The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pa0936182147, 2019-06-10 22:13:08

Unit 7

Unit 7

บทท่ี 7

โรคและพยาธทิ ่สี าคญั ในไก่ไข่

ครคู ธั รยี า มะลวิ ลั ย์

แผนกวชิ าสัตวศาสตร์
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชงิ เทรา

บทที่ 7

โรคและพยาธิที่สาคัญในไก่ไข่

หวั ข้อเรอ่ื ง
1. สาเหตุที่สาคญั ของโรคในไกไ่ ข่
2. โรคและพยาธิท่สี าคัญในไก่ไข่
3. การทาวคั ซีนในไก่ไข่

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. บอกสาเหตุทีส่ าคญั ของโรคในไกไ่ ขไ่ ด้
2. อธิบายถึงโรคและพยาธิทีส่ าคัญในไก่ไขไ่ ด้
3. อธิบายการทาวคั ซีนปอ้ งกันโรคในไก่ไข่ได้

เน้ือหาการสอน
โรค (Disease) หมายถึง สภาวะท่ีทาให้สภาพร่างกายของสัตว์ปีกเจ็บป่วย หรือผิดไปจากปกติ

ไก่ป่วยมักไม่กินอาหาร การเจรญิ เติบโตและการให้ผลผลิตลดลง ถ้าป่วยมากอาจถึงข้ันตายได้ ลักษณะการ
เกิดโรคอาจเป็นแบบรวดเร็วและรุนแรงมาก (Peracute) แบบเฉียบพลัน (Acute) หรือ แบบเรื้อรัง
(Chronic) ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค เชื้อโรคที่เข้าไปในตัวไก่อาจทาให้ไก่แสดงอาการเป็นโรคให้
เห็น (Clinical symptom) หรือไก่อาจไม่แสดงอาการให้เห็นชัดเจน (Subclinical symptom) ท้ัง ๆ ท่ี
ไดร้ บั เช้อื โรคแลว้ ก็จะกลายเป็นตัวพาหะนาเชอ้ื โรค (Disease carrier)

1. สาเหตุของการเกดิ โรคในสัตว์
การเกิดโรคในสัตว์เกิดจากหลายสาเหตุ ทั้งสาเหตุทางตรงและสาเหตุทางอ้อม ซ่ึงอาจจะเกิดจาก

ตัวสัตว์เอง โรงเรือนและอุปกรณ์ อาหาร น้า หรือจากตัวผู้เล้ียงเอง ซึ่งจะเป็นสาเหตุใดก็ตามล้วนส่งผลต่อ
สุขภาพของสัตวท์ ั้งสน้ิ สาเหตุของการเกดิ โรคในสตั วแ์ บ่งได้ดงั น้ี

1.1 สาเหตุทางอ้อม เป็นสาเหตุที่ไม่ได้เกิดจากเช้ือโรคแต่เกิดจากสภาพแวดล้อม รอบ ๆ ตัวสัตว์
ซง่ึ ชักนาให้สัตว์เกิดโรคได้ สาเหตทุ างอ้อม ไดแ้ ก่

1) ความเครียด เช่น สภาพโรงเรือนไม่เหมาะสม มีแมลงรบกวน อากาศร้อนจัด
หนาวจัด ล้วนเป็นสาเหตุท่ีทาใหเ้ กดิ ความเครียดซ่ึงก่อใหเ้ กิดโรคในสัตว์ได้

2) การขาดสารอาหาร เชน่ ขาดธาตแุ คลเซียมทาใหเ้ กิดโรคกระดูกออ่ น ขาด
โปรตีนทาใหแ้ คระแกรน็ เป็นต้น

3) เกิดจากความผิดปกติของระบบฮอร์โมนในร่างกายสตั ว์
4) เกดิ จากความบกพรอ่ งทางพนั ธกุ รรม
5) สารพิษในอาหารสัตว์ เชน่ กรดไฮโดรไซยานกิ (hydrocyanic acid) ใน

มันสาปะหลัง
1.2 สาเหตุทางตรง ได้แก่ การเกิดโรคที่เกิดจากเช้ือจุลินทรีย์ต่าง ๆ เช่น แบคทีเรีย ไวรัส

เชื้อรา โปรโตซวั พยาธภิ ายนอก และพยาธภิ ายใน ซึง่ จาแนกโรคท่ีสาคัญของสตั ว์ปีกได้ ดงั น้ี
จากสาเหตุการเกิดโรคข้างต้นเราจึงสามารถแบ่งโรคออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ โรคติดต่อ

(Infectious diseases) ซ่ึงได้แก่ โรคเมื่อเกิดข้ึนกบั สัตว์ตัวใดตัวหนึ่งแล้วสามารถแพร่กระจายไปยังสัตว์ตัว
อ่ืน ๆ ในฝูงได้ โรคติดต่อนี้จะเป็นโรคที่เกิดจากพวกเช้ือโรคและพยาธิต่าง ๆ ส่วนโรคอีกกลุ่มหน่ึงคือ
โรคไม่ติดต่อ (Non-infectious diseases) หมายถึง โรคท่ีเม่ือเกิดข้ึนกับสัตว์ตัวใดตัวหนึ่งแล้วไม่สามารถ
แพร่กระจายหรือติดต่อไปยังสัตว์ตัวอื่นได้ถึงแม้ว่าจะอยู่ใกล้ชิดกันก็ตาม โรคไม่ติดต่อน้ีส่วนใหญ่มีสาเหตุ
มาจากการขาดอาหาร การได้รับสารพิษ การได้รับความบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ ความผิดปกติของร่างกาย
บางครง้ั อาจมีสาเหตมุ าจากพวกเชื้อโรคตา่ ง ๆ ด้วย เชน่ โรคบาดทะยัก ก็จดั อยู่ในโรคกล่มุ นี้

2. การติดตอ่ ของโรค
เช้อื โรคจะแพรก่ ระจายออกจากรา่ งกายสตั ว์ป่วยไดโ้ ดย
1) ทางมลู และปสั สาวะ
2) ทางปากโดยออกมากบั นา้ ลาย
3) ทางจมกู โดยออกมากบั นา้ มกู
4) ทางอวัยวะสืบพนั ธ์ุโดยการผสมพันธ์ุ
5) ทางเลือดโดยแมลงดูดเลอื ดต่าง ๆ เชน่ ยงุ เหลอื บ เหา ไร หมดั ฯลฯ
6. ทางน้าตาหรอื ส่วนอ่นื ๆ
หลงั จากเชื้อโรคออกจากรา่ งกายสัตว์ปว่ ยแลว้ จะแพร่ไปยังสตั วท์ ่ียงั ไม่ป่วยไดห้ ลายทางด้วยกัน

คอื
1) ทางน้า
2) ทางอากาศ
3) ทางดนิ
4) จากการสัมผสั โดยตรง
5) ทางภาชนะเครอ่ื งมอื ต่าง ๆ
6) ทางไขฟ่ ัก
7) โดยการเคลื่อนย้ายไกป่ ว่ ย

3. การปฏิบตั ิเม่อื ไกเ่ ปน็ โรค
เมอ่ื พบวา่ ไก่ในฝงู หรือมตี วั ใดตัวหน่ึงป่วยเปน็ โรคต้องปฏิบัตดิ ังตอ่ ไปน้ี
1) จัดการเผาหรือฝังไก่ที่ตายหรือกาลังจะตายเสีย ถ้าฝังควรฝังให้ลึกพอสมควรแล้วโรย

ทบั ด้วย ปนู ขาวหรอื ราดน้ายาฆา่ เช้ือโรค
2) รีบแยกไก่ป่วยออกไปให้ห่างจากไก่ท่ียังไม่ป่วย ถ้าทาได้ควรแยกเลี้ยงในโรงเรือน

ตา่ งหาก ให้ไกลจากพวกไกท่ ย่ี ังไม่ปว่ ย
3) ย้ายไก่ที่ยังไม่เป็นโรคท่ีอยู่ใกล้เคียงไปอยู่ที่อ่ืนชั่วคราว เพื่อทาความสะอาดและฆ่าเช้ือ

โรคในโรงเรอื นและอปุ กรณ์ที่ใชเ้ ล้ียงไก่ทกุ ช้ินด้วยนา้ ยาฆ่าเชือ้ ในระดบั เขม้ ขน้
4) ทาการตรวจวินิจฉัยโรคโดยเร็วที่สุดแล้วทาการรกั ษา ให้ยารักษาโดยการละลายน้าให้

กินหรือผสมในอาหารให้กินในเวลาเดียวกัน ควรใช้ยาปฏิชีวนะหรืออิเล็กโทรไลต์ละลายน้า ให้ไก่กิน
เพ่อื ช่วยให้การรักษาได้ผลดียิ่งข้ึน

5) แยกคนเลี้ยงไก่ป่วยและไก่ที่ยังไม่ป่วยออกต่างหาก ถ้าจาเป็นต้องใช้คนๆ เดียวกัน
ควรให้เล้ียงไก่ที่ยังไม่ป่วยก่อนแล้วจึงไปเล้ียงไก่ป่วย และควรใช้เส้ือผ้าคนละชุดโดยเฉพาะรองเท้า
ควรเปลยี่ นและตอ้ งลา้ งมอื ทา้ งเท้าดว้ ยนา้ ยาฆ่าเช้อื ทุกครง้ั ที่ออกมาจากโรงเรือนทีเ่ ล้ยี งไกป่ ว่ ย

6) ในระหว่างท่ีไก่ในฟาร์มกาลังเป็นโรค ควรหาทางป้องกันการแพร่ของเช้ือโรคด้วยการ
ทาความสะอาด ราดยาฆ่าเชื้อโรคให้ทั่วบรเิ วณและทาความสะอาดราดน้ายาฆ่าเชอื้ โรค รางน้า รางอาหาร
เปน็ ครั้งคราวด้วย

7) เพื่อป้องกันโรคแพร่ระบาดทางนา้ ควรใช้ยาฆา่ เชอ้ื โรคชนิดที่สามารถละลายน้าให้สตั ว์
กนิ ได้ ผสมในนา้ ใหส้ ัตว์กินตลอดเวลา

8) ถ้าเลี้ยงไก่ในกรงหลายชั้น ควรกวาดมูลไก่ทุกวัน เพ่ือป้องกันการแพร่เช้ือโรคอีกทาง
หนึง่ หรือ ราดนา้ ยาฆ่าเชอ้ื ทีม่ ลู ไก่ถ้าเปน็ ไก่ขังกรงตับ

9) หลังจากทาความสะอาด ราดด้วยน้ายาฆ่าเช้ือแล้วพักเล้าไว้ประมาณ 30 วัน จึงค่อย
นาไกเ่ ขา้ เล้าใหม่

2. โรคและพยาธทิ ีส่ าคญั ในไก่ไข่
2.1 โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease; ND)
สาเหตุ เกิดจากเช้ือพารามิกโซไวรัส (Paramyxo virus type 1) ซึ่งแบ่งตามความรุนแรงและ

กลุม่ อาการทแ่ี สดงออกได้ 5 ชนดิ ดงั น้ี
- ชนิดรุนแรงมากและแสดงอาการท่ีลาไส้ (Viserotropic velogenic virus) เป็นชนิดท่ี

แสดงอาการรนุ แรงมาก โดยแสดงอาการมีจุดเลือดออกทบ่ี รเิ วณลาไส้ให้เห็น
- ชนิดรุนแรงมากและแสดงอาการทางระบบประสาท (Neurotropic velogenic virus)

เป็นชนิดท่ีแสดงอาการทางระบบทางเดินหายใจและระบบประสาทร่วมด้วย โรคนิวคาสเซิลที่เกิดจากเช้ือ
สเตรนนจ้ี ะมอี ัตราการตายสงู มาก

- ชนิดรุนแรงปานกลาง (Mesogenic virus) เป็นชนิดท่ีแสดงอาการกับระบบทางเดิน
หายใจและอาจมอี าการทางประสาทรว่ มด้วยแต่จะมอี ตั ราการตายต่า

- ชนิดไม่รุนแรงและแสดงอาการกับระบบทางเดินหายใจ (Lentogenic respiratory
virus) เป็นชนิดที่แสดงอาการกบั ระบบทางเดินหายใจเพียงเล็กน้อยหรือไม่แสดงอาการใหเ้ ห็นชดั เจนนัก

- ชนิดไม่รุนแรงและแสดงอาการกับระบบทางเดินอาหาร (Asymptomatic enteric
virus) เป็นชนิดที่เกิดกับระบบทางเดินอาหารแต่ไม่แสดงอาการให้เห็นเด่นชัดนัก โดยทั่วไปโรคนิวคาสเซิล
สามารถเป็นได้กับสัตว์ปีกทุกชนิด แต่พบว่าจะไม่ค่อยแสดงอาการให้เห็นเด่นชัดนักในสัตว์ปีกจาพวก เป็ด
และห่าน แตจ่ ะแสดงอาการเดน่ ชัดและรุน่ แรงมากถ้าเกดิ กับสัตว์ปกี จาพวกไก่

การติดต่อ ตดิ ตอ่ ได้โดยทาง ลม นา้ อาหาร เครือ่ งมือเครือ่ งใช้ เส้ือผา้ นก หนู และโดยการ สัมผัส
โดยตรงกบั สัตว์ทป่ี ว่ ย

ระยะฟักตัว เมื่อไก่ได้รับเช้ือนี้เข้าไปจะมีระยะฟักตัวประมาณ 2 – 4 วัน ในลูกไก่ และอาจนาน
ถงึ 2 สปั ดาหใ์ นไก่ใหญ่

อาการ
- ทางระบบหายใจ ไก่ปว่ ยจะแสดงอาการไอหรอื จามเปน็ หวดั มนี า้ มูก
- ทางระบบประสาท ไก่จะมีอาการคอบิด ชอบยืนเอาหัวซุกใต้ปีก เดินเป็นวงกลม

เดินถอยหลัง และกระตุก เปอร์เซ็นต์การตายสูงมากในช่วง 2 – 3 วันแรก เป็นอาการที่เกิดตามมา
หลังจากแสดงอาการทางระบบหายใจ

- ทางเดินอาหาร ไกจ่ ะถา่ ยมูลเหลวสคี ่อนขา้ งเขียวหรือเหลือง

(1) (2)
ภาพที่ 7.1 โรคนวิ คาสเซิลทีแ่ สดงอาการทางประสาท (1) และแสดงอาการที่ถงุ ลม (2)
วิการโรค พบจดุ เลอื ดทลี่ าไส้ กระเพาะบดกระเพาะแท้อักเสบมีเลือดออก หลอดลมอกั เสบแดง

(1) (2)

(3)

ภาพท่ี 7.2 พบจดุ เลือดทลี่ าไส้ (1) กระเพาะบด (2) หลอดลมอักเสบแดง (3)

การรักษา โรคนี้ไม่มวี ธิ ีการรักษาท่ีได้ผล เพราะเกดิ จากเชื้อไวรัสนอกจากจะใช้ยาปฏิชีวนะผสมน้า
ให้ไก่กินทงั้ ฝงู เพอ่ื ป้องกันโรคแทรกซอ้ นเทา่ น้นั

การป้องกัน
- แยกไกท่ ่ีปว่ ยออกจากฝงู ใหเ้ ร็วท่ีสดุ
- ทาวัคซนี ปอ้ งกันโรคตามโปรแกรมทก่ี าหนด

2.2 โรคหลอดลมอักเสบติดต่อ (Infectious bronchitis; IB)
สาเหตุ เกดิ จากเชอ้ื ไวรสั โคโรนา (Corona virus) ทอี่ ย่ใู น Family Coronaviridae
การติดต่อ โรคนีต้ ดิ ตอ่ ไดท้ างอากาศ ไก่ป่วยเป็นพาหะและโดยมสี งิ่ นาพาอืน่ ๆ
ระยะฟักตวั ประมาณ 18 – 36 ช่ัวโมง
อาการ เม่ือไก่ป่วยเป็นโรคน้ีจะหายใจลาบาก มีเสียงดังครืดคราดในหลอดลม น้ามูกไหล ไก่จะ
อ้าปาก ไอ หายใจถี่ๆ บางครั้งมีน้าตาไหล ไก่ไม่แสดงอาการทางระบบประสาทเหมือนโรคนิวคาสเซิล
ในกรณีที่เกิดกับไก่ในระยะกก อาจทาให้อัตราการตายสูงถึง 30% ของฝูง ถ้าเป็นในไก่ไข่ทาให้ผลผลิตไข่
ลดลง ขนาดไข่เล็กลง มีรูปร่างผิดปกติ เปลือกไข่บางขรุขระและแตกง่าย คุณภาพภายในฟองไข่เลวลง
ไขข่ าวเหลวเป็นนา้
การรักษา โรคนี้ยังไม่มียารักษาโรคน้ีที่ได้ผล แต่ควรใช้ยาปฏิชีวนะและไวตามินผสมอาหารหรือ
ละลายน้าให้ไก่กิน เพ่ือป้องกันและรักษาโรคแทรกซ้อน เช่น โรคทางระบบหายใจ และโรคท้องร่วง
การป้องกนั

- แยกไก่ทปี่ ว่ ยออกจากฝงู
- อยา่ ใหเ้ ลา้ ชื้นแฉะและปรบั ระบบการระบายอากาศในโรงเรือนใหด้ ี
- ทาวคั ซีนปอ้ งกันโรคตามโปรแกรมท่กี าหนด

(1) (2)
ภาพที่ 7.3 อาการที่หลอดลมโดยมหี นองข้นติดท่หี ลอดลม (1) และรูปร่างไขผ่ ดิ ปกติ (2)

2.3 โรคกล่องเสียงอกั เสบตดิ ต่อ (Infectious laryngotracheitis; ILT)
ส า เห ตุ เกิ ด จ า ก เชื้ อ เฮ อ ปี่ ไว รั ส (Herpes virus) Family Herpesviridae, Subfamily
Alphaherpesvirinae มเี พียงซโี รไทปเ์ ดียวคอื Gallid herpesvirus I
การติดต่อ ไก่ที่เป็นโรคเป็นพาหะนาโรค ซ่ึงแพร่กระจายทางอากาศ และมีสิ่งนาพาอ่ืนๆ
ระยะฟักตัว ประมาณ 6 – 12 วัน อาการ ไก่ท่ีเป็นโรคนี้จะมีอาการไอ จาม หายใจลาบาก ยืดคอ
เวลาหายใจ บางครั้งหายใจมี เสียงดัง มีเสมหะปนออกมาเวลาไก่สะบัดหัว ไก่ไข่ลด และบางครั้งอาจมี
นา้ ตาไหล
การรักษา โรคน้ีไม่มีการรักษาท่ีได้ผล เพราะเกิดจากเช้ือไวรัส นอกจากจะใช้ยาปฏิชีวนะหรือ
ไวตามนิ ผสมนา้ ให้ไก่กินท้ังฝูง เพ่อื ปอ้ งกนั โรคแทรกซ้อนเท่านั้น
การป้องกนั

- รักษาความสะอาดโรงเรอื นไมใ่ ห้อบั ทึบ
- ใช้วคั ซีนปอ้ งกนั โรคตามโปรแกรมท่ีกาหนด

(1) (2)
ภาพที่ 7.4 แสดงอาการเลอื ดออกทีห่ ลอดลม (1) และมนี า้ ตาไหลเป็นฟอง (2)

2.4 โรคฝดี าษ (Fowl pox)
สาเหตุ เกิดจากเชอื้ ไวรัส Borreliota avium เปน็ เชือ้ อยู่ใน Genus Avipox, Family Poxviridae
การติดต่อ จาการสัมผัสโดยตรงกับไก่ป่วย และมียุงเป็นพาหะที่สาคัญ ไก่มักเป็นโรคนี้บริเวณที่
ยุงกดั เช่น หงอน เหนียง หนา้ รอบตา รจู มูก ขา นิ้ว และหน้าแข้ง ฯลฯ
การรักษา ไมม่ ีการรกั ษาโดยตรง
อาการ แบ่งออกเปน็ 2 กลุ่มอาการ คือ

- ชนิดแห้ง (Dry pox) ไก่ป่วยจะหงอย ซึม ไม่กินอาหาร มีเม็ดตุ่มคล้ายหูดเกิดข้ึนท่ี
ผวิ หนัง

- ชนิดเปียก (Wet pox) เกิดบริเวณพื้นผิวเน้ือเยื่อท่ีเปียกชุ่ม เช่น ในปาก ล้ิน คอ หลอด
อาหาร กระเพาะพัก ถุงลม ภายในลาไสเ้ ล็ก บรเิ วณขอบตา ฯลฯ

การป้องกนั ใชว้ ัคซนี ป้องกนั โรคตามโปรแกรมที่กาหนดโดยการแทงทพี่ ังผดื บรเิ วณปกี

(1) (2)
ภาพท่ี 7.5 อาการโรคฝีดาษแบบเปยี กที่เกดิ ในปากไก่ (1) ในหลอดลม (2)

ภาพท่ี 7.5 ฝีดาษแบบแห้งที่เกิดขึน้ บริเวณหงอนของไก่

2.5 โรคมาเรก็ ซ์ (Marek’s disease)
สาเหตุ เกิดจากเช้อื ไวรสั เฮอรป์ ี่ (Lymphotropic herpes virus) มี 3 ซีโรไทป์
การติดต่อ เช้ือไวรัสจะหลุดออกมาพร้อมกับแผ่นสะเก็ดจากผิวหนังไก่ป่วย ไก่ตัวอื่นติดโรคจาก
การหายใจเอาสะเกด็ นี้เขา้ ไป
อาการ ไก่ป่วยจะแสดงอาหารในระยะแรก ๆ คล้ายกับไก่ขาอ่อน ขั้นต่อไปอาจถึงอัมพาตเดิน
ไมไ่ ด้และมอี าการปีกตก หางตก กล้ามเนอ้ื คอบิดเบย้ี ว รูขมุ ขนขยายใหญ่ นยั น์ตามีสเี ทา
การรกั ษา ไม่มวี ิธรี ักษา
การป้องกัน ทาวัคซีนป้องกันโรคมาเร็กซ์เมื่ออายุ 1 วัน เพียงครั้งเดียว ทาความสะอาดโรงเรือน
เพ่ือไมใ่ ห้มีเชอื้ ตกคา้ งอยู่

ภาพที่ 7.6 แสดงอาการเกดิ เปน็ ตุ่มบรเิ วณตุ่มบริเวณผิวหนังทาใหซ้ ากไม่สวยงาม

2.6 โรคหวดั เรอ้ื รัง (Chronic respiratory disease; CRD)
สาเหตุ เกิดจากเชื้อไมโคพลาสมาที่อยู่ใน Family Mycoplasmataceae มีหลายซีโรไทป์ แต่เชื้อ
ทพี่ บมากที่สดุ ในไก่และไกง่ วง คือ

- Mycoplasma gallisepticuI (Mg)
- M. mellegridis (Mm)
- M. synoviae (Ms)
- M. iowae (Mi)
โดยปกติแล้วเมื่อไก่ป่วยเป็นโรคน้ีก็มักจะมเี ชื้อแบคทีเรียเข้าแทรกซ้อนทาใหอ้ าการของโรครุนแรง
ข้ึนเป็น CRD complex แบคทีเรียดังกล่าว เชน่
- Escherichia coli
- Hemophillus gallinarum

- Staphylococcus spp.
นอกจากน้ี ยงั มเี ชื้อไวรัสจากโรคหลอดลมอกั เสบและโรคนิวคาสเซิลเข้าแทรกดว้ ย
การติดต่อ ทางอากาศ และจากการสัมผัสไก่ท่ีป่วยเป็นโรค ระยะฟักตัว ประมาณ 4 – 21 วัน
อาการ น้ามูกไหลหรือไม่มีมูกเลยกไ็ ด้ จามบ่อย หน้าอาจบวมเล็กน้อย ตาอักเสบและมีน้าตา หายใจมเี สียง
ดงั ครดื คราดอยู่ภายในหลอดลม เบอ่ื อาหาร นา้ หนกั ลด
การรักษา ใช้ยาปฏชิ ีวนะ เช่น ไทโลซนิ สเตรปโตมยั ซิน เตตราซยั คลิน ฯลฯ
การป้องกัน

- หมั่นตรวจดฝู ูงไก่บอ่ ยๆ ถ้ามไี กป่ ่วยให้แยกออกไปรักษาและทาลายทนั ที
- ทาความสะอาดโรงเรอื นดว้ ยน้ายาฆ่าเช้ือเป็นประจา
- ทาวัคซีนป้องกันโรคตามโปรแกรมทกี่ าหนด หรอื ละลายยาปฏิชวี นะใหก้ ิน

(1) (2)
ภาพท่ี 7.7 โรคหวดั เร้อื รังทแี่ สดงอาการบรเิ วณถงุ ลมทาให้ขุ่น (1) และหวั ใจ (2)

2.7 โรคหวัดติดต่อหรือหวัดหน้าบวม (Infectious coryza or Fowl coryza)
สาเหตุ เกดิ จากเชือ้ แบคทีเรยี พวก Hemphillus paragallinarum
การตดิ ต่อ ทางอากาศ ทางนา้ และโดยมสี ิง่ นาพา ไกป่ ว่ ยเปน็ พาหะ
ระยะฟักตวั ประมาณ 24 – 48 ช่วั โมง
อาการ ไก่จะแสดงอาการบวมที่หน้าและเหนียง นัยน์ตามีของเหลวเป็นฟองอยู่ตรงหัวตา ทาให้
เกิดการระคายเคือง ไก่ใช้เท้าเขี่ยนัยน์ตา ทาให้รอบตาอักเสบอย่างรุนแรง มีน้ามูกไหล จามบ่อย ๆ หายใจ
ไม่สะดวก เยื่อตาอกั เสบ เบ่ืออาหาร และผอมลง การรักษา ใช้ยาซลั โฟนาไมด์ หรอื ยาปฏชิ วี นะ อื่น ๆ
การป้องกนั

- แยกสัตว์ปว่ ยออกจากฝูง
- ไมค่ วรเลีย้ งไกท่ ่ีมอี ายตุ า่ งกนั ไวด้ ้วยกนั
- ไมค่ วรให้พ้ืนเล้าชื้นแฉะและมลี มโกรกแรง โรงเรอื นควรมีการระบายอากาศท่ีดี
- ทาวคั ซนี ป้องกันโรคตามโปรแกรมที่กาหนด

ภาพท่ี 7.8 อาการบริเวณใบหน้าและหงอนบวมชา้

2.8 โรคอหวิ าต์สตั ว์ปกี (Fowl cholera)
สาเหตุ เกดิ จากเช้ือแบคทเี รีย Pasteurella multocida
การติดต่อ โรคน้ีติดต่อได้จากการสัมผัสมูล น้ามูกของสัตว์ป่วยโดยตรงหรืออาจติดต่อโดยทางน้า
และอาหาร
ระยะฟกั ตัว ประมาณ 2 – 9 วัน
อาการ ไก่ท่ีป่วยจะแสดงอาการท้องร่วง ถ่ายมูลสีเขียวหรือเหลือง ไก่มีอาการหอบและเหน่ือย
อ่อน มีน้ามูก ขนยุ่ง ในรายท่ีป่วยเรื้อรัง อาจมีอาการบวมท่ีเหนียง ในกรณีที่เป็นอย่างเฉียบพลันไก่ป่วย
มกั ตายอยา่ งกระทันหนั
การรักษา ใช้ยาปฏิชีวนะ โดยการฉีดยาออกซิเตตราซัยคลิน ซัลโฟนาไมด์ หรือฉีดคลอแรม
แฟนิคอล ฉีดเข้ากล้ามเนอ้ื หรืออาจใช้ยาผสมอาหารใหไ้ กก่ นิ
การป้องกนั

- ทาการคัดแยกไก่ป่วยทเี่ รมิ่ หงอยซมึ ออกจากฝูงโดยเร็ว
- ผสมยาปฏิชวี นะในอาหารให้ไกก่ ินในระดบั สูงเปน็ ครัง้ คราว
- ใช้วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคตามโปรแกรมทีก่ าหนด

(1) (2) (3)

ภาพท่ี 7.9 อาการเหนยี งบวม (1) มีจุดบรเิ วณตบั (2) และปอดมลี กั ษณะแขง็ ผดิ ปกติ (3)

2.9 โรคข้ขี าว (Pullorum)
สาเหตุ เกดิ จากเชอื้ แบคทีเรีย Salmonella pullorum เป็นแบคทีเรียชนิดแกรมลบ
การติดต่อ โรคนีต้ ิดต่อได้ทางไข่ฟกั ตฟู้ ัก มูลและเครอ่ื งมือเครอ่ื งใช้ ระยะฟกั ตวั ประมาณ 2-7 วัน
อาการ

- ในไก่เล็ก ตายหลังจากฟักออกได้ 1 วัน ลูกไก่จะตายมากในระหว่าง 2-3 สัปดาห์แรก
มีอจุ จาระสีขาวเหลวรอบๆ กน้ เปียกแฉะ หงอย ซมึ ยืนสน่ั คอตกและตายดว้ ยโลหติ เป็นพิษ

- ในไก่ใหญ่จะมีอัตราการตายต่า เช้ือจะเข้าไปสะสมอยู่ในอวัยวะต่างๆ เช่น รังไข่ ตับ
หวั ใจ และถุงน้าดี

- ไข่ฟักจะตายโคม ลูกไก่ที่ฟักออกจะอ่อนแอ แคระแกร็น และจะเป็นพาหะนาโรคต่อไป
การรักษา การรักษาโรคข้ีขาวไม่ค่อยได้ผลเท่าที่ควร เนื่องจากเช้ือมีความทนทานต่อยาค่อนข้าง
สงู แตย่ าท่พี อจะใชไ้ ด้ผลอยบู่ า้ ง ไดแ้ ก่ ยาพวกซลั โฟนาไมด์ และฟรู าโซลโิ ดน ฯลฯ
การปอ้ งกัน

- ทาการตรวจเลือดพ่อพันธ์ุและแมพ่ ันธุ์ด้วยแอนติเจนจนแน่ใจว่าปราศจากเชอ้ื
- ใช้ยาฆ่าเชือ้ พน่ ในเล้าและตู้ฟกั ใหท้ ่ัวถึง
- ใช้ด่างทับทิมผสมกบั ฟอรม์ าลินในอตั ราสว่ น 1 : 2 เพ่ือรมควันไขฟ่ กั และตู้ฟกั

ภาพท่ี 7.10 อุจจาระมสี ขี าว เหลว ก้นเปยี กแฉะ หงอยซึม ยนื ส่นั

2.10 โรคบดิ (Coccidiosis)
สาเหตุ เกิดจากเชอ้ื โปรโตซัว ไอเมอเรยี ซ่งึ มถี งึ 7 ชนดิ คอื

- Eimeria acervulina เกิดโรคท่ีลาไส้เล็กส่วนต้นโดยจะมองเห็นแถบขาวตามขวาง
ลาไสซ้ ึ่งเกิดจาก oocyte ผนังลาไส้หนาขึน้

- Eimeria tenella เกิดโรคที่ไส้ตันโดยจะเกิดเป็นจุดเลือดออก ผนังลาไส้หนาขึ้น
เยื่อเมอื กเปน็ สขี าวและมีลม่ิ เลือดติดอยู่

- Eimeria necatrix เกิดโรคที่ลาไส้เล็กสว่ นกลางทาให้เกดิ ลาไส้โป่งพอง มจี ุดสขี าว มีเย่ือ
เมือกและเลือดปนกับเน้ือตายและเกิดการตกเลือด

- Eimeria maxima เกิดโรคที่ลาไส้เล็กส่วนกลางโดยทาให้ผนังลาไส้หนาข้ึน มีเย่ือเมือก
ปนเลือดและมเี นอื้ ตาย

- Eimeria brunetti เกิดโรคท่ีลาไส้เล็กส่วนปลายไปจนถึงลาไส้ใหญ่ ทาให้เกิดเน้ือตาย
มีเลือดออกและลาไส้อักเสบ

- Eimeria praecox เกิดโรคที่ลาไส้เล็กส่วนต้น รอยโรคไม่แสดงอาการชัดเจนนัก มีเยื่อ
เมือกหลดุ ลอก

- Eimeria mitis เกิดโรคท่ีลาไส้เล็กส่วนต้น ไม่แสดงรอยโรคให้เห็น หรืออาจจะมีเย่ือ
เมือกหลดุ ลอก

การติดต่อ ทางมูล โดยเช้ือแพร่กระจายไปตามพ้ืน วัสดุรองพื้นหรือติดไปกับรองเท้าผู้เลี้ยง
ระยะฟักตวั ประมาณ 4-6 วนั
อาการ ไก่ที่ป่วยเป็นโรคบิดจะกินอาหารน้อยลง แต่กินน้ามากข้ึน หงอยซึม ขนยุ่ง ปีกตก ท้องร่วง
มีเลอื ดปนออกมาในอุจจาระ โดยมักจะเหน็ เปน็ สแี ดง น้าตาล หรือแดงเขม้
การรักษา ใช้ยาซัลฟาควินนอกซาลีน หรือซัลฟาเมทาซีน หรืแอมพรอล ละลายน้าหรือผสม
อาหารใหไ้ กก่ ินประมาณ 7 วนั
การป้องกนั

- ใช้ยาป้องกันบิดผสมอาหารให้ไก่กินติดต่อกันตั้งแต่ 1-20 สัปดาห์ ในไก่ไข่ และ
1- 8 สปั ดาห์ในไกก่ ระทง

- หม่ันตรวจสอบและจัดการวัสดุรองพนื้ ไมใ่ หม้ ีความชื้นสงู เกนิ ไป
- ทาวคั ซีนป้องกันโรคตามโปรแกรมท่ีกาหนด

ภาพท่ี 7.11 อาการบรเิ วณลาไส้เลก็ ส่วนต้น (Duodenum) ซ่งึ เกดิ จากเชื้อ
Eimeria acervulina โดยจะมองเหน็ แถบขาวตามขวางลาไส้ซึ่งเกิดจาก oocyte ผนงั ลาไส้หนาข้นึ

ภาพที่ 7.12 อาการบรเิ วณลาไสเ้ ลก็ สว่ นกลาง (Jejunum) ซ่งึ เกดิ จากเชื้อ
Eimeria maxima โดยทาให้ผนงั ลาไสห้ นาขึ้น มเี ยื่อเมือกปนเลือดและมีเน้ือตาย

ภาพที่ 7.13 อาการบริเวณลาไสเ้ ล็กส่วนกลางทเ่ี กดิ จากเช้อื Eimeria necatrix
ทาให้เกดิ ลาไสโ้ ป่งพอง มีจุดสีขาว มเี ยื่อเมือกและเลือดปนกับเน้ือตายและเกดิ การตกเลือด

ภาพท่ี 7.14 อาการบริเวณไสต้ ันทเ่ี กดิ จากเชื้อ Eimeria tenella
ทาให้เกดิ จุดเลือดออก ผนงั ลาไสห้ นาขน้ึ เยื่อเมอื กเปน็ สขี าวและมีลิม่ เลอื ดตดิ อยู่

ภาพท่ี 7.15 อาการบริเวณลาไส้เลก็ ส่วนปลาย (Ileum) ไปจนถงึ ลาไส้ใหญ่
เกดิ จากเช้ือ Eimeria brunetti ทาให้เกิดเนอ้ื ตาย มีเลอื ดออกและลาไสอ้ ักเสบ

ภาพที่ 7.16 อาการบริเวณลาไส้เล็กส่วนตน้ ทเ่ี กดิ จากเชื้อ Eimeria mitis หรือ
E. mivati จะไม่ค่อยแสดงรอยโรคใหเ้ หน็ หรอื อาจจะมีอาการแค่เยื่อเมือกหลดุ ลอก
2.11 โรคกมั โบโร หรือเบอร์ซาอกั เสบตดิ ต่อ (Gumboro, Infectionus bursal disease; IBD)
สาเหตุ เกดิ จากเช้ือไวรสั ทม่ี ชี ื่อเรยี กว่า Infectious bursal disease virus (IBDV) อยูใ่ น Genus
Brinavirus, Family Birnaviridae
การติดตอ่ อาหาร นา้ ทางอากาศ และการสมั ผัสโดยตรงกับไก่ปว่ ย เชื้อนม้ี ีความทนทานต่อ
สภาพแวดลอ้ มมาก ไกเ่ ล็กและไก่รนุ่ ปว่ ยเป็นโรคน้ไี ดง้ า่ ย

ระยะฟกั ตัว 18-36 ชวั่ โมง ทาให้ไกต่ ายภายใน 3-4 วนั
อาการ เชื้อไวรัสชนิดนี้ติดต่อที่ Lymphoid tissue ทาให้เกิดการทาลาย Lymphoid cells
ท่ีต่อมเบอร์ซ่า ม้าม และ ceacal tonsil ทาให้ระบบภูมิคุ้มกันโดย T-lymphocytes ไม่มีประสิทธิภาพใน
การป้องกนั
การติดต่อ

- ถ้าลูกไก่ได้รับเชื้อก่อนอายุ 2 สัปดาห์ ลูกไก่จะไม่แสดงอาการให้เห็นแต่ต่อมเบอร์ซ่าจะ
ถกู ทาลาย ทาให้ลกู ไกม่ ีโอกาสเปน็ โรคและตายง่ายขน้ึ

- ถ้าลูกไก่ได้รับเชื้อระหว่าง 3-6 สัปดาห์ ลูกไก่จะแสดงอาการอย่างรุนแรง หงอย ซึม
ไม่กินอาหารและน้า ท้องร่วงเป็นน้ามีสีขาว ผอมแห้ง หนาวส้ันและตายภายใน 2 วัน การตายของลูกไก่
ด้วยโรคน้ีเกิดข้ึนอย่างรวดเร็วใน 1 สัปดาห์แรก ไก่ป่วยจะหลับตาอยู่ในท่าน่ังบนเข่าและปากปักอยู่บนพ้ืน

การปอ้ งกัน
- ทาความสะอาดโรงเรอื นดว้ ยนา้ ยาฆา่ เช้ือโรค
- ควรเล้ยี งไกเ่ ป็นระบบคือเขา้ ท้ังหมดออกท้ังหมด (All in all out)
- ทาวคั ซีนป้องกันโรคตามโปรแกรมทกี่ าหนด

ภาพท่ี 7.17 อาการบวมท่ีต่อมเบอรซ์ า่

2.12 โรคไข้หวัดนก (bird flu)
เป็นโรคที่มีความสาคัญและระบาดอยู่ในหลายประเทศ รวมทั้งประเทศไทย หากพบมีการระบาด
จะทาลายสัตว์ปีกทุกตัวในบริเวณรอบพื้นที่ไม่น้อยกว่า 5 กิโลเมตร โดยรัฐบาลจะชดเชยมูลค่าสัตว์ปีกของ
ประชาชนท่ีถูกทาลาย ซ่ึงเป็นการทาลายสัตว์ปีกจานวนหลายล้านตัวต่อการเกิดเหตุการณ์เพียงหน่ึงจุด
สร้างความเสยี หายใหก้ ับธรุ กิจการเลยี้ งสัตว์ปีกเปน็ อยา่ งมาก

สาเหตุ เกิดจากการติดเชื้อไวรัส Influenza ในตระกูลOrthomyxoviridae ซ่ึงเป็น RNA ไวรัส
ชนิดมีเปลือกหุ้ม (envelope) โดยมีเอนติเจนท่ีสาคัญ ได้แก่hemagglutinin (H) มี 15 ชนิดและ
neuraminidase (N) มี 9 ชนิดเชอ้ื ไวรัส Influenza แบ่งเป็น 3 types ได้แก่

1) Type A แบ่งย่อยเป็นหลาย subtypes ตามความแตกต่างของ H และ N antigens
พบในคนและสตั ว์ชนิดต่างๆ

- คนพบ 3 ชนดิ ไดแ้ ก่ H1N1, H2N2, H3N2 และ H5N1
- สุกรพบ 3 ชนดิ ได้แก่ H1N1, H1N2 และ H3N2
- ม้าพบ 2 ชนิดได้แก่ H3N8 และ H7N7
- สัตวป์ ีกพบทกุ ชนดิ ได้แก่ H1-15 และ N1-9
2) type B ไมม่ ี subtype พบเฉพาะในคน
3) type C ไมม่ ี subtype พบในคนและสุกร

การติดต่อ ติดเชื้อทางส่ิงขับถ่ายต่างๆ โดยเฉพาะทางอุจจาระของนกเป็ดน้าซ่ึงมักเป็นตัวอมเชื้อ
แต่ไม่แสดงอาการทาให้มีเช้ือปนเป้ือนอยู่ในแหล่งน้าได้เป็นเวลานานการติดต่อในสัตว์เกิดขึ้นได้ท้ังทางตรง
โดยการสัมผัสกับสัตว์ป่วยและส่ิงขับถ่ายจากสัตว์ป่วยและทางอ้อมจากเช้ือที่ ปนเป้ือนในน้าอาหารเส้ือผ้า
รองเทา้ พาหนะ และอื่น ๆ

การติดเชอ้ื ในสัตว์ปีกแบ่งออกเปน็
- ชนิดที่ไม่แสดงอาการและท่ีทาให้มีอาการป่วยเพียงเล็กน้อยพบได้ในประเทศต่างๆทั่ว

โลกอาจมสี าเหตจุ ากเช้ือชนดิ H1-15
- ชนิดทีท่ าให้เกิดอาการรนุ แรงมากมอี ัตราการตายสงู มีรายงานการระบาดในบางประเทศ

เท่านัน้ เช่นสหรัฐอเมริกาเมก็ ซิโกประเทศยุโรปออสเตรเลียฮ่องกงและปากีสถานในประเทศไทยไม่เคยมีการ
ระบาดของโรคนี้

ระยะฟกั ตัว อาจสั้นเพยี งไมก่ ี่ชัว่ โมงจนถึง 3 วันขึ้นอยู่กบั ชนิดของเช้อื วธิ ีการท่ไี ด้รับเชอื้ จานวนเชื้อ
และชนิดของสตั ว์

อาการ ขึ้นอยูก่ บั ปัจจัยหลายอย่างเชน่ ชนดิ สัตวอ์ ายุสภาวะความเครยี ดโรคแทรกซ้อนและอนื่ ๆเช้ือ
ท่ีทาให้เกิดอาการรุนแรงในสัตว์ปีกชนิดหนึ่งอาจไม่ทาให้เกิดอาการใดๆในสัตว์ปีกอีกชนิดหนึ่งอาการที่พบ
โดยท่วั ไปไดแ้ ก่

- ซูบผอมซึมมากไมก่ ินอาหารขนยุ่งไข่ลด
- ไอจามหายใจลาบากนา้ ตาไหลมากหนา้ บวมหงอนมสี คี ล้า
- อาจมีอาการของระบบประสาทและท้องเสีย
- รายท่รี นุ แรงจะตายกระทันหนั โดยไม่แสดงอาการ (อัตราตายอาจสงู ถงึ 100 เปอร์เซ็นต)์

ภาพท่ี 7.18 อาการหน้าบวมมีสีคล้า ภาพท่ี 7.19 บวมนา้ บริเวณลาคอ

ภาพท่ี 7.20 จดุ เลอื ดออกทีก่ ระเพาะแท้ โดยเฉพาะตรงรอยต่อกับกึ๋น

วิการ ขนึ้ อยู่กับชนดิ ของเชอ้ื ชนิดสตั วแ์ ละอ่ืนๆเช่นเดียวกันในรายที่รนุ แรงและตายทนั ทีอาจไม่พบ
วกิ ารใดๆลกั ษณะของวกิ ารที่มีรายงานในไกแ่ ละไก่งวงได้แก่

- ซากผอมแห้ง
- มกี ารบวมน้าใตผ้ วิ หนงั ท่สี ่วนหัวและคอ
- ตาอักเสบบวมแดงและอาจมจี ุดเลอื ดออก
- หลอดลมอักเสบรนุ แรงมเี มือกมาก
- มจี ุดเลอื ดออกที่กระเพาะแทโ้ ดยเฉพาะตรงรอยตอ่ กับกึ๋น
- มกี ารลอกหลดุ และจุดเลือดออกท่ีผนงั ของก๋นึ
- ไตบวมแดงและอาจพบยูเรตทที่ ่อไต
โรคทคี่ ล้ายคลงึ กัน
- อหวิ าต์ไกช่ นดิ รุนแรง
- นิวคาสเซิล
- กล่องเสยี งและหลอดลมอักเสบตดิ ต่อ
- การตดิ เช้ือมัยโคพลาสม่าและแบคทเี รยี ชนิดอน่ื ๆ

การป้องกนั
- มกี ารสขุ าภบิ าลและการจัดการฟาร์มท่เี ข้มงวด
- ในกรณที ่เี กิดโรคระบาดให้ทาลายสตั ว์ท้งั หมด
- ทาความสะอาดโรงเรอื นและใช้ยาฆ่าเช้ือโรคใหท้ ่ัวถงึ
- พักเล้าอย่างน้อย 21 วัน

การทาลายเชื้อเนื่องจากเชื้อไวรัสไม่มีเปลือกหุ้มจึงถูกทาลายได้ง่ายด้วยความร้อน (เช่นที่อุณหภูมิ
56 องศาเซลเซียสนาน 3 ช่วั โมงที่อณุ หภูมิ 60 องศาเซลเซียสนาน 30 นาท)ี และใช้สารเคมีต่างๆเช่นสารท่ี
มีคุณสมบัติในการละลายไขมัน (lipid solvents) เช่นฟอร์มาลีนเป็นต้นเชื้อน้ีสามารถคงอยู่ได้นานในส่ิง
ขับถ่ายเช่นน้ามกู น้าตานา้ ลายเสมหะอุจจาระฯ

2.13 พยาธิไก่ (Parasite)
พยาธิไก่แบง่ ออกเปน็ 2 ชนิด คือ พยาธภิ ายนอก (External parasite) ซึ่งไดแ้ ก่ ไร เหา หมัด และ
เหบ็ และพยาธิภายใน (Internal parasite) ได้แก่ พยาธิตัวกลม และพยาธิตวั แบนต่าง ๆ
1) พยาธภิ ายนอก (External parasite) พยาธิภายนอกทีส่ าคญั ในไก่ ไดแ้ ก่ ไร และเหา

(1) ไรไก่ (Mite) เป็นพยาธิภายนอกที่มีขนาดเล็กมาก มี 8 ขา ดารงชีวติ โดยการดดู เลือด
ไก่กินเปน็ อาหาร ไรไกท่ ส่ี าคญั มี 3 ชนิด คือ

- ไร แ ด ง (Common red mites; Dermanyssus gallinae) มี ข น า ด เล็ ก
ตัวสีแดง หรือดา พบอยู่ใต้กองมูลหรือตามรอยแตกของฝาผนังหรือพ้ืนโรงเรือน ออกดูดเลือด ไก่เวลา
กลางคืน ทาให้ผิวหนังระคายเคือง ไก่แสดงอาการอ่อนเพลีย ไข่ลด หงอนและเหนียงซีด โลหิตจาง
นอกจากน้ียังเปน็ ตัวนาโรคฝีดาษ และอหวิ าตไ์ กอ่ ีกดว้ ย

- ไรที่อยู่ตามตัว (Northern feather mite; Liponyssus sylviarum) เป็นไรท่ี
พบบนตัวไก่และรอบๆ ทวาร มีสีเทา ขยายพันธ์ุได้รวดเร็วมากบนตัวไก่ ทาให้เกิดโลหิตจาง ไก่กินอาหาร
ลดลง ไข่ลด นา้ หนักลดลงอยา่ งรวดเรว็

- ไรแข้งผุ (Scaly-leg mite) ทาให้เกิดโรคแข้งผุ (Scaly leg) โดยไรจะฝังตัวเข้า
ไปในผิวหนังหรือเกล็ดบริเวณขา ทาให้เกล็ดหน้าแข้งอกั เสบ มีน้าเหลืองไหลซึมออกมา การรักษาทาได้โดย
เอาแขง้ ไก่แชล่ งไปในน้ายาโซเดยี มฟลอู อไรด์ 0.5 % สปั ดาห์ละคร้งั เป็นระยะเวลา 2-3 สปั ดาห์

(2) เหา (Louse) เป็นพยาธิภายนอกท่ีไม่ทาอันตรายต่อไก่มากนัก แต่มีผลต่อลักษณะ
ทางเศรษฐกิจ คือ ไข่ลด โตชา้ และโลหติ จาง เหาไกท่ ่ีสาคัญมี 3 ชนิด คอื

- เหาทีต่ วั ไก่ (Chicken body louse) พบอยูต่ ามลาตวั และขนบรเิ วณทอ้ ง
- เหาที่หัวไก่ (Chicken head louse) พบบนผิวหนงั และขนบริเวณหัว
- เหาทีป่ กี ไก่ (Wing louse) พบตามขนใตป้ ีก

การควบคุมพยาธิภายนอก
- ฉีดยาฆ่าแมลงในกลุ่ม มาลาไธออน คาร์บารีล หรือเซฟวินในโรงเรือนและรอบๆ

โรงเรือนในช่วงพักเล้า งดใช้ยาฆ่าแมลงประเภทดีดีที ดีลดริน อัลดริน เฮปตาคลอร์ ในโรงเรือนไก่กระทง
เพ่ือการส่งออก โดยเด็ดขาดเพราะอาจเป็นสารเคมีท่ีอาจปนเปื้อนและมฤี ทธต์ิ กคา้ งในเนือ้ ไก่ได้

- ก่อนย้ายไก่สาวข้ึนกรงตับให้ฉีดพ่นยาบนตัวไก่หรือจุ่มไก่ในน้ายาฆ่าแมลง โดยใช้
ยามาลาไธออนเข้มขน้ 0.5-1 % หรอื ยาเซฟวินเข้มขน้ 0.5 %

- เมื่อตรวจพบพยาธิภายนอกบนตัวไก่ให้รีบกาจดั ทันทีโดยฉีดพน่ ยาบนตัวไก่หรือจุ่มไก่ใน
น้ายา

2) พยาธภิ ายใน (Internal parasites)
พยาธิภายในไก่ที่สาคัญคือพยาธิตัวกลม ซ่ึงเป็นพยาธิท่ีทาอันตรายต่อไก่มากที่สุด พยาธิตัวกลมที่
สาคญั มี 3 ชนิด คือ

(1) พยาธิตัวกลม (Large round worm หรือ Ascardia galli) เป็นพยาธิท่ีพบอยู่ใน
ลาไส้ ตัวแก่มีความยาว 7-8 เซนติเมตร มีลักษณะคล้ายเชือก สีขาวซีด วงจรชีวิตใช้เวลา 30-35 วัน
พยาธิไส้เดือนในระยะท่ีเป็นตัวหนอนพยาธิเป็นระยะที่อันตรายที่สุด เพราะจะเข้าไปฝังตัวอยู่ในผนังลาไส้
ทาให้ผนังลาไส้เป็นแผล ช้าบวมและมีเลือดออก อาจเป็นสาเหตุให้เกิดโรคโลหิตจาง ท้องร่วงและ
ไกอ่ อ่ นเพลีย เม่ือพยาธไิ ส้เดอื นเจรญิ เติบโตเตม็ ทีม่ ันจะคอยแย่งกินอาหารทาให้ไกผ่ อม โตชา้ ไขล่ ด

ภาพท่ี 7.21 พยาธติ วั กลมหรือพยาธิไสเ้ ดอื นบริเวณลาไส้สว่ นตน้
การป้องกนั รกั ษา

- ทาความสะอาดเล้าและกรง อยา่ งสม่าเสมอ
- ควรถ่ายพยาธิในไก่สาวก่อนยา้ ยข้ึนกรงตบั ประมาณ 3 สัปดาห์ และถา่ ยซ้าอีกครง้ั หนึง่
30 วนั หลังจากนั้น ยาถา่ ยพยาธิทใี่ ชไ้ ด้ผลดี คือ Piperazine
- ใหไ้ วตามนิ เอในอาหารเพิ่มขึ้นในอัตรา 12 ลา้ นไอยตู ่ออาหาร 1 ตนั

(2) พยาธิเส้นด้าย (Capillaria worm) มีลักษณะกลม ขนาดเล็กมากไม่สามารถมองเห็นด้วยตา
เปลา่ เมอื่ โตเต็มท่ีมีความยาวประมาณ 0.5 น้ิว พยาธิชนดิ นี้ไม่มพี าหะช่ัวคราว ไก่ได้รบั พยาธิชนดิ นโี้ ดยการ
กินไข่พยาธิเข้าไปโดยตรง พยาธิจะเข้าไปอยู่ในทางเดินอาหาร หลอดอาหาร กระเพาะพัก ลาไส้เล็กและ
สว่ นต้นของไส้ตัน ตัวหนอนพยาธิและตัวพยาธิจะฝังตัวอยู่ในผนงั ลาไส้ทาให้เป็นแผล ชา้ บวม ดูดซมึ อาหาร
ไม่ได้ ลาไส้เกิดเปน็ แผลเรอื้ รัง ทาให้ทอ้ งรว่ ง การทล่ี าไส้เป็นแผลเป็นโอกาสให้เช้ือโรคเขา้ ทาอันตรายได้ง่าย
ไกจ่ ะแสดงอาการโตชา้ ผอม แคระแกร็น หนา้ ซีด ไข่ฟองเล็กลง

การป้องกันรกั ษา
- ทาความสะอาดเล้า และกรงกอ่ นยา้ ยไก่
- การรักษาใช้ยาเมลแดน (Meldane) ขนาด 3 ปอนด์ต่ออาหาร 1 ตนั ให้กนิ นาน 14 วัน
- ให้ไวตามินเอเพม่ิ ข้นึ ในอตั รา 12 ลา้ นไอยูตอ่ อาหาร 1 ตนั

(3) พยาธิไส้ตัน (Cecal worm; Helterakis gallinarum) เป็นพยาธิที่พบในไส้ตัน ตัวแก่มีความ
ยาวประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร พยาธิชนิดนี้ไม่มีพาหะช่ัวคราว ไก่ได้รับพยาธินี้โดยการกินไข่พยาธิเข้าไป
โดยตรง ตัวอ่อนของพยาธิชนิดน้ีจะเข้าไปเจริญอยู่บริเวณเยื่อบุไส้ตัน ทาให้ไส้ตันช้าบวมและอักเสบอย่าง
รุนแรง ไก่ป่วยมกั ไมค่ ่อยแสดงอาการ

การป้องกันรกั ษา
- ทาความสะอาดเล้าและบรเิ วณรอบๆ อยา่ งสมา่ เสมอ
- ใช้ยาถ่ายพยาธิผสมอาหารใหไ้ ก่กนิ

3. การทาวคั ซีน
การทาวัคซีนมีวัตถุประสงค์เพ่ือป้องกันและควบคุมโรคระบาดท่ีสาคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคที่

ไม่สามารถจะทาการรักษาได้หรือโรคที่ยากต่อการรักษา ทาให้ไก่สร้างภูมิคุ้มโรคเกิดขึ้นในร่างกาย
ชนดิ ของวัคซีนแบง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ คอื

1) วัคซีนเช้อื เป็น (Lived or attenuated vaccine)
เป็นวัคซีนที่เตรียมจากเช้ือท่ีมีความรุนแรง แต่ถูกทาให้อ่อนกาลังลง (Attenuate) หรือถูกทาให้
เกิดการเปล่ียนแปลง (Mutate) ไปเป็นจุลชีพท่ีไม่มีความรุนแรง ซ่ึงไม่สามารถทาให้เกิดโรคได้
จุลชีพเหล่านี้สามารถแบ่งตัวเพิ่มจานวนได้เมื่อเข้าสู่ร่างกาย วัคซีนบางชนิดทาให้ไก่เกิดความเครียดหรือ
เกิดอาการแพ้วัคซีน วัคซีนเชื้อเป็นสามารถให้ไก่ทีละตัว (Individual) โดยการหยอดตาหรือหยอดจมูก
หรือให้ไก่เป็นกลุ่ม (Mass method) โดยการละลายในน้าดื่มหรือการสเปรย์ทาให้ประหยัดแรงงาน
วคั ซนี เชื้อเป็นสามารถให้ความคุ้มโรคสูงแต่ถกู ทาลายได้ง่ายโดยภูมคิ ุ้มโรคที่ถา่ ยทอดจากแม่ และอาจทาให้
เกิดโรคได้ถ้าการทาวัคซีนและการทาลายเศษเหลือจากการทาวัคซีนไม่ถูกต้อง การเก็บรักษาก็ยุ่งยากกว่า
วคั ซนี เช้ือตาย แต่มีราคาถูก

2) วคั ซีนเชอ้ื ตาย (Killed or inactivated vaccine)
มักเตรียมจากเช้ือท่ีมีความรุนแรงท่ีถูกทาให้ตายโดยทางเคมีหรือฟิสิกส์ จุลชีพเหล่านี้ไม่สามารถ
แบ่งตัวเพ่ิมจานวนได้เมื่อเข้าสู่ร่างกายจึงมีความปลอดภัย แต่ให้ความคุ้มโรคต่า วัคซีนเช้ือตายจะให้โดย
วิธีการฉีดเข้าร่างกายโดยตรงเท่านั้น สารที่ใช้ผสมกับวัคซีนจะเป็นน้ามัน (Oil-based) หรือ Aluminum
hydroxide สามารถกระตุ้นใหเ้ กิดภูมคิ ้มุ กันได้ดี วัคซีนเชอื้ ตายมรี าคาแพง แต่เก็บรักษาง่าย

วธิ ีการทาวัคซีน
การทาวัคซีนเป็นการเพิ่มความเครียดให้ไก่ท้ังโดยทางตรงและทางอ้อม ผลทางตรงคือผลของ
วัคซีนท่ีเข้าไปทาปฏิกิริยาต่างๆ ภายในร่างกายไก่ ทาให้ไก่เกิดการแพ้วัคซีนหรือเกิดภาวะเครียด
หลังจากทาวัคซีนแล้ว ผลทางอ้อมคือวิธีการทาวัคซีนและวิธีการต้อนจับไก่ ซึ่งผลที่เกิดขึ้นทางตรงไม่
สามารถลดได้ แต่ผลทางอ้อมสามารถลดได้ ดงั น้ันจึงต้องเข้มงวดในขัน้ ตอนการทาวัคซนี โดยต้อนไก่ครงั้ ละ
น้อย ๆ จับไก่ด้วยความระมัดระวัง และทาวัคซีนด้วยความนิ่มนวล ถ้าไม่ระมัดระวังจะมีผลทาให้ไก่
เกดิ ความเครยี ดส่งผลใหไ้ กแ่ พว้ คั ซีนมากขน้ึ การทาวัคซีนมีวธิ ีการดงั นี้
1. การหยอดตา หรือการหยอดจมูก (Intraocular; I/O or intranasal; I/N) เป็นการสร้าง
ภูมิคุ้มกันเฉพาะที่เพื่อป้องกันโรคท่ีเกิดกับระบบทางเดินหายใจ เช่น โรคนิวคาสเซิลและหลอดลมอักเสบ
โดยละลายวัคซีนในน้ายาละลายวัคซีน (น้ากลั่น) ที่อุณหภูมิห้อง การใช้น้าเย็นจัดอาจทาให้เย่ือบุตาหรือ
จมูกอักเสบได้ ขวดท่ีใช้หยอดวัคซีนควรเป็นขวดมาตรฐาน เพื่อให้ลูกไก่ได้รับวัคซีนครบโด๊ส การหยอด
ตาให้หยอดวัคซีน 1 หยดต่อไก่ 1 ตัว ลงไปในตาข้างที่เปิดของไก่รอจนกระท่ังวัคซีนซึมเข้าไปประมาณ
1-2 วินาที การหยอดจมูกจะให้ผลดีกว่าการหยอดตา การหยอดให้ใช้น้ิวมือปิดรูจมูกไว้ข้างหน่ึง แล้วจึง
หยดวัคซีนในรูจมูกอีกข้างหน่ึง การใช้สีย้อมในวัคซีนจะช่วยในการตรวจสอบหรือจดจาไก่ท่ีทาวัคซีนไป
แลว้

ภาพที่ 7.22 การทาวคั ซนี โดยการหยอดตา หรือการหยอดจมกู

2. การแทงปีก (Wing web; W/W) เปน็ การสรา้ งภูมิคุ้มกันเฉพาะท่คี ือ บริเวณใตผ้ วิ หนงั เช่น
วัคซนี ปอ้ งกันโรคฝดี าษเป็นวัคซีนท่มี ีความเข้มข้นมาก เนอื่ งจากใชน้ า้ ยาละลายวัคซีนเพียงเล็กน้อย และ
ใช้เขม็ จ่มุ วคั ซีนครง้ั ละประมาณ 0.01 ซีซี. โดยสังเกตจากการท่ีวคั ซนี เต็มรูเข็มทั้งสองข้าง แลว้ แทงเขม็
จากทางดา้ นล่างผ่านทะลุผนังของปีกไก่ (Web of the wing) ภายใน 7-10 วันหลังจากทาวคั ซนี จะ
เกิดรอยสะเกด็ แผลท้งั ด้านบนและดา้ นลา่ งของผนงั ปีกไก่ซึ่งเกดิ จากการแทงเข็มผ่าน แสดงวา่ การทา
วคั ซนี นั้นได้ผล ในการทาวคั ซีนตอ้ งระวังอย่าให้แทงผ่านขน กลา้ มเนอ้ื หรือกระดูก

ภาพท่ี 7.23 การทาวคั ซนี โดยการแทงปีก
3. การฉีดเข้าใต้ผิวหนัง (Subcutaneous; S/C) เป็นวิธีที่นิยมใช้ในการทาวัคซีนป้องกัน
โรคมาเร็กซ์ โดยฉีดเข้าใตผ้ ิวหนงั บริเวณท้ายทอยหรือฐานคอ ทาให้การสรา้ งภูมิคุ้มกนั เกดิ ขึ้นอย่างชา้ ๆ
4. การฉีดเข้ากล้ามเนื้อ (intramuscular; I/M) เป็นวิธีท่ีนิยมใช้กับวัคซีนชนิดเช้ือตาย ซ่ึงจะฉีด
เขา้ กล้ามเน้ือขาหรอื กล้ามเนอ้ื หน้าอก ทาให้ภมู คิ ้มุ กนั เกิดขึ้นอยา่ งรวดเรว็

ภาพท่ี 7.24 การทาวคั ซีนโดยการฉดี เข้ากล้ามเน้ือ

5. การละลายน้าด่ืม (Drinking water; D/W) เป็นวิธีท่ีทาได้ง่ายประหยัดแรงงาน และเหมาะ
สาหรับไก่กลุ่มใหญ่ ๆ แต่การสร้างภูมิคุ้มกันจะมีความผันแปรค่อนข้างมาก เน่ืองจากไก่แต่ละตัวได้รับ
วัคซีนแตกต่างกันไป ดังน้ันจะต้องหยุดให้น้าไก่เป็นเวลาอย่างน้อย 2 ชั่วโมง ก่อนทาวัคซีนเพ่ือกระตุ้นให้
ไก่กระหายน้า และกินน้าผสมวัคซีนให้หมดภายใน 2 ช่ัวโมง ระยะเวลาในการอดน้าจะขึ้นอยู่กับสภาพ
อากาศ อุปกรณ์ให้น้าจะต้องมีเพียงพอสาหรับไก่จานวน 2/3 ของเล้า สามารถเข้ากินน้าได้พร้อมๆ กัน
ถ้าไม่พออาจเพิ่มเติมอุปกรณ์ให้น้าข้ึนมาชั่วคราวสาหรับการนี้โดยเฉพาะ จุดน้ีถือว่าเป็นส่วนที่สาคัญ
ท่ีสุด เพราะความล้มเหลวจากการให้วัคซีนวิธีนี้มักเกิดจากระบบการให้น้าที่ไม่ถูกต้องและอุปกรณ์ให้น้า
ไม่เพียงพอ ปรมิ าณน้าทใี่ ช้ละลายวัคซนี จะผนั แปรไปตามอายุไกด่ ังนี้

- อายุ 1 สัปดาห์ ใชน้ ้าประมาณ 2-5 ลติ รต่อไก่ 1,000 ตวั
- อายุ 2-4 สปั ดาห์ ใช้นา้ ประมาณ 9-11 ลิตรต่อไก่ 1,000 ตวั
- อายุ 5-7 สัปดาห์ ใช้น้าประมาณ 14-18 ลิตรต่อไก่ 1,000 ตวั
- อายมุ ากกว่า 7 สปั ดาห์ ใชน้ ้า 20-23 ลิตรต่อไก่ 1,000 ตวั
เม่ื อ ถึ งก าห น ด เว ล า ใน กา ร ท า วั คซี น จ ะต้ อง ห ยุ ด ให้ ย า แ ล ะส าร ฆ่ า เชื้ อ โรค ใน น้ า ด่ื มอ ย่ าง น้ อ ย
24 ชั่วโมงกอ่ นและหลังการทาวัคซีนและควรผสมหางนม (skimmed milk) เพื่อทาให้น้าเปน็ กลางและชว่ ย
ยืดอายุของวคั ซีนใหน้ านข้นึ โดยใชห้ างนม 100 กรมั ต่อนา้ 30 ลติ ร
6. การสเปรย์ (Spray) เป็นวิธีท่ีนิยมใช้กันมากสาหรับการทาวัคซีนคร้ังแรกในลูกไก่อายุ 1 วัน
เพ่ือป้องกันโรคติดเชื้อจากไวรัสในระบบการเดินหายใจ อาจสเปรย์ตั้งแต่ในโรงฟักหรือในโรงเรือนที่เลี้ยง
โดยสเปรย์ใส่ลูกไก่ท่ีอยู่ในกล่องเลย ลูกไก่จะได้รับวัคซีนผ่านทางลูกตาหรือทางจมูก เป็นวิธีท่ีทาได้
รวดเร็ว สามารถให้วัคซีนแก่ไก่จานวนมากๆ ในระยะเวลาอันสั้น แต่ปริมาณวัคซีนท่ีได้รับอาจแตกต่าง
กันไป การสเปรย์ควรสเปรย์ให้พอหมาดๆ ไม่ควรให้ตัวลูกไก่เปียกโชก เมื่อสเปรย์วัคซีนเสร็จแล้วควรท้ิง
ลูกไก่ไว้ 10-15 นาที เพอ่ื ให้ตวั แหง้

ภาพท่ี 7.25 การทาวคั ซนี โดยการสเปรย์

ขอ้ ควรระวังในการทาวัคซีน
1. อปุ กรณ์ทีใ่ ช้ในการท าวัคซีนต้องผ่านการฆ่าเชื้อโดยถกู ต้องก่อนนามาใช้ การฆ่าเช้ือทา

ได้โดยการใชค้ วามรอ้ นอาจจะโดยการตม้ หรือนึง่ ในหมอ้ ความดันกไ็ ด้ แตห่ า้ มฆ่าเชอ้ื โดยใชน้ า้ ยาฆ่าเช้ือเป็น
อันขาด

2. ในการทาวัคซีนควรให้ไวตามินหรือยาปฏิชีวนะหรือให้ทั้งสองอย่างควบคู่กันไปอย่าง
น้อยเป็นเวลา 3 วัน คือ ก่อนวันทา 1 วัน วัน ทาวัคซีนและหลังวันทา 1 วัน เพ่ือช่วยลดความเครียดและ
ปอ้ งกันโรคแทรกซ้อน วัคซีนบางชนิด เช่น วัคซนี ป้องกันโรคกลอ่ งเสียงอักเสบจะทาใหไ้ ก่เกดิ อาการแพม้ าก
หลังจากทาวัคซีนไปแล้ว 5-7 วัน ดังน้ันหลังจากทาวัคซีนไปแล้ว 5-7 วัน จะต้องให้ยาปฏิชีวนะละลาย
น้าเพอื่ ป้องกันโรคแทรกซ้อน

3. การสร้างภูมิคุ้มกันหลังจากทาวัคซีนไปแล้วจะต้องรอไปอีกระยะหนึ่งขึ้นอยู่กับชนิด
ของวัคซีนที่ทาความสามารถในการตอบสนองต่อวัคซีนของตัวไก่ อายุและภูมิคุ้มกันโรคที่ได้รับจากแม่
ดังน้ันระยะก่อนที่ไก่จะสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นนั้น จึงเป็นระยะที่อันตราย ผู้เล้ียงจะต้องระมัดระวังอย่าให้มี
โรคระบาดเกิดขึ้นในฟารม์

4. ควรทาวคั ซีนไก่ทั้งหมดในฟาร์มพร้อมกันในครั้งเดียวซ่ึงถ้าหากไม่สามารถทาได้ให้แยก
ไก่กลมุ่ ทท่ี าวคั ซนี กับกล่มุ ทไี่ ม่ได้ทาวัคซีนออกจากกันโดยเดด็ ขาด

5. ทาวัคซีนในไก่ที่มีสุขภาพแข็งแรง หลีกเลี่ยงการทาวัคซีนในขณะไก่ป่วยหรือเกิด
ความเครียด

6. ควรซื้อวคั ซีนจากแหลง่ ทเ่ี ชอื่ ถอื ได้
7. ควรเกบ็ วัคซีนไว้ในท่ีมืดและมีอุณหภูมิระหว่าง 2-8 o C วัคซีนท่ีเปิดขวดแล้วควรใช้ให้
หมดภายใน 2 ช่ัวโมง
8. ขณะทาการขนส่ง ควรเก็บวัคซีนตามอุณหภูมิท่ีกาหนดโดยแช่วัคซีนไว้ในกระติก
น้าแขง็
9. หลีกเล่ียงการถูกแสงแดดเพราะจะทาให้วัคซีนเส่ือมคุณภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งวัคซีน
เช้ือเปน็ อาจถูกทาได้โดยรังสอี ลั ตราไวโอเล็ต
10. หลกี เล่ียงการฆา่ เช้อื ทกุ ชนดิ ในนา้ ตลอดชว่ งที่ทาวคั ซนี และในกรณีทท่ี าวคั ซีนป้องกัน
โรคที่เกดิ จากเชื้อแบคทเี รียไม่ควรใหย้ าปฏิชีวนะใดๆ ทง้ั ก่อนและหลงั ทาวัคซนี เปน็ เวลา 3 วัน
11. จดบันทึกรายละเอียดต่าง ๆ ของวัคซีนท่ีทา ได้แก่ ช่ือวัคซีน รุ่นท่ีผลิต บริษัทที่ผลิต
วันหมดอายุ วนั ท่ใี หว้ ัคซนี และรายละเอียดอื่น ๆ ลงในสมุดบนั ทกึ เพือ่ เปน็ หลกั ฐาน
12. ทาลายขวดและวคั ซีนท่เี หลอื หลังการใชใ้ ห้หมดโดยการเผาท้ิง
13. ห้ามทาวัคซีนภายใน 21 วนั ก่อนส่งโรงฆ่า

สาเหตบุ างประการที่ทาใหว้ ัคซีนไมส่ ามารถป้องกันโรค
1. ลูกไก่มีภูมิคุ้มโรคจากแม่อยู่ช่ัวระยะหนึ่ง ซ่ึงจะทาลายวัคซีนที่ให้ไก่จึงไม่สามารถสร้าง

ภมู ิคุ้มโรคได้ มกั จะเกดิ ในกรณที ี่ทาวคั ซีนในไก่อายนุ ้อยเกนิ ไป
2. การเกบ็ รกั ษาวัคซีนไม่ดีทาใหเ้ ชอื้ ในวัคซนี ตาย หรือทาให้ประสิทธภิ าพของวัคซีนเส่ือม

ลงหรอื วัคซนี อาจหมดอายุ
3. ลูกไก่ได้รับวัคซีนไม่ครบโด๊ส หรือได้รับน้อยกว่าท่ีกาหนด ซ่ึงอาจมีสาเหตุมาจากการ

เตรยี มวัคซีนหรอื วธิ กี ารให้ไมด่ ีพอ
4. ไก่บางตวั อาจปว่ ยขณะทาวัคซนี จึงทาให้เกิดภูมคิ ุ้มโรคได้ไมเ่ ต็มท่ี
5. วัคซีนที่นามาใช้อาจไม่ตรงกับสเตรนหรือซีโรไทป์ของโรคท่ีระบาด ทาให้การทาวัคซีน

ไม่ไดผ้ ล
6. ลูกไกไ่ ด้รับเชื้อท่ีทาให้เกิดโรคก่อนทาวัคซนี แต่เชื้ออยู่ในระยะฟกั ตัวเม่อื ไก่ได้รับวคั ซีน

ไก่จะแสดงอาการของโรคนั้น ๆ
7. การถกู ระงับการสรา้ งภูมิคุ้มโรคเนอื่ งจากโรคกมั โบโร ทาให้ความตา้ นทานต่อโรคลดลง

และการสร้างภูมิคุ้มกันจึงลดลงไปวัคซีนเช้ือเป็นจะกระตุ้นให้เกิดภูมิคุ้มโรคสูงแต่ระยะเวลาของภูมิคุ้มโรค
จะไมถ่ าวร ดงั นั้นจึงจาเปน็ ต้องทาวัคซีนซ้า

ตัวอย่างโปรแกรมวัคซีนดังต่อไปน้ีเป็นการทาวัคซีนในไก่ชนิดต่างๆ ซึ่งโปรแกรมวัคซีนสามารถ
เปล่ียนแปลงวิธีการให้ตามบริษัทผู้ผลิตและตามความเหมาะสมของพ้ืนที่การเล้ียงเช่นในแหล่งท่ีมีโรค
มากอาจมกี ารเพ่ิมการใหว้ คั ซีนและยังขน้ึ อยู่กบั สายพันธข์ุ องโรคที่ระบาดดว้ ย

โปรแกรมวคั ซีนในไก่ไข่

อายุไก่ ชนิดวัคซีน วธิ ที า หมายเหตุ
1 วนั มาเร็กซ์ ฉดี ใตผ้ วิ หนงั ทาจากโรงฟัก
1 วัน หลอดลมอักเสบ หยอดตา ทาเมอื่ ลูกไก่ถงึ ฟารม์
10 วัน
14 วนั นวิ คาสเซิลลาโซตา้ หยอดตา ชนดิ เชื้อเป็น
4 สปั ดาห์ กมั โบโร ละลายนา้
นิวคาสเซิล + หลอดลมอักเสบ หยอดตา 1/2 โดส๊ ในพนื้ ท่ีที่มีโรค
5 สปั ดาห์ ฝีดาษ แทงปีก 1/2 โด๊ส ระบาดรุนแรง
วัคซนี หวดั ฉีดเขา้ กลา้ ม ชนดิ เชื้อเปน็
8 สปั ดาห์ กลอ่ งเสียงอกั เสบ หยอดตา ชนดิ เชอื้ ตาย
นวิ คาสเซิล + หลอดลม หยอดตา
10 สปั ดาห์ นิวคาสเซลิ ฉดี เข้ากลา้ ม
กลอ่ งเสยี งอักเสบ หยอดตา

โปรแกรมวัคซีนในไก่ไข่(ต่อ) วธิ ที า หมายเหตุ
ฉีดเข้ากล้าม ชนดิ เชอื้ ตาย
อายุไก่ ชนิดวัคซนี หยอดตา
14 สปั ดาห์ วัคซนี หวดั ฉีดเข้ากล้าม
ละลายน้า
หลอดลมอักเสบ ละลายนา้
16 สปั ดาห์ * อ.ี ดี.เอส + นวิ คาสเซลิ ละลายน้า
22 สปั ดาห์ นวิ คาสเซิล + หลอดลมอักเสบ ละลายนา้
32 สปั ดาห์ นวิ คาสเซิล + หลอดลมอกั เสบ ละลายน้า
40 สัปดาห์ นวิ คาสเซิล + หลอดลมอกั เสบ ละลายนา้
48 สปั ดาห์ นิวคาสเซลิ + หลอดลมอกั เสบ
56 สปั ดาห์ นิวคาสเซิล + หลอดลมอักเสบ
64 สปั ดาห์ นิวคาสเซลิ + หลอดลมอักเสบ
ที่มา : กรมปศุสัตว์


Click to View FlipBook Version