The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pa0936182147, 2019-10-02 00:50:06

Unit 9

Unit 9

หนว่ ยท่ี 9

การบันทกึ งานฟารม์
และการทาบัญชี

129

หวั ข้อเรือ่ ง
1. ประโยชนข์ องการจดบันทกึ ข้อมูล
2. การบนั ทกึ งานฟาร์มและการวิเคราะห์ขอ้ มูล
3. การทาบญั ชีฟาร์มสัตวป์ กี

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. บอกประโยชน์ของการจดบนั ทึกขอ้ มลู ได้
2. สามารถจดบนั ทกึ และวเิ คราะห์ขอ้ มลู งานฟาร์มสตั วป์ กี ได้
3. สามารถทาบัญชฟี าร์มสัตว์ปกี ได้

เน้ือหาการสอน
การจัดการข้อมูลของฟาร์มไก่เน้ือเป็นการบันทึกข้อมูลที่เก่ียวข้องกับการจัดการ อาหาร

การใหอ้ าหาร ยา วัคซีน ผลผลติ แล้วนาข้อมูลทไ่ี ด้ไปคานวณค่าต่าง ๆ ลงบันทกึ ในกราฟเพอ่ื เทยี บกับมาตรฐาน
และจัดเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อเป็นประโยชน์ในการจัดการฟาร์ม ทาให้ทราบข้อมูลต่าง ๆ ในการเลี้ยง เช่น
ผลผลิตที่ได้รับ ผลผลิตท่ีเสียหาย จานวนไก่ตาย ไก่คัดทิ้ง และต้นทุนการผลิต กรณีเกิดการผิดปกติสามารถ
ค้นหาข้อมูลที่บันทึกไว้ วิเคราะห์หาสาเหตุ และหาทางแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง ช่วยลดความเสี่ยงจากการ
สูญเสีย นอกจากนย้ี ังใช้เป็นขอ้ มูลในการวางแผนการผลิต จัดเตรียมงบประมาณสาหรับเล้ยี งไก่รุ่นต่อไป

การบันทึกข้อมูลการเล้ียงสัตว์เปน็ สิ่งความสาคัญมาก ซึ่งจะเป็นประโยชนอ์ ย่างมากต่อผู้เล้ียงการเก็บ
รวบรวมขอ้ มลู การเลยี้ งสตั ว์ปกี แตล่ ะรนุ่ สามารถใช้เป็นหลักฐานแสดงถึงความสามารถของผเู้ ลี้ยงว่าเปน็ อย่างไร
นอกจากนีย้ ังทาให้ทราบถงึ การเปลยี่ นแปลงที่เกดิ ข้ึนในการเลย้ี งไกแ่ ตล่ ะรุน่ ในแตล่ ะช่วงเวลา

การจดบันทึกข้อมูลเป็นงานท่ีต้องการความละเอียดรอบคอบ ผู้เลี้ยงจะต้องจดบันทึกข้อมูลลงใน
แบบฟอร์มที่กาหนดไว้ทุกวัน ไม่ควรจดบันทึกข้อมูลย้อนหลังเพราะจะทาให้เกิดความผิดพลาดได้สิ่งสาคัญใน
การบนั ทกึ ขอ้ มลู คือ ความถูกตอ้ งและความสมบรู ณข์ องข้อมูลท่ีบนั ทึกเพราะจะทาให้การสรปุ ขอ้ มูลและผลการ
เลย้ี งไมผ่ ดิ พลาด

1. ประโยชน์ของการจดบันทึกขอ้ มูล การบนั ทกึ ขอ้ มลู การเลี้ยงสัตว์ปีกมีประโยชน์ ดงั น้ี
1) เป็นการทาประวัติการเล้ียงสตั วแ์ ตล่ ะรนุ่
2) สามารถทาให้ต้นทุนการผลิตลดลงได้ เช่น การจดบันทึกสถิติการไข่รายวันของแม่ไก่ไข่แต่ละ ตัว

ทาให้ผู้เลยี้ งสามารถคดั ไกต่ ัวทีใ่ ห้ไข่ไม่ดอี อกจากฝูงได้
3) ทาให้ทราบถึงสมรรถภาพการผลิตท่ีแท้จริงในฟาร์มเมอ่ื เปรยี บเทียบกับมาตรฐานของสายพันธุน์ น้ั

ๆ ทแี่ นะนาโดยบรษิ ทั ผ้ผู ลิต
4) ทาใหเ้ หน็ ถึงความแตกต่างในการเล้ยี งสตั ว์เน้ือแตล่ ะรนุ่ ในแต่ละฤดูกาล

5) ทาให้ทราบถึงสภาพการเปลี่ยนแปลงของสัตว์เนื้อที่กาลังเลี้ยงอยู่ได้ในทันทีทันใด เช่น การจด
บันทึกการกินอาหารในแต่ละวันของไก่ที่เล้ียงในแต่ละโรงเรือน ถ้าพบว่าไก่กินอาหารลดลงแสดงว่า จะต้องมี

130

ความผดิ ปกติเกิดขน้ึ ผเู้ ล้ียงจะต้องรีบหาสาเหตุและแก้ไขโดยทันที ทาใหส้ ามารถหลีกเลี่ยงหรอื บรรเทาปัญหา
ตา่ งๆ ที่จะเกิดขึ้นได้

6) สามารถติดตามสาเหตุของความผิดปกติท่ีเกิดข้ึนได้จากข้อมูลต่างๆ ท่ีมีอยู่ เช่น การตรวจสอบ
รายละเอยี ดของวัคซนี ทบ่ี นั ทึกไว้ในกรณเี กดิ โรคชนิดน้ันหลังจากทาวคั ซนี

7) สามารถประเมินประสทิ ธภิ าพการปฏบิ ตั งิ านของคนงานประจาแต่ละโรงเรอื นได้
8) ข้อมูลต่างๆ ที่ได้จากการเลี้ยงสัตว์เน้ือแต่ละรุ่นสามารถใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุง
ประสทิ ธภิ าพการผลิตในรุ่นตอ่ ไป
9) ข้อมูลที่ต้องบันทึกทุกวัน ได้แก่ ปริมาณอาหารท่ีกิน ผลผลิตไข่ อัตราการตาย แต่ข้อมูลบาง
ประเภทไม่จาเป็นต้องบันทึกทุกวัน เช่น น้าหนักตัว ข้อมูลท่ีบันทึกในแต่ละวันจะต้องรวบรวมและสรุปเก็บไว้
ทุกๆ สัปดาห์ ข้อมูลต่างๆ ท่ีได้บันทึกไว้จะนามาใช้ในการคานวณหาค่าต่างๆ เช่น ประสิทธิภาพการเปลี่ยน
อาหาร ปริมาณอาหารทีก่ ินต่อ 100 ตวั เปอรเ์ ซน็ ต์ไข่ จานวนไข่ฟักตอ่ แม่ไกท่ ่มี อี ยูใ่ นวนั นั้น เป็นตน้

2. การจดบนั ทึกและการวิเคราะห์ข้อมลู งานฟาร์มสตั วป์ กี
2.1 ประเภทของการบนั ทกึ ข้อมูล การบันทึกข้อมูลอาจแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ไดแ้ ก่
1) การบันทึกการเจริญเติบโต เป็นการบันทึกน้าหนักตัวและพฤติกรรมของฝูงต้ังแต่อายุ

1 วัน จนถึงเม่ือโตเต็มวัยหรือจับจาหน่าย ข้อมูลที่ได้จะต้องนาไปเปรียบเทียบการเจริญเติบโตมาตรฐานของ
สตั ว์ปีกสายพันธน์ ัน้ ในแต่ละสัปดาห์ ซึ่งจะทาใหผ้ เู้ ลีย้ งทราบถึงการเจรญิ เติบโตที่เป็นจริงในสภาพฟาร์มของเรา
กบั มาตรฐานประจาสายพนั ธุ์ ตารางทีใ่ ช้ในการจดบันทึกจะตอ้ งประกอบดว้ ย จานวนไก่มีชีวติ จานวนไกท่ ่ีปลด
หรือคัดทิ้ง จานวนไก่ท่ีปลดออกสะสม ปริมาณอาหารที่กิน โปรแกรมการทาวัคซีน สภาพอากาศหรืออุณหภมู ิ
และปญั หาต่าง ๆ ทเี่ กิดขน้ึ

2) การบันทึกผลผลิตไข่ ข้อมูลท่ีจดบันทึกจะต้องประกอบด้วยจานวนสัตว์ปีก ผลผลิตไข่
ทัง้ หมด เปอร์เซน็ ต์ไข่ในแต่ละวัน จานวนไขฟ่ ัก ปรมิ าณอาหารที่กิน น้าหนักตัว นา้ หนกั ไข่เฉล่ียตอ่ ฟอง ข้อมูล
ท่ีได้ควรจะมีการเปรียบเทียบข้อมูลผลผลิตมาตรฐานของสัตว์ปีกแต่ละสายพันธ์ุด้วย ข้อมูลสาคัญที่จะต้อง
คานวณออกมาในแตล่ ะสัปดาห์ ได้แก่

- ปริมาณอาหารทก่ี นิ เฉลีย่ ตอ่ ไก่ 100 ตัวตอ่ วนั ในแต่ละสัปดาห์
- ปรมิ าณอาหารทใี่ ชต้ อ่ ผลผลิตไข่ 1 โหล ขอ้ มลู ที่คานวณออกมาท้งั 2 ค่าน้ี จะเปน็ ตัวชี้ให้เหน็
ถึงปรมิ าณอาหารทไี่ ก่นาไปใช้ในการดารงชีพและให้ผลผลติ ไข่
3) การบันทึกอัตราการฟกั ออก อัตราการฟักออกในแต่ละสปั ดาห์เป็นตวั ช้ีให้เหน็ ถึงประสิทธิภาพการ
ผลิตของพ่อแม่พันธ์ุสัตว์ปีก ซ่ึงจะต้องประกอบด้วย จานวนไข่ฟัก จานวนไข่ตายโคม จานวนไข่ลม จานวนลูก
สัตว์ปีกที่ฟักออกท้ังหมด อัตราการฟักออก เปอร์เซ็นต์ลูกสัตว์ปีกท่ีขายทั้งหมด ข้อมูลที่ได้เหล่าน้ีจะต้องนาไป
เปรียบเทียบกับข้อมูลมาตรฐานของสัตว์ปีกแต่ละชนดิ เน่ืองจากมีค่าสหสัมพันธ์โดยตรงระหว่างอัตรา การฟกั
ออกกบั ผลผลิตไข่ การฟกั ไข่เพือ่ การค้านนั้ จะฟักไข่จานวนมากในแตล่ ะครั้ง ถ้าหากความสมบูรณ์หรอื อตั ราการ
ฟักออกลดลงเพียงเล็กน้อยย่อมหมายถึงการสูญเสียเงินทุนไปเป็นจานวนมาก ดังน้ันการจดบันทึกข้อมูลท่ี

131

เกี่ยวข้องกบั ไขฟ่ ักเพ่อื นามาคานวณหาความสมบรู ณ์พนั ธุแ์ ละอัตราการฟักออกจะช่วยใหผ้ ู้เลี้ยงทราบถึงสาเหตุ

ของความผดิ ปกตทิ ่ีเกดิ ข้ึนได้ 4)

การบันทึกการคดั ไข่ ผู้เล้ียงไก่ที่ต้องการขายไข่ไก่จะต้องทาการประเมินขนาดไข่และคุณภาพไข่ที่ผลิตได้ ควร

บันทึก นา้ หนกั ไขท่ ุกสัปดาห์ และเปรียบเทียบกบั มาตรฐานประจาพันธน์ุ น้ั ๆ นอกจากน้ี นา้ หนกั ไข่ และจานวน

ไข่ทั้งหมดท่ีผลิตได้จะนามาคานวณหาน้าหนกั ไขเ่ ฉล่ียเพ่อื ใช้เป็นเกณฑ์ในการคานวณหาความต้องการโภชนะ

และทาการคานวณหาประสทิ ธภิ าพการเปลีย่ นอาหารโดยคดิ จากนา้ หนักอาหารตอ่ นา้ หนักไข่

2.2 การสรา้ งกราฟ
เพื่อให้ง่ายต่อการติดตามประสิทธิภาพการผลิตของฝูงสัตว์ปีกที่เล้ียง ข้อมูลต่างๆ ท่ีบันทึกจะถูกปรับ
ให้อยู่ในรูปของข้อมูลต่อสัปดาห์ แต่ถึงกระน้ันการวิเคราะห์และตดิ ตามผลยังค่อนข้างยงุ่ ยาก ดังน้ันเราจึงตอ้ ง
นาข้อมูลดังกล่าวมาสร้างให้อยู่ในรูปของกราฟพร้อมกับทากราฟมาตรฐานสาหรับข้อมูลต่างๆ ท่ีได้บันทึกไว้
เพื่อใหง้ ่ายต่อการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างสภาพการผลิตที่เป็นจรงิ ในฟารม์ กับมาตรฐานประจาพันธ์ุ
ซึ่งจะเป็นตัวช้ีให้เห็นถึงสมรรถภาพการผลิตของผู้เล้ียง และส่ิงต่างๆ ท่ีเป็นปัจจัยผันแปรท่ีทาให้ผลผลิตที่ได้
แตกต่างไปจากมาตรฐานควรทาการบนั ทึกไว้ กราฟท่ีสาคญั ๆ ไดแ้ ก่

- กราฟแสดงผลผลิตไข่ เพ่ือติดตามดูความสม่าเสมอของผลผลิตไข่ โดยปกติเม่ือฝูงไก่เร่ิมให้
ผลผลติ ได้ 5 % ของฝูงจะกาหนดใหเ้ ป็นสัปดาหแ์ รกของการใหผ้ ลผลติ ไข่

- กราฟแสดงปรมิ าณอาหารท่ีกนิ เป็นการแสดงปรมิ าณอาหารที่ไก่กนิ ในแต่ละสัปดาหต์ ่อแม่
ไก่ 100 ตวั เพื่อนามาเปรียบเทียบกับผลผลิตไข่ทีไ่ ด้

- กราฟแสดงน้าหนักตัวไก่ เป็นการแสดงน้าหนักตัวไก่ในแต่ละระยะเริ่มต้ังแต่ลูกไก่อายุ
1 วัน จนถงึ ปลดจาหน่าย

2.3 การบนั ทึกขอ้ มลู การเลีย้ งไก่เนอื้ ขอ้ มลู ทีจ่ ะตอ้ งบันทกึ ประกอบดว้ ย
1) วนั ที่รบั ลูกไก่และพนั ธไ์ุ ก่ท่เี ล้ียง
2) จานวนไก่ทั้งหมดและนา้ หนักเฉลี่ยเมือ่ เริม่ ตน้ เล้ียง
3) จานวนไกต่ ายและคัดท้งิ ในแตล่ ะวัน
4) ปรมิ าณอาหารทกี ินในแตล่ ะวนั
5) การใหย้ าและไวตามนิ
6) การทาวัคซีน จะตอ้ งบนั ทึกชื่อทางการคา้ บรษิ ทั ทผ่ี ลติ วันหมดอายุ วิธีการให้ และวันท่ที า

วคั ซีน
7) นา้ หนกั ไกท่ ัง้ หมดที่ขาย
8) จานวนไกท่ ้งั หมดทข่ี าย
9) ความยาวแสงทใี่ ช้และเวลาใหแ้ สง
10) อุณหภูมิสงู -ตา่ สดุ ในแต่ละวัน

132

11) ความชืน้ สมั พัทธใ์ นแต่ละวัน
2.3.1 การวิเคราะห์ข้อมูลการเล้ียงไก่เนื้อ จากข้อมูลต่าง ๆ ดังกล่าวนามาคานวณหาค่าต่าง ๆ ดังนี้

1) อัตราการเจริญเติบโต (Average daily gain) หมายถึง เฉล่ียน้าหนักตัวที่เพ่ิมขึ้นเป็น
กโิ ลกรัมตอ่ ระยะเวลาการเล้ยี งเป็นวนั

2) อัตราการเปล่ียนอาหาร (Feed conversion ratio) หมายถึง ปริมาณอาหารที่ใช้มีหน่วย
เป็นกิโลกรัมตอ่ การเพ่ิมของนา้ หนกั ตวั 1 กโิ ลกรมั

(3) ต้นทุนค่าอาหารต่อการเพ่ิมน้าหนักตัว 1 กิโลกรัม (Feed cost of production)
คิดจากประสิทธภิ าพการเปลี่ยนอาหารคูณดว้ ยราคาอาหารท่ใี ช้เล้ยี งไก่

4) เฉลี่ยน้าหนักส่งตลาดต่อไก่ 1 ตัว คิดจากน้าหนักไก่ท้ังหมดที่ขายต่อจานวนไก่ท้ังหมดที่
ขาย

5) อัตราการตาย (Mortality) หมายถึง จานวนไก่ตายและคัดทิ้ง ต้งั แต่วันเรมิ่ เลย้ี งจนถึงวันที่
จับจาหนา่ ยเปรยี บเทยี บกบั จานวนไกเ่ ม่อื เริ่มตน้ เล้ยี ง

2.3.2 สูตรการคานวณสมรรถภาพการให้ผลผลิตงานฟาร์มไก่เนื้อ

1. น้าหนกั ตัวท่เี พมิ่ /ตัว (Weight gain) = นน. ตัวสิ้นสดุ - นน. ตัวเริ่มตน้

2. นา้ หนักตัวทเ่ี พม่ิ /วนั (Average daily gain, ADG) = นน. ตวั สน้ิ สุด - นน. ตัวเรม่ิ ตน้ เล้ียง
จานวนวันที่เล้ยี ง

3. ปรมิ าณอาหารทกี่ ิน/ตัว (Feed intake) = นน. อาหารที่ให้ - นน. อาหารทเี่ หลือ
จานวนไก่ทเ่ี ล้ยี ง

4. อตั ราการเปลี่ยนอาหาร (Feed conversion ratio, FCR) = นน. อาหารทีก่ นิ ท้ังหมด
นน. ตวั ท่ีเพมิ่ ข้นึ

หรือ = นน. อาหารท่ีกินทง้ั หมด
นน. ตวั สุดทา้ ย - นน.ตวั ที่เรม่ิ เลย้ี ง

5. อตั ราการตาย (Mortality rate ; (%) = จานวนไก่ตาย + คดั ทิง้ X 100
จานวนไกเ่ ริ่มตน้ เล้ียง

หรือ = จานวนไกเ่ ร่ิมตน้ เลย้ี ง – จานวนไก่เม่ือสิ้นสุดการเล้ยี ง X 100
จานวนไกเ่ รม่ิ ต้นเลย้ี ง

6. อัตราการเล้ียงรอด (Liveability ; (%) = จานวนไกเ่ มอ่ื ส้นิ สุดการเลี้ยง X 100
จานวนไกเ่ รม่ิ ต้นเลี้ยง

133

7. ค่าประสิทธิภาพการผลิต = อัตราการเลี้ยงรอด x นา้ หนักตัวเฉลย่ี (กก.) X 100
(Production Efficiency Factor, PEF) อายุ (วัน) x FCR

8. ต้นทนุ อาหารตอ่ การผลติ ไก่ 1 กก. = FCR X ราคาอาหาร (บาท/กก.)
(Feed cost of production)

134

2.4 การบนั ทกึ ข้อมลู การเล้ียงไกไ่ ข่ ขอ้ มลู ทจี่ ะตอ้ งบันทึกประกอบด้วย
1) วนั รับลูกไก่ และพันธไ์ุ ก่
2) จานวนไก่ท้ังหมด
3) จานวนไกต่ ายและคดั ทิง้ ในแตล่ ะวัน
4) จานวนไก่ทเ่ี หลอื เม่อื อายุ 18 สัปดาห์ และเมือ่ สิ้นสุดการเลยี้ ง
5) อายุเมือ่ โตเต็มวัยหรือเมอ่ื ให้ไข่ฟองแรก
6) น้าหนกั เมอื่ เรมิ่ ต้นเล้ียง และตลอดระยะเวลาการเลย้ี ง
7) ปรมิ าณอาหารที่กินในแต่ละวัน
8) สถิตกิ ารไข่รายวันของแมไ่ กแ่ ต่ละตัว
9) จานวนไขร่ วมในแต่ละวัน
10) จานวนไข่ทขี่ าย
11) จานวนไขผ่ ดิ ปกติหรอื คดั ท้ิง
12) ไวตามินและยาต่าง ๆ ท่ีใช้ โดยจะต้องบันทึกช่ือยา บริษัทท่ีผลิต วันท่ีผลิต วันหมดอายุ

ขนาดที่ใช้ วันท่ีและระยะเวลาที่ใชย้ า
13) การทาวัคซีนจะต้องบันทึกชื่อทางการค้า บริษัทที่ผลิต วันหมดอายุ วิธีการให้ และวันที่

ทาวคั ซีน
14) ความยาวแสง และเวลาใหแ้ สง
15) อณุ หภมู สิ งู สดุ -ต่าสุด ในแตล่ ะวนั
16) ความชืน้ สมั พทั ธใ์ นแต่ละวัน

2.4.1 การวิเคราะห์ข้อมูลการเล้ียงไก่ไข่ จากข้อมูลต่าง ๆ ท่ีบันทึกเอาไว้สามารถนามาคานวณหา
ตา่ ง ๆ ได้ดงั น้ี

1) อัตราการไข่ (Rate of production) หมายถึง เปอร์เซ็นตก์ ารไขใ่ นระยะเวลาหนึ่ง
2) จานวนไก่เม่ือเร่ิมต้นเลี้ยง (Hen-housed) หมายถึง จานวนไก่ที่มีในวันท่ีฝูงไก่เริ่มไข่ได้
5%

3) ผลผลิตไข่คิดจากจานวนแม่ไก่เร่ิมต้นเลี้ยง (Hen-housed production) หมายถึง
เปอร์เซ็นตก์ ารไข่ท่ีคานวณได้จากจานวนแมไ่ ก่เม่ือเรมิ่ ต้นเลี้ยง เป็นขอ้ มลู ท่ีแสดงถงึ ประสิทธิภาพของการเลี้ยง
และ การจัดการไก่ไข่ในฝูง เนื่องจากจะคิดคานวณผลผลิตไข่โดยใช้จานวนไก่ไข่เมื่อเริ่มต้นให้ไข่เป็นเกณฑ์
ถา้ ผู้เลย้ี งมีการจดั การไม่ถกู ต้องจะทาใหม้ ีไกค่ ัดท้ิงหรือตายจานวนหน่ึงซึ่งในการคานวณค่านี้ จะไม่ได้หักจานวน
ไก่คัดทิง้ หรอื ตายเหลา่ น้นั ออกไปกจ็ ะทาใหค้ ่าท่ไี ดน้ ้นั ตา่

4) ผลผลิตไข่คิดจากจานวนแม่ไก่ที่เหลืออยู่ในวันน้ัน (Hen-day production) หมายถึง
เปอร์เซ็นต์การไข่ที่คิดจากจานวนแม่ไก่ที่เหลืออยู่ในวันนั้น เป็นค่าที่แสดงถึงประสิทธิภาพการเลี้ยงและ การ
จดั การฝูงไกใ่ นช่วงเวลาน้ัน ถ้าผเู้ ลี้ยงมีการดูแลเอาใจใส่ดี คอยคัดเลือกไก่ทไี่ มไ่ ข่ออกไปหรือไก่ท่ีปว่ ย ออกไปก็

135

จะทาให้ช่วยกาจัดไก่ที่ไม่ให้ผลผลิตออกไปทาให้ค่าเปอร์เซ็นต์การให้ไข่สูงขึ้นและลดค่าใช้จ่าย จากไก่ที่ไม่ให้
ผลผลิตแต่ยังคงกินอาหารทุกวัน อย่างไรก็ตามการพิจารณาประสิทธิภาพการเลี้ยงน้ันจะต้องพจิ ารณารว่ มกัน
ระหวา่ งการใหผ้ ลผลิตไข่คดิ จากจานวนแมไ่ กเ่ ร่ิมตน้ เล้ียงและการให้ผลผลิตไข่คิดจากจานวนแมไ่ ก่ท่เี หลอื อยู่ใน
วนั นนั้

5) ผลผลิตไข่ต่อปี (Annual production) หมายถึง จานวนไข่ที่ได้ต่อแม่ไก่ 1 ตัว ใน
ระยะเวลา การไข่ 1 ปี

6) น้าหนักตัว (Body weight) การช่ังน้าหนักตัวทาได้โดยสุ่มช่ังน้าหนักไก่ประมาณ 10%
ของฝงู ทุกสปั ดาห์และเฉล่ยี น้าหนักไก่ทง้ั หมดที่ช่งั ตอ่ จานวนตัวไก่เพ่ือใช้เปรยี บเทยี บกบั น้าหนักมาตรฐานตาม
อายุไก่ในแต่ละสายพนั ธ์ุ

7) น้าหนักไข่ (Egg weight) คิดจากน้าหนักไข่ท้ังหมดหารด้วยจานวนไข่ทั้งหมด เพ่ือใช้เป็น
เกณฑ์ในการกาหนดนา้ หนักไข่เขา้ ฟัก

8) อัตราการเปลี่ยนอาหารเปน็ ผลผลติ ไข่ (Feed conversion ratio) หมายถึง จานวนอาหาร
ทใี่ ชเ้ ปน็ กิโลกรมั ต่อจานวนไข่ทีผ่ ลิตไดน้ ้าหนกั 1 กิโลกรมั

9) ความสม่าเสมอของฝงู (Uniformity) หมายถงึ จานวนไกท่ ้งั หมดท่ีมนี ้าหนักอยู่ระหว่างค่า
มากกว่าหรือน้อยกวา่ 10% ของน้าหนกั เฉลีย่ ตอ่ จานวนไกท่ ้งั หมดท่ชี งั่ นา้ หนัก

10) อัตราการเล้ียงรอด (Live ability) หมายถึง จานวนไก่ท่ีเล้ียงรอดเมื่อเปรียบเทียบกับ
จานวนไกเ่ มอ่ื เร่ิมตน้ เลีย้ งแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คอื

- อตั ราการเลีย้ งรอดต้งั แตร่ ะยะแรกเกดิ จนถึงอายุ 18 สัปดาห์
- อัตราการเลีย้ งรอดในระยะไข่ เริ่มตงั้ แต่อายุ 18 สปั ดาห์จนถงึ ปลดจาหนา่ ย
11) จานวนไก่ไข่เฉลี่ย (Average number of layer) คิดจากจานวนไก่ที่เริ่มต้นเล้ียง และ
จานวนไก่ท่เี หลอื อยหู่ ารดว้ ย 2 เน่ืองจากฝงู ไก่ไขต่ ้องใชร้ ะยะเวลาในการเลี้ยงนาน ทาใหจ้ านวนไกต่ าย และคัด
ทิ้งสูง ดังนั้นการประมาณประสิทธภิ าพการผลิตของฝูงบางครงั้ จึงต้องคิดจากจานวนไกเ่ ฉล่ีย เช่น การคานวณ
ผลผลิตไข่ หรือการประมาณปริมาณอาหารทก่ี ินทาให้คา่ ท่ีได้ใกล้เคียงกบั ความเป็นจรงิ มากท่ีสดุ

2.4.2 สูตรการคานวณสมรรถภาพการให้ผลผลิตงานฟาร์มไก่ไข่
1) จานวนไข่สะสมต่อจานวนไก่เร่ิมให้ไข่ (hen-housed egg production) หมายถึง การ

คานวณจานวนไขข่ องฝงู จากจานวนไก่ที่เริม่ ต้นใหไ้ ข่ ถือเปน็ ขอ้ มลู บง่ ช้ีถึงคณุ ภาพของพนั ธุ์ไก่ไขแ่ ละการจัดการ
ฟาร์ม แล้วนาไปเปรียบเทียบกับมาตรฐานของพันธ์ุ ดังนี้

จานวนไขส่ ะสมตอ่ จานวนไกเ่ ร่มิ ใหไ้ ข่ = จานวนไข่สะสม
จานวนไก่เร่มิ ใหไ้ ข่

136

2) เปอร์เซ็นตก์ ารไขต่ ่อจานวนไก่ท่ีมีชีวติ (hen-day egg production) หมายถงึ การคานวณ
เปอร์เซน็ ตก์ ารไขข่ องฝูงจากจานวนไก่ทม่ี ีชีวิตอยู่จรงิ และเม่อื สนิ้ สดุ สปั ดาห์น้ันแล้วให้นาค่าทไ่ี ด้ไปเปรียบเทียบ
กบั มาตรฐานของพันธ์ุ คานวณได้จากสตู รของ North และ Bell (1990) ดังน้ี

เปอรเ์ ซน็ ตก์ ารไข่ตอ่ จานวนไก่ที่มชี ีวติ = จานวนไขท่ ่ีผลติ ได้ในสัปดาห์ (ฟอง)  100
จานวนไก่เมอื่ สน้ิ สัปดาห์  7

3) ปริมาณอาหารท่ีกนิ สัปดาห์นี้ เปน็ ผลรวมของอาหารที่ให้ไก่กนิ ทงั้ สัปดาห์ สว่ นอาหารที่กิน
สะสมเป็นปริมาณอาหารท่ีกินสัปดาห์นรี้ วมกับอาหารที่กนิ สัปดาห์ก่อนหน้า และปริมาณอาหารที่กนิ ต่อตัวตอ่
วันคานวณได้จากสตู รของมานิตย์ (2536) ดงั นี้

ปรมิ าณอาหารที่กินต่อตัวตอ่ วัน = ปริมาณอาหารท่ีกินในสัปดาห์ (กก.)  1000
(กรัม/ตัว/วัน) จานวนไก่เมื่อสิ้นสปั ดาห์ (ตัว)  7

4) ปริมาณอาหารที่ใช้ในการผลติ ไข่ 1 โหล คานวณจากสตู ร (มานิตย์, 2536)

ปริมาณอาหารทใี่ ช้ในการผลติ ไข่ 1 โหล = ปริมาณอาหารท่กี ินสะสม (กก.)  12
จานวนไขส่ ะสม (ฟอง)

5) นา้ หนักตัวไก่ ในชว่ งของการใหผ้ ลผลิตควรชงั่ น้าหนกั ไก่ทุกสัปดาห์ โดยชั่ง 10 เปอร์เซ็นต์
ของฝูง แลว้ นามาหาค่าเฉลย่ี โดยใชส้ ูตรของ มานิตย์ (2536) ดงั น้ี

น้าหนักเฉลี่ยของไก่ (กโิ ลกรมั ) = น้าหนกั ไกร่ วมของไกท่ ีช่ ั่ง (กก.)
จานวนไกท่ ้ังหมดท่ชี ่ัง (ตวั )

6) นา้ หนกั ไข่ เป็นค่าเฉลีย่ ของนา้ หนกั ไขท่ ี่ชัง่ ประมาณ 1-10 เปอร์เซ็นต์ ข้นึ อยู่กับจานวนไข่ท่ี
ผลิตได้ แลว้ นามาคานวณค่าเฉล่ีย โดยใช้สตู รของ มานติ ย์ (2536) ดังนี้

นา้ หนกั ไขเ่ ฉลี่ย (กรัม) = นา้ หนักไขร่ วม (กรมั )
จานวนไข่ทงั้ หมดที่ชัง่ ( ฟอง)

การเปล่ยี นอาหารเปน็ เนือ้ FCR = อาหารทใี่ ช้ทงั้ หมด
น้าหนักไก่ทีท่ ง้ั หมด

อตั ราการตาย (%) = จานวนไก่ตาย + คดั ทิง้ x 100
จานวนไก่ท่เี ร่ิมตน้ เลีย้ ง

137

อัตราการเล้ยี งรอด (%) = จานวนไก่ทเ่ี หลือ x 100
จานวนไกท่ ่เี รมิ่ ต้นเลี้ยง

% การให้ไข่ = จานวนไข่ต่อวนั x 100
จานวนไก่ไขท่ เ่ี ลีย้ ง

เปอรเ์ ซน็ ตก์ ารไข/่ วัน (H.D.) = จานวนไข่ทเี่ ก็บได้ทงั้ หมดในวันน้ัน x 100
จานวนไก่ทัง้ หมดทมี่ ีอย่ใู นวันนน้ั

เปอรเ์ ซน็ ตก์ ารไข่/จานวนไกเ่ ริม่ ตน้ (H.H.) = จานวนไขท่ ี่เกบ็ ไดท้ ัง้ หมดในวนั นั้น x 100
จานวนไก่ไขเ่ ริ่มต้น (5%)

2.4.3 การสรา้ งกราฟบนั ทกึ การเล้ยี งไก่ไข่
เพ่ือให้สะดวกต่อการติดตามประสิทธิภาพการผลติ ของฝงู สัตวป์ ีกท่เี ล้ียง ขอ้ มูลต่าง ๆ ที่บนั ทกึ ควรจะ
ถูกปรับให้อยู่ในรูปของข้อมูลต่อสัปดาห์ แต่ถึงกระนัน้ การวิเคราะห์และติดตามผลยังค่อนข้างยงุ่ ยาก ดังนั้นจึง
ตอ้ งนาข้อมลู ดงั กล่าวมาสร้างให้อยู่ในรูปของกราฟพรอ้ มกบั ทากราฟมาตรฐานสาหรับข้อมลู ต่าง ๆ ที่ได้บนั ทึก
ไว้ เพื่อให้ง่ายต่อการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างสภาพการผลิตทีเป็นจริงในฟาร์มกับมาตรฐานประจา
สายพันธ์ุ ซ่ึงจะเป็นตัวช้ีให้เห็นถึงสมรรถภาพ การผลิตของผู้เลี้ยงและส่ิงต่าง ๆ ที่เป็นปัจจัยผันแปรที่ทาให้ผล
ผลติ ท่ไี ดแ้ ตกต่างไปจากมาตรฐาน กราฟทสี่ าคัญ ๆ ได้แก่

1) กราฟแสดงผลผลิตไข่ เพ่ือติดตามความสม่าเสมอของผลผลิตไข่ โดยปกติเม่ือฝูงไก่เร่ิมให้
ผลผลติ ได้ 5 % ของฝงู จะกาหนดใหเ้ ปน็ สปั ดาหแ์ รกของการให้ผลผลิตไข่

2) กราฟแสดงปริมาณอาหารที่กิน เป็นการแสดงปริมาณอาหารท่ีไก่กินในแต่ละสัปดาห์ต่อ
จานวนไกไ่ ข่ 100 ตัว เพอ่ื นามาเปรยี บเทยี บกบั ผลผลิตไขท่ ่ีได้

3) กราฟแสดงน้าหนักตัวไก่ เป็นการแสดงน้าหนักตัวไก่ในแต่ละระยะเริ่มต้ังแต่ลูกไก่อายุ
1 วัน จนถงึ ปลดจาหนา่ ย

138

139

140

3. การทาบัญชีฟาร์มสัตวป์ ีก
การบัญชี (Accounting) ศิลปะของการเก็บรวมรวมข้อมูล จาแนกและทาสรุปข้อมูลเกี่ยวกับ

เหตุการณ์ทางเศรษฐกิจในรูปตัวเงิน ผลขั้นสุดท้ายของการทาบัญชีก็คือ การให้ข้อมูลทางการเงินซึ่งเป็น
ประโยชน์แก่บุคคลหลายฝ่าย และผสู้ นใจในกจิ กรรมของกิจการ

การบัญชี หมายถึง ศิลปะการจดบันทึก การจาแนกให้เป็นหมวดหมู่และการสรุปผลที่สาคัญในรูป
ตัวเงิน รายการและเหตุการณ์ต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับทางด้านการเงิน รวมทั้งการแปลความหมายของผลการ
ปฏิบัตดิ งั กลา่ ว การบัญชีมคี วามหมายทส่ี าคญั 2 ประการ คือ

1) การทาบัญชี (Bookkeeping) เป็นหน้าท่ีของผู้ทาบัญชี (Bookkeeper) ซ่ึงมีขั้นตอนการ
ปฏิบตั ิ ดังน้ี

- การรวบรวมข้อมูล (Collecting) หมายถึง การรวบรวมข้อมูลหรือรายการค้าท่ี
เกดิ ข้ึนประจาวนั และหลักฐานขอ้ มลู ทเ่ี ก่ยี วกับการดาเนนิ ธุรกจิ เช่น หลกั ฐานการซอ้ื และขายเชือ่ หลกั ฐานการ
รบั และการจ่ายเงนิ เป็นต้น

- การบันทึก (Recording) หมายถึง การจดบันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นในแต่ละครั้ง
ให้ถกู ต้องตามหลกั การบญั ชที ร่ี ับรองทัว่ ไป พรอ้ มกับบันทกึ ข้อมูลใหอ้ ยูใ่ นรูปของหนว่ ยเงนิ ตรา

- การจาแนก (Classifying) หมายถึง การนาข้อมูลที่บันทึกไว้แล้ว มาจาแนก
หมวดหมขู่ องบญั ชปี ระเภทตา่ ง ๆ เชน่ หมวดทรัพย์สนิ หนี้สนิ ส่วนของเจา้ ของ รายได้ และคา่ ใช้จา่ ย

- การสรุปข้อมูล (Summarizing) เป็นการนาข้อมูลที่ได้จาแนกให้เป็นหมวดหมู่
ดังกล่าวแล้ว มาสรุปรายงานทางการเงิน (Accounting report) ซ่ึงแสดงถึงผลการดาเนินงานและฐานะ
ทางการเงินของธรุ กิจตลอดจนการไดม้ าและใช้ไปของเงินสดในรอบระยะเวลาบญั ชหี นึ่ง

2) การให้ข้อมูลทางการเงิน เพ่ือประโยชน์แก่บุคคลท่ีเกี่ยวข้องหลายฝ่าย เช่น ฝ่ายบริหาร
ผู้ให้กู้ เจา้ หน้ี ตวั แทนรฐั บาล

ส่วนการทาบัญชี (Book-keeping) เป็นวิธีการจดบันทึกรายการเปลี่ยนแปลงทางด้านการเงินหรือ
สิ่งของที่กาหนดมูลค่าเป็นเงินไว้เป็นหลักฐาน โดยจัดแยกไว้เป็นหมวดหมู่ตามประเภทของรายการน้ัน และ
เรียงลาดับรายการที่เกิดข้ึนก่อนหลังในสมุดบัญชีได้ถูกต้อง และสามารถแสดงผลการดาเนินงานรวมท้ังฐานะ
ทางการเงินของกิจการในระยะเวลาหนึ่งได้ ซงึ่ ผูป้ ฏบิ ัตงิ านเช่นน้เี รียกว่า “ผ้ทู าบัญชี” ดังนั้นการทาบัญชจี ึงเป็น
สว่ นหนึ่งของการบัญชี

141

3.1 ประโยชน์ของการจดั ทาบัญชี (The benefits of accounting)
การบัญชมี ปี ระโยชน์กบั บคุ คลหลายๆฝา่ ยเชน่ ฝา่ ยบริหาร เจา้ หนี้ และนกั ลงทุนเปน็ ตน้ ประโยชน์ของ
การบัญชีมี ดังน้ี

1) เจ้าของกจิ การสามารถควบคุมและดแู ลรกั ษาสนิ ทรพั ย์ของกิจการท่มี อี ยไู่ ม่ให้สูญหาย
2) ผู้บริหารกิจการมีข้อมูลเพียงพอท่ีจะนามาใช้ในการตัดสินใจบริหารกิจการได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ
3) ฝ่ายบริหารต้องการทราบว่ากิจการมีสินทรัพย์และหนี้สินอยู่เท่าใด อะไรบ้าง มีกาไร
ขาดทุนเป็นอย่างไร เม่ือเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา ทาให้ทราบผลการดาเนินงาน และฐานะทางการเงินของ
กิจการได้ถกู ตอ้ ง
4) บุคคลภายนอกกิจการทราบข้อมูลทางการบัญชีของกิจการ เพื่อให้ประโยชน์ในการ
ตัดสินใจเร่ืองต่างๆเช่น เจ้าหนี้ต้องการทราบถึงสภาพคล่อง และสามารถในการทากาไรว่าเป็นเช่นไรนักลงทนุ
ตอ้ งการทราบว่าควรจะลงทนุ กิจการหรือไม่ และตอบผลแทนจากการลงทุนเปน็ เชน่ ไร

3.2 วัตถปุ ระสงค์ของการบัญชี (The purpose of accounting)
1) เพ่ือบันทึกรายการค้าท่ีเกิดข้ึนตามลาดับก่อน-หลังโดยจาแนกประเภทของรายการค้าเพื่อ

งา่ ยต่อการตรวจสอบและคน้ หาได้ภายหลงั
2) เพอ่ื เป็นหลักฐานต่อการอา้ งองิ โดยการจาแนกและจดั ประเภทของรายการไวเ้ ปน็ หมวดหมู่
3) เพ่ือเปน็ ขอ้ มูลในการตดั สินใจวางแผนการดาเนินงานของกจิ การ
4) เพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการควบคุมสินทรัพย์ของกิจการ โดยให้มีการจดบันทึกการได้มาซึ่ง

สินทรัพย์ตามวนั เวลาและบันทกึ ราคาทุน เพื่อคานวณหาค่าราคา ตลอดจนอายกุ ารใชง้ านของสินทรพั ย์
5) เพือ่ ควบคมุ ภายในกจิ การและการตรวจสอบปอ้ งกันการทุจริต
6) เพ่ือปอ้ งกันและลดขอ้ ผิดพลาดในการปฏิบัติงาน การบญั ชีเป็นการจดั การที่มรี ะบบโดยใช้

หลกั ฐาน เอกสาร บนั ทึกบัญชี มีการตรวจสอบและคมุ ยอดบัญชีตา่ งๆด้วยการจัดทางบกระทบยอดซึง่ สามารถ
ตรวจสอบไดต้ ลอดเวลา

7) เพ่ือทราบผลการดาเนินงานว่ามีกาไรหรือขาดทุนเท่าใด โดยดูจากงบกาไรขาดทุน เพ่ือใช้
เป็นหลักฐานประกอบการเสียภาษีเงินได้และทราบฐานะการเงินของกิจการ โดยดูจากงบแสดงฐานะทาง
การเงนิ และสามารถนาไปใช้ประกอบในโครงการกูย้ ืมจากสถาบันการเงินอย่างถูกตอ้ ง

8) เพือ่ รายงานตอ่ บคุ คลหรือรายงานทีเ่ กีย่ วข้องในการกาหนดนโยบายทางเศรษฐกิจและการ
จัดเกบ็ ภาษอี ากรของรัฐ

142

การทาบญั ชีฟารม์ สัตวป์ ีกทีส่ าคัญ ได้แก่ บัญชีเจ้าหน้ี บญั ชีลกู หน้ี บัญชที รัพยส์ นิ บัญชคี า่ แรงงาน และ
บญั ชกี าไร-ขาดทนุ ดังตัวอยา่ งตอ่ ไปน้ี

143

144


Click to View FlipBook Version