The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pa0936182147, 2019-06-17 09:22:17

๊Unit 1

Unit 1

จลุ ชวี วิทยา (Microbiology)

จดุ ประสงค์รายวิชา

1. เพื่อให้เข้าใจเข้าใจหลักการและกระบวนการทเ่ี ก่ียวข้องกบั จลุ ชีววทิ ยา
และการนา ไปใชป้ ระโยชน์

2. เพ่ือให้สามารถปฏบิ ัติงานที่เกย่ี วข้องกบั จุลชีววิทยาตามหลักการและ
กระบวนการ

3. เพื่อให้มเี จตคตแิ ละกจิ นิสยั ทดี่ ีตอ่ การศึกษาคน้ คว้าทางด้านจุลชีววิทยา
ด้วยความรบั ผิดชอบ ละเอียดรอบคอบ สนใจใฝร่ ู้ ขยนั และอดทน

จลุ ชวี วิทยา (Microbiology)

สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการและกระบวนการที่เก่ยี วข้องกับจุลชวี วิทยา
2. จาแนกประเภทจลุ ินทรยี ์ด้วยกลอ้ งจลุ ทรรศน์
3. เตรียมอาหารเล้ียงเชอื้ ตามหลักการและกระบวนการ
4. เพาะเชื้อและแยกเชอื้ ตามหลกั การและกระบวนการ
5. ยอ้ มสแี กรมตามหลักการและกระบวนการ

จลุ ชีววทิ ยา (Microbiology)

คาอธิบายรายวชิ า

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการทางานและการเตรียมตัวอย่าง
สาหรับกล้องจุลทรรศน์ชนิดต่าง ๆ การจัดจาแนกประเภทของจุลินทรีย์
การเจริญเติบโตและการแพร่กระจายของจุลินทรีย์ อาหารเลี้ยงเชื้อ
การเพาะเชื้อ การแยกเชอ้ื การยอ้ มสแี กรม ภูมคิ ุ้มกันวิทยา และโรคที่เกิดจาก
จลุ นิ ทรยี ์

จุลชวี วทิ ยา (Microbiology)

เวลาเรียน

- เวลาเรยี นทั้งหมด 72 คาบ
- เข้าเรียนไมน่ อ้ ยกวา่ 80 เปอร์เซ็นต์ ( 58 คาบ) จงึ จะมีสิทธิ์สอบปลายภาค
- ขาดได้ไมเ่ กนิ 14 คาบ (4 คร้งั /ภาคเรยี น)

จุลชีววทิ ยา (Microbiology)

การแบ่งสัดส่วนคะแนน

1. ด้านพทุ ธพิสยั (60 คะแนน)
1.1 ทดสอบหลงั เรยี น 10 คะแนน
1.2 แบบฝกึ หัดท้ายบทเรียน 10 คะแนน
1.3 สอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิ (กลางภาคเรยี น) 20 คะแนน
1.4 สอบวัดผลสัมฤทธ์ิ (ปลายภาคเรยี น) 20 คะแนน

จุลชีววิทยา (Microbiology)

การแบง่ สัดส่วนคะแนน

2. ด้านทักษะพสิ ัย (20 คะแนน)
2.1 รายงานผลการศึกษาตามใบงาน 10 คะแนน
2.2 การปฏบิ ัตงิ าน 10 คะแนน

3. ดา้ นจติ พสิ ยั (20 คะแนน)

หน่วยการจดั การเรียนรู้

1. บทนาเกีย่ วกบั จลุ ชีววทิ ยา

2. การจัดจาแนกประเภทของจุลินทรีย์
3. กลอ้ งจลุ ทรรศน์
4. การเจริญเติบโตของจุลินทรยี ์
5. วธิ กี ารทางจุลชีววิทยา
6. ภูมิคมุ้ กันวทิ ยา
7. โรคที่เกิดจากจลุ นิ ทรีย์

แบบทดสอบประมวลความรู้

รหัสวชิ า 3503 – 2001 จุลชีววิทยา เวลา 1 ช่วั โมง
คาชแ้ี จง - ขอ้ สอบมที งั้ หมด 80 ขอ้ ข้อละ 1 คะแนน
คาสง่ั จงทาเครอื่ งหมายกากบาท (X) ขอ้ ที่ถูกต้องที่สดุ เพียงขอ้ เดียว
ลงในกระดาษคาตอบ

จลุ ชวี วิทยา (Microbiology)

หนว่ ยการรทู้ ี่ 1 บทนาเก่ยี วกบั จุลชวี วิทยา

1. ความหมายของจุลชวี วทิ ยา
2. ความสาคัญของการศกึ ษาวิชาจุลชีววทิ ยา
3. ประวัตคิ วามเปน็ มาของการศกึ ษาด้านจุลชวี วิทยา

จลุ ชีววทิ ยา (Microbiology)

หนว่ ยการรทู้ ่ี 1 บทนาเกย่ี วกับจุลชีววิทยา

จุดประสงค์การเรยี นรู้(นาทาง)
1. เพ่อื ใหม้ คี วามรแู้ ละเขา้ ใจเก่ยี วกบั ความหมายของจุลชีววทิ ยา
2. เพอื่ ใหม้ ีความรู้และเขา้ ใจเกย่ี วกบั ความสาคัญของการศกึ ษาดา้ นจุลชีววทิ ยา
3. เพ่อื ใหม้ ีความรูแ้ ละเข้าใจเกีย่ วกบั ประวตั คิ วามเป็นมาของการศกึ ษาด้านจุลชวี วทิ ยา

จลุ ชีววิทยา (Microbiology)

หน่วยการรู้ที่ 1 บทนาเกย่ี วกบั จุลชวี วทิ ยา

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้(ปลายทาง)
1. บอกความหมายของจุลชีววิทยาได้
2. บอกความสาคัญของการศกึ ษาด้านจลุ ชวี วทิ ยาได้
3. อธบิ ายประวตั คิ วามเปน็ มาของการศึกษาดา้ นจุลชีววิทยาได้

จลุ ชีววทิ ยา (Microbiology)

หนว่ ยการรู้ท่ี 1 บทนาเกีย่ วกับจุลชวี วทิ ยา

1. ความหมายของจุลชีววทิ ยา
จุลชีววิทยา (Microbiology) มาจาก Micro = เล็ก ๆ Bio = สิ่งมชี ีวิต
Logy = Logos = การศึกษา ดังน้ันวิชาจุลชีววิทยา (Microbiology) เป็นวิชา
ทศ่ี ึกษาเกีย่ วกับสิง่ มชี ีวติ ขนาดเลก็ (Microorganism)

จลุ ชวี วิทยา (Microbiology)

หนว่ ยการรทู้ ี่ 1 บทนาเกยี่ วกบั จุลชวี วิทยา

1. ความหมายของจุลชวี วิทยา
ดังนั้นการศึกษาเกย่ี วกับจุลินทรีย์ซ่ึงเป็นส่ิงมีชีวิตขนาดเล็ก ซ่ึงเป็นกลุ่มที่ไม่
สามารถมองเหน็ ไดด้ ้วยตาเปล่า ตอ้ งอาศัยเครื่องมือช่วยในการศึกษา เช่น กล้อง
จลุ ทรรศน์แบบใช้แสง

จุลชีววิทยา (Microbiology)

หน่วยการรูท้ ี่ 1 บทนาเกีย่ วกบั จุลชีววิทยา

1. ความหมายของจลุ ชีววทิ ยา
จลุ นิ ทรีย์ที่รู้จกั กนั ท่ัวไป เช่น แบคทีเรีย ฟังไจ สาหรา่ ย โปรโตซวั และไวรสั

จลุ ชวี วทิ ยา (Microbiology)

หน่วยการรู้ที่ 1 บทนาเก่ยี วกับจุลชีววิทยา

2. ความสาคัญของการศกึ ษาวชิ าจุลชีววทิ ยา

จุลินทรีย์ท่ีมีขนาดเล็กมากนั้น แต่ละเซลล์จะมีกระบวนการต่างๆ ของชีวิต
เกิดขึ้นได้ภายในเซลล์เดียว กระบวนการเปล่ียนแปลงน้ีส่วนใหญ่ก็เพ่ือให้เกิด
ประโยชน์แก่ตัวมันเอง เช่น ยีสต์ มีการเปลี่ยนแปลงอาหารให้เป็นพลังงานด้วย
กระบวนการหมกั (fermentation)

จุลชีววิทยา (Microbiology)

หน่วยการร้ทู ่ี 1 บทนาเก่ียวกับจลุ ชวี วทิ ยา

2. ความสาคญั ของการศกึ ษาวิชาจุลชวี วิทยา

ขณะเดียวกันก็ได้ผลผลิตเกิดข้ึน คือ เอทิลแอลกอฮอล์ที่เรานาไปใช้
ประโยชน์ได้ มีจุลินทรีย์จานวนมากที่มีความสาคัญในการผลิตสารต่างๆ ที่มี
ประโยชนแ์ ละช่วยใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงในกระบวนการตา่ งๆ ดงั น้ี

จุลชีววิทยา (Microbiology)

หนว่ ยการรทู้ ่ี 1 บทนาเกีย่ วกบั จุลชวี วทิ ยา

2. ความสาคัญของการศกึ ษาวิชาจลุ ชวี วิทยา

- การผลติ อาหาร เช่น นมเปรี้ยว เนยแข็ง โยเกิร์ต ขนมปัง เบียร์
ไวน์ นา้ สม้ สายชู ซอี ว๊ิ วุน้ ฯลฯ

จุลชีววทิ ยา (Microbiology)

หนว่ ยการรทู้ ี่ 1 บทนาเก่ยี วกบั จลุ ชีววิทยา
2. ความสาคัญของการศกึ ษาวิชาจลุ ชีววทิ ยา

- การผลติ ด้านการเกษตร การศกึ ษาเกีย่ วกบั เช้อื จุลนิ ทรยี ท์ ่ีกอ่ โรคมีวัตถุประสงค์
เพอ่ื ท่จี ะหาทางปอ้ งกนั รักษาโรค และหาวิธกี ารวินจิ ฉยั โรคใหไ้ ด้ถกู ต้องแมน่ ยาและ
ทาได้อยา่ งรวดเรว็ เช่น โรคปากและเท้าเปื่อย โรคไข้สมองอกั เสบ โรคววั บา้

จลุ ชีววทิ ยา (Microbiology)

หนว่ ยการรทู้ ี่ 1 บทนาเกี่ยวกบั จลุ ชีววิทยา
2. ความสาคัญของการศึกษาวิชาจลุ ชวี วทิ ยา

- การผลติ เชอื้ เพลงิ การเกิดเช้อื เพลงิ ธรรมชาติในรูปถา่ นหิน นา้ มนั ก๊าซธรรมชาตติ อ้ ง
ใชเ้ วลานับล้านๆ ปี โดยเกิดจากการทบั ถมของซากพชื ซากสตั วท์ ต่ี ายรวมกนั เป็นตะกอน การ

ผลติ เชอื้ เพลิงโดยอาศยั จุลนิ ทรยี ์ เชื้อเพลงิ ชนดิ น้ี ไดแ้ ก่ แอลกอฮอล์ และมเี ทน

จลุ ชีววทิ ยา (Microbiology)

หนว่ ยการรทู้ ี่ 1 บทนาเกี่ยวกับจลุ ชีววิทยา
2. ความสาคญั ของการศึกษาวชิ าจุลชวี วทิ ยา

- การบาบดั น้าเสยี กระบวนการบาบดั น้าเสยี ทางชวี ภาพ โดยอาศยั จุลนิ ทรยี ท์ ี่
เติมใหห้ รือ จุลินทรีย์ในธรรมชาตมิ าย่อยสลายสารอนิ ทรีย์ เชน่ ยีสต์ รา โปรโตซวั
และแบคทเี รีย เช่น EM , EM ball (โบกาช)ิ เปน็ ตน้

จลุ ชีววิทยา (Microbiology)

หนว่ ยการรู้ท่ี 1 บทนาเกย่ี วกบั จุลชวี วทิ ยา

2. ความสาคัญของการศกึ ษาวิชาจลุ ชีววทิ ยา

- ผลิตสารปฏิชีวนะและวัคซีน
สารปฏชิ ีวนะ หมายถงึ สารท่ใี ช้รกั ษาโรคตา่ งๆ โดยสรา้ งได้จากจุลินทรยี ์ชนดิ หนึ่ง เพ่อื ไป
ยับย้ังหรือทาลายการเจรญิ ของจลุ ินทรีย์อกี ชนิดหนึง่ โดยไม่ทาอันตรายต่อผ้ใู ช้ เช่น
สเตรปโตไมซิน คลอเตตราไซคลิน ออรโิ อไมซนิ ออกซเี ตตราไซคลนิ เทอราไมซนิ
คลอแรมเฟนิคอล อิรโิ ธรไมซนิ แอมโฟเทอริซิน เป็นต้น

จลุ ชวี วทิ ยา (Microbiology)

หน่วยการรู้ท่ี 1 บทนาเกี่ยวกบั จลุ ชวี วทิ ยา
2. ความสาคัญของการศกึ ษาวชิ าจุลชวี วทิ ยา

- ผลิตสารปฏิชีวนะและวคั ซนี
1. วัคซนี ทเี่ ตรียมจากเช้ือตายแลว้ จะมีภูมคิ ้มุ กนั ไดจ้ ากัดเพยี ง 6 เดอื นถึง

2 ปี ไดแ้ ก่ วคั ซนี ไทฟอยด์ อหวิ าตกโรค ไอกรน โรคพษิ สนุ ัขบา้ ไขห้ วดั ใหญ่
2. วัคซนี ท่ีเตรยี มจากเชอ้ื ท่ีมชี ีวิตหรือเชือ้ ที่อ่อนกาลงั ลงจะให้ผลคมุ้ กนั ใน

ระยะนาน ไดแ้ ก่ วัคซีนโปลโิ อชนดิ กนิ หัด หดั เยอรมัน คางทมู

จลุ ชีววิทยา (Microbiology)

หนว่ ยการร้ทู ่ี 1 บทนาเกย่ี วกับจุลชีววิทยา
2. ความสาคญั ของการศกึ ษาวิชาจุลชวี วิทยา

- การสรา้ งจลุ นิ ทรยี ์ชนดิ ใหม่ โดยเทคนคิ พันธวุ ศิ วกรรม

การพัฒนาสายพันธุ์ใหม่ๆ ของจุลินทรีย์เพื่อใช้ประโยชน์ทางการเกษตร
อุตสาหกรรมและทางการแพทย์ ทาให้เกิดการค้นหาจุลินทรีย์ชนิดใหม่เรื่อยๆ
โดยการพัฒนาให้ได้จุลินทรีย์สายพันธุ์ใหม่ๆ ที่มีความสามารถสูง สามารถให้
ปฏิกิรยิ าไดเ้ ร็ว เพอ่ื เพิ่มประสิทธิภาพใหแ้ ก่กระบวนการต่างๆ

จลุ ชีววทิ ยา (Microbiology)

หนว่ ยการรูท้ ี่ 1 บทนาเกีย่ วกบั จุลชีววทิ ยา

3. ประวัติความเปน็ มาของการศกึ ษาด้านจลุ ชวี วทิ ยา
การศกึ ษาจุลชวี วทิ ยาในอดีตน้นั มพี นื้ ฐานมาจากการเจ็บไข้ได้ป่วยของคน
ในอดีต ซง่ึ นกั วทิ ยาศาสตรพ์ ยายามทจ่ี ะไขปรศิ นาการเจ็บปว่ ยของโรคต่างๆ วา่
เกดิ มาจากสาเหตุใด

จุลชวี วทิ ยา (Microbiology)

หน่วยการรู้ท่ี 1 บทนาเก่ยี วกบั จุลชวี วิทยา

3. ประวัติความเป็นมาของการศกึ ษาดา้ นจุลชวี วิทยา
ปี ค.ศ. 1267 โรเจอร์ เบคอน (Roger Bacon) เปน็ คนแรกที่เรม่ิ ใช้เลนส์
แตเ่ นือ่ งจากยงั มกี าลงั ขยายต่าอยมู่ ากจงึ ไมส่ ามารถมองเห็นสง่ิ มชี วี ติ ขนาดเลก็ ได้
แนวคิดนีไ้ ด้กระตนุ้ ให้นักวทิ ยาศาสตร์คดิ ประดษิ ฐ์กลอ้ งจลุ ทรรศนท์ ม่ี ี
กาลงั ขยายสูง

จลุ ชีววทิ ยา (Microbiology)

หนว่ ยการรทู้ ่ี 1 บทนาเก่ยี วกบั จลุ ชวี วิทยา

3. ประวตั คิ วามเปน็ มาของการศึกษาด้านจุลชีววิทยา

ปี ค.ศ. 1590 แซคคาเรียส แจนส์เสน (Zacharias Janssen) ชา่ งแว่นตาชาวฮอลแลนด์
ได้ใชเ้ ลนส์ 2 อนั มาประกอบในลักษณะคล้ายกล้องโทรทัศน์ที่มีความยาวถึง 6 ฟุต และ
มีกาลังขยายเพียง 10 เท่า นักวิทยาศาสตร์คนแรกที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้ประดิษฐ์
กล้องจุลทรรศน์ขึ้นทาให้มองเห็นจุลชีพต่างๆ คือ แอนโทนี วาน ลีแวนฮ็อค (Antony
van Leeuwenhoek) ทาให้เห็นภาพแบคทีเรีย และเป็นผู้ได้รับการยกย่องว่าเป็นคน
แรกทีไ่ ด้ใช้เลนสซ์ ง่ึ เกิดจากการฝนแก้วและทากลอ้ งจุลทรรศนแ์ บบงา่ ยๆ

จลุ ชีววิทยา (Microbiology)

หน่วยการรทู้ ี่ 1 บทนาเกย่ี วกบั จลุ ชวี วิทยา

3. ประวัติความเป็นมาของการศกึ ษาด้านจุลชวี วทิ ยา

(ก) Antony van Leeuwenhoek (ข) กลอ้ งจลุ ทรรศนเ์ ครือ่ งแรก

จุลชีววทิ ยา (Microbiology)

หน่วยการร้ทู ี่ 1 บทนาเกี่ยวกับจลุ ชีววิทยา

3. ประวัตคิ วามเปน็ มาของการศึกษาดา้ นจลุ ชวี วิทยา
ปี ค.ศ. 1822 - 1895 หลยุ ส์ ปาสเตอร์ (Louis Pasteur) ในวงวชิ าการดา้ นจุลชีววิทยายกย่อง
กันว่า หลุยส์ ปาสเตอร์ เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวฝร่ังเศส ท่ีมีบทบาท สาคัญอย่างมากเกี่ยวกับ
การค้นพบทางจุลชีววิทยา ซ่ึงแม้จะอยู่ในช่วงที่ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ยังไม่ก้าวหน้านักแต่
หลุยส์ ปาสเตอร์ เป็นผู้ที่มีส่วนสาคัญในการค้นพบส่ิงต่างๆ และเป็นผู้สร้างจุดเช่ือมระหว่าง
วิทยาศาสตร์สมัยเก่าและวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ผลงานการค้นพบท่ีสาคัญ เช่น การค้นพบ
กระบวนการหมกั (Fermentation)

จลุ ชวี วิทยา (Microbiology)

หน่วยการรทู้ ่ี 1 บทนาเกย่ี วกบั จลุ ชวี วทิ ยา

3. ประวัติความเป็นมาของการศึกษาด้านจุลชวี วิทยา

เชน่ กรดแลคตคิ และกรดบวิ ทรี คิ สว่ นยีสตเ์ มื่อหมักแล้วก็จะไดแ้ อลกอฮอล์ เปน็ ตน้
นอกจากนหี้ ลยุ ส์ ปาสเตอร์ ยงั คน้ พบการและพัฒนาการทาให้ปราศจากเช้ือด้วยวธิ ี
สเตอรไิ รส์ (Sterilization) และกระบวนการพาสเจอรไรส์ (Pasteurization)
การค้นพบวัคซนี เชน่ วัคซีนโรคพษิ สุนขั บ้า วคั ซีนโรคแอนแทรกซ์
วัคซนี โรคอหิวาต์ เปน็ ต้น ซง่ึ เป็นประโยชน์ต่อวงการแพทยใ์ นปัจจุบนั เปน็ อย่างมาก

จลุ ชวี วิทยา (Microbiology)

หน่วยการรทู้ ี่ 1 บทนาเกีย่ วกับจุลชวี วทิ ยา
3. ประวตั คิ วามเปน็ มาของการศึกษาดา้ นจุลชวี วทิ ยา

Louis Pasteur

จุลชวี วิทยา (Microbiology)

หนว่ ยการรู้ที่ 1 บทนาเกี่ยวกับจลุ ชวี วทิ ยา

3. ประวัติความเปน็ มาของการศกึ ษาด้านจลุ ชวี วิทยา

เอ็ดเวิร์ด เจนเนอร์ (Edward Jenner) นายแพทย์ชาวอังกฤษ เป็นผู้ค้นพบวัคซีนโรคฝีดาษ
หรือ ไข้ทรพิษ ซ่ึงถือเป็นวัคซีนชนิดแรกของโลกซึ่งได้สังเกตเห็นคนงานในฟาร์มโคไม่มีผู้ใดป่วย
เป็นโรคฝดี าษเลย ในขณะที่เกดิ โรคระบาดและมผี ูป้ ว่ ยจานวนมากในเมอื ง โดยสกัดหนองจากคนที่มี
ตุม่ ฝีดาษของวัว แล้วทดลองฉีดให้กับคนปกติ และบุคคลท่ีได้รับเชื้อหนองฝีดาษจากวัวนั้นไม่มีผู้ใด
ที่ป่วยด้วยโรคฝีดาษเลย จากการศึกษาคร้ังนี้ ถือเป็นก้าวหนึ่งของการสร้างความต้านทาน
(Immunizing) ซึ่งในองคค์ วามรู้ ขณะนน้ั ยงั ไมส่ ามารถอธิบายดว้ ยกลไกทางภูมิคมุ้ กันวิทยา

จุลชีววิทยา (Microbiology)

หนว่ ยการรู้ที่ 1 บทนาเกี่ยวกบั จลุ ชีววทิ ยา
3. ประวัตคิ วามเป็นมาของการศกึ ษาด้านจุลชวี วทิ ยา

(1) Edward Jenner (2) ภาพอาการคนทป่ี ว่ ยโรคฝดี าษ

จลุ ชวี วิทยา (Microbiology)

หนว่ ยการร้ทู ่ี 1 บทนาเกีย่ วกับจลุ ชีววทิ ยา
3. ประวตั คิ วามเปน็ มาของการศึกษาดา้ นจลุ ชีววทิ ยา

ปี ค.ศ.1843 – 1910 Robert Koch ซึ่งเป็นผทู้ าความก้าวหนา้ และขยายเทคนคิ ตา่ งๆ
ออกไปมาก เขาได้รวบรวมและพิสูจนใ์ ห้เหน็ ว่าจลุ ินทรยี เ์ ป็นสาเหตใุ ห้เกิดโรคในคนและ สตั ว์
ในปี ค.ศ.1882 ไดพ้ สิ ูจนว์ า่ Mycobacterium tuberculosis เป็นสาเหตขุ องวณั โรค
(Tuberculosis) ในปี ค.ศ.1883 คน้ พบเชอ้ื โรคอหวิ าต์ และตอ่ มาสามารถแยกสาร
Tuberculin เป็นครัง้ แรก และพสิ จู น์อยา่ งแนช่ ดั เปน็ คนแรกวา่ เชอ้ื บริสุทธข์ิ องแบคทเี รยี บาง
ชนิดทาใหเ้ กิดโรค

จลุ ชีววิทยา (Microbiology)

หนว่ ยการรู้ที่ 1 บทนาเกย่ี วกับจลุ ชวี วิทยา

3. ประวตั ิความเป็นมาของการศกึ ษาด้านจลุ ชีววทิ ยา

สมมติฐานของค้อค (Koch’s postulates) โดยมี หลักการทีใ่ ช้ในการพสิ ูจน์โรค มดี งั น้ี
1. จะต้องพบเช้ือโรคในบริเวณที่แสดงอาการเปน็ โรค
2. สามารถแยกเชอ้ื เปน็ เชอื้ บริสทุ ธิไ์ ด้
3. เม่ือนาเช้ือทแ่ี ยกไดเ้ พาะลงในพชื หรือสัตว์ปกติกจ็ ะทาให้เกิดโรคชนดิ เดิมนน้ั ได้
4. สามารถแยกเชือ้ บรสิ ุทธิข์ องโรคนน้ั จากสตั ว์หรือพชื ทดลองกลบั มาไดอ้ กี

จุลชีววทิ ยา (Microbiology)

หนว่ ยการรู้ท่ี 1 บทนาเกยี่ วกบั จุลชวี วทิ ยา
3. ประวัตคิ วามเป็นมาของการศกึ ษาด้านจุลชีววทิ ยา

Robert Koch

จุลชวี วทิ ยา (Microbiology)

หน่วยการร้ทู ี่ 1 บทนาเกีย่ วกับจุลชวี วิทยา

3. ประวตั ิความเปน็ มาของการศกึ ษาดา้ นจุลชีววทิ ยา

ปี ค.ศ. 1928 อเลก็ ซานเดอร์ เฟลมมงิ (Alexander Fleming) เปน็ นกั วิทยาศาสตรท์ ี่คน้ พบ
ยาปฏิชีวนะชนดิ แรกของโลก เขาได้ทาการศึกษาแบคทีเรยี ในงานวจิ ยั และได้สงั เกตเหน็ กล่มุ
ไมซเี ลยี มของราท่ีเจริญปนเป้อื นในเพลตอาหารเพาะเลี้ยงแบคทีเรยี และเกดิ โซนใสรอบๆ เส้นใย
เชอ้ื รา จงึ ทาการสกัดสารท่รี าสร้างขนึ้ และตอ่ มาเรียกชอ่ื วา่ เพนนซิ ลิ นิ (Penicillin) การคน้ พบสาร
ปฏชิ ีวนะโดยบงั เอิญของ Alexander Fleming ถือเป็นประตสู ยู่ ุคการค้นควา้ ตวั ยาที่สาคญั ใน
ลาดบั ถดั มาและมีความสาคญั ของวงการแพทย์เป็นอย่างยงิ่

จุลชวี วทิ ยา (Microbiology)

หน่วยการรู้ที่ 1 บทนาเกี่ยวกับจลุ ชีววทิ ยา
3. ประวัติความเป็นมาของการศกึ ษาด้านจุลชีววทิ ยา

Alexander Fleming


Click to View FlipBook Version