The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pa0936182147, 2019-10-02 00:47:11

Unit 8

Unit 8

หนว่ ยท่ี 8

โรคและ
การสุขาภบิ าลสัตว์ปีก

92

หัวข้อเรื่อง
1. โรคทีส่ ำคัญในสัตวป์ กี
2. กำรสขุ ำภิบำลสตั ว์ปกี
3. กำรจัดกำรของเสียในฟำรม์ สัตว์ปกี

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. บอกสำเหตุ อำกำร กำรปอ้ งกนั และรักษำโรคในสตั วป์ กี ได้
2. อธบิ ำยถงึ ขัน้ ตอน/วิธีกำรสขุ ำภบิ ำลสัตวป์ กี ได้
3. บอกข้นั ตอน/วิธกี ำรจัดกำรของเสยี ในฟำร์มสัตวป์ กี ได้

เน้อื หาการสอน
โรค (Disease) หมำยถึง สภำวะที่ทำให้สภำพร่ำงกำยของสัตว์ปีกเจ็บป่วย หรือผิดไปจำกปกติ

ไกป่ ว่ ยมักไมก่ นิ อำหำร กำรเจริญเตบิ โตและกำรให้ผลผลิตลดลง ถ้ำป่วยมำกอำจถงึ ข้นั ตำยได้ ลักษณะกำรเกิด
โรคอำจเป็นแบบรวดเร็วและรนุ แรงมำก (Peracute) แบบเฉียบพลนั (Acute) หรือแบบเร้อื รงั (Chronic) ทง้ั น้ี
ข้ึนอยู่กับควำมรุนแรงของโรค เช้ือโรคที่เข้ำไปในตัวไก่อำจทำให้ไก่แสดงอำกำรเป็นโรคให้เห็น (Clinical
symptom) หรือไก่อำจไม่แสดงอำกำรให้เห็นชัดเจน (Subclinical symptom) ท้ัง ๆ ท่ีได้รับเช้ือโรคแล้วก็จะ
กลำยเป็นตัวพำหะนำเช้ือโรค (Disease carrier)

กำรเกิดโรคในสัตว์เกิดจำกหลำยสำเหตุ ท้ังสำเหตุทำงตรงและสำเหตุทำงอ้อม ซึ่งอำจจะเกิดจำกตัว
สัตว์เอง โรงเรอื นและอปุ กรณ์ อำหำร น้ำ หรือจำกตัวผู้เลี้ยงเอง ซึ่งจะเป็นสำเหตุใดก็ตำมล้วนสง่ ผลตอ่ สุขภำพ
ของสตั ว์ท้งั สิ้น สำเหตขุ องกำรเกิดโรคในสัตวแ์ บ่งไดด้ งั น้ี

1) สาเหตุทางอ้อม เป็นสำเหตุที่ไม่ได้เกิดจำกเชื้อโรคแต่เกิดจำกสภำพแวดล้อมรอบ ๆ ตัว
สตั วซ์ ่ึงชกั นำให้สัตว์เกดิ โรคได้ สำเหตุทำงออ้ ม ได้แก่

(1) ควำมเครยี ด เชน่ สภำพโรงเรอื นไม่เหมำะสม มแี มลงรบกวน อำกำศร้อนจัด
หนำวจัด ล้วนเปน็ สำเหตุทท่ี ำให้เกดิ ควำมเครียดซ่งึ ก่อให้เกิดโรคในสัตว์ได้

(2) กำรขำดสำรอำหำร เชน่ ขำดธำตแุ คลเซียมทำใหเ้ กดิ โรคกระดกู ออ่ น
ขำดโปรตีนทำใหแ้ คระแกร็น เปน็ ตน้

(3) เกดิ จำกควำมผิดปกตขิ องระบบฮอรโ์ มนในรำ่ งกำยสัตว์
(4) เกิดจำกควำมบกพร่องทำงพันธกุ รรม
(5) สำรพษิ ในอำหำรสตั ว์ เชน่ กรดไฮโดรไซยำนิก (hydrocyanic acid)
ในมนั สำปะหลัง
2) สาเหตุทางตรง ได้แก่ กำรเกิดโรคท่ีเกิดจำกเชื้อจุลินทรีย์ต่ำง ๆ เช่น แบคทีเรีย ไวรัส
เชื้อรำ โปรโตซัว พยำธิภำยนอก และพยำธิภำยใน

93

จำกสำเหตกุ ำรเกดิ โรคขำ้ งต้นสำมำรถจำแนกโรคที่สำคญั ของสตั วป์ กี ได้เปน็ 2 กลมุ่ ใหญ่ ๆ คือ
- โรคติดตอ่ (Infectious diseases) ซ่ึงได้แก่ โรคเมอื่ เกิดข้ึนกับสตั วต์ ัวใดตัวหนึ่งแล้วสำมำรถ

แพรก่ ระจำยไปยังสตั วต์ วั อ่นื ๆ ในฝูงได้ โรคติดตอ่ นจี้ ะเป็นโรคทเี่ กิดจำกพวกเชือ้ โรคและพยำธติ ำ่ ง ๆ
- โรคไม่ติดต่อ (Non-infectious diseases) หมำยถึง โรคที่เมื่อเกิดข้ึนกับสัตว์ตัวใดตัวหน่ึง

แล้วไม่สำมำรถ แพร่กระจำยหรือติดต่อไปยังสัตว์ตัวอื่นได้ถึงแม้ว่ำจะอยู่ใกล้ชิดกันก็ตำม โรคไม่ติดต่อนี้ส่วน
ใหญม่ ีสำเหตุ มำจำกกำรขำดอำหำร กำรได้รบั สำรพิษ กำรไดร้ ับควำมบำดเจ็บจำกอุบัติเหตุ ควำมผดิ ปกติของ
ร่ำงกำย บำงครง้ั อำจมีสำเหตุมำจำกพวกเชอื้ โรคต่ำง ๆ ดว้ ย เชน่ โรคบำดทะยกั ก็จัดอย่ใู นโรคกลุ่มน้ี

3) การตดิ ตอ่ ของโรค เชื้อโรคจะแพรก่ ระจำยออกจำกรำ่ งกำยสัตว์ปว่ ยได้โดย
(1) ทำงมลู และปสั สำวะ
(2) ทำงปำกโดยออกมำกบั น้ำลำย
(3) ทำงจมกู โดยออกมำกับนำ้ มกู
(4) ทำงอวยั วะสืบพนั ธุ์โดยกำรผสมพันธุ์
(5) ทำงเลือดโดยแมลงดดู เลือดตำ่ ง ๆ เชน่ ยงุ เหลือบ เหำ ไร หมดั ฯลฯ
(6) ทำงนำ้ ตำหรือสว่ นอื่น ๆ

หลงั จำกเชอ้ื โรคออกจำกร่ำงกำยสัตว์ป่วยแลว้ แพร่ไปยงั สัตวท์ ่ยี งั ไม่ปว่ ยได้หลำยทำงด้วยกัน คอื
(1) ทำงน้ำ
(2) ทำงอำกำศ
(3) ทำงดิน
(4) จำกกำรสมั ผัสโดยตรง
(5) ทำงภำชนะเคร่อื งมือตำ่ ง ๆ
(6) ทำงไข่ฟัก
(7) โดยกำรเคล่ือนย้ำยไก่ป่วย

1. โรคท่ีสาคญั ในสัตวป์ ีก
1.1 โรคไข้หวดั นก (Avain Influenza )
โรคไข้หวัดนกเป็นโรคระบำดของสัตว์ปีกทุกชนิด แบ่งเป็นชนิดรุนแรงและไม่รุนแรง ชนิดรุนแรง

สำมำรถแพรต่ ิดตอ่ ถงึ คนได้
สาเหตุ เกิดจำกเช้อื ไวรัสอินฟลเู อนซ่ำ เอ เช้อื ไวรัสถกู ทำลำยได้ด้วยควำมร้อน แสงแดดควำมแห้ง และ

ยำฆ่ำเชื้อโรค อำหำรปรุงสุก 70 องศำเซลเซียส ขึ้นไปจะฆ่ำเชื้อโรคได้ ไวรัสจะมีควำมทนทำนมำกขึ้นในช่วง
อำกำศเยน็ และควำมช้นื สงู โดยอำจอย่ใู นมลู สัตว์ น้ำและสิ่งแวดล้อมไดห้ ลำยวนั หรืออำจนำนเปน็ เดือน

94
การตดิ ต่อ ในฝงู สัตว์ปกี ทไ่ี ด้รบั เชือ้ โรคจำกภำยนอกโดยพำหะนำโรค เช่น นก สตั ว์ปกี อืน่ ยำนพำหนะ
คน เมอ่ื ได้รบั เชอ้ื แล้วถูกขบั ออกมำทำงมูล และแพรร่ ะบำดต่อไปจำกสัตวม์ ำสู่คน กลุ่มเส่ยี งได้แก่ เกษตรกรผู้
เลีย้ ง คนชำแหละสัตว์ปีก และคนท่ีสมั ผัสคลกุ คลีใกลช้ ดิ กบั สัตวป์ กี โดยเฉพำะเด็กและผู้สูงอำยุ กำรตดิ ต่อเกิด
จำกกำรสัมผัสโดยตรงกับสัตว์ปีกทป่ี ่วยหรือตำย

แผนภาพท่ี 8.1 กำรตดิ ต่อของโรคทำงตรงและทำงออ้ มในกำรนำโรคไขห้ วัดนกระหว่ำงฟำรม์ หรอื
บำ้ นทีเ่ กิดโรคกับฟำร์มหรือบำ้ นที่ยงั ไม่เกดิ โรค

ระยะฟักตัว ท้ังในคนและสัตว์ โดยเฉลีย่ 3-5 วัน ไมเ่ กนิ 7 วนั
อาการ สตั ว์ปกี ตำมคำนยิ ำมอำกำรโรคไข้หวดั นก มอี ตั รำกำรตำยอยำ่ งนอ้ ยร้อยละ 5 ใน 2 วัน ร่วมกับ
แสดงอำกำรอ่ืนร่วมด้วย เช่น ตำยกะทนั หัน มีอำกำรระบบทำงเดินหำยใจ เชน่ หำยใจลำบำก หนำ้ บวม นำ้ ตำ
ไหล อำกำรทำงระบบประสำท เช่น ชัก คอบิด ท้องเสีย หรือขนยุ่ง ซึม ไม่กินอำหำร ไข่ลด ไข่รูปร่ำงผิดปกติ
หงอน เหนียงสีคล้ำ หรือหน้ำแข้งมีจดุ เลอื ดออก

95

ภาพที่ 8.1 ตำยกะทันหนั ภาพที่ 8.2 ผวิ หนงั บรเิ วณหนำ้ เป็นสีคลำ้
หงอนหรือเหนียงบวม มสี คี ล้ำ

ภาพที่ 8.3 มีจุดเลอื ดออกบริเวณขำแขง็ ภาพที่ 8.4 ตำขนุ่

ภาพท่ี 8.5 หัวบวม ภาพท่ี 8.6 อำกำรชักกอ่ นตำย

การรักษา ในสัตว์ปีกไม่มีกำรรักษำ เน่ืองจำกจะเป็นตัวแพร่เช้ือโรคต่อไปได้จึงใช้วิธีทำลำย
การควบคุมการปอ้ งกนั ในภาวะปกติ

1) สร้ำงโรงเรือนแบบปิด หรือใช้มุ้งและตำข่ำยคลุม เพื่อป้องกันนกเข้ำมำกินอำกำร ถ่ำยมูล
และสมั ผัสกบั สตั วป์ กี ทำควำมสะอำดในโรงเรือนหรอื เล้ำ กำจดั เศษอำหำรเพ่ือป้องกันให้สตั ว์อ่ืนๆ เชน่ นก หนู
ทีอ่ ำจนำเชอ้ื โรคเขำ้ มำ

2) เจ้ำของสัตว์ปีกต้องเฝ้ำระวังอำกำรป่วยในสัตว์ปีกท่ีเลี้ยงอยู่ หำกพบมีอำกำรป่วยให้แจ้ง
สัตวแพทย์ท้องท่ีไปตรวจวนิ ิจฉยั ทนั ที

96

3) ดูแลป้องกันตนเอง โดยเฉพำะเด็ก ไม่ให้สัมผัสสัตว์ป่วยหรืออุปกรณ์กำรเล้ียง เพรำะอำจ
ปนเปอ้ื นเชื้อและติดโรคได้ ควรหมน่ั ลำ้ งมอื ทกุ ครั้งเม่อื จะรบั ประทำนอำหำร

4) หำกจำเป็นต้องขนย้ำยสัตว์ปีกให้ติดต่อขอใบอนุญำตเคลื่อนย้ำยจำกสัตวแพทย์ท้องที่
5) หมน่ั ติดตำมสภำวะกำรระบำดและปฏบิ ตั ติ ำมคำแนะนำของทำงรำชกำร
การควบคุมปอ้ งกันในภาวะมกี ารระบาด
1) ในฝูงสัตวท์ ี่เกดิ โรค ต้องทำลำยสัตว์ปกี ทงั้ หมด
2) ทำควำมสะอำดและพน่ ยำฆำ่ เชอื้ โรคใหท้ ั่วฟำรม์ หรอื พ้นื ทีเ่ ล้ยี งและบริเวณโดยรอบ
3) ห้ำมเคลอ่ื นย้ำยสตั ว์ปีกและซำกสัตวป์ กี ทุกชนดิ ในรศั มี 10 กโิ ลเมตรจำกจดุ เกดิ โรค

1.2 โรคนวิ คาสเซิล (Newcastle disease; ND)
สาเหตุ เกิดจำกเช้ือเอเวียนพำรำมิกโซไวรัส ซีโรไทป์ 1 มีคุณสมบัติในกำรจับกลุ่มตกตะกอนกับเม็ด
เลือดแดง (hemagglutination) ซึ่งคุณสมบัตินี้มีประโยชน์ในกำรชันสูตรโรค ควำมต้ำนทำนของไวรัสใน
ส่งิ แวดล้อม เช่น กำรมโี ปรตีนช่วยหอ่ หมุ้ ไวรัสทำใหอ้ ย่ใู นส่งิ แวดล้อมได้นำนขึ้น
การตดิ ต่อ กำรหำยใจ กำรกนิ อำหำรหรอื น้ำท่มี เี ชื้อปนเปื้อน เกดิ ในไกท่ กุ อำยุ
ระยะฟักตวั ระยะฟักตัวของโรคตำมธรรมชำติ 2-15 วนั หรืออำจนำนกวำ่ 15 วันกไ็ ด้ โดยทวั่ ไปเฉล่ีย
5-6 วัน
อาการ ขึน้ อยูก่ บั สำยพันธุ์เช้อื ชนดิ รุนแรงจะทำใหไ้ กต่ ำยเป็นจำนวนมำกทันที โดยจะแสดงอำกำรทำง
ระบบหำยใจ หำยใจลำบำก มีเสียงดัง ไอ จำม ซึม เบื่ออำหำร ตัวสกปรก ทวำรหนักเปื้อนอุจจำระ กล้ำมเนื้อ
ส่ัน หัวส่ัน คอบิด ปีกตก อัมพำตก่อนตำย เดินโซเซล้มลง ไก่ท่ีแสดงอำกำรทำงประสำทแล้วจะไม่รอด อัตรำ
กำรเป็นโรค 60-100 เปอรเ์ ซน็ ต์ ไก่ที่รอดจะแคระแกรน็ คอบิด ปกี ตกตลอดอำยุ
- ชนิดรุนแรงมำกและแสดงอำกำรท่ีลำไส้ (Viserotropic velogenic virus) เป็นชนิดท่ีแสดงอำกำร
รุนแรงมำก โดยแสดงอำกำรมีจดุ เลอื ดออกท่บี รเิ วณลำไสใ้ หเ้ หน็
- ชนิดรุนแรงมำกและแสดงอำกำรทำงระบบประสำท (Neurotropic velogenic virus) เป็นชนิดที่
แสดงอำกำรทำงระบบทำงเดินหำยใจและระบบประสำทร่วมด้วย โรคนิวคำสเซิลที่เกิดจำกเชื้อ สเตรนนี้จะมี
อตั รำกำรตำยสงู มำก
- ชนิดรนุ แรงปำนกลำง (Mesogenic virus) เปน็ ชนิดท่แี สดงอำกำรกับระบบทำงเดิน หำยใจและอำจ
มอี ำกำรทำงประสำทรว่ มดว้ ยแต่จะมอี ัตรำกำรตำยต่ำ
- ชนิดไม่รุนแรงและแสดงอำกำรกับระบบทำงเดินหำยใจ (Lentogenic respiratory virus) เป็นชนิด
ทแี่ สดงอำกำรกบั ระบบทำงเดินหำยใจเพียงเลก็ นอ้ ยหรอื ไม่แสดงอำกำรให้เหน็ ชัดเจนนัก
- ชนิดไม่รุนแรงและแสดงอำกำรกับระบบทำงเดินอำหำร (Asymptomatic enteric virus) เป็นชนิด
ที่เกิดกับระบบทำงเดินอำหำรแต่ไม่แสดงอำกำรให้เห็นเด่นชัดนัก โดยทั่วไปโรคนิวคำสเซิลสำมำรถเป็นได้กับ
สัตว์ปีกทุกชนิด แต่พบว่ำจะไม่ค่อยแสดงอำกำรให้เห็นเด่นชัดนักในสัตว์ปีกจำพวก เป็ดและห่ำน แต่จะแสดง
อำกำรเดน่ ชดั และรุ่นแรงมำกถ้ำเกดิ กับสตั ว์ปีกจำพวกไก่

97

ภาพท่ี 8.7 ไกม่ อี ำกำรทำงระบบประสำท เช่น คอบิด และขำเป็นอมั พำต

ภาพที่ 8.8 ทอ้ งเสีย ถำ่ ยเป็นสีเขยี วและกำรอักเสบของเย่อื ตำ

ภาพท่ี 8.9 จุดเลือดออกท่ีระบบทำงเดนิ อำหำร

ภาพที่ 8.10 พบจุดเลอื ดทีล่ ำไส้(1) กระเพำะบด(2) รงั ไข่ฝอ่ (3) กระเพำะแท้(4) หลอดลมอักเสบแดง(5)
การรักษา/ป้องกัน ไม่มีกำรรักษำโดยตรง อำจให้วิตำมินและสำรอิเลคโตรไลท์ละลำยน้ำให้ไก่กิน

ไกจ่ ะฟ้ืนโรคได้เร็วขึ้นและร่วมกับกำรใหย้ ำปฏิชวี นะเชน่ ยำซลั ฟำละลำยน้ำใหก้ ินเพอ่ื ป้องกนั โรคแทรกซ้อนที่มี
สำเหตุจำกเชอื้ แบคทเี รีย กำรปอ้ งกันสำมำรถทำไดโ้ ดยกำรทำวัคซนี

98

1.3 โรคฝีดาษ (fowl pox)
สาเหตุ เกิดจำกโฟวลพ์ ็อกไวรัส
การติดตอ่ โดยกำรสมั ผัส เชน่ อยู่รวมฝูงกัน ทำงบำดแผลหรือรอยขดี ขว่ น หรือไวรสั จำกไกป่ ่วยปะปน
ในน้ำและอำหำร ยุงหรือแมลงดดู เลือดเป็นพำหะของโรค
ระยะฟกั ตวั ระยะฟกั ตวั ไม่แน่นอน พบวำ่ ปกติจะอย่ปู ระมำณ 4-10 วัน
อาการ - ฝีดำษแหง้ เป็นตุ่มนูน หรอื สะเก็ดบริเวณผิวหนงั ทไี่ มม่ ีขน เชน่ หวั คอ รอบทวำร ขำ

- ฝีดำษเปยี ก มกั เปน็ แผน่ นูนสเี หลอื ง พบภำยในปำก ไซนสั โพรงจมูก คอ กลอ่ งเสยี ง
หลอดลมมีผลตอ่ กำรหำยใจ กำรกลืนอำหำร ทำให้ไก่ตำยได้

ภาพที่ 8.11 สะเก็ดแผลแหง้ ทบ่ี รเิ วณใบหนำ้ ภาพที่ 8.12 หลอดลมอกั เสบอย่ำงรนุ แรง
หงอน เหนียง (ผดี ำษแห้ง) หลอดลมมีเลอื ดออก (ฝีดำษเปยี ก)

การรักษา/ป้องกนั ใชท้ ิงเจอร์ทำทฝ่ี ีวันละ 1-2 ครัง้ (ระวงั เขำ้ ตำไก่) ใหย้ ำปฏิชีวนะละลำยนำ้ ให้กนิ
เพือ่ ปอ้ งกนั โรคแทรกซ้อน รวมท้งั ไวตำมินเกลอื แร่ ช่วยให้ไก่แข็งแรงขนึ้ ไกท่ หี่ ำยจำกกำรเปน็ โรคจะมภี มู คิ ุ้ม
ตลอดอำยุ กำรป้องกนั ทำได้โดยกำรทำวัคซีนโดยไกท่ ไี่ ดร้ ับวัคซนี จะมคี วำมคุม้ โรคนำน 1 ปี

1.4 โรคหลอดลมอกั เสบติดตอ่ (Infectious Bronchitis)
สาเหตุ เกิดจำกโคโรนำไวรสั เปน็ ไวรสั อำร์เอ็นเอชชนดิ สำยเดย่ี ว ไวรัสชนดิ นม้ี ีควำมไวต่อยำฆำ่ เชื้อโรค
ท่ัวไป และไมก่ ่อโรคในคน เปน็ โรคติดต่อทำงระบบหำยใจ เปน็ ได้ในไก่ทุกอำยุ แต่โรคจะรนุ แรงในลูกไก่ สว่ นไก่
ใหญ่ไม่แสดงอำกำรป่วย แตอ่ ัตรำไขจ่ ะลดลง
การติดต่อ ไก่ได้รับเช้ือโดยกำรหำยใจหรือจำกกำรกินอำหำรหรือน้ำที่มีเชื้อปน รวมทั้งอุปกรณ์
เครื่องมือและเครอื่ งใช้ ไกป่ ่วยจะเปน็ ตัวแพร่โรคได้ เนอ่ื งจำกมีเชือ้ โรคอย่ใู นตวั ไกไ่ ดน้ ำน กำรติดเช้ือผ่ำนไข่อำจ
เกดิ ข้นึ ได้
ระยะฟกั ตวั ไกจ่ ะแสดงอำกำรปว่ ยภำยหลงั จำกไดร้ บั เชอื้ 18-36 ช่ัวโมง ข้นึ อยกู่ บั จำนวนเช้อื และทำง
ทไ่ี ด้รับ โดยทวั่ ไปกำรติดเชื้อตำมธรรมชำตมิ รี ะยะฟกั ตัวของโรคอย่ำงน้อย 36 ช่ัวโมง
อาการ ไก่แสดงอำกำรทำงระบบหำยใจเป็นหลัก โดยมีอำกำรหำยใจลำบำก มีเสียงดังครืดครำดใน
หลอดลม น้ำมูกไหล ไก่จะอ้ำปำก ไอ หำยใจถี่ๆ บำงครั้งมีน้ำตำไหล ไก่ไม่แสดงอำกำรทำงระบบประสำท
เหมอื นโรคนวิ คำสเซลิ ซงึ่ อำกำรเหลำ่ นมี้ ีควำมรนุ แรงในลกู ไก่ ลูกไกอ่ ำจตำยเพรำะมนี ำ้ เมือกอุดอยู่ในหลอดลม

99
อำจทำให้อัตรำกำรตำยสูงถึง 30% ของฝูง ส่วนในไก่ใหญ่ที่ป่วยเป็นโรคนี้อัตรำกำรตำยจะน้อย แต่จะมี
ผลกระทบเกี่ยวกับระบบสืบพันธ์ุ จะทำให้ไข่ลดในช่วงท้ำยๆ ของกำรไข่ ขนำดไข่เล็กลง มีรูปร่ำงผิดปกติ
เปลือกไข่บำงขรุขระและแตกง่ำย คุณภำพภำยในฟองไข่เลวลง ไข่ขำวเหลวเป็นน้ำ หรือไม่ไข่เมื่อถึงวัยเจริญ
พันธ์ุ

ภาพท่ี 8.13 ไกป่ ว่ ยแสดงอำกำรอำ้ ปำกหำยใจ ภาพที่ 8.14 หลอดลมมีหนองอุดตัน มีเมอื กในทอ่ ลม

ภาพท่ี 8.15 มีหนองข้นตดิ ท่ีหลอดลม ภาพท่ี 8.16 รูปรำ่ งไขผ่ ิดปกติ

การรักษา/ ปอ้ งกนั ไม่มกี ำรรกั ษำ กำรปอ้ งกนั สำมำรถทำได้โดยกำรทำวัคซนี

การป้องกนั

- แยกไกท่ ีป่ ว่ ยออกจำกฝูง

- อย่ำใหเ้ ล้ำชืน้ แฉะและปรับระบบกำรระบำยอำกำศในโรงเรือนใหด้ ี

- ทำวัคซีนป้องกันโรคตำมโปรแกรมท่ีกำหนด

1.5 โรคอหวิ าต์เป็ด-ไก่ (Fowl cholera)
สาเหตุ เชื้อแบคทเี รยี แกรมลบ พำสจูเรลลำ่ มัลโตซิดำ้
การติดต่อ ติดต่อโดยตรงจำกกำรกินอำหำรหรือน้ำท่ีมีเช้ือปนเป้ือน กำรหำยใจ กำรแพร่เชื้อผ่ำนไข่
หรือพำหะ
ระยะฟักตวั 2 สัปดำห์

100

อาการ ทงั้ รนุ แรงและเรือ้ รังแตส่ ว่ นมำกมกั เปน็ รนุ แรง ทำให้ไก่และเป็ดตำยอย่ำงรวดเร็ว โดยไม่
แสดงอำกำรใหเ้ ห็น ในบำงรำยท่ีไมต่ ำยทันทีทันใด จะป่วย หงอยซึม เบอ่ื อำหำร นอนหมอบ อจุ จำระเหลวสี
เขียวปนเหลอื ง หำยใจไมส่ ะดวก กระหำยนำ้ จดั ไก่จะมีหงอนและเหนียงสีคล้ำและตำยใน 2-3 วัน หรอื อำจพบ
ไขส้ งู มนี ้ำมกู น้ำลำยไหลเปน็ เมือก หัวตก หน้ำและหงอนสีมว่ งคลำ้ หำยใจลำบำกและถ่ี เบอ่ื อำหำร กระหำย
น้ำ ทอ้ งร่วง ขนร่วง ตอ่ มำในไก่หรอื เปด็ ท่ตี ำย เม่ือเปิดซำกดูพบวำ่ มจี ุดเลอื ดท่ีหวั ใจ และท่ตี ับจะมีจุดเน้อื ตำย
เล็กๆ มีขำวคลำ้ ยผงชอลก์ กระจำยอย่ทู ่ัวไปบนเนอ้ื ตบั ที่ลำไสจ้ ะบวมพอง อักเสบแดง ชนดิ เรอื้ รังเปด็ จะมี
อำกำรปว่ ยนำนเป็นเดอื นๆ มีอำกำรหงอยซึม พบลกั ษณะบวมที่เหนยี ง โพรงจมูก ข้อขำ ข้อปกี ฝ่ำเทำ้ และ
บริเวณก้น ตำแฉะ หำยใจหอบ

ภาพท่ี 8.17 ตบั จะมจี ุดเนอ้ื ตำยเลก็ ๆ สีขำว ภาพที่ 8.18 กอ้ นหนองทีบ่ รเิ วณหวั
การรกั ษา/ป้องกนั ยำปฏิชวี นะ เชน่ เจนตำมยั ซิน เอ็นโรฟล้อกซำซิน หรือให้ยำซลั ฟำละลำยนำ้ ใหก้ ิน
ติดต่อกนั 2-3 วนั กำรปอ้ งกนั สำมำรถทำไดโ้ ดยกำรทำวคั ซนี
1.6 โรคกลอ่ งเสยี งอักเสบติดตอ่ (Infectious laryngotracheitis; ILT)
สาเหตุ เกิดจำกเชอ้ื เฮอปีไ่ วรสั (Herpes virus)
การตดิ ต่อ ไก่ทเ่ี ป็นโรคเป็นพำหะนำโรค ซึง่ แพร่กระจำยทำงอำกำศ และมีสิง่ นำพำอืน่ ๆ
ระยะฟกั ตวั ประมำณ 6 – 12 วนั อำกำร ไกท่ ่ีเปน็ โรคนีจ้ ะมีอำกำรไอ จำม หำยใจลำบำก ยดื คอเวลำ
หำยใจ บำงคร้ังหำยใจมี เสียงดัง มีเสมหะปนออกมำเวลำไก่สะบัดหัว ไก่ไข่ลด และบำงคร้ังอำจมีน้ำตำไหล
การรักษา โรคน้ีไม่มีกำรรักษำที่ได้ผล เพรำะเกิดจำกเช้ือไวรัส นอกจำกจะใช้ยำปฏิชีวนะหรือ
ไวตำมินผสมน้ำให้ไก่กนิ ทง้ั ฝูง เพ่อื ปอ้ งกนั โรคแทรกซ้อนเท่ำนั้น
การป้องกัน

- รกั ษำควำมสะอำดโรงเรือนไมใ่ หอ้ ับทบึ
- ใชว้ คั ซีนปอ้ งกนั โรคตำมโปรแกรมทก่ี ำหนด

ภาพที่ 8.19 เลอื ดออกทหี่ ลอดลม ภาพท่ี 8.20 น้ำตำไหลเปน็ ฟอง

101

1.7 โรคมาเรก็ ซ์ (Marek’s disease)
สาเหตุ เกดิ จำกเช้อื ไวรสั เฮอร์ป่ี (Lymphotropic herpes virus) มี 3 ซีโรไทป์
การติดต่อ เชื้อไวรัสจะหลุดออกมำพร้อมกับแผ่นสะเก็ดจำกผิวหนังไก่ป่วย ไก่ตัวอื่นติดโรคจำก กำร
หำยใจเอำสะเก็ดนี้เข้ำไป
อาการ ไก่ป่วยจะแสดงอำหำรในระยะแรก ๆ คล้ำยกับไก่ขำอ่อน ขั้นต่อไปอำจถึงอัมพำตเดิน ไม่ได้
และมอี ำกำรปีกตก หำงตก กล้ำมเนือ้ คอบดิ เบีย้ ว รูขมุ ขนขยำยใหญ่ นยั น์ตำมีสเี ทำ
การรักษา ไมม่ วี ิธรี กั ษำ
การป้องกัน ทำวัคซีนป้องกันโรคมำเรก็ ซเ์ มื่ออำยุ 1 วัน เพียงครั้งเดียว ทำควำมสะอำดโรงเรือน เพ่ือ
ไม่ให้มเี ชื้อตกค้ำงอยู่

ภาพที่ 8.21 อำกำรเกดิ เปน็ ตุ่มบริเวณผิวหนังทำใหซ้ ำกไม่สวยงำม

1.8 โรคหวดั เร้ือรัง (Chronic respiratory disease; CRD)
สาเหตุ เกิดจำกเช้ือไมโคพลำสมำ โดยปกติแล้วเม่ือไก่ป่วยเป็นโรคนี้ก็มักจะมีเชื้อแบคทีเรยี เข้ำแทรก
ซ้อนทำให้อำกำรของโรครุนแรงข้ึนเป็น CRD complex แบคทีเรียดังกล่ำว เช่น Escherichia coli
Hemophillus gallinarum และ Staphylococcus spp. นอกจำกน้ียังมีเชื้อไวรัสจำกโรคหลอดลมอักเสบ
และโรคนิวคำสเซิลเขำ้ แทรกดว้ ย
การติดต่อ ทำงอำกำศ และจำกกำรสัมผัสไก่ที่ป่วยเป็นโรค ระยะฟักตัว ประมำณ 4 – 21 วัน
อาการ น้ำมูกไหลหรือไม่มีมกู เลยกไ็ ด้ จำมบ่อย หน้ำอำจบวมเล็กน้อย ตำอกั เสบและมนี ้ำตำ หำยใจมี
เสียงดงั ครืดครำดอย่ภู ำยในหลอดลม เบือ่ อำหำร นำ้ หนกั ลด
การรกั ษา ใชย้ ำปฏชิ ีวนะ เช่น ไทโลซนิ สเตรปโตมยั ซนิ เตตรำซยั คลนิ ฯลฯ
การป้องกนั

- หม่นั ตรวจดฝู ูงไก่บอ่ ยๆ ถ้ำมไี ก่ป่วยให้แยกออกไปรักษำและทำลำยทนั ที

102

- ทำควำมสะอำดโรงเรือนดว้ ยน้ำยำฆ่ำเชอ้ื เปน็ ประจำ
- ทำวัคซนี ปอ้ งกันโรคตำมโปรแกรมท่ีกำหนด หรอื ละลำยยำปฏชิ วี นะใหก้ นิ

ภาพที่ 8.22 บรเิ วณถงุ ลมทำให้ขนุ่ และหวั ใจ

1.9 โรคหวัดตดิ ตอ่ หรอื หวดั หน้าบวม (Infectious coryza or Fowl coryza)
สาเหตุ เกดิ จำกเชือ้ แบคทเี รียพวก Hemphillus paragallinarum
การติดตอ่ ทำงอำกำศ ทำงนำ้ และโดยมสี ่งิ นำพำ ไก่ป่วยเปน็ พำหะ
ระยะฟกั ตวั ประมำณ 24 – 48 ชัว่ โมง
อาการ ไก่จะแสดงอำกำรบวมท่ีหน้ำและเหนียง นัยน์ตำมีของเหลวเป็นฟองอยู่ตรงหัวตำ ทำให้ เกิด
กำรระคำยเคือง ไก่ใช้เท้ำเข่ียนัยน์ตำ ทำให้รอบตำอักเสบอย่ำงรุนแรง มีน้ำมูกไหล จำมบ่อย ๆ หำยใจไม่
สะดวก เยื่อตำอกั เสบ เบือ่ อำหำร และผอมลง กำรรกั ษำ ใช้ยำซลั โฟนำไมด์ หรอื ยำปฏชิ ีวนะ อ่ืน ๆ
การป้องกัน

- แยกสัตวป์ ่วยออกจำกฝงู
- ไมค่ วรเล้ยี งไก่ท่ีมีอำยตุ ำ่ งกันไวด้ ว้ ยกัน
- ไมค่ วรให้พ้นื เลำ้ ชนื้ แฉะและมลี มโกรกแรง โรงเรือนควรมีกำรระบำยอำกำศท่ดี ี
- ทำวัคซนี ปอ้ งกันโรคตำมโปรแกรมทก่ี ำหนด

ภาพที่ 8.23 อำกำรบรเิ วณใบหนำ้ และหงอนบวมช้ำ

103

1.10 โรคข้ีขาว (Pullorum)
สาเหตุ เกิดจำกเชือ้ แบคทเี รยี Salmonella pullorum เป็นแบคทเี รยี ชนดิ แกรมลบ
การติดต่อ โรคน้ีติดต่อได้ทำงไข่ฟัก ตู้ฟัก มูลและเครื่องมือเคร่ืองใช้ ระยะฟักตัว ประมำณ 2-7 วัน
อาการ

- ในไก่เล็ก ตำยหลังจำกฟักออกได้ 1 วัน ลูกไก่จะตำยมำกในระหว่ำง 2-3 สัปดำห์แรก
มีอุจจำระสีขำวเหลวรอบๆ ก้นเปยี กแฉะ หงอย ซมึ ยืนส่ัน คอตกและตำยดว้ ยโลหิตเปน็ พิษ

- ในไก่ใหญ่จะมีอัตรำกำรตำยต่ำ เช้ือจะเข้ำไปสะสมอยู่ในอวัยวะต่ำงๆ เช่น รังไข่ ตับ หัวใจ
และถงุ นำ้ ดี

- ไข่ฟักจะตำยโคม ลูกไก่ท่ีฟักออกจะอ่อนแอ แคระแกร็น และจะเป็นพำหะนำโรคต่อไป
การรักษา กำรรักษำโรคข้ีขำวไม่ค่อยได้ผลเท่ำที่ควร เน่ืองจำกเช้ือมีควำมทนทำนต่อยำค่อนข้ำงสูง
แตย่ ำท่พี อจะใชไ้ ดผ้ ลอย่บู ำ้ ง ได้แก่ ยำพวกซลั โฟนำไมด์ และฟูรำโซลโิ ดน ฯลฯ
การป้องกัน

- ทำกำรตรวจเลือดพ่อพันธแ์ุ ละแม่พันธุ์ด้วยแอนติเจนจนแนใ่ จวำ่ ปรำศจำกเช้ือ
- ใชย้ ำฆ่ำเช้อื พ่นในเลำ้ และตู้ฟกั ให้ทั่วถงึ
- ใช้ด่ำงทบั ทมิ ผสมกับฟอร์มำลินในอัตรำสว่ น 1 : 2 เพือ่ รมควันไข่ฟกั และตูฟ้ กั

ภาพที่ 8.24 อจุ จำระมีสีขำว เหลว ก้นเปียกแฉะ หงอยซึม ยนื สน่ั
1.11 โรคบดิ (Coccidiosis)
สาเหตุ เกิดจำกเชื้อโปรโตซวั ไอเมอเรยี ซึง่ มีถึง 7 ชนิด คือ

- Eimeria acervulina เกิดโรคท่ีลำไส้เล็กส่วนต้นโดยจะมองเห็นแถบขำวตำมขวำง
ลำไส้ซึง่ เกิดจำก oocyte ผนงั ลำไสห้ นำขนึ้

- Eimeria tenella เกิดโรคที่ไส้ตันโดยจะเกิดเป็นจุดเลือดออก ผนังลำไส้หนำข้ึน เยื่อเมือก
เปน็ สีขำวและมลี ิ่มเลอื ดติดอยู่

- Eimeria necatrix เกิดโรคที่ลำไส้เล็กส่วนกลำงทำให้เกิดลำไส้โป่งพอง มีจุดสีขำว มีเย่ือ
เมอื กและเลือดปนกับเน้ือตำยและเกิดกำรตกเลือด

- Eimeria maxima เกิดโรคท่ีลำไส้เล็กส่วนกลำงโดยทำให้ผนังลำไส้หนำข้ึน มีเยื่อเมือกปน
เลอื ดและมีเนือ้ ตำย

104

- Eimeria brunetti เกิดโรคที่ลำไส้เล็กส่วนปลำยไปจนถึงลำไส้ใหญ่ ทำให้เกิดเนื้อตำย
มีเลือดออกและลำไส้อกั เสบ

- Eimeria praecox เกดิ โรคทล่ี ำไสเ้ ล็กสว่ นตน้ รอยโรคไม่แสดงอำกำรชัดเจนนัก มเี ยื่อเมือก
หลดุ ลอก

- Eimeria mitis เกิดโรคท่ีลำไส้เล็กส่วนต้น ไม่แสดงรอยโรคให้เห็น หรืออำจจะมีเยื่อ เมือก
หลุดลอก

การติดต่อ ทำงมูล โดยเช้ือแพร่กระจำยไปตำมพื้น วัสดุรองพื้นหรือติดไปกับรองเ ท้ำผู้เลี้ยง
ระยะฟกั ตวั ประมำณ 4-6 วัน
อาการ ไก่ท่ีป่วยเป็นโรคบิดจะกินอำหำรนอ้ ยลง แต่กินน้ำมำกข้ึน หงอยซึม ขนยุ่ง ปีกตก ท้องร่วง มี
เลือดปนออกมำในอจุ จำระ โดยมกั จะเห็นเปน็ สีแดง นำ้ ตำล หรือแดงเข้ม
การรกั ษา ใชย้ ำซลั ฟำควินนอกซำลนี หรือซลั ฟำเมทำซนี หรแื อมพรอล ละลำยนำ้ หรือผสม อำหำรให้
ไกก่ นิ ประมำณ 7 วนั
การปอ้ งกัน

- ใช้ยำป้องกันบิดผสมอำหำรให้ไก่กินติดต่อกันต้ังแต่ 1-20 สัปดำห์ ในไก่ไข่ และ 1- 8
สัปดำหใ์ นไก่กระทง

- หมน่ั ตรวจสอบและจดั กำรวสั ดรุ องพ้นื ไมใ่ ห้มีควำมชน้ื สูงเกนิ ไป
- ทำวัคซีนปอ้ งกนั โรคตำมโปรแกรมทก่ี ำหนด

ภาพท่ี 8.25 อำกำรบรเิ วณลำไสเ้ ลก็ ส่วนตน้ (Duodenum) ซึ่งเกิดจำกเชอ้ื
Eimeria acervulina โดยจะมองเห็นแถบขำวตำมขวำงลำไสซ้ งึ่ เกิดจำก oocyte ผนังลำไสห้ นำข้นึ

105

ภาพที่ 8.26 อำกำรบริเวณลำไส้เล็กสว่ นกลำง (Jejunum) ซ่งึ เกดิ จำกเชอ้ื Eimeria maxima
โดยทำให้ผนงั ลำไส้หนำขึ้น มีเยอ่ื เมอื กปนเลอื ดและมีเนื้อตำย

ภาพที่ 8.27 อำกำรบรเิ วณลำไสเ้ ล็กสว่ นกลำงท่เี กดิ จำกเช้ือ Eimeria necatrix
ทำใหเ้ กิดลำไสโ้ ปง่ พอง มีจดุ สขี ำว มีเยอื่ เมอื กและเลอื ดปนกบั เน้ือตำยและเกิดกำรตกเลือด

ภาพที่ 8.28 อำกำรบรเิ วณไส้ตันท่ีเกิดจำกเชอื้ Eimeria tenella
ทำใหเ้ กิดจุดเลอื ดออก ผนังลำไสห้ นำขนึ้ เยอ่ื เมือกเป็นสีขำวและมลี มิ่ เลือดติดอยู่

106

ภาพท่ี 8.29 อำกำรบรเิ วณลำไส้เล็กส่วนปลำย (Ileum) ไปจนถงึ ลำไส้ใหญ่
เกดิ จำกเช้ือ Eimeria brunetti ทำใหเ้ กดิ เนอ้ื ตำย มีเลอื ดออกและลำไสอ้ ักเสบ

ภาพท่ี 8.30 อำกำรบรเิ วณลำไส้เลก็ สว่ นต้นทเี่ กิดจำกเช้ือ Eimeria mitis หรือ
E. mivati จะไมค่ ่อยแสดงรอยโรคใหเ้ หน็ หรอื อำจจะมีอำกำรแคเ่ ยือ่ เมอื กหลุดลอก
1.12 โรคกัมโบโร หรอื เบอรซ์ าอักเสบติดต่อ (Gumboro, Infectionus bursal disease; IBD)
สาเหตุ เกดิ จำกเชื้อไวรัสทมี่ ชี อ่ื เรยี กว่ำ Infectious bursal disease virus (IBDV)
การตดิ ตอ่ อำหำร น้ำ ทำงอำกำศ และกำรสมั ผัสโดยตรงกับไกป่ ่วย เชอ้ื น้มี ีควำมทนทำนต่อ
สภำพแวดล้อมมำก ไก่เลก็ และไก่รนุ่ ป่วยเป็นโรคนี้ได้งำ่ ย
ระยะฟกั ตวั 18-36 ช่วั โมง ทำใหไ้ กต่ ำยภำยใน 3-4 วัน
อาการ เช้ือไวรัสชนิดน้ีติดต่อที่ Lymphoid tissue ทำให้เกิดกำรทำลำย Lymphoid cells ท่ีต่อม
เบอรซ์ ่ำ ม้ำม และ ceacal tonsil ทำให้ระบบภมู คิ ้มุ กนั โดย T-lymphocytes ไม่มีประสิทธภิ ำพในกำรป้องกนั

107

การตดิ ต่อ
- ถ้ำลูกไก่ได้รับเช้ือก่อนอำยุ 2 สัปดำห์ ลูกไก่จะไม่แสดงอำกำรให้เห็นแต่ต่อมเบอร์ซ่ำจะ

ถกู ทำลำย ทำให้ลูกไกม่ โี อกำสเปน็ โรคและตำยงำ่ ยข้นึ
- ถ้ำลูกไก่ได้รับเชื้อระหว่ำง 3-6 สัปดำห์ ลูกไก่จะแสดงอำกำรอย่ำงรุนแรง หงอย ซึม

ไม่กินอำหำรและน้ำ ท้องร่วงเป็นน้ำมีสีขำว ผอมแห้ง หนำวส้ันและตำยภำยใน 2 วัน กำรตำยของลูกไก่
ดว้ ยโรคนเี้ กดิ ขึน้ อยำ่ งรวดเร็วใน 1 สปั ดำหแ์ รก ไก่ปว่ ยจะหลับตำอยู่ในทำ่ น่ังบนเขำ่ และปำกปกั อยู่บนพ้ืน

การป้องกนั
- ทำควำมสะอำดโรงเรือนดว้ ยน้ำยำฆำ่ เช้ือโรค
- ควรเลย้ี งไก่เป็นระบบคอื เข้ำทง้ั หมดออกทง้ั หมด (All in all out)
- ท ำวคั ซนี ป้องกันโรคตำมโปรแกรมทกี่ ำหนด

ภาพที่ 8.31 อำกำรบวมท่ตี ่อมเบอรซ์ ่ำ

1.13 โรคกาฬโรคเป็ด (Duck plague)
สาเหตุ เกิดจำกเชอื้ Herpes virus
โรคกำฬโรคเป็ด (Duck plague) หรือโรคลำไส้อักเสบจำกเช้ือไวรัสในเป็ด (Duck virus enteritis)
เปน็ โรคติดเช้อื ไวรัสรำ้ ยแรงแบบเฉียบพลนั สำมำรถติดต่อได้รวดเรว็ สัตว์ปกี พวกเป็ด ห่ำน และหงสซ์ ง่ึ เป็นสัตว์
ในตระกูล Anseriformes เท่ำนั้นที่ป่วยด้วยโรคน้ีตำมธรรมชำติ สัตว์ปีกดังกล่ำวทุกอำยุป่วยเป็นโรคนี้ได้
เมอ่ื เกิดกำรระบำดของโรคแล้วจะทำให้สัตว์มีอตั รำกำรป่วยและกำรตำยสูงถงึ 100% ลักษณะเฉพำะของโรคนี้
คือ หลอด เลือดถูกทำลำย มีเลือดออกตำมเนอ้ื เย้ือต่ำงๆ เยื่อบุผิวของระบบทำงเดินอำหำรฉีกขำด มีรอยโรค
ตำมอวยั วะของ ระบบํน้ำเหลือง และมีกำรเสื่อมสลำยของอวัยวะภำยในทัว่ ไป
การตดิ ต่อ สตั ว์ติดโรคโดยกำรกนิ หรอื หำยใจเอำเชื้อเข้ำไปจำกกำรสัมผัสสัตวป์ ว่ ย หรือสัมผสั กบั สิ่งท่ี
ปนเป้ือน เช่น ผู้เล้ียงสัตว์ เครื่องมือ เคร่ืองใช้ พำหนะขนส่งอำหำร ทำให้โรคแพร่ระบำดรวดเร็วและไปได้ไกล

108

กำรเกิดโรคมกั พบ บรเิ วณทีใ่ ชแ้ หล่งน้ำเลย้ี งสตั ว์รวมกนั และในพน้ื ที่ท่เี คยมโี รคนี้ระบำดมำกอ่ น
ระยะฟกั ตัว ประมำณ 3-7 วัน
อาการ เมื่อเร่ิมปรำกฏอำกำรป่วย จะพบกำรตำยในเวลำ 1-5 วันต่อมำ ดังน้ันในกำรติดเชื้อตำม

ธรรมชำติมักพบในลูกเป็ดท่ีมีอำยุ 7 วันขึ้นไปจนถึงเป็ดโตเต็มวยั ลักษณะอำกำร และรอยโรคที่สัตวป์ ่วยแสดง
ขึ้นกบั ควำมรนุ แรงของเช้อื ไวรสั พันธุ์ อำยุ เพศ และระดับภมู ิคุ้มกันโรคของฝูง

- ในเปด็ พ่อ-แมพ่ นั ธจุ์ ะป่วยแบบเฉียบพลนั สัตวจ์ ะแสดงอำกำรตำยกะทนั หนั มอี ัตรำกำรตำย
สูงและตำย อย่ำงต่อเนื่องนำนหลำยวัน โดยไม่ปรำกฏอำกำรให้เห็นโดยเฉพำะเม่ือเกิดโรคระบำดคร้ังแรก ๆ

- ในเป็ดไข่จะมี ผลผลิตไขล่ ดลง 25-40 % เมอื่ เคยเกิดโรคระบำดในฟำรม์ แลว้ อำกำรของโรค
จะชัดเจนข้ึน สัตว์ป่วยจะแสดง อำกำรซึม เบื่ออำหำร กระหำยน้ำ คอตก อุจจำระไหลเป็นสีขำวหรือขำวปน
เขียว ขำไม่มีแรง นอนหมอบ น้ำตำ ไหล น้ำมูกไหล ตำหรี่เล็กเนื่องจำกกลัวแสง ชอบซุกตัวในท่ีมืด ไม่ค่อยมี
แรงเคล่ือนไหว

- ในลูกเป็ดอำยุ 2-7 สัปดำหจ์ ะมอี ัตรำกำรตำยต่ำกว่ำเป็ดอำยุมำก อำกำรทพ่ี บได้แก่ ขำดน้ำ
น้ำหนักลด และมเี ลอื ดปนออกมำกับ อจุ จำระ ในฝูงทม่ี ีภูมคิ ้มุ กันโรคตำ่ โรคจะดำเนนิ ไปอย่ำงช้ำๆ พบเป็ดป่วย
มีอัตรำกำรตำยต่ำ เป็ดที่หำยป่วยจะเป็น พำหะนำโรคได้นำนหลำยปี เช้ือไวรัสจะถูกขับออกมำทำงอุจจำระ
หรือปนเปือ้ นบนเปลือกไข่

การรกั ษาและป้องกัน เน่ืองจำกโรคน้ีเกิดจำกเชื้อไวรัส จึงไม่มียำรกั ษำใหห้ ำยไดโ้ ดยตรง จำเปน็ ต้อง
ป้องกันไม่ให้สัตว์ติดเชื้อไวรัส โดยกำรดูแลเร่ืองสุขำภิบำล กำรป้องกันโรคในท้องที่ท่ีเสี่ยงต่อกำรเกิดโรคหรอื
เคยเกิดโรคมำก่อน ควรฉีดวัคซีนป้องกันโรค เน่ืองจำกโรคนีเ้ ป็นโรคระบำดตำมมำตรำ 4 พระรำชบัญญัติโรค
ระบำดสัตว์พ.ศ.2499 ตำม ประกำศกฎกระทรวงฉบับท่ี 15 (พ.ศ.2520) ซึ่งเมื่อเกิดโรคนี้ระบำดในท้องที่ใด
จะต้องรำยงำนให้เจ้ำหน้ำที่ ทรำบ เพื่อพนักงำน เจ้ำหน้ำท่ี สำรวัตร และสัตวแพทย์จะได้ดำเนินกำรป้องกัน
และควบคุมกำรระบำดของโรคตำม กฎหมำยต่อไป เป็ดป่วยหรือตำยใหท้ ำลำยโดยกำรเผำหรือฝัง ใช้น้ำยำฆำ่
เชื้อทำควำมสะอำดบริเวณท่ีเกิดโรค ถ้ำ สถำนที่เลี้ยงเป็ดอยู่ริมคลอง ให้กักเป็ดไว้ในท่ีแห้งอย่ำให้เป็ดลงน้ำ
ส่วนเป็ดท่ีแข็งแรงยังไม่ติดเชื้อให้ฉีดวัคซีน ป้องกันโรคทันที โดยใช้วัคซีนเชื้อเป็นที่ผลิตโดยกรมปศุสัตว์ฉีดเขำ้
กล้ำมเนื้อขนำดตัวละ 1.0 มิลลิลิตร วัคซีนจะสำมำรถต้ำนทำนเชื้อไวรัสกำฬโรคได้สูง ให้ควำมคุ้มกันโรคได้ดี
และรวดเร็ว ตำมคำแนะนำของกรมปศุสัตว์ควรฉดี วัคซีนครั้งแรกเม่ือเป็ดอำยุ 3-4 สัปดำห์ ครั้งที่ 2 อำยุ 10-
12 สปั ดำห์ คร้ังที่ 3 เมอ่ื อำยไุ ด้ 6 เดอื น หรอื กอ่ นวำงไข่ และตอ่ ไปฉดี ซ้ำทกุ 6 เดือน

1.14 โรคตับอักเสบติดต่อของลกู เปด็ (Duck virus hepatitis)
สาเหตุ เกิดจำกเชื้อไวรัส มีอัตรำกำรตำยสูง มักเกิดกับลูกเป็ดอำยุ 1 วันจนถึง 4 อำทิตย์ ส่วนลูกเปด็
อำยุ 1 เดอื นมกั ไม่เปน็ โรคเพรำะมีควำมต้ำนทำน

109

อาการ ลูกเป็ดแสดงอำกำรโรคนี้ชนิดเฉียบพลนั คอื ไม่เคล่ือนไหวช่วั ขณะแลว้ จะลม้ ลงนอนตะแคง ชกั
อกแอ่น คอหงำย เท้ำทั้งสองแสดงท่ำพุ้ยน้ำไปข้ำงหลัง และตำยภำยใน 30 นำที ลูกเป็ดอำยุ 1 วันหำกได้รับ
เชอื้ จะแสดงอำกำรของโรครวดเร็วมำกภำยใน 26 ช่ัวโมงหลงั รับเช้อื

การปอ้ งกันโรค ใหท้ ำวคั ซีนโดยใชแ้ ทงที่พังผืดเท้ำเป็ดจะได้คุ้มโรคได้ภำยใน 2 วัน หรอื อำจ ใช้ซรี ่ัมฉีด
ป้องกันโรคระบำด โดยเก็บโลหิตจำกเป็ดที่เคยป่วยและหำยจำกโรคนี้แล้วนำมำแยกเอำซีรั่ม ใช้สำหรับฉีด
ปอ้ งกนั และรกั ษำโรคน้ีได้ หรือใชพ้ ันธ์ุที่ตำ้ นทำนโรค

1.15 พยาธิไก่ (Parasite)
พยำธิไกแ่ บ่งออกเปน็ 2 ชนดิ คือ พยำธภิ ำยนอก (External parasite) ซึง่ ได้แก่ ไร เหำ หมัด และเห็บ
และพยำธิภำยใน (Internal parasite) ไดแ้ ก่ พยำธติ ัวกลม และพยำธติ วั แบนตำ่ ง ๆ

1) พยาธิภายนอก (External parasite) พยำธิภำยนอกที่สำคัญในไก่ ได้แก่ ไร และเหำ
(1) ไรไก่ (Mite) เป็นพยำธภิ ำยนอกที่มขี นำดเลก็ มำก มี 8 ขำ ดำรงชีวิต โดยกำรดูด

เลอื ดไก่กินเป็นอำหำร ไรไก่ทสี่ ำคัญมี 3 ชนิด คือ
- ไรแดง (Common red mites; Dermanyssus gallinae) มีขนำดเล็กตัวสีแดง

หรือดำ พบอยู่ใต้กองมูลหรือตำมรอยแตกของฝำผนังหรือพ้ืนโรงเรือน ออกดูดเลือด ไก่เวลำกลำงคืน ทำให้
ผิวหนังระคำยเคือง ไกแ่ สดงอำกำรอ่อนเพลีย ไข่ลด หงอนและเหนยี งซีด โลหติ จำง นอกจำกนย้ี ังเปน็ ตวั นำโรค
ฝีดำษ และอหิวำต์ไกอ่ กี ดว้ ย

- ไรที่อยู่ตำมตัว (Northern feather mite; Liponyssus sylviarum) เป็นไรที่พบ
บนตัวไกแ่ ละรอบๆ ทวำร มสี เี ทำ ขยำยพนั ธ์ไุ ดร้ วดเรว็ มำกบนตวั ไก่ ทำให้เกดิ โลหิตจำง ไก่กินอำหำรลดลง ไข่
ลด นำ้ หนักลดลงอย่ำงรวดเร็ว

- ไรแข้งผุ (Scaly-leg mite) ทำให้เกิดโรคแข้งผุ (Scaly leg) โดยไรจะฝังตัวเข้ำไป
ในผิวหนังหรือเกล็ดบริเวณขำ ทำให้เกล็ดหน้ำแข้งอักเสบ มีน้ำเหลืองไหลซึมออกมำ กำรรักษำทำได้โดยเอำ
แขง้ ไกแ่ ชล่ งไปในน้ำยำโซเดียมฟลอู อไรด์ 0.5 % สัปดำหล์ ะครงั้ เป็นระยะเวลำ 2-3 สปั ดำห์

(2) เหา (Louse) เป็นพยำธิภำยนอกท่ีไม่ทำอันตรำยต่อไก่มำกนัก แต่มีผลต่อ
ลกั ษณะทำงเศรษฐกิจ คือ ไข่ลด โตชำ้ และโลหิตจำง เหำไกท่ สี่ ำคญั มี 3 ชนิด คอื

- เหำท่ีตัวไก่ (Chicken body louse) พบอยู่ตำมลำตัวและขนบริเวณท้อง
- เหำที่หัวไก่ (Chicken head louse) พบบนผิวหนังและขนบริเวณหัว
- เหำที่ปกี ไก่ (Wing louse) พบตำมขนใตป้ กี
การควบคมุ พยาธิภายนอก
- ฉีดยำฆ่ำแมลงในกลุ่ม มำลำไธออน คำร์บำรีล หรือเซฟวินในโรงเรือนและรอบๆ โรงเรือน
ในช่วงพกั เล้ำ งดใชย้ ำฆำ่ แมลงประเภทดีดีที ดีลดริน อัลดริน เฮปตำคลอร์ ในโรงเรือนไก่กระทงเพ่อื กำรส่งออก
โดยเดด็ ขำดเพรำะอำจเปน็ สำรเคมีทีอ่ ำจปนเปอื้ นและมฤี ทธ์ิตกค้ำงในเนอ้ื ไกไ่ ด้

110

- ก่อนย้ำยไก่สำวขึ้นกรงตับให้ฉีดพ่นยำบนตัวไก่หรือจุ่มไก่ในน้ำยำฆ่ำแมลง โดยใช้ยำมำลำ

ไธออนเข้มข้น 0.5-1 % หรือยำเซฟวนิ เขม้ ขน้ 0.5 %

- เมื่อตรวจพบพยำธิภำยนอกบนตัวไก่ให้รีบกำจัดทันทีโดยฉีดพ่นยำบนตัวไก่หรือจุ่มไก่ใน

นำ้ ยำ

2) พยาธิภายใน (Internal parasites)

พยำธิภำยในไก่ที่สำคัญคือพยำธิตัวกลม ซ่ึงเป็นพยำธิที่ทำอันตรำยต่อไก่มำกที่สุด พยำธิตัวกลมที่

สำคัญมี 3 ชนิด คอื

(1) พยาธิตัวกลม (Large round worm หรือ Ascardia galli) เป็นพยำธิท่ีพบอยู่ในลำไส้

ตัวแก่มีควำมยำว 7-8 เซนติเมตร มลี กั ษณะคล้ำยเชือก สขี ำวซดี วงจรชวี ติ ใชเ้ วลำ 30-35 วนั พยำธิ

ไส้เดือนในระยะท่ีเป็นตัวหนอนพยำธิเปน็ ระยะที่อันตรำยท่ีสุด เพรำะจะเข้ำไปฝังตัวอยู่ในผนังลำไส้ทำให้ผนงั

ลำไสเ้ ป็นแผล ชำ้ บวมและมีเลือดออก อำจเปน็ สำเหตุให้เกิดโรคโลหติ จำง ท้องร่วงและ ไกอ่ ่อนเพลีย

เมอ่ื พยำธิไสเ้ ดือนเจริญเตบิ โตเตม็ ทมี่ นั จะคอยแยง่ กินอำหำรทำใหไ้ ก่ผอม โตชำ้ ไข่ลด

ภาพท่ี 8.32 พยำธิตวั กลมหรือพยำธไิ ส้เดือนบรเิ วณลำไส้ส่วนตน้
การปอ้ งกันรักษา

- ทำควำมสะอำดเล้ำและกรง อย่ำงสมำ่ เสมอ
- ควรถำ่ ยพยำธิในไก่สำวก่อนยำ้ ยขนึ้ กรงตับประมำณ 3 สัปดำห์ และถำ่ ยซำ้ อกี ครง้ั หนึง่ 30
วันหลงั จำกนนั้ ยำถำ่ ยพยำธิทใี่ ช้ได้ผลดี คอื Piperazine
- ให้ไวตำมนิ เอในอำหำรเพ่ิมขึ้นในอตั รำ 12 ลำ้ นไอยตู อ่ อำหำร 1 ตัน
(2) พยาธิเสน้ ดา้ ย (Capillaria worm) มีลักษณะกลม ขนำดเลก็ มำกไม่สำมำรถมองเห็นดว้ ยตำเปล่ำ
เมื่อโตเต็มท่ีมีควำมยำวประมำณ 0.5 น้ิว พยำธิชนิดน้ีไม่มีพำหะช่ัวครำว ไก่ได้รับพยำธิชนิดนี้โดยกำรกินไข่
พยำธเิ ข้ำไปโดยตรง พยำธจิ ะเข้ำไปอยู่ในทำงเดินอำหำร หลอดอำหำร กระเพำะพัก ลำไสเ้ ลก็ และสว่ นต้นของ
ไส้ตัน ตัวหนอนพยำธิและตัวพยำธิจะฝังตัวอยู่ในผนงั ลำไส้ทำให้เป็นแผล ช้ำบวม ดูดซึมอำหำรไมไ่ ด้ ลำไส้เกิด
เป็นแผลเรอ้ื รัง ทำใหท้ ้องรว่ ง กำรทลี่ ำไส้เป็นแผลเปน็ โอกำสให้เชอื้ โรคเข้ำทำอันตรำยได้งำ่ ย ไก่จะแสดงอำกำร

111

โตช้ำ ผอม แคระแกรน็ หนำ้ ซดี ไข่ฟองเลก็ ลง
การปอ้ งกันรกั ษา
- ทำควำมสะอำดเลำ้ และกรงก่อนย้ำยไก่
- กำรรักษำใช้ยำเมลแดน (Meldane) ขนำด 3 ปอนด์ต่ออำหำร 1 ตัน ให้กินนำน 14 วัน
- ให้ไวตำมินเอเพ่มิ ขึน้ ในอตั รำ 12 ล้ำนไอยตู ่ออำหำร 1 ตนั

(3) พยาธิไส้ตัน (Cecal worm; Helterakis gallinarum) เป็นพยำธิท่ีพบในไส้ตัน ตัวแก่มคี วำมยำว
ประมำณ 1-1.5 เซนติเมตร พยำธิชนิดน้ีไม่มีพำหะช่ัวครำว ไก่ได้รับพยำธินี้โดยกำรกินไข่พยำธิเข้ำไปโดยตรง
ตัวออ่ นของพยำธชิ นดิ นจี้ ะเข้ำไปเจริญอยู่บรเิ วณเยือ่ บุไส้ตนั ทำใหไ้ สต้ ันช้ำบวมและอักเสบอย่ำงรุนแรง ไกป่ ่วย
มกั ไม่ค่อยแสดงอำกำร

การป้องกันรกั ษา
- ทำควำมสะอำดเลำ้ และบริเวณรอบๆ อย่ำงสมำ่ เสมอ
- ใชย้ ำถ่ำยพยำธิผสมอำหำรใหไ้ กก่ นิ

2. การสขุ าภบิ าลสตั วป์ กี
ในกำรเล้ยี งสตั วท์ กุ คนมีควำมตอ้ งกำรสัตวท์ ่ีมีสขุ ภำพดแี ละปรำศจำกโรค กำรท่สี ัตวเ์ ลีย้ งจะมีสขุ ภำพดี

ด้วยน้ันข้ึนอยู่กับกำรได้กินอำหำรท่ีมีคุณภำพดี กำรจัดกำรท่ีดี กำรสุขำภิบำลสัตว์ที่ถูกต้องและมีกำรป้องกัน
โรคท่ีดี เม่ือสัตว์มีสุขภำพดีจะทำให้ผู้เลี้ยงสำมำรถลดต้นทุนค่ำยำและค่ำรักษำลงได้ ทำให้สัตว์สำมำรถให้
ผลผลิตได้เต็มควำมสำมำรถ และทำให้ได้ผลตอบแทนสูง แต่จะทำอย่ำงไรผู้เลี้ยงถึงจะได้สัตว์สุขภำพดี จึงเป็น
ส่งิ ที่สำคัญมำกที่ผู้เลย้ี งต้องทำควำมเข้ำใจและปฏิบัติตอ่ สัตว์อย่ำงถูกต้องดว้ ย หลักของกำรสุขำภิบำลและกำร
ควบคุมปอ้ งกันโรค มดี ังต่อไปนี้

1) รกั ษำควำมสะอำดภำยในคอกและโรงเรือน โดยทำลำยเช้ือโรคดว้ ยกำรพ่นยำฆ่ำเชื้ออย่ำง
สม่ำเสมอและกำจัดมูลสัตว์ซ่ึงเป็นสำเหตุในกำรแพร่กระจำยของเชื้อและพยำธิ วำงตำแหน่งโรงเรือนให้
เหมำะสม อำกำศถ่ำยเทได้สะดวก

2) ดูแลเอำใจใส่ อำหำรและน้ำให้สะอำดและมีคณุ ภำพพอเพียง
3) วำงโปรแกรมวัคซีนป้องกันโรค ตำมระยะเวลำท่ีสัตวแพทย์แนะนำพร้อมทั้งจดบันทึก
ประวตั ิ กำรฉีดวคั ซีนและฉดี ซำ้ ตำมกำหนด
4) มกี ำรดูแลสขุ ภำพสัตว์อย่ำงสม่ำเสมอ หมั่นสงั เกตควำมผดิ ปกติต่ำง ๆ เชน่ ซึม กินนอ้ ยลง
เอำแต่นอน ขนหยอง ใหร้ ีบแก้ไขกอ่ นทจี่ ะเกิดปญั หำรนุ แรงขึ้น
5) เมื่อพบสัตว์ที่มีอำกำรผิดปกติหรือสงสัยว่ำเป็นโรคติดต่อให้แยกไว้ไมใ่ ห้สัมผัสกับสัตวป์ กติ
ทำควำมสะอำดโรงเรือนดว้ ยน้ำยำฆำ่ เชอ้ื และแจ้งเจ้ำหนำ้ ทป่ี ศุสัตวเ์ พื่อหำสำเหตตุ ่อไป
6) มีกำรทำบันทึกประวัติสัตว์เพ่ือให้ทรำบถึงสภำวะสุขภำพสัตว์และปัญหำท่ีอำจแฝงอยู่ใน
ฟำรม์ เพ่อื ประโยชน์ในกำรควบคมุ ป้องกนั โรค

112

เม่อื สตั วป์ ่วยและแสดงอำกำรผิดปกติ ผู้เลี้ยงควรสงั เกตวำ่ เปน็ อำกำรทำงระบบใด เชน่ ถ้ำสตั ว์ หำยใจ
หอบ มีน้ำมูก จำม ไอ จัดเป็นอำกำรทำงระบบหำยใจ ถ่ำยเหลว มีมูกเลือด จัดเป็นอำกำรทำงระบบ ทำงเดิน
อำหำร ปัสสำวะสีแดงหรือสีเหลืองเข้ม จัดเป็นอำกำรทำงระบบทำงเดินปัสสำวะเป็นต้น กำรจัด กลุ่มอำกำร
ทำงระบบต่ำง ๆน้ี ทำให้ง่ำยต่อกำรวินิจฉัยเบ้ืองต้น ข้อควรปฏิบัติเมื่อพบหรือสงสัยว่ำมีกำรระบำด ได้แก่

1) แจง้ เจ้ำหน้ำที่สตั ว์แพทยใ์ นท้องท่ีทนั ที
2) เจ้ำหนำ้ ที่ทร่ี ับผดิ ชอบเก็บตัวอยำ่ งเพ่ือส่งตรวจยนื ยันทำงห้องปฏิบตั กิ ำร
3) สตั วท์ ีต่ ำยควรนำไปเผำหรือฝัง ปอ้ งกันกำรแพรก่ ระจำยของโรค
4) แยกสัตว์ปว่ ยออกจำกฝงู และรีบรักษำ
5) ทำวัคซนี สตั วท์ ีอ่ ยใู่ นบริเวณใกลเ้ คยี ง เพอื่ ปอ้ งกันโรค
6) ห้ำมเคลื่อนย้ำยสัตว์ออกจำกบรเิ วณท่มี ีกำรระบำดของโรค
7) ทำควำมสะอำดและฆำ่ เชื้อสง่ิ ปูรอง (วัสดุรองพน้ื )

2.1 การปอ้ งกันและควบคุมโรคในสตั ว์
1) การป้องกันโรค (Prevent of Disease) หมำยถงึ กำรกระทำใด ๆ ทส่ี ำมำรถปกป้องสัตว์

ให้ปรำศจำกโรค ทั้งโรคติดเช้ือและโรคไร้เช้ือ และทำให้สัตว์มีสุขภำพดี ซึ่งอำศัยหลักในกำรป้องกันโรค
4 ข้นั ตอน

การป้องกันเช้ือโรคเขา้ สู่ฟาร์มสตั ว์ หมำยถึงกำรป้องกันมิให้เช้ือโรคที่อยู่นอกฟำร์มเข้ำสใู่ น
ฟำรม์ โดยวธิ ีกำรต่ำง ๆ ของกำรแพรก่ ระจำยของเช้ือโรค เชน่ สตั ว์พำหะนำโรค คน ยำนพำหนะ วัตถุดบิ อำหำร
สัตว์ น้ำ อุปกรณ์เคร่ืองมือ เครื่องใช้ เป็นต้น ซ่ึงสำมำรถป้องกันได้โดยกำรเข้มงวดเรื่องควำมสะอำด ถูก
สุขอนำมัย ระบบป้องกันทำงชีวภำพ เช่น กำรพ่นสเปรย์น้ำยำฆ่ำเช้ือโรค ของยำนพำหนะก่อนเข้ำสู่ฟำร์ม
บุคลำกรกอ่ นเขำ้ และออกฟำร์มควรเปลย่ี นชุดและอำบนำ้ ทำควำมสะอำดร่ำงกำยกอ่ นเข้ำสฟู่ ำร์ม อปุ กรณ์ก่อน
นำเข้ำสู่ฟำร์มต้องผ่ำนกำรฆำ่ เชอ้ื โรคก่อน มีระบบป้องกันสัตว์พำหะนำโรคเข้ำฟำร์ม เช่น รั้ว ตำข่ำย คลองนำ้
ควำมสะอำดรอบ ๆ ฟำร์ม ก็สำมำรถชว่ ยป้องกันโรคข้ำสฟู่ ำรม์ ได้

การปอ้ งกนั โรคเข้าสโู่ รงเรอื น หมำยถึงหำกมีกำรปนเปื้อนเชือ้ โรคเข้ำมำในเขตฟำร์ม จะตอ้ ง
มีระบบป้องกนั เช้ือโรคท่ีจะแพร่กระจำยจำกจุด ใดจุดหนึ่งในฟำร์มแพรไ่ ปยังจุดอื่น ๆ และป้องกันมิให้เชื้อโรค
เข้ำสูโ่ รงเรอื น โดยกำรใชร้ ะบบป้องกนั ทำงชวี ภำพของโรงเรอื น กำรพน่ สเปรย์นำ้ ยำฆ่ำเชอ้ื โรคกอ่ นเข้ำโรงเรือน
บ่อจุ่มเท้ำก่อนเข้ำและออกโรงเรือน ระบบบำบัดอำกำศ ตำข่ำยป้องกันแมลง ระบบกำจัดแมลง สัตว์พำหะนำ
โรค ควำมสะอำดถูกสขุ อนำมัยของอำหำรและน้ำก่อนนำเขำ้ โรงเรอื น อุปกรณข์ องแตล่ ะโรงเรอื นไม่ใช้ปะปนกัน
ก็จะสำมำรถทำใหล้ ดกำรปนเปอ้ื นของเช้อื โรคเขำ้ สูโ่ รงเรอื นได้

การป้องกันโรคเขา้ สู่ฝงู สัตว์ หมำยถึง กำรป้องกนั เช้ือโรคที่อยู่ภำยในโรงเรอื นเล้ียงสัตว์มใิ ห้
เขำ้ สู่ฝงู สัตว์ โดยอำศยั กลไกกำรปอ้ งกันโรค ดว้ ยระบบกำรปอ้ งกนั ทำงชวี ภำพ กำรพน่ ยำฆ่ำเชอื้ โรคในโรงเรือน
กำรจัดส่ิงแวดล้อมให้เหมำะสมกับสัตว์ในแต่ระยะของกำรเล้ียง อำหำรและน้ำดื่มต้องสะอำดและเพยี งพอกับ
ควำมต้องกำรของสตั ว์ในแต่ละระยะ กำรเฝำ้ ระวังโรคและสุขภำพของฝูงสตั ว์ กำรแยกสัตว์ปว่ ยออกจำกฝูงสัตว์

113

ปกติ กำรเล้ียงสัตว์แบบเข้ำหมดออกหมด (all in all out) กำรไม่เลี้ยงสัตว์ต่ำงอำยุในฝูงเดียวกัน สถำนที่
เดยี วกนั กำรทำควำมสะอำดรำงน้ำรำงอำหำร สงิ่ ปูรองให้สะอำดปรำศจำกเช้ือโรค จะชว่ ยปอ้ งกันเช้อื โรคมิให้
เขำ้ สู่ฝูงสตั วไ์ ด้

การป้องกันเช้ือโรคเข้าสู่ตัวสัตว์ หมำยถึง กำรป้องกันมิให้โรคท่ีสำมำรถเข้ำสูงฝูงสัตว์
(ปนเป้ือนในส่ิงแวดล้อมรอบๆ ตัวสัตว์) แพร่ระบำดเข้ำสู่ตัวสัตว์ได้ โดยอำศัยกระบวนกำรป้องกนั ทำงชีวภำพ
โดยกำรทำวคั ซนี ป้องกนั โรค กำรให้ยำปฏิชวี นะเพือ่ ป้องกันโรค กำรเสริมภูมคิ ุ้มกันโรคโดยกำรให้วติ ำมินละลำย
น้ำ หรือเสริมในอำหำร กำรกำจัดสัตว์ป่วยออกจำกสัตว์ที่เป็นปกติ กำรให้ยำถ่ำยพยำธิเพื่อป้องกันโรคพยำธิ
กำรควบคุมสัตว์พำหะนำโรค กำรดูแลสุขอนำมัยของอำหำรและน้ำ ส่ิงปูรอง อุณหภูมิ อำกำศ ควำมชื้น ก๊ำซ
แอมโมเนยี แสงสวำ่ ง ควำมหนำแนน่ ของฝงู สตั ว์ ก็สำมำรถช่วยปอ้ งกนั มใิ ห้สัตวไ์ ด้รับเชือ้ โรคเข้ำสู่ตัวสัตว์ได้

2.2 การควบคุมโรค
มวี ธิ กี ำรปฏิบัตหิ ลำยประกำรท่ีสำมำรถป้องกันไม่ให้สัตว์ป่วยเป็นโรคได้ ซึง่ ผ้เู ล้ียงสัตวเ์ ปน็ บุคคลแรกที่
จะทำให้สัตวไ์ มเ่ กิดโรคได้ ทั้งน้เี พรำะคนเป็นผ้ทู ีม่ ีบทบำทสำคัญ ถ้ำหำกเรำมีกำรจัดกำรกับสตั ว์ท่ีดี ดแู ลท้งั ด้ำน
นำ้ อำหำร วสั ดุอุปกรณ์ รวมทัง้ จดั ส่ิงแวดล้อมให้เหมำะสมกบั สัตว์แล้วสัตวก์ จ็ ะไมเ่ กดิ โรค กำรปอ้ งกนั กำรเกดิ
โรคในสัตวท์ ำไดด้ ังน้ี
1) ป้องกนั ไมใ่ หม้ กี ารสัมผัสระหวา่ งสตั ว์ป่วยกับสตั ว์ดี ผ้เู ล้ียงสัตว์สำมำรถปฏิบัตไิ ด้ดังนี้

(1) ควบคุมและเข้มงวดในกำรนำสัตว์หรือส่วนอ่ืน ๆ ของสัตว์จำกต่ำงประเทศเข้ำมำใน
ประเทศ โดยเฉพำะประเทศท่ีมโี รคระบำด รวมทัง้ อำหำรสตั วแ์ ละผลิตภณั ฑ์จำกสัตว์ดว้ ย

(2) ควบคุมและเข้มงวดกำรเคลื่อนย้ำยสัตว์หรือชิ้นส่วนของสัตว์ภำยในประเทศ ต้องมีกำร
กักกันสัตว์

(3) ทำลำยสตั วป์ ่วยหรอื สงสยั ว่ำป่วยให้หมด
(4) กำจัดพำหะของโรค
(5) ทำกำรฆำ่ เชอื้ โรควัตถุหรอื สงิ่ ของที่ตดิ เช้อื ได้แก่

- กวำด ถู เช็ด ล้ำง วตั ถสุ ิ่งของที่ติดเชอื้
- ทำลำยเชือ้ โรคโดยกำรพน่ ยำฆำ่ เชือ้
(6) มีกำรป้องกันโดยกำรจัดกำรเก่ียวกับโรงเรือน ใช้ระบบมำตรฐำนฟำร์มบังคับใช้กับทุก
ฟำร์ม
2) การสรา้ งภูมคิ ุ้มกันโรคหรือสรา้ งความต้านทานโรคใหก้ ับสัตว์ โดยกำรทำวัคซีน (vaccine) ใหก้ บั
สัตวต์ ำมชนิดและวันทก่ี ำหนดโดยเคร่งครดั
3) การรักษาสัตว์ท่ีป่วย โดยกำรแยกสัตว์ป่วยออกขังต่ำงหำกเพือ่ ป้องกันไมใ่ ห้ สัตว์ป่วยเป็นตัวแพร่
เชอ้ื ไปสปู่ กติ

114

2.3 การทาความสะอาดฆา่ เชื้อโรงเรอื นและอปุ กรณ์
กำรทำควำมสะอำดโรงเรือน เป็นกำรจัดกำรด้ำนสุขำภิบำลท่ีดีอย่ำงหนึ่งในฟำร์มเล้ียงสัตว์

เพ่ือตัดวงจรของเช้ือโรคและช่วยป้องกันโรคท่ีจะเกิดกับสัตว์ไดอีกทำงหน่ึงด้วย กำรทำควำมสะอำดโรงเรือน
โดยกำรใชน้ ำ้ ลำ้ งพืน้ โรงเรือนเพียงอย่ำงเดียว จะช่วยทำใหเ้ ชอื้ โรคถกู เจือจำงลงไปบ้ำง แตไ่ มสำมำรถทีจ่ ะกำจัด
เชื้อโรคไดหมด สวนกำรทำควำมสะอำดโดยกำรใช้น้ำยำฆ่ำเชื้อเพียงอย่ำงเดียวไม ไดผลดีเต็มท่ี ในที่น้ีจะ
ยกตัวอยำ่ งกำรกำรทำควำมสะอำดโรงเรือนและอปุ กรณเ์ ล้ียงสุกร ซ่งึ มขี ้นั ตอนดงั น้ี

1) ปดกวำดหยำกไยแ่ ละฝุ่นละอองตำมหลังคำ เสำ ฝำผนัง เพดำน พัดลม และ แผงรังผ้งึ (ใน
โรงเรือนปดิ ) ออกใหห้ มด

2) ใชพ้ ล่วั แซะตักมลู สุกรและเศษอำหำรใสรถเขน็ นำไปเททลี่ ำนตำก
3) ใช้สำยยำงพรอมหวั ฉีดทำกำรฉีดนำ้ ล้ำงพ้นื คอกให้ทัว่ ทุกซอกทกุ มมุ ร่วมกับกำรใช้แปรงขัด
พน้ื คอกและฝำผนังให้สะอำดไมมีครำบสงิ่ สกปรกหลงเหลืออยู่ (อำจใชผ้ งซักฟอกชว่ ย) แลว้ ให้นำ้ สะอำดล้ำงอีก
ครง้ั กวำดพน้ื คอกด้วยไมกวำดทำงมะพร้ำว กวำดไล่นำ้ และสงิ่ สกปรกตำมแนวลำดเอยี งให้แหง ทำควำมสะอำด
ซำ้ เพ่ือใหพ้ ้นื คอกสะอำดโดยเนน้ ตำมซอกมมุ แลว้ ปลอ่ ยใหพ้ น้ื แหง้
4) รำงอำหำรและรำงนำ้ ที่ถอดไมได้ควรลำ้ งให้สะอำดและปลอ่ ยทิ้งไว้ให้แหง้ อยเู่ สมอ
5) ใช้น้ำละลำยโซดำไฟควำมเขม้ ขน้ 5 เปอรเ์ ซน็ ต์ เทลำดใหท้ ่ัวบริเวณรวมทั้งฝำผนงั คอกด้วย
ท้งิ ไวสกั ครู่แล้วจึงล้ำงนำ้ เปลำ่ อีกครัง้
6) ใช้น้ำยำฆ่ำเช้ือโรคพน่ หรือรำดให้ท่วั ในอัตรำส่วนที่กำหนดในฉลำกหรอื อำจใชป้ ูนขำวโรย
บำง ๆ หรือใช้น้ำละลำยปูนขำวในอัตรำส่วนน้ำ 4 ส่วนต่อปูนขำว 1 สวน ลำดให้ทั่วเพ่ือทำให้กำรทำควำม
สะอำดเปน็ ไปอย่ำงมีประสทิ ธิภำพดียงิ่ ข้ึน
7) บรเิ วณรอ่ งน้ำควรกวำดล้ำงและลำดดว้ ยนำ้ ละลำยโซดำไฟ
8) ทำกำรลำ้ งและจัดเกบ็ เครื่องมอื และอปุ กรณ์ท่ีใชท้ ำควำมสะอำดให้เรียบรอ้ ย
9) เม่ือจะนำสุกรเข้ำมำเลี้ยงต้องทำกำรล้ำงด้วยนำ้ สะอำดอีกคร้งั (โดยเฉพำะคอกท่ีโรยหรือ
ลำดปนู ขำวไว เพรำะสุกรอำจแพป้ นู ขำวทำให้ผิวหนังอักเสบได้) ถ้ำพักคอกไวน้ ำนอำจพน่ นำ้ ยำฆ่ำเช้ือโรคซำ้ อีก
คร้ัง ปล่อยทงิ้ ไวใ้ หแ้ ห้งจงึ นำสกุ รเขำ้ คอก
10) ซ่อมแซมโรงเรือน ไม้ก้ันคอก รำงอำหำร รำงนำ้ ที่ชำรดุ ให้อยใู่ นสภำพใช้งำนได้

กำรทำควำมสะอำดโรงเรอื นและกำรฆ่ำเช้ือควรทำทุก 2 สัปดำห์หรือ 4 สัปดำห์ต่อ 1 คร้ัง เป็นอย่ำง
ต่ำ ซึ่งจะช่วยให้สำมำรถป้องกันเช้ือโรคท่ีก่อให้เกิดควำมเสียหำยต่อสุกรได้ กำรใช้น้ำยำฆ่ำเชื้อโรงเรือนควรใช้
เป็นระยะเวลำท่ีนำนพอสมควร 1-1½ ป แล้วจึงเปลี่ยนน้ำยำฆ่ำเชื้อชนิดอ่ืน เมื่อเห็นว่ำสุกรได้รับกำรติดเช้ือ
หรือสุขภำพไมดี แตไ่ มค่ วรใช้น้ำยำฆ่ำเชอ้ื หลำยชนดิ ในเวลำเดียวกัน เพรำะเมือ่ ใช้น้ำยำฆ่ำเช้ือไประยะหนึ่งเช้ือ
โรคจะมคี วำมต้ำนทำนต่อนำ้ ยำฆำ่ เชอื้ เมอ่ื เปลยี่ นนำ้ ยำฆำ่ เชอ้ื จะทำใหเ้ ช้อื โรคตำย

115

ถำ้ ใช้น้ำยำฆำ่ เช้ือหลำยชนิดในเวลำเดยี วกัน เช้ือโรคจะสรำ้ งควำมต้ำนทำนต่อนำ้ ยำฆำ่ เช้ือได้ ทำให้ไม่
สำมำรถใช้น้ำยำฆ่ำเชื้อตัวใดได้อีก ซ่ึงจะทำให้กำรจัดกำรทำควำมสะอำดฆ่ำเช้ือเป็นไปอย่ำงไม่มีประสิทธิภำพ

หำกต้องกำรรมควนั โรงเรือนควรหำผ้ำพลำสติกหรอื ผ้ำใบหรอื สังกะสีมำปดิ โรงเรอื นให้มิดชิดเสียกอ่ น
กำรรมควนั ใช้น้ำยำฟอร์มำลีนในอัตรำส่วนน้ำยำฟอรม์ ำลีน 40 มลิ ลลิ ิตร ผสมดำ่ งทบั ทมิ 20 มลิ ลลิ ติ ร ตอ 100
ลกู บำศกฟ์ ุต นำน 24 ชัว่ โมง

ส่งิ ทใี่ ช้ฆ่ำเชื้อโรค แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ สำรฆำ่ เช้อื อย่ใู นรปู สำรละลำย และสำรฆ่ำเชื้อทเ่ี ป็นผง เชน่
ปนู ขำว โซดำไฟ กำรฆำ่ เช้อื โรคภำยในโรงเรือนทำไดหลำยวธิ ีดังนี้

1) กำรใช้นำ้ ยำฆ่ำเชือ้ ผสมน้ำแลว้ ทำกำรฉีดพ่น
2) กำรใชน้ ้ำยำฆ่ำเชอื้ เทลำดบริเวณท่ีคำดวำ่ จะมเี ชื้อโรค
3) กำรใชส้ ำรฆำ่ เชอ้ื โรคโรยหรอื ละลำยน้ำลำดใหท้ ัว่ บรเิ วณท่ตี ้องกำรฆำ่ เชอ้ื

กำรทำควำมสะอำดรอบโรงเรือนและกำรกำจัดแมลงวันบริเวณรอบคอกและโรงเรือนหำกมแี ปลงหญ้ำ

สำหรับให้สุกรเดินออกกำลังกำยหรือกิน ควรทำกำรตัดหญำ้ ไม่ให้สูงเกินไป ของเสียและน้ำล้ำงคอกอย่ำปลอ่ ย

ลงแปลงหญ้ำ ควรสร้ำงบ่อเกบ็ นำ้ เสียอยู่ที่ปลำยร่องทำงนำ้ ท้ิง บ่อเก็บน้ำเสียต้องมฝี ำปิดมิดชิดและหลังคำบอ่

ต้องอยสู่ งู กวำ่ ระดับน้ำเสยี พอสมควร ไม่ควรตำ่ เกนิ ไปเพรำะจะทำให้กำรหมักของอุจจำระเกดิ รวดเร็ว คุณภำพ

ของอุจจำระในกำรใช้ทำปุ๋ยจะเสียไป กำรสร้ำงบ่อเก็บน้ำเสียช่วยทำลำยไขพยำธิและป้องกันแมลงวนั ลงไปไข่

ด้วย เพรำะภำยในบ่อน้ำเสียจะมีควำมร้อนประมำณ 105 องศำฟำเรนไฮต์ และมีก๊ำซมีเทนและก๊ำซไข่เน่ำ

ทำใหไ้ ม่เหมำะแก่กำรเจรญิ ของไขพ่ ยำธิ และตวั ออ่ นของแมลงวนั หมน่ั ตักอจุ จำระข้นึ มำตำกให้แห้งเพอื่ เก็บไว้

ทำปยุ สว่ นน้ำเสยี กป็ ลอ่ ยให้ไหลไปยงั บอ่ พกั น้ำทง้ิ และควรมีบ่อบำบัดน้ำเสยี ก่อนปล่อยออกนอกฟำรม์ บริเวณ

พน้ื ดนิ ของแปลงหญ้ำควรป้องกนั มิให้ไขพยำธิหรอื ตวั ออ่ นของพยำธิอำศยั อยู่ โดยโรยปูนขำวหรือน้ำละลำยด้วย

ปูนขำว

2.4 การทาความสะอาดอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ภายในโรงเรือน อปุ กรณภ์ ำยในโรงเรือน ไดแก ภำชนะใส่น้ำ

หรืออำหำร ช้อนตกั อำหำร กระบวยตักน้ำ พลั่ว ตองสะอำดปรำศจำกเชื้อโรค กำรทำควำมสะอำดภำชนะใส่น้ำ

และอำหำรทำไดดงั น้ี

1) ตักหรือกวำดเศษอำหำรออกใหห้ มด

2) ใช้น้ำสะอำดลำ้ งรำงน้ำและรำงอำหำรให้ทั่ว

3) ท้งิ ไว้ให้แหก่อนนำไปใช้

4) กำรใช้น้ำยำฆำ่ เชือ้ ลำ้ งหรือพ่นหรอื ลำดให้ทว่ั ทำควำมสะอำดนำนๆ ครัง้

5) ทงิ้ ไว้ 1-2 ชว่ั โมง จำกน้ันล้ำงดว้ ยนำ้ สะอำดอีกครัง้ หรอื เม่ือพบสุกรปว่ ยดว้ ย

6) ปลอ่ ยให้แห้งนำมำใชไ้ ด้ โรคระบำด

กำรเตรยี มน้ำยำฆ่ำเช้ือโดยใช้น้ำผสมนำ้ ยำฆ่ำเช้ือไลโซน (lysol) ควำมเข้มขน้ 2-3 เปอรเ์ ซ็นต์ หรอื น้ำ

ละลำยน้ำยำฟอรม์ ำลนี (formalin) ให้มีควำมเข้มขน้ 2 เปอรเ์ ซ็นต์

116

2.5 หลกั เกณฑ์การใช้ยาฆา่ เชอ้ื อย่างถูกต้อง
1) ยำฆำ่ เชอ้ื ต้องสัมผสั ตวั เชอ้ื โรค เช่น พนื้ ทจ่ี ะฆ่ำเชอื้ จะตอ้ งมกี ำรทำควำมสะอำดก่อนท่ีจะใช้

ยำฆำ่ เชื้อ ตลอดจนกำรเลอื กชนดิ และคำนงึ ปริมำณสำรอนิ ทรียบ์ รเิ วณที่จะใชด้ ว้ ย
2) ควำมเข้มข้นของยำฆ่ำเชื้อต้องได้ตำมกำหนดทุกจุดท่ีใช้ยำฆ่ำเช้ือ จะต้องมีอุปกรณ์หรือ

ภำชนะที่ใชส้ ำหรบั ชง่ั ตวง วัด ทั้งปรมิ ำณน้ำและปริมำณยำฆำ่ เช้ือ เพ่อื ให้ได้ควำมเขม้ ข้นตำมกำหนด
3) ระยะเวลำที่ยำฆ่ำเชื้อสัมผัสเช้ือ (Contact time) จะต้องเหมำะสมตำมชนิดของยำฆ่ำเชอ้ื

ที่ใชโ้ ดยท่วั ไปภำยในฟำรม์ แนะนำให้ท้ิงไวอ้ ย่ำงนอ้ ย 30 นำที ก่อนล้ำงยำฆำ่ เช้ือออก
4) อุณหภูมิและควำมชื้นท่ีใช้จะต้องเหมำะสม เช่น กำรรมควันต้องใช้อุณหภูมิ > 21 องศำ

เซลเซยี สและควำมชน้ื สมั พทั ธ์ > 75 เปอรเ์ ซ็นต์
5) กำรเก็บรักษำยำฆ่ำเชื้อตลอดจนภำชนะในยำฆ่ำเช้ือ ต้องเหมำะสมมีฝำปิด กันแดดฝนได้

เพือ่ ป้องกันยำฆำ่ เช้ือเสอื่ มคุณภำพ
6) ต้องมีกำรบันทึกกำรใช้ยำฆ่ำเช้ือกำรตรวจติดตำมอย่ำงสม่ำเสมอทุกจุดเพื่อให้เกิด

ประสทิ ธิภำพสมำ่ เสมอสงู
2.6 การทาวัคซีน
กำรทำวัคซีนมีวัตถุประสงค์เพ่ือป้องกันและควบคุมโรคระบำดที่สำคัญ โดยเฉพำะอย่ำงย่ิงโรคท่ี

ไม่สำมำรถจะทำกำรรักษำได้หรือโรคท่ียำกต่อกำรรักษำ ทำให้ไก่สร้ำงภูมิคุ้มโรคเกิดข้ึนในร่ำงกำย
ชนดิ ของวัคซีนแบง่ ออกเปน็ 2 ชนิด คือ

1) วัคซีนเชื้อเป็น (Lived or attenuated vaccine) เป็นวัคซีนท่ีเตรียมจำกเช้ือท่ีมีควำม
รนุ แรง แต่ถูกทำใหอ้ อ่ นกำลังลง (Attenuate) หรือถูกทำใหเ้ กิดกำรเปล่ียนแปลง (Mutate) ไปเปน็ จลุ ชพี ทไี่ ม่มี
ควำมรุนแรง ซง่ึ ไมส่ ำมำรถทำให้เกิดโรคได้ จลุ ชีพเหล่ำน้ีสำมำรถแบง่ ตวั เพิม่ จำนวนได้เมื่อเข้ำสู่ร่ำงกำย วัคซีน
บำงชนิดทำให้ไก่เกิดควำมเครียดหรือเกิดอำกำรแพ้วัคซีน วัคซีนเช้ือเป็นสำมำรถให้ไก่ทีละตัว (Individual)
โดยกำรหยอดตำหรือหยอดจมูก หรือให้ไก่เป็นกลุ่ม (Mass method) โดยกำรละลำยในน้ำดื่มหรือกำรสเปรย์
ทำให้ประหยัดแรงงำน วัคซีนเชื้อเป็นสำมำรถให้ควำมคุ้มโรคสูงแต่ถูกทำลำยได้ง่ำยโดยภูมิคุ้มโรคท่ีถ่ำยทอด
จำกแม่ และอำจทำให้เกิดโรคได้ถ้ำกำรทำวัคซีนและกำรทำลำยเศษเหลือจำกกำรทำวัคซีนไม่ถูกต้อง กำรเก็บ
รกั ษำก็ยุ่งยำกกวำ่ วัคซนี เช้ือตำย แต่มีรำคำถูก

2) วัคซนี เช้อื ตาย (Killed or inactivated vaccine) มกั เตรียมจำกเชื้อที่มีควำมรุนแรงท่ีถูก
ทำให้ตำยโดยทำงเคมีหรือฟิสิกส์ จุลชีพเหล่ำน้ีไม่สำมำรถแบ่งตัวเพ่ิมจำนวนได้เม่ือเข้ำสู่ร่ำงกำยจึงมีควำม
ปลอดภัย แต่ให้ควำมคุ้มโรคต่ำ วัคซีนเช้ือตำยจะให้โดยวิธีกำรฉีดเข้ำร่ำงกำยโดยตรงเท่ำน้นั สำรที่ใช้ผสมกับ
วคั ซนี จะเปน็ น้ำมัน (Oil-based) หรือ Aluminum hydroxide สำมำรถกระตนุ้ ให้เกดิ ภูมิคมุ้ กันได้ดี วคั ซีนเช้ือ
ตำยมีรำคำแพง แตเ่ ก็บรักษำง่ำย

117

กำรทำวัคซีนเป็นกำรเพิ่มควำมเครียดให้ไก่ท้ังโดยทำงตรงและทำงอ้อม ผลทำงตรงคือผลของ
วัคซีนท่ีเข้ำไปทำปฏิกิริยำต่ำงๆ ภำยในร่ำงกำยไก่ ทำให้ไก่เกิดกำรแพ้วัคซีนหรือเกิดภำวะเครียด
หลังจำกทำวัคซีนแล้ว ผลทำงอ้อมคือวิธีกำรทำวัคซีนและวิธีกำรต้อนจับไก่ ซึ่งผลท่ีเกิดข้ึนทำงตรงไม่
สำมำรถลดได้ แต่ผลทำงอ้อมสำมำรถลดได้ ดังนั้นจึงต้องเข้มงวดในขั้นตอนกำรทำวัคซีน โดยต้อนไก่ครั้งละ
น้อย ๆ จับไก่ด้วยควำมระมัดระวัง และทำวัคซีนด้วยควำมนิ่มนวล ถ้ำไม่ระมัดระวังจะมีผลทำให้ไก่
เกิดควำมเครียดสง่ ผลใหไ้ ก่แพ้วัคซีนมำกขนึ้ กำรทำวัคซนี มวี ธิ กี ำรดังน้ี

1) การหยอดตา หรือการหยอดจมูก (Intraocular; I/O or intranasal; I/N) เป็นกำรสร้ำง
ภูมิคุ้มกันเฉพำะท่ีเพ่ือป้องกันโรคที่เกิดกับระบบทำงเดินหำยใจ เช่น โรคนิวคำสเซิลและหลอดลมอักเสบ
โดยละลำยวัคซีนในน้ำยำละลำยวัคซีน (น้ำกลั่น) ท่ีอุณหภูมิห้อง กำรใช้น้ำเย็นจัดอำจทำให้เยื่อบุตำหรือ
จมูกอักเสบได้ ขวดท่ีใช้หยอดวัคซีนควรเป็นขวดมำตรฐำน เพ่ือให้ลูกไก่ได้รับวัคซีนครบโด๊ส กำรหยอด
ตำให้หยอดวัคซีน 1 หยดต่อไก่ 1 ตัว ลงไปในตำข้ำงท่ีเปิดของไก่รอจนกระทั่งวัคซีนซึมเข้ำไปประมำณ
1-2 วินำที กำรหยอดจมูกจะให้ผลดีกว่ำกำรหยอดตำ กำรหยอดให้ใช้นิ้วมือปิดรูจมูกไว้ข้ำงหน่ึง แล้วจึง
หยดวัคซีนในรูจมูกอีกข้ำงหน่ึง กำรใช้สีย้อมในวัคซีนจะช่วยในกำรตรวจสอบหรือจดจำไก่ที่ทำวัคซีนไป
แล้ว

ภาพท่ี 8.33 การทาวคั ซีนโดยการหยอดตา หรือการหยอดจมูก
2) การแทงปกี (Wing web; W/W) เปน็ กำรสรำ้ งภูมคิ มุ้ กันเฉพำะท่ีคือ บริเวณใตผ้ วิ หนงั เชน่
วคั ซีนปอ้ งกนั โรคฝีดำษเป็นวัคซีนที่มคี วำมเข้มข้นมำก เนอื่ งจำกใช้น้ำยำละลำยวคั ซนี เพยี งเล็กนอ้ ย และ
ใชเ้ ขม็ จุ่มวัคซีนครั้งละประมำณ 0.01 ซซี ี. โดยสงั เกตจำกกำรที่วคั ซีนเตม็ รเู ขม็ ทง้ั สองข้ำง แลว้ แทงเขม็
จำกทำงด้ำนล่ำงผำ่ นทะลุผนังของปกี ไก่ (Web of the wing) ภำยใน 7-10 วนั หลงั จำกทำวัคซนี จะ
เกดิ รอยสะเกด็ แผลทง้ั ด้ำนบนและด้ำนล่ำงของผนงั ปกี ไก่ซง่ึ เกดิ จำกกำรแทงเขม็ ผำ่ น แสดงวำ่ กำรทำ
วัคซีนน้นั ไดผ้ ล ในกำรทำวัคซนี ต้องระวงั อยำ่ ใหแ้ ทงผำ่ นขน กล้ำมเนอ้ื หรอื กระดกู

118

ภาพที่ 8.34 กำรทำวัคซีนโดยกำรแทงปีก
3) การฉีดเข้าใต้ผิวหนัง (Subcutaneous; S/C) เป็นวิธีท่ีนิยมใช้ในกำรทำวัคซนี ป้องกันโรคมำเรก็ ซ์
โดยฉดี เขำ้ ใตผ้ วิ หนงั บริเวณทำ้ ยทอยหรือฐำนคอ ทำใหก้ ำรสร้ำงภูมิคมุ้ กันเกิดข้ึนอยำ่ งชำ้ ๆ
4) การฉีดเข้ากล้ามเนื้อ (intramuscular; I/M) เป็นวิธีท่ีนิยมใช้กับวัคซีนชนิดเช้ือตำย ซ่ึงจะฉีด
เข้ำกลำ้ มเนอื้ ขำหรือกล้ำมเน้ือหน้ำอก ทำใหภ้ มู คิ ุ้มกนั เกดิ ข้ึนอยำ่ งรวดเรว็

ภาพที่ 8.35 กำรทำวัคซีนโดยกำรฉีดเขำ้ กลำ้ มเน้ือ
5) การละลายน้าด่ืม (Drinking water; D/W) เป็นวิธีที่ทำได้ง่ำยประหยัดแรงงำน และเหมำะ
สำหรับไก่กลุ่มใหญ่ ๆ แต่กำรสร้ำงภูมิคุ้มกันจะมีควำมผันแปรค่อนข้ำงมำก เน่ืองจำกไก่แต่ละตัวได้รับ
วัคซีนแตกต่ำงกันไป ดังน้ันจะต้องหยุดให้น้ำไก่เป็นเวลำอย่ำงน้อย 2 ช่ัวโมง ก่อนทำวัคซีนเพ่ือกระตุ้นให้
ไก่กระหำยน้ำ และกินน้ำผสมวัคซีนให้หมดภำยใน 2 ช่ัวโมง ระยะเวลำในกำรอดน้ำจะข้ึนอยู่กับสภำพ
อำกำศ อุปกรณ์ให้น้ำจะต้องมีเพียงพอสำหรับไก่จำนวน 2/3 ของเล้ำ สำมำรถเข้ำกินน้ำได้พร้อมๆ กัน
ถ้ำไม่พออำจเพิ่มเติมอุปกรณ์ให้น้ำขึ้นมำชั่วครำวสำหรับกำรนี้โดยเฉพำะ จุดน้ีถือว่ำเป็นส่วนท่ีสำคัญ
ที่สุด เพรำะควำมล้มเหลวจำกกำรให้วัคซีนวิธีนี้มักเกิดจำกระบบกำรให้น้ำที่ไม่ถูกต้องและอุปกรณ์ให้น้ำ
ไม่เพยี งพอ ปริมำณน้ำทใี่ ชล้ ะลำยวัคซีนจะผนั แปรไปตำมอำยุไกด่ งั นี้

- อำยุ 1 สัปดำห์ ใช้น้ำประมำณ 2-5 ลิตรต่อไก่ 1,000 ตวั
- อำยุ 2-4 สปั ดำห์ ใชน้ ำ้ ประมำณ 9-11 ลติ รต่อไก่ 1,000 ตวั

119

- อำยุ 5-7 สปั ดำห์ ใช้น้ำประมำณ 14-18 ลติ รตอ่ ไก่ 1,000 ตัว

- อำยมุ ำกกว่ำ 7 สัปดำห์ ใชน้ ำ้ 20-23 ลติ รตอ่ ไก่ 1,000 ตัว

เมอ่ื ถงึ กำหนดเวลำในกำรทำวคั ซีนจะต้องหยุดให้ยำและสำรฆำ่ เชอ้ื โรคในนำ้ ดื่มอย่ำงน้อย 24

ชั่วโมงก่อนและหลังกำรทำวัคซีนและควรผสมหำงนม (skimmed milk) เพื่อทำให้น้ำเป็นกลำงและช่วย

ยดื อำยุของวคั ซนี ให้นำนขน้ึ โดยใช้หำงนม 100 กรัมตอ่ น้ำ 30 ลติ ร

6) การสเปรย์ (Spray) เป็นวิธีท่ีนิยมใช้กันมำกสำหรับกำรทำวัคซีนครั้งแรกในลูกไก่อำยุ 1 วัน

เพ่ือป้องกันโรคติดเช้ือจำกไวรัสในระบบกำรเดินหำยใจ อำจสเปรย์ต้ังแต่ในโรงฟักหรือในโรงเรือนท่ีเลี้ยง

โดยสเปรย์ใส่ลูกไก่ที่อยู่ในกล่องเลย ลูกไก่จะได้รับวัคซีนผ่ำนทำงลูกตำหรือทำงจมูก เป็นวิธีท่ีทำ ได้

รวดเร็ว สำมำรถให้วัคซีนแก่ไก่จำนวนมำกๆ ในระยะเวลำอันส้ัน แต่ปริมำณวัคซีนที่ได้รับอำจแตกต่ำง

กันไป กำรสเปรย์ควรสเปรย์ให้พอหมำดๆ ไม่ควรให้ตัวลูกไก่เปียกโชก เมื่อสเปรย์วัคซีนเสร็จแล้วควรท้ิง

ลกู ไก่ไว้ 10-15 นำที เพอื่ ให้ตัวแห้ง

ภาพที่ 8.36 กำรทำวคั ซีนโดยกำรสเปรย์
2.7 ข้อควรระวงั ในการทาวคั ซนี

1) อุปกรณ์ที่ใช้ในกำรท ำวัคซีนต้องผ่ำนกำรฆำ่ เช้ือโดยถูกต้องก่อนนำมำใช้ กำรฆ่ำเชื้อทำได้
โดยกำรใช้ควำมร้อนอำจจะโดยกำรต้ม หรือนึ่งในหม้อควำมดันก็ได้ แต่ห้ำมฆ่ำเช้ือโดยใช้น้ำยำฆ่ำเช้ือ
เป็นอนั ขำด

2) ในกำรทำวัคซีนควรให้ไวตำมินหรือยำปฏิชีวนะหรือให้ทั้งสองอย่ำงควบคู่กันไปอย่ำงน้อย
เปน็ เวลำ 3 วัน คือ กอ่ นวนั ทำ 1 วัน วนั ทำวคั ซนี และหลงั วันทำ 1 วนั เพือ่ ช่วยลดควำมเครียดและป้องกันโรค
แทรกซ้อน วัคซีนบำงชนิด เช่น วัคซีนป้องกันโรคกล่องเสียงอักเสบจะทำ ให้ไก่เกิดอำกำรแพ้มำก
หลังจำกทำวัคซีนไปแล้ว 5-7 วัน ดังนั้นหลังจำกทำวัคซีนไปแล้ว 5-7 วัน จะต้องให้ยำปฏิชีวนะละลำย
น้ำเพ่อื ป้องกันโรคแทรกซอ้ น

120

3) กำรสร้ำงภูมิคุ้มกันหลังจำกทำวัคซีนไปแล้วจะต้องรอไปอีกระยะหนึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของ
วัคซีนท่ีทำควำมสำมำรถในกำรตอบสนองต่อวัคซีนของตัวไก่ อำยุและภูมิคุ้มกันโรคที่ได้รับจำกแม่
ดังน้ันระยะก่อนที่ไก่จะสร้ำงภูมิคุ้มกันขึ้นน้ัน จึงเป็นระยะท่ีอันตรำย ผู้เล้ียงจะต้องระมัดระวังอย่ำให้มี
โรคระบำดเกดิ ขน้ึ ในฟำร์ม

4) ควรทำวัคซีนไก่ทั้งหมดในฟำร์มพร้อมกันในคร้ังเดียวซึ่งถ้ำหำกไมส่ ำมำรถทำได้ให้แยกไก่
กลมุ่ ทท่ี ำวัคซนี กบั กลุ่มท่ีไมไ่ ด้ทำวัคซนี ออกจำกกันโดยเดด็ ขำด

5) ทำวัคซีนในไก่ท่ีมีสุขภำพแข็งแรง หลีกเล่ียงกำรทำวัคซีนในขณะไก่ป่วยหรือเกิด
ควำมเครียด

6) ควรซ้ือวคั ซีนจำกแหล่งท่ีเชื่อถอื ได้
7) ควรเก็บวคั ซีนไวใ้ นท่ีมืดและมีอุณหภมู ริ ะหว่ำง 2-8 o C วคั ซีนที่เปดิ ขวดแลว้ ควรใช้ให้หมด
ภำยใน 2 ชัว่ โมง
8) ขณะทำกำรขนส่ง ควรเก็บวัคซีนตำมอุณหภมู ทิ ่ีกำหนดโดยแชว่ ัคซีนไวใ้ นกระตกิ น้ำแขง็
9) หลีกเล่ียงกำรถูกแสงแดดเพรำะจะทำให้วัคซีนเส่ือมคุณภำพโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งวัคซีนเช้อื
เปน็ อำจถกู ทำไดโ้ ดยรังสีอลั ตรำไวโอเล็ต
10) หลกี เลย่ี งกำรฆำ่ เชอ้ื ทุกชนิดในนำ้ ตลอดชว่ งทที่ ำวัคซีน และในกรณีท่ีทำวคั ซนี ป้องกนั โรค
ท่ีเกดิ จำกเช้ือแบคทีเรียไมค่ วรให้ยำปฏิชวี นะใดๆ ท้ังกอ่ นและหลงั ทำวคั ซีนเป็นเวลำ 3 วัน
11) จดบันทึกรำยละเอียดต่ำง ๆ ของวัคซีนที่ทำ ได้แก่ ชื่อวัคซีน รุ่นท่ีผลิต บริษัทท่ีผลิต วัน
หมดอำยุ วนั ที่ใหว้ คั ซีน และรำยละเอยี ดอนื่ ๆ ลงในสมุดบันทกึ เพ่ือเปน็ หลักฐำน
12) ทำลำยขวดและวัคซนี ท่เี หลือหลงั กำรใช้ใหห้ มดโดยกำรเผำทงิ้
13) ห้ำมทำวัคซนี ภำยใน 21 วนั กอ่ นสง่ โรงฆำ่

121

ตัวอย่ำงโปรแกรมวัคซีนดังต่อไปน้ีเป็นกำรทำวัคซีนในไก่ชนิดต่ำงๆ ซึ่งโปรแกรมวัคซีนสำมำรถ
เปล่ียนแปลงวิธีกำรให้ตำมบริษัทผู้ผลิตและตำมควำมเหมำะสมของพื้นที่กำรเลี้ยงเช่นในแหล่งท่ีมีโรค
มำกอำจมกี ำรเพิ่มกำรใหว้ คั ซีนและยงั ขึน้ อยกู่ ับสำยพันธ์ขุ องโรคที่ระบำดดว้ ย

โปรแกรมวคั ซีนในไก่ไข่

อายไุ ก่ ชนิดวคั ซนี วิธที า หมายเหตุ
1 วัน มำเร็กซ์ ฉดี ใต้ผิวหนงั ทำจำกโรงฟัก
1 วัน หลอดลมอกั เสบ หยอดตำ ทำเมอ่ื ลกู ไก่ถงึ ฟำร์ม

10 วนั นวิ คำสเซลิ ลำโซตำ้ หยอดตำ ชนิดเชื้อเป็น
14 วนั กัมโบโร ละลำยนำ้
4 สปั ดำห์ นวิ คำสเซลิ + หลอดลมอกั เสบ หยอดตำ 1/2 โด๊ส ในพ้นื ทที่ ี่มีโรค
แทงปีก 1/2 โดส๊ ระบำดรุนแรง
ฝีดำษ ฉดี เขำ้ กล้ำม ชนดิ เชื้อเปน็
5 สัปดำห์ วัคซีนหวัด หยอดตำ ชนิดเชื้อตำย
หยอดตำ
กลอ่ งเสยี งอักเสบ ฉีดเข้ำกล้ำม ชนิดเชอ้ื ตำย
8 สปั ดำห์ นิวคำสเซลิ + หลอดลม หยอดตำ
ฉดี เขำ้ กล้ำม
นิวคำสเซลิ หยอดตำ
10 สปั ดำห์ กล่องเสยี งอกั เสบ ฉดี เข้ำกลำ้ ม
14 สปั ดำห์ วัคซีนหวัด ละลำยนำ้
ละลำยนำ้
หลอดลมอักเสบ ละลำยนำ้
16 สปั ดำห์ * อี.ด.ี เอส + นิวคำสเซิล ละลำยน้ำ
22 สัปดำห์ นิวคำสเซลิ + หลอดลมอักเสบ ละลำยนำ้
32 สปั ดำห์ นวิ คำสเซลิ + หลอดลมอกั เสบ ละลำยนำ้
40 สัปดำห์ นวิ คำสเซิล + หลอดลมอกั เสบ
48 สปั ดำห์ นวิ คำสเซลิ + หลอดลมอกั เสบ
56 สัปดำห์ นิวคำสเซิล + หลอดลมอกั เสบ
64 สัปดำห์ นวิ คำสเซิล + หลอดลมอักเสบ
ทม่ี า : กรมปศสุ ัตว์

122

โปรแกรมวคั ซีนสาหรบั ไก่เนือ้ มวี ัคซีนป้องกนั โรค 3 โรคในไกเ่ น้ือคือ นวิ คำสเซิล หลอดลมอักเสบติดต่อ
และกัมโบโร

 โรคท่ีทุกฟำร์มตอ้ งปอ้ งกันคอื นิวคำสเซิล
 โรคหลอดลมอกั เสบติดตอ่ และกัมโบโร มีทง้ั ฟำรม์ ท่ที ำและไม่ทำวัคซีน ตำมควำมจำเป็น

 เนอ่ื งจำกกำรเลี้ยงไก่เน้ือระยะสัน้ กำรให้วัคซีนน้อยชนิดและนอ้ ยครงั้ ท่ีสุดจะดีท่ีสดุ เช่น
- อำยุ 1 วนั ใหว้ ัคซีนหลอดลมอักเสบตดิ ต่อรว่ มกบั วัคซีนนิวคำสเซลิ ชนิดเชอ้ื ตำย
- อำยุ 7-12 วัน ใหว้ ัคซีนนิวคำสเซิลชนดิ เชือ้ เป็นหรอื อำจให้เปน็ วัคซนี รวม (นวิ คำสเซิล+

หลอดลม)
- อำยุ 2 สัปดำห์ วคั ซนี กมั โบโร แตถ่ ้ำฟำร์มทมี่ ีปัญหำโรคกมั โบโรอำจจำเป็นต้องให้วคั ซีนเรว็

ขึน้ ซง่ึ อำจพิจำรณำให้เมือ่ ไกอ่ ำยุ 5-7 วัน หรอื ถ้ำจำเปน็ มำกอำจให้ 2-3 ครงั้ โดยแต่ละครง้ั ห่ำงกนั 5-10 วนั

3.7 การปฏบิ ตั ิเมอื่ ไกเ่ ปน็ โรค เมอื่ พบว่ำไกใ่ นฝูงหรือมตี ัวใดตัวหนึง่ ป่วยเป็นโรคตอ้ งปฏิบตั ดิ ังตอ่ ไปนี้
1) จัดกำรเผำหรือฝงั ไก่ที่ตำยหรอื กำลงั จะตำยเสีย ถำ้ ฝงั ควรฝังให้ลกึ พอสมควรแล้วโรยทับ

ด้วย ปนู ขำวหรอื รำดน้ำยำฆำ่ เชอ้ื โรค
2) รีบแยกไก่ปว่ ยออกไปให้หำ่ งจำกไกท่ ี่ยังไมป่ ่วย ถ้ำทำไดค้ วรแยกเลี้ยงในโรงเรือนต่ำงหำก

ใหไ้ กลจำกพวกไกท่ ่ยี งั ไม่ป่วย
3) ย้ำยไกท่ ย่ี งั ไม่เป็นโรคทอ่ี ยใู่ กล้เคียงไปอย่ทู ี่อน่ื ชัว่ ครำว เพ่ือทำควำมสะอำดและฆ่ำเชือ้ โรค

ในโรงเรือนและอุปกรณท์ ใี่ ช้เลีย้ งไกท่ ุกช้นิ ด้วยน้ำยำฆำ่ เชอื้ ในระดบั เข้มข้น
4) ทำกำรตรวจวนิ จิ ฉยั โรคโดยเร็วท่สี ุดแลว้ ทำกำรรักษำ ให้ยำรักษำโดยกำรละลำยนำ้ ใหก้ ิน

หรือผสมในอำหำรให้กินในเวลำเดียวกนั ควรใช้ยำปฏิชวี นะหรอื อิเล็กโทรไลต์ละลำยน้ำให้ไก่กนิ เพ่อื ชว่ ยให้กำร
รักษำได้ผลดีย่ิงขน้ึ

5) แยกคนเลีย้ งไก่ปว่ ยและไก่ท่ียังไมป่ ่วยออกต่ำงหำก ถำ้ จำเป็นต้องใช้คนๆ เดยี วกนั ควรให้
เลีย้ งไกท่ ่ียังไม่ป่วยกอ่ นแล้วจงึ ไปเลย้ี งไกป่ ว่ ย และควรใชเ้ ส้อื ผ้ำคนละชดุ โดยเฉพำะรองเท้ำ ควรเปล่ียนและต้อง
ล้ำงมือทำ้ งเท้ำดว้ ยนำ้ ยำฆำ่ เชื้อทุกครัง้ ท่ีออกมำจำกโรงเรอื นทีเ่ ลี้ยงไก่ป่วย

6) ในระหว่ำงท่ีไก่ในฟำร์มกำลังเป็นโรคควรหำทำงป้องกันกำรแพร่ของเช้ือโรคด้วยกำรทำ
ควำมสะอำด รำดยำฆ่ำเช้ือโรคให้ท่ัวบริเวณและทำควำมสะอำดรำดน้ำยำฆ่ำเชื้อโรค รำงน้ำ รำงอำหำร เป็น
ครงั้ ครำวด้วย

7) เพอ่ื ปอ้ งกนั โรคแพรร่ ะบำดทำงน้ำ ควรใช้ยำฆ่ำเชอื้ โรคชนิดท่ีสำมำรถละลำยนำ้ ให้สัตว์กิน
ได้ ผสมในน้ำให้สตั วก์ นิ ตลอดเวลำ

8) ถ้ำเลี้ยงไก่ในกรงหลำยช้ัน ควรกวำดมูลไก่ทุกวัน เพ่ือป้องกันกำรแพร่เช้ือโรคอีกทำงหน่งึ
หรอื รำดน้ำยำฆำ่ เชอ้ื ท่ีมลู ไกถ่ ำ้ เป็นไก่ขงั กรงตบั

123

9) หลังจำกทำควำมสะอำด รำดด้วยนำ้ ยำฆ่ำเชื้อแล้วพักเลำ้ ไว้ประมำณ 30 วัน จงึ คอ่ ยนำไก่
เข้ำเล้ำใหม่

3. การจดั การของเสยี ในฟารม์ สัตวป์ ีก
กำรจัดกำรของเสียในฟำร์มสัตวป์ ีก (Waste management) ของเสียจำกฟำร์มสัตว์ปีกนับวันจะย่ิงมี

ผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมมำกข้ึน เน่ืองจำกมีกำรขยำยฟำร์ม เลี้ยงสัตว์ปีกให้ใหญ่ขึ้น เล้ียงสัตว์ปีกจำนวนมำก
ข้ึน ของเสียจำกฟำร์มที่มีผลกระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ซำกไก่ตำย กลิ่นรบกวน และมีส่ิงที่อำจ
กอ่ ใหเ้ กดิ ควำมรำคำญ เช่น หนู แมลงวัน ฯลฯ และส่งิ ที่ ก่อให้เกดิ มลพิษทำงน้ำและอำกำศ ฯลฯ มลพิษที่เกิด
จำกฟำรม์ สตั ว์ปีก ไดแ้ ก่

1. มลู (Manure)
2. กล่ิน (Odors)
3. เสียง (Noise)
4. ขน (Feathers)
5. ส่งิ ปนเปือ้ นในอำกำศ เช่น ฝุ่น ก๊ำซ และสำรเคมตี ำ่ ง ๆ
6. น้ำทิ้ง (Water runoff)
7. แมลงและหนู (Insects and rodents)
8. ซำกไก่ตำย (Dead birds)
9. ขยะจำกโรงฟักไข่ (Hatchery debris) เช่น เปลือกไข่ฟัก ไข่ตำยโคม ลูกไก่ตำยและคัดท้ิง
ฯลฯ
10. ฝนุ่ จำกโรงงำนอำหำรสตั ว์ (Dust from feed manufacturing plants)
11. ของเสียจำกโรงงำนแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์สัตว์ (Processing plants wastes)
12. ควันจำกท่อไอเสียและเสียงเครื่องยนต์ในโร งงำน (Exhaust from internal
combustion engines)
13. ทัศนยี ภำพที่ไมน่ ำดู (Unsightliness) เชน่ ขยะมลู ฝอย ซำกสตั วต์ ำยทกี่ ระจำยเกลื่อนทั่ว
พื้นที่ เป็นต้น
14. สำรเคมีตกค้ำงในเนื้อเย่ือและไข่ (Toxic chemical residue in tissue and eggs)
15. แสงสว่ำง (Light) จำกหลอดไฟฟ้ำในโรงเรือนและในบรเิ วณฟำร์ม

3.1 มูลไก่และการกาจัด ถ้ำเป็นฟำร์มขนำดเล็กเล้ียงไก่ไม่มำกนักกำรจัดกำรมูลสำมำรถทำได้ง่ำย
แต่ถ้ำเป็นฟำร์มขนำดใหญ่ เลี้ยงไก่จำนวนมำกอำจจะหลำยหมื่นถึงหลำยแสนตัวกำรกำจัดมูลก็จะเป็นปัญหำ
มำก มูลไก่ท่ีขับถ่ำยออกมำไม่ว่ำจะคิดเป็นน้ำหนักหรือคิดเป็นปริมำตรจะมีควำมผันแปรอย่ำงมำกตั้งแต่
ประมำณ 35 % จนถึง 145 % ของปริมำณอำหำรท่ีกินเข้ำไปขึ้นกับว่ำวัดเป็นน้ำหนักหรือวัดปริมำตร ถ้ำช่ัง
น้ำหนักทันทีหลงั จำกที่ไก่ขบั ถ่ำยมูล ออกมำกจ็ ะได้น้ำหนกั ที่มำกกว่ำ เนื่องจำกมูลยงั มีควำมช้นื สงู ซ่ึงไก่ 1 ตัว
จะขับถ่ำยมูลออกมำประมำณ 140-195 กรัม/วัน (น้ำหนักมูลสด) ซึ่งจะมีน้ำหนกั ประมำณ 1.45 เท่ำน้ำหนัก

124

อำหำรท่ีกินเข้ำไป ส่วนในไก่ไข่จะขับถ่ำยมูลออกมำเฉล่ีย 122 กรัม/ตัว/วัน ซึ่งมีปริมำณเกือบเท่ำกับปริมำณ
อำหำรที่กินเข้ำไปในแต่ละวัน ไก่จะขับถ่ำยมูลออกมำประมำณ 35 % ของประมำณอำหำรที่กินเข้ำไป (มูลมี
ควำมช้ืน 59 %) ปัญหำเกี่ยวกับกำรกำจัดมูลไก่จะแตกต่ำงกันออกไปในแต่ละพ้ืนท่ี ข้ึนกับสภำพแวดล้อม
ลกั ษณะของ ภมู อิ ำกำศ ลักษณะทำงภมู ปิ ระเทศและกำรนำมูลไกไ่ ปใชป้ ระโยชน์ เชน่ กำรนำไปเปน็ ปยุ๋ สำหรับ
พืชไร่ ฯลฯ

กำรจัดกำรเพ่ือนำมูลไก่เป็นปุ๋ยสำหรับพชื มีกำรนำมูลไก่มำใช้เป็นปุ๋ยสำหรับพชื มำนำนแล้ว ซึ่งมูลไก่
เป็นแหล่งท่ีดีของอินทรียวัตถุและธำตุ อำหำรสำหรับพืช อย่ำงไรก็ตำมปัญหำของกำรใช้มูลไก่ ได้แก่ ปริมำณ
ธำตุอำหำรในมูลไก่แต่ละฝูง แต่ละโรงเรือนไม่คงที่ จึงเป็นกำรยำกที่เกษตรกรจะใช้ในพืชแล้วพืชจะได้รับธำตุ
อำหำรทถี่ กู ต้องแม่นยำตำมท่ีตอ้ งกำร ปริมำณธำตอุ ำหำรในมูลหรือในวัสดุรองพน้ื จะผนั แปรไปได้เนอ่ื งจำกชนิด
ของไก่ สตู รอำหำรทีใ่ ห้ไกก่ ิน วธิ กี ำรเลีย้ งดแู ลและจัดกำรมูล เป็นต้น

เหตุผลหนึ่งท่ีทำให้เกิดควำมผันแปรของปริมำณธำตุอำหำรในมูล ได้แก่ ควำมช้ืนท่ีต่ำงกัน มูลสด
อำจจะมีน้ำหรือควำมช้ืนมำกกว่ำ 70 % เมื่อมูลน้ันแห้งลงไม่เฉพำะแต่ควำมเข้มข้นของธำตุอำหำรต่อหน่วย
น้ำหนักเท่ำนั้นท่ีเปลี่ยนแปลง แต่ควำมเข้มข้นต่อหน่วยปริมำตรก็เปล่ียนแปลงด้วย เนื่องจำกมีกำร
เปลย่ี นแปลงโครงสรำ้ งของมลู ดว้ ย เมอ่ื เปรียบเทียบกบั มลู สด มลู แหง้ ทม่ี คี วำมชนื้ ประมำณ 30 % จะมีปรมิ ำตร
ลดลงประมำณ 50 % จำกปรมิ ำตรมูลสด กำรทำให้มูลไก่แห้ง มี 2 วิธีใหญ่ ๆ ได้แก่

1) การทาแห้งโดยใช้อปุ กรณ์ช่วย บำงฟำร์มใช้อุปกรณ์ช่วยในกำรทำแห้งเพือ่ ให้ได้มลู ไกไ่ ป
ทำเปน็ ปยุ๋ ทีม่ คี ุณภำพดี สำมำรถลดปรมิ ำตรและนำ้ หนกั มูลลงและสำมำรถป้องกนั ไม่ให้เกิดกำรย่อยสลำยโดย
แบคทีเรีย อันจะทำให้เกิดกลิ่นเหม็นได้ เครื่องทำแห้ง (Dryer) ที่มีจำหน่ำยในปัจจุบันจะใช้อุณหภูมิตั้งแต่
371-982 ° C (700-1,800 ° F) ระยะเวลำในกำรท ำแหง้ จะข้ึนอยกู่ บั อุณหภูมิท่ีใช้ ปรมิ ำณควำมช้นื ในมูล อัตรำ
กำรไหลผ่ำน ของมูลและควำมชื้นสุดท้ำยของมูลท่ีเรำต้องกำร เครื่องทำแห้งทั่วไปสำมำรถลดควำมชื้นในมูล
จำก 70 % ใหเ้ หลอื เพยี ง 10 % ไดภ้ ำยในเวลำเพียง 10 นำที

2) การทาแห้งโดยธรรมชาติ โดยกำรใช้แสงแดดชว่ ย นิยมใช้ในพนื้ ที่ที่มีฝนตกนอ้ ย กำรเลี้ยง
ไก่ไข่ขัง กรงและมีกำรเก็บกวำดมูลทุกวัน นำมูลมำเกลี่ยบนพื้นท่ีมีลดพัดผ่ำนได้ดี ซ่ึงถ้ำมีแดดและลมพัดดีจะ
สำมำรถ ลดควำมช้ืนในมูลจำก 75 % ให้ลงเหลือเพียง 20 % ภำยในเวลำ 2 วันเท่ำนั้น ถ้ำทำให้แห้งเร็ว
ปริมำณธำตุ ไนโตรเจนที่มีอย่ใู นมูลกจ็ ะยงั คงเหลอื มำก กรงไกไ่ ข่ที่ใช้ในปจั จุบนั บำงร่นุ จะมีสำยพำนลำเลียงมูล
วำงอยูใ่ ต้พนื้ กรงและจะมีพัดลมเป่ำด้วยเพ่อื ชว่ ยใหม้ ูลแห้งเร็วข้ึน

1) การใชป้ ระโยชน์จากมลู ไก่
(1) การทาปยุ๋ หมกั จากมูลไก่ (Composting manure) กำรยอ่ ยสลำยท่ีเกิดขน้ึ โดยจุลินทรีย์

ท่ีใช้อำกำศเป็นกระบวนกำรตำมธรรมชำติ ทำให้เกิดก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ น้ำและควำมร้อน หลังจำกกำร
ย่อยสลำยที่สมบูรณ์แล้วจะได้วัตถุที่มีลักษณะคล้ำยดิน มีฮิวมัส (Humus) เป็นส่วนประกอบสูง ในระหว่ำงท่ี
กระบวนกำรย่อยสลำยดำเนินอยู่นั้นจะเกิดกำรย่อยสลำย ไนโตรเจนเป็นก๊ำซแอมโนเนียระเหยข้ึนไปในช้ัน
บรรยำกำศ ดังน้ัน ภำยหลังจำกกำรย่อยสลำยที่สมบูรณ์แล้ว ปริมำณธำตุไนโตรเจนในมูลกจ็ ะลดลงและมกั จะ

125

เกดิ ปญั หำเก่ียวกบั กลนิ่ แอมโมเนียในระหว่ำงกระบวนกำรย่อย สลำย ปยุ๋ หมักสำมำรถทำจำกมูลไก่ทเ่ี ลีย้ งแบบ
ขังกรงหรือเลี้ยงบนวัสดรุ อง ของเสียจำกโรงฟัก เปลือกไข่และ ซำกไก่ตำย ซึ่งสำมำรถที่จะเปล่ียนจำกของเสยี
ไปเป็นผลพลอยไดม้ สี ำมำรถสรำ้ งมูลคำ่ เพมิ่ ได้

ข้นั ตอนการทาป๋ยุ หมัก ประกอบดว้ ย
1) ผสมเศษเหลือหรือของเสียจำกฟำร์มด้วยวสั ดุท่ีมีคำร์บอน (ฟำงข้ำว ซังข้ำวโพด ฯลฯ) ให้

เข้ำกันใน อัตรำส่วนของแหล่งคำร์บอน : ไนโตรเจน เท่ำกับ 20-25 : 1 ดังนั้น มูลสัตว์อย่ำงเดียวก็อำจจะทำ
เป็นปุ๋ยหมัก ไดถ้ ้ำหำกมีอตั รำสว่ นของคำร์บอน : ไนโตเจน เหมำะสม

2) เตมิ อำกำศเขำ้ ไป
3) รำดนำ้ เพื่อเพ่มิ ควำมช้ืนให้ได้ประมำณ 35-50 %
4) ตรวจสอบอุณหภูมิภำยในกองหมัก ในช่วงแรกอุณหภูมิจะเพ่ิมขึ้นสูงมำก เน่ืองจำกเกิด
กระบวนกำร ย่อยสลำยโดยจุลินทรีย์ ซึ่งจะใช้เวลำหลำยสัปดำห์ ถ้ำกระบวนกำรย่อยสลำยสมบูรณ์แล้ว
อุณหภมู ภิ ำยในกอง ปยุ๋ หมกั จะคงทีไ่ ม่เพมิ่ อุณหภมู ิขนึ้ ท้ังในขณะเก็บรักษำและขณะใช้งำน
ธาตอุ าหารในมลู ไก่ ปริมำณธำตุอำหำรทม่ี ีอยใู่ นมลู ไกจ่ ะขนึ้ อยกู่ บั หลำยปจั จยั ไดแ้ ก่
1) สว่ นประกอบทำงโภชนะของอำหำรที่ใชเ้ ล้ยี งไก่
2) อำยุและประเภทของไก่
3) วธิ กี ำรเก็บและกำรจดั กำรมูล
4) สภำพแวดลอ้ มทั่วไปภำยในโรงเรือน เช่น อุณหภูมิ ควำมชื้น อุปกรณใ์ ห้น้ำ ซ่ึงจะส่งผลต่อ
ควำมช้ืนในมูล คุณภำพของมูลไก่ส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับปริมำณควำมช้ืน ย่ิงทำให้มูลแห้งเร็วเท่ำไรปริมำณธำตุ
อำหำรก็จะยังคงมีอยู่สูง โดยเฉพำะอย่ำงย่ิงธำตุไนโตรเจนซึ่งจะระเหยไปในรูปของก๊ำชแอมโนเนียได้ง่ำยถ้ำมี
ควำมชน้ื และมกี ำรทำงำนของจลุ ินทรีย์

(2) การใช้มูลไก่เป็นอาหารสัตว์ มูลไก่นอกจำกจะนำไปใช้เป็นปุ๋ยสำหรับให้ธำตุอำหำรแก่
พืชแล้ว ยังมีกำรนำมูลไก่ไปเป็นอำหำรสัตว์เคี้ยวเอ้ืองด้วย เน่ืองจำกในมูลไก่จะยังคงเหลือส่วนประกอบของ
วัตถุดิบบำงชนิดท่ียังย่อยและดูดซึมไม่หมด เช่น สำรประกอบกลุ่มไนโตเจนท่ีไม่ใช่โปรตีน (Non-protein
nitrogen) ดังน้นั จึงสำมำรถนำมูลไก่กลบั มำใชเ้ ป็นอำหำรสัตว์ได้โดยสำมำรถใชเ้ ป็นอำหำรในโคที่ไม่ใหน้ ำ้ นมได้
แต่ใช้ในกลมุ่ สัตว์กระเพำะเดี่ยวจะไมด่ ี เนอ่ื งจำกมีโปรตนี แท้เหลืออยูค่ ่อนขำ้ งต่ำและมีปริมำณเถ้ำสงู จึงไม่คุ้มค่ำ
ทำงเศรษฐกิจ เน่ืองจำกกำร เจริญเติบโตจะลดลงและจำเป็นจะต้องเสริมอำหำรโปรตีนคุณภำพสูง อย่ำงไรก็
ตำมกอ่ นทีจ่ ะนำมลู ไกไ่ ปใช้จะต้องมกี ำรตรวจสอบกอ่ นว่ำไม่มีสิง่ แปลกปลอมท่จี ะเปน็ อันตรำยตอ่ สัตว์ปะปนมำ
ด้วย ดังน้ันกำรจะนำมูลไก่มำใช้เป็นอำหำรสัตว์นนั้ จะต้องมีกำรวำงแผนและกำรจัดกำรที่ดีเพ่ือให้ได้มูลไก่ทม่ี ี
ปริมำณโภชนะสูงและไม่มี กำรปนเปื้อนส่ิงแปลกปลอมและสำรเคมีตกค้ำงท้ังยำฆ่ำแมลง ยำปฏิชีวนะและยำ
กำจัดวชั พืช เศษโลหะ เศษ หิน หรอื เศษแก้ว ฯลฯ

126

2) การกาจดั ซากไกต่ าย ในระหว่ำงกำรเลย้ี งไกม่ กั จะมกี ำรตำยเกิดขึน้ เกือบทกุ วนั ซง่ึ กำรตำย
ของไกจ่ ะแบง่ ออกเป็น กำรตำยปกตทิ ่ีไม่เกิดจำกโรค กำรตำยจำกอบุ ัติเหตุและกำรตำยจำกกำรเกดิ โรคหรือไก่
คัดทง้ิ เปน็ ตน้ หลกั กำรจดั กำรไก่ซำกตำยมีข้นั ตอนดงั นี้

(1) ต้องเกบ็ ไก่ตำยและนำออกจำกกรงหรอื โรงเรือนทุกวัน
(2) ต้องเก็บไกต่ ำยไว้ในภำชนะที่ปิดมดิ ชิดเพ่ือป้องกันมิใหส้ ัมผัสกับสัตว์พำหะ เช่น แมลงวนั
แมลงปีก แข็ง สนุ ขั แมวและนกปำ่ เปน็ ต้น
(3) ต้องนำซำกไปเก็บหรือนำไปกำจัดในพ้ืนท่ีที่แยกออกต่ำงหำกซ่ึงอยู่ห่ำงจำกพื้นที่เล้ียงไก่
พอสมควร
(4) หลังจำกเก็บซำกไก่ตำยไปใส่ภำชนะหรอื นำออกไปจำกโรงเรือนแล้ว ผู้ปฏิบัติงำนจะต้อง
ล้ำงมือ ล้ำงอุปกรณ์ต่ำง ๆ ท่ีสัมผัสกับไก่ให้สะอำดและฆ่ำเช้ือ สำหรับพนักงำนให้เปล่ียนเส้ือผ้ำใหม่เป็นชุดท่ี
สะอำดก่อนเริ่มปฏิบัตงิ ำนใหม่
(5) บุคคลท่ปี ฏบิ ัติงำนเกยี่ วกบั ซำกไกต่ ำยหรอื พำหนะทบี่ รรทกุ ไก่ตำยออกไปทงิ้ หรือกำจดั จะ
ไม่อนุญำตให้กลับเข้ำมำในพ้ืนท่ีเล้ียงไก่อีกเด็ดขำด ยกเว้นจะต้องผ่ำนกระบวนกำรทำควำมสะอำดและฆ่ำเชือ้
แล้วเทำ่ น้นั ระบบกำรกำจัดซำกไก่ตำยจะต้องทำไว้ใหส้ ำมำรถกำจัดซำกไก่ได้เพียงพอ อย่ำงนอ้ ยทีส่ ุด ก็ในกรณี
ทีม่ ีกำรตำยอยใู่ นระดบั ปกตแิ ละจะต้องเผ่ือไว้อีกเล็กน้อยกรณีทมี่ อี ตั รำกำรตำยเพ่มิ ขึ้น

วิธีการกาจัดซากไกต่ าย กำรกำจัดซำกไก่ตำยมหี ลำยวธิ ีแตล่ ะวิธมี ขี อ้ ดแี ละขอ้ เสียแตกต่ำงกัน วธิ กี ำร
กำจดั ซำกแตล่ ะวธิ ี มีกำรดำเนนิ กำรดังน้ี

1) การฝัง (Burial) เป็นวิธดี ั้งเดิมที่นิยมใชก้ นั ในอดีตและปัจจบุ นั ยังใชก้ ันอยู่ในฟำร์มเล้ยี งไกข่ นำดเล็ก
แตใ่ นกรณที ่เี ปน็ ฟำรม์ ขนำดใหญก่ ำรกำจดั ซำกแบบนี้จะไม่เหมำะสมซึง่ อำจจะมีคำถำมว่ำซำกไก่ทีฝ่ ังน้ันอำจจะ
ทำให้น้ำใต้ดินปนเป้ือนได้ เกิดกล่ินเหม็นรบกวนและก่อให้เกิดแมลงที่สร้ำงควำมรำคำญ กำรฝังจะต้องฝังใน
ระดับลึกพอสมควร เช่น ควรขุดหลุมให้มีขนำดควำมกว้ำงประมำณ 50 เซนติเมตร และลึกประมำณ
50 เซนติเมตร หลุมฝังซำกจะต้องอยู่ห่ำงจำกแหล่งน้ำและจะต้องขุดไม่ให้ถึงระดับน้ำใต้ดินเพื่อป้องกันกำร
ปนเปอื้ นไปกับน้ำใตด้ นิ

2) การทิ้งในบ่อทิ้งซาก (Disposal pits) บ่อท้ิงซำกเป็นอีกรูปแบบหน่ึงของกำรฝังหลุม บ่อท้ิงซำก
ปกติมักจะทำให้มีควำมลึกประมำณ 3 เมตรและมีฝำปิดซึ่งอำจจะทำด้วยไม้หรือทำด้วยคอนกรีตเพ่ือป้องกัน
แมลงวันและสัตว์พำหะ กำรทิ้งซำกแบบนจี้ ะช่วยให้แบคทีเรียย่อยสลำยซำกไกไ่ ด้อยำ่ งรวดเร็ว กำรย่อยสลำย
จะเร็วขึ้นถ้ำหำกมีกำรสับซำกไกต่ ำยให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ ก่อนท้ิงลงบ่อท้ิงซำก กำรทำบ่อท้ิงซำกจะต้องให้อยใู่ นที่
ดอน น้ำท่วมไม่ถึง อยู่ห่ำงจำกบ้ำนพักอำศัยไม่น้อยกว่ำ 60 เมตร ห่ำงจำกแหล่งน้ำ บ่อน้ำหรืออ่ำงเก็บน้ำไม่
น้อยกว่ำ 90 เมตร และจะต้องอยู่ห่ำงจำกโรงเรือนเล้ียงไก่ไม่น้อยกว่ำ 8 เมตร ขนำดของบ่อท้ิงซำกจะต้อง
คำนวณใหเ้ หมำะสมกับอัตรำกำรตำยของไก่ในฟำรม์ โดยปกติขั้นตำ่ จะคำนวณไวป้ ระมำณ 1.4 ลกู บำศก์เมตร/
กำรตำยของไกจ่ ำนวน 1,000 ตัว/ปี

127

3) การเผา (Incineration) เป็นวิธีกำรท่ีดีที่สุดในกำรกำจัดซำกไก่ตำยแต่อำจจะต้องถูกตรวจสอบ

จำกหน่วยงำนภำครฐั ในท้องถิ่นเสียกอ่ น เนื่องจำกอำจจะก่อให้เกิดมลพิษทำงอำกำศได้ กำรเผำเป็นมำตรกำร

หน่ึงในระบบกำรป้องกนั ภัยทำงชีวภำพและไม่กอ่ ใหเ้ กดิ มลพิษทำงน้ำ ไม่เปน็ ทด่ี งึ ดดู สตั วพ์ ำหะและเถ้ำท่ีเหลือ

ก็กำจดั ได้งำ่ ย แต่กำรกำจัดซำกแบบนีม้ ีข้อเสยี คอื กำจดั ซำกไดช้ ้ำและใช้ตน้ ทนุ ในกำรดำเนนิ งำนสงู ถำ้ เตำเผำ

ซำกอยใู่ นตำแหนง่ ไมเ่ หมำะสม เชน่ อยู่เหนือลมอำจจะมกี ำรร้องเรยี นเรอื่ งกลิ่นรบกวนของชุมชนท่ีอยู่ใต้ลมได้

4) กำรนำไปกำจดั หรือกำรนำไปแปรรปู เพ่ือใช้ประโยชน์ (Rendering) ซำกไก่ทตี่ ำยเน่ืองจำกอัตรำกำร

ตำยปกติ คือ ไม่ได้ตำยเนื่องจำกกำรติดเช้ือโรคสำมำรถนำซำกไก่ไปใช้ประโยชน์เป็นผลพลอยได้จำกสัตว์

(Animal by-product) และใช้เป็นวัตถุดิบอำหำรสัตว์ซึง่ จะทำให้ลดปัญหำในกำรกำจัดซำกลงได้และเป็นกำร

สร้ำงมูลค่ำเพิ่มได้ เช่น กำรนำไปเป็นอำหำรเล้ียงจระเข้ ฯลฯ อย่ำงไรก็ตำมจะต้องมีกำรสุขำภิบำลและกำร

จัดกำรซำกไก่ตำยอย่ำงเป็นระบบและเหมำะสม ฟำร์มบำงแห่งจะมีกำรสร้ำงห้องเย็นหรือห้องแช่แข็ง สำหรับ

เก็บซำกไกต่ ำยเพอื่ รอกำรจำหน่ำยโดยเฉพำะ

5) การทาปุ๋ยหมัก (Composting) กำรนำซำกไกต่ ำยไปทำเป็นปุ๋ยหมักนยิ มทำกันมำกในกำรเลยี้ งไก่

กระทง ถ้ำมีกำรจัดกำรท่ีถูกต้องจะเป็นวิธีที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมมำกท่ีสุด ไม่มีปัญหำเก่ียวกับกล่ินและ

มลพิษทำงน้ำ นอกจำกน้ียังเป็นกำรสร้ำงควำมอุดมสมบูรณ์ของดินอีกด้วย ขั้นตอนกำรทำปุ๋ยหมักจำกซำกไก่

ตำย มขี ัน้ ตอนดังน้ี

(1) บดซำกไกต่ ำยและทำกำรคลุกเคล้ำชนิ้ สว่ นที่มีขนำดใหญก่ ับขนำดเลก็ ให้เข้ำกัน

(2) ควบคุมควำมช้ืนให้เหมำะสม คือประมำณ 60 % ถำ้ ควำมชน้ื ในกองปุ๋ยหมกั มำกกว่ำน้ีจะ

กอ่ ใหเ้ กิดกล่ินเหมน็ แต่ถ้ำควำมช้นื ตำ่ กวำ่ นจี้ ะทำให้กระบวนกำรยอ่ ยสลำยชำ้ ลง

(3) สัดส่วนของคำร์บอน : ไนโตรเจน จะต้องเหมำะสม เพ่ือให้กำรเจริญของแบคทีเรียและ

เชื้อรำดีท่ีสุด สัดส่วนท่ีเหมำะสมจะต้องอยู่ในช่วง 20-25 : 1 โดยกำรรักษำสัดส่วนของซำกไก่ตำยและแหล่ง

ของคำรบ์ อนโดยใชฟ้ ำงขำ้ ว ซงั ข้ำวโพด ใบไม้หรือหญำ้ ฯลฯ

(4) อุณหภูมิทีเ่ หมำะสม ในกระบวนกำรหมักและยอ่ ยสลำยโดยจุลินทรยี ์จะต้องมีอุณหภูมิอยู่

ระหว่ำง 54-66 ° C ถ้ำอุณหภูมิสูงกว่ำ 83 ° C หรือต่ำกว่ำ 49 ° C จะทำให้คุณภำพปุ๋ยหมักไม่ดีกำรเตรียม

ส่วนผสมและกำรจัดวำงซำกไก่ตำย แหล่งคำร์บอนและน้ำจะต้องจัดวำงเป็นชั้น ๆ โดยเร่ิมจำกมูลไก่แหล่ง

คำร์บอน (ฟำงข้ำวหรือซังข้ำวโพด ฯลฯ) ซำกไก่ตำย ทำสลับกันไปเร่ือย ๆ กำรวำงแต่ละช้ันจะต้องไม่ให้หนำ

เกิน 6-8 นิ้ว หรือ 15-20 เซนติเมตร หรือเหนำเท่ำกับควำมหนำของตัวไก่ท่ีวำงนอน โดยกำหนดสัดส่วนดังน้ี

- ซำกไก่ตำย 1.0 สว่ น โดยน้ำหนัก

- มลู ไก่ 1.5 สว่ น

- ฟำงข้ำว/ซังข้ำวโพด (แหล่งคำร์บอน) 0.1 สว่ น

- นำ้ 0.2 ส่วน

ในบำงกรณีกำรเพิ่มน้ำเข้ำไปอำจจะไม่จำเป็นเน่ืองจำกควำมช้ืนท่ีมำกเกินไปอำจจะทำให้เกิดกลิ่น

เหมน็ และเป็นมลพษิ ทำงอำกำศได้


Click to View FlipBook Version