ช่วยเร้าอารมณ์ให้
ผู้พบเห็น และอยากซอื้ สนิ คา้ ได้เป็นอยา่ งดี
4. สะดวกในการใช้ บรรจุภัณฑ์ต้องทาจากวัสดุที่เหมาะสมกับชนิดสินค้า และออกแบบให้
สามารถหยบิ จับใชผ้ ลิตภณั ฑน์ น้ั ๆ ได้สะดวก ปลอดภยั ไมม่ นี า้ หนักมากเกนิ ไป

ภาพท่ี 10.33 ชนดิ และลกั ษณะของผลิตภัณฑ์ไขไ่ ก่


Click to View FlipBook Version