บทท่ี 6
การจัดการเลย้ี งดูไก่ไข่ระยะต่างๆ
ครคู ธั รยี า มะลวิ ลั ย์
แผนกวชิ าสัตวศาสตร์
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชงิ เทรา
บทที่ 6
การจดั การเลี้ยงดไู ก่ไขร่ ะยะต่างๆ
การจัดการเลยี้ งดูไก่ไขเ่ ล็ก
หัวข้อเรอ่ื ง
1. การทาความสะอาดโรงเรอื นและอุปกรณ์
2. การจดั เตรียมวัสดุและอปุ กรณก์ อ่ นที่ลูกไก่จะมาถึงฟาร์ม
3. การจัดการเมื่อลกู ไก่มาถึงฟารม์
4. การกกลกู ไก่
5. การตดั ปากไก่
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายการทาความสะอาดโรงเรอื นและอปุ กรณ์ได้ถูกต้อง
2. จดั เตรยี มวัสดุและอปุ กรณ์กอ่ นทล่ี ูกไก่จะมาถงึ ฟาร์มไดถ้ ูกต้อง
3. ปฏิบตั ิเกยี่ วกบั การจัดการเมื่อลูกไก่มาถงึ ฟารม์ ไดถ้ ูกต้อง
4. กกลกู ไกไ่ ด้ถูกตอ้ งตามหลักการและกระบวนการ
5. การตดั ปากไก่ได้ถูกตอ้ งตามหลักการและกระบวนการ
เนือ้ หาการสอน
การผลิตไข่ไก่ของประเทศไทยได้มีการพัฒนามาเป็นลาดับ จนในปัจจุบันได้กลายเป็นธุรกิจการ
เลี้ยง ไก่ไข่เชิงการค้า จานวนไข่ไก่ท่ีผลิตได้ท้ังหมดมาจากพ่อ-แม่พันธ์ุ หรือปู่-ย่าพันธ์ุท่ีนาเข้าจาก
ต่างประเทศท่ีมีสภาพภูมิอากาศแตกต่างจากประเทศไทย ทาให้ต้องมีการจัดการเล้ียงดูไก่ไข่ท่ีดี เช่น การ
กกลูกไก่ การสุขาภิบาล การป้องกันโรค การควบคุมอุณหภูมิ การระบายอากาศ การใหแ้ สงสว่าง และการ
ให้อาหารไก่ไข่แต่ละช่วงอายุต้องการการจัดการท่ีแตกต่างกัน เพื่อให้สะดวกต่อการจัดการจึงได้มีการ
จดั แบ่งตามอายขุ องไก่ไขเ่ ป็น 3 ระยะ ดงั นี้
1. ไกเ่ ล็ก (chick) มอี ายรุ ะหว่าง แรกเกิดถึง 6 สปั ดาห์
2. ไกร่ นุ่ (pullet) มอี ายุระหวา่ ง 6 ถึงไก่ท้ังฝงู ไข่ได้ 5 เปอรเ์ ซ็นต์
3. ไก่ไข่ (layer) นับตง้ั แต่ไกท่ ั้งฝูงไข่ได้ 5 เปอรเ์ ซ็นต์
การเลีย้ งไกไ่ ขข่ องประเทศไทย แบ่งออกตามวิธนี าไก่เขา้ เลี้ยงได้เป็น 2 ลักษณะ คือ
1. ซ้ือลูกไก่อายุ 1 วัน มาเลี้ยง เป็นวิธีที่ต้นทุนการผลิตไก่ไข่ต่อตัวต่า แต่ผู้เล้ียงต้องมี
ความรู้และความชานาญในการจัดการไก่ไข่ระยะไก่เล็กและไก่รุ่นไข่เป็นอย่างดี และต้องมีงบประมาณใน
การลงทนุ ระยะยาว
2. ซื้อไก่รุ่นไข่อายุประมาณ 16-18 สัปดาห์มาเล้ียง วิธีนี้เป็นวิธีที่ให้ผลตอบแทนเร็ว ลด
ภาระในการจัดการเล้ยี งดูลูกไก่และไก่รุ่นไข่ แต่การลงทุนสูงในระยะแรก การติดต่อซื้อไก่รุ่นไขต่ ้องมกี ารสั่ง
จองกบั ฟาร์มทม่ี ีช่ือเสียงและต้องวางแผนการสงั่ จองล่วงหน้าเป็นปี
ปัจจุบันมีบริษัทท่ีผลิตไก่รุ่นที่มีคุณภาพจาหน่าย ผู้เลี้ยงไก่ไข่จึงนิยมใช้ทั้ง 2 วิธี ควบคู่กันโดยซ้ือ
ลูกไก่อายุ 1 วันมาเลี้ยงในโรงเรือนไก่เล็กที่มีอยู่แล้ว ส่วนการขยายการผลิตใช้วิธีซ้ือไก่รุ่นอายุ 16 - 18
สัปดาห์ จากฟารม์ ทเ่ี ชอื่ ถือได้มาเลย้ี ง
1. การจดั การไก่ไข่เล็ก
การจัดการไก่ไข่ระยะไก่เล็ก เป็นระยะที่มีความสาคัญอย่างยิ่ง เน่ืองจากเป็นระยะท่ีไก่ปรับตัวเข้า
กับสภาพแวดล้อมภายนอกที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาจนถึงระยะไก่รุ่น การจัดการระยะนี้ต้องจัดการ
เกีย่ วกบั โรงเรอื น อาหารและการให้อาหาร การกกลกู ไก่ การตดั ปากไก่ และการทาวคั ซีน
1.1 การจดั การโรงเรือนไกเ่ ลก็
โรงเรือนไก่เล็กต้องตั้งอยู่หา่ งจากโรงเรอื นไก่ไขอ่ ย่างน้อย 100 เมตร ทิศทางลมต้องไมพ่ ัดผ่านจาก
ไก่ไข่มายังไก่เล็กทุกฤดูกาล เพราะไก่เล็กติดเช้ือโรคที่แพร่ทางอากาศได้ง่าย โรงเรือนไก่เล็กควรมีร้ัว
ล้อมรอบห่างจากตัวโรงเรือนอย่างน้อย 30 เมตร และประตูร้ัวควรปิดตลอดเวลาเมื่อไม่ใช้ ควรแยก
พนักงานประจาโรงเรือนไก่เล็กจากพนักงานเล้ียงไก่รุ่นไข่หรือไก่ไข่ ฟาร์มต้องมีห้องอาบน้าและห้องเปลี่ยน
เสือ้ ผ้าสาหรบั พนกั งานเลย้ี งไก่ และผู้ที่เขา้ -ออกโรงเรือนไก่เลก็
1.2 การจัดการระบบเลยี้ งดู
ระบบการเล้ียงไก่เล็กท่ีดี คือ การนาลูกไก่เข้าเล้ียงพร้อมกันทั้งโรงเรือน และย้ายเข้ากรงตับหรือ
ขายพร้อมกันท้ังหมด (all-in all-out) ระบบการเล้ียงนี้สามารถเพิ่มปริมาณการให้ไข่ได้มากกว่า 20 ฟอง
เมื่อเปรียบเทียบกับการเล้ียงลูกไก่ต่างอายุกันในโรงเรือนเดียวกัน ลูกไก่ควรมาจากพ่อแม่พันธุ์ฟาร์ม
เดียวกัน พ่อแม่พันธ์ุควรมีอายุใกล้เคียงกนั เพื่อให้ได้ลูกไก่ท่ีซ้ือมาเลี้ยงมีขนาดตัวเท่ากัน ถ้าเลือกลูกไก่ท่ีมา
จากฟาร์มเดยี วกนั ไม่ได้ ควรแยกลูกไก่ทีม่ าตา่ งฟาร์มอย่ตู า่ งห้อง
1.3 การทาความสะอาดโรงเรือนและอปุ กรณ์
การทาความสะอาดโรงเรือนและอุปกรณ์ เป็นขั้นตอนที่มีความสาคัญในการเตรียมโรงเรือนและ
อุปกรณ์ให้พร้อมก่อนนาไก่รุ่นใหม่เข้าเลีย้ งตอ้ งมกี ารจัดการอยา่ งดี เพอื่ ป้องกันความผิดพลาดซึ่งเป็นสาเหตุ
ทาให้เกิดการระบาดของโรค จากไก่รุ่นเก่ามายังไก่รุ่นใหม่ได้ ข้ันตอนการทาความสะอาดโรงเรือนและ
อุปกรณ์ ดงั ตอ่ ไปน้ี
1) ย้ายไก่ออกจากโรงเรือนให้หมด
2) นาอุปกรณ์ และวัสดุการเลี้ยงไก่ที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ออกจากโรงเรือน เช่น รางอาหาร ราง
น้า และถุงอาหาร ส่วนอปุ กรณ์ไฟฟ้าที่ติดต้ังตายตัว และอาจเกิดความเสียหายจากการล้างทาความสะอาด
เช่น มอเตอร์พดั ลม เคร่ืองให้อาหารอัตโนมัติ หลอดไฟ ใหถ้ อดออกและเคลื่อนยา้ ยไปเกบ็ ไว้ในทปี่ ลอดภัย
3) ขนวัสดุรองพ้ืนออก ถ้าวัสดุรองพ้ืนแห้งเป็นฝุ่น และอยู่ต้นลมของโรงเรือนอ่ืน ให้พ่นน้าพอ
หมาดเพ่ือป้องกันการฟุ้งกระจาย และจะนาเชื้อโรคไปสู่โรงเรือนใกล้เคียง แล้วขนวัสดุรองพื้นเก่าไปเก็บไว๎
ในที่จัดเก็บหรือนาไปทาปุ๋ย ถ้าโรงเรือนมีทางเข้าออก 2 ทาง ให้ขนวัสดุรองพื้นเก่าออกทางด้านท้ายของ
โรงเรือนเพอื่ ไม่ใหผ้ ่านดา้ นหน้าของโรงเรือนอน่ื
4) กวาดหยักไย่ ฝุ่นละอองออกให้มากท่ีสุด ท้ังด้านใน และด้านนอกของโรงเรือน รวมท้ังห้องเก็บ
อาหาร เพราะหยักไย่ท่ีติดกับโรงเรือนใช้น้าฉีดล้างออกได้ยาก ดายหญ้าบริเวณรอบโรงเรือนออก ห่างจาก
โรงเรือนอย่างน้อย 3 เมตร และตดั หญา้ ท่สี ูงบรเิ วณรอบโรงเรอื นออกในรศั มี 15-30 เมตร
5) ล้างทาความสะอาดโรงเรือนไก่ไข่ด้วยน้าผสมผงซักฟอก เพ่ือขจัดคราบไขมันที่เกาะอยู่ตาม
โรงเรือนด้วยเครื่องฉีดน้าแรงดันต่า 250 - 300 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ล้างให้ทั่วทุกซอกทุกมุมโดยเร่ิมล้าง
หลังคาให้เสร็จก่อน เพ่ือให้น้าที่ล้างหลังคาตกมาบนมูลไก่ท่ีเกาะอยู่ตามพื้น ทาให้หลุดร่อนได้ง่าย เมื่อล้าง
เสร็จให้ใช้เครื่องฉดี นา้ แรงดันล้างผงซกั ฟอกออก
6) ปล่อยโรงเรือนให้แห้งพอหมาด ฉีดยาฆ่าแมลงให้ท่ัวทั้งโรงเรือนด้วยเคร่ืองฉีดน้าแรงดันท่ีปรับ
ให้มขี นาดของละอองน้าพอเหมาะและทง้ิ ไว้ 24 ชวั่ โมง แล้วจึงกวาดตวั แมลงท่ีตายออกจากโรงเรอื น การใช้
ยาฆา่ แมลงควรใช้ยาหลายชนิดหมุนเวยี นกัน เพอ่ื ปอ้ งกนั การด้ือยาของแมลง
7) พ่นยาฆา่ เชอ้ื ให้ทว่ั ทงั้ โรงเรอื น
8) โรยพ้นื ด้วยปูนขาวหรือปนู ดิบหรือโซดาไฟเพอ่ื กาจัดไข่ของแมลง
9) ล้างทาความสะอาดอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้สะอาด พ่นด้วยยาฆ่าเชื้อแล้วนาไปเก็บไว้ในห้องเก็บ
อุปกรณ์
10) ซ่อมแซมโรงเรือน และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ชารุดเสียหาย เช่น ตาข่าย ประตู หลังคา พื้น ราง
อาหาร รางน้า กรงตบั และอดุ รูข้างโรงเรอื นทีเ่ ปน็ รูระบายน้าขณะล้างโรงเรือน
11) ถ้ามีเครอื่ งพ่นไฟ ให้ใชเ้ ครือ่ งพน่ ไฟกาจดั ขนไก่ออกให้หมด
12) เชือกแขวนถงั อาหารและรางนา้ ควรนามาลา้ งให้สะอาดและจุม่ นา้ ยาฆ่าเช้อื โรค
13) นาผ้าม่านสะอาดมาขึงให้รอบโรงเรือนโดยเกี่ยวกับตะขอที่ยึดกับตาข่ายของโรงเรือน
ใหใ้ ช้เชือกขงึ เป็นรปู ฟันปลาจากด้านลา่ งถงึ ด้านบนให้ผา้ ม่านแนบสนิทกับตาข่ายโรงเรือน เพื่อป้องกันไมใ่ ห้
ตาข่ายกระพือเพราะแรงลมทาให้ผ้าม่านขาดเร็ว และลูกไก่ตกใจ ขึงผ้าม่านด้านบนให้ห่างจากหลังคา
30 เซนติเมตร การขึงผา้ มา่ นตอ้ งไมใ่ หม้ ชี ่องใหล้ มเขา้ ได้ ยกเวน้ บริเวณด้านบน (ภาพท่ี 7.1)
14) นาวัสดุรองพ้ืนเข้าโรงเรือน วสั ดรุ องพ้ืนท่ีนยิ มใช้ ได้แก่ แกลบ ขีก้ บ หรอื อาจจะใช้ทรายหยาบ
เปลือกถ่ัว ฟางข้าวสับ โดยพิจารณาจากคุณสมบัติ เบา ฟู ไม่จับตัวเป็นก้อนได้ง่าย ดูดซับความชื้นได้ดี มี
ขนาดใหญ่พอสมควร คือ รอดตะแกรงขนาด 1/4 น้ิวไม่ได้ ฟาร์มไก่ไข่มักใช้แกลบเพราะหาได้ง่าย แม้จะดูด
ซบั ความชื้นได้ไม่ดีเท่าท่คี วร แกลบมีคุณสมบัตเิ ป็นด่างทาให้แห้งเรว็ ไม่จับตวั เป็นกอ้ นงา่ ย ข้ีกบมีลกั ษณะฟู
ดูดซับความชื้นได้ดีกว่าแกลบ แต่ควรระวังอันตรายจากเสี้ยนไม้ หรือชนิดของต้นไม้ที่เป็นพิษจะเป็น
อันตรายต่อลูกไก่ได้ วัสดรุ องพ้ืนโรงเรอื นใส่หนา 4.5 เซนติเมตร แต่บริเวณภายในวงล้อมเคร่อื งกกวสั ดุรอง
พ้ืนควรหนา 9 เซนติเมตร เพื่อป้องกันลูกไก่คุ้ยวัสดุรองพ้ืนออกจนถึงพื้นปูน เพราะอาจทาให้ลูกไก่ปอด
บวม การคานวณวัสดุรองพื้นเพ่ือสั่งซื้อ คานวณจากวัสดุรองพื้น 1 ลูกบาศก์เมตร ต่อพื้นที่ 12.5 ตาราง
เมตร
15) พน่ ยาฆา่ เชอ้ื ให้ทัว่ ภายในโรงเรือนอกี คร้งั พร้อมกับคราดเพอื่ กลบั วัสดรุ องพนื้
16) บรเิ วณรอบโรงเรือนใหร้ าดด้วยนา้ มนั เครือ่ งท่ีใช้แล้ว หรอื ปูนดบิ ให้ท่วั
17) เม่อื ทาความสะอาดเสร็จให้ปดิ โรงเรือนห้ามคนเขา้ โดยไม่จาเปน็ อยา่ งน้อย 7 วนั
ภาพที่ 5.1 การขึงผ้าม่านกนั ลมในระหว่างการกกลูกไก่
1.4 การจัดเตรียมวสั ดแุ ละอปุ กรณก์ อ่ นที่ลกู ไก่จะมาถึงฟาร์ม 3 วัน
ก่อนเปิดโรงเรือนหลังจากพักโรงเรือน ต้องจัดเตรียมอ่างน้ายาฆ่าเชื้อโรคจุ่มเท้าหน้าโรงเรือนให้
เรียบร้อย และผู้ที่เข้าไปในโรงเรือนควรเป็นบุคคลที่เก่ียวข้องเท่านั้น และไม่ควรเข้าโรงเรือนไก่อายุมากมา
ก่อน ถ้าเข้าโรงเรือนไก่อายุมากมาก่อนต้องอาบน้า สระผม เปลี่ยนเสื้อผ้าก่อนเข้าโรงเรือนลูกไก่ จัดเตรียม
วัสดุและอุปกรณ์ก่อนท่ีลูกไก่จะมาถึงฟาร์ม 3 วัน เร่ิมจากติดต้ังอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ไม่ทาให้เกิดความเกะกะ
และอุปกรณ์ที่คาดว่าเม่ือลูกไก่อยู่ในโรงเรือนแล้วไม่สามารถติดตั้งได้สะดวก เช่น หลอดไฟ มอเตอร์พัดลม
เชือกแขวนถังอาหาร รางน้า ให้เรียบร้อยพร้อมใช้งาน ตรวจสอบผ้าม่านอย่าให้มีรูรั่วลมเข้าได้ จากน้ัน
จดั เตรยี มกก การจัดเตรยี มกกมขี น้ั ตอนดงั ตอ่ ไปนี้
1) ก้ันแผงกกโดยใช้แผงก้ันกกที่ทาด้วยแผ่นสังกะสีสูง 0.45 เมตร ยาว 1.20 เมตร จานวน
ประมาณ 7 - 8 แผ่น ต่อเคร่ืองกก 1 เคร่ือง ใช้กกลูกไก่ได้ 500 ตัว หรือใช้เสียมไม้ไผ่ หรือแผงลวดตาข่าย
ขนาด 2.5 x 2.5 เซนติเมตร สูงประมาณ 30 เซนติเมตรซึ่งเหมาะสาหรับฤดูร้อน ใช้แผงสังกะสีดีท่ีสุด
เพราะช่วยประหยัดค่าไฟฟ้าหรือก๊าซหุงต้ม แผงก้ันกกต้องวางอย่าให้เกิดเป็นมุมแหลม เพราะลูกไก่อาจไป
ซกุ ตามมุมและทบั กนั ตาย
2) ติดต้ังเครื่องกก โดยสารวจสภาพเครื่องกก และทดลองว่าทางานปกติหรือไม่ โดยเสียบไฟทิ้งไว้
ให้เคร่ืองกกทางาน 48 ชั่วโมง หลังจากน้ันค่อยปิด แล้วเปิดเคร่ืองอีกคร้ังก่อนท่ีลูกไก่เดินทางมาถึงฟาร์ม
4 - 6 ชั่งโมง เครื่องกกที่นิยมใช้ในประเทศไทยมี 2 ชนิด คือ เคร่ืองกกไฟฟ้าและเคร่ืองกกก๊าซ เคร่ืองกก
ไฟฟ้า ที่ใช้ในปัจจุบันเป็นเคร่ืองกกแบบฝาชี ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 4 ฟุต สาหรับกกลูกไก่ 500 ตัว โดย
ติดตงั้ ให้ขอบเครือ่ งกกสงู จากวสั ดุรองพ้ืน 15.24 เซนติเมตร ขอบเครอื่ งกกหา่ งจากแผงก้นั 76.2 เซนตเิ มตร
ในฤดหู นาว และ 91.44 เซนติเมตรในฤดูร้อน ไม่ควรใช้เครื่องกก 2 เครอื่ งในแผงกัน้ กกอนั เดียวกัน
การแขวนเครื่องกกต้องไม่ให้เอียงไปด้านใดด้านหนึ่ง เสียบปลั๊กให้ขดลวดความร้อนทางาน หลอด
อินดิเคเตอร์ (indicator bulb) ที่ติดอยู่ท่ีชายเคร่ืองกกด้านนอกใช้สาหรับแสดงการทางานของขดลวด
ไฟฟ้า ถ้าขดลวดไฟฟ้าทางานหลอดไฟน้ีก็ติดด้วย ในเครื่องกกมีหลอดไฟ 40 วัตต์ อยู่ตรงกลางเครื่องกก
หลอดไฟนี้มีหน้าท่ีล่อลูกไก่ให้เข้าเครื่องกก ซ่ึงต้องติดอยู่ตลอดเวลา ตรวจสอบอุณหภูมิโดยอ่าน
เทอร์โมมิเตอร์แขวนท่ีขอบของเครื่องกกสูงจากวัสดุรองพ้ืน 4.5 เซนติเมตร ถ้าอุณหภูมิยังไม่ตรงตามความ
ต้องการ ให้ปรับชุดควบคุมความร้อน โดยหมุนขยายให้ไมโครสวิทช์ห่างออกจากตลับเวเฟอร์ จนกระทั่ง
อุณหภูมิถึง 35 องศาเซลเซียส แล้วขดลวดความร้อนหยุดทางาน พร้อมกับหลอดไฟสีแดงที่ติดอยู่ที่ชาย
เครื่องกกดา้ นนอกดับ หลงั จากนนั้ ชดุ ควบคมุ ความร้อนจะควบคมุ ระดับอุณหภมู ิโดยอัตโนมตั ิ
การใช้เครื่องกกไฟฟ้ามีข้อพึงปฏิบัติ คอื ให้สังเกตดูวา่ หลอดอินดิเคเตอร์ทางานปกติหรือไม่ หลอด
ขาดหรือไม่ อย่าให้ตัวเครือ่ งกกเปียกน้าขณะใช้ควรมีการตรวจสอบการทางานของชุดควบคุมอุณหภูมิบ่อย
ๆ โดยเฉพาะตลับเวเฟอร์เมื่อนาไปจุ่มน้าร้อนสารอีเทอร์ท่ีบรรจุภายในขยายตัวทาให้ตลับเวเฟอร์พองตัว
ออก แล้วนามาจุ่มน้าเย็นซึ่งทาให้ตลับเวเฟอร์หดตัว ควรเปลี่ยนตลับเวเฟอร์ทุกปี และหม่ันตรวจดูปล๊ักไฟ
เทปพนั สายไฟกอ่ นใช้ทกุ คร้งั วา่ ชารุดหรอื ไม่
ในการใช้เคร่อื งกกก๊าซ ควรติดต้ังเครื่องกกให้สูงจากพ้ืน 1.20 - 1.50 เมตร ขึ้นกับปริมาณลูกไก่ท่ี
กก เครื่องกกก๊าซที่นิยมใช้มี 2 ขนาด คือ ขนาดกกลูกไก่ได้ 500 ตัว และ 1,000 ตัว การแขวนเคร่ืองกก
ต้องให้หัวเคร่อื งกกเชิดข้ึนประมาณ 20 องศา เพื่อให้ความร้อนลอยออกจากตัวเครื่องกกได้ วัสดุที่ใช้แขวน
ตรงบริเวณท่ีติดกับตัวเคร่ืองกกต้องเป็นโซ่เหล็ก เพ่ือป้องกันการละลาย ต่อสายก๊าซออกจากถังก๊าซที่มีตัว
ปรับความดันก๊าซ ติดอยู่บนสายเมน แล้วแยกสายก๊าซไปตามเคร่ืองกก โดยการใช้ข้อต่อสามทางเป็นตัว
แยก รัดเข็มขัดตรงรอย ต่อให้แน่นทุกจุด ตรวจสอบว่ามีก๊าซรั่วหรือไม่ โดยใช้ฟองน้าชุบน้าท่ีละลาย
ผงซกั ฟอก เปิดกา๊ ซแล้วนามาหุ้มรอยต่อ ถ้ามฟี องอากาศเกดิ ขน้ึ แสดงว่ามีก๊าซร่ัวใหร้ บี แก้ไข
การจุดเคร่ืองกกก๊าซ ทาโดยเปิดตัวปรับความดันก๊าซ ที่ถังก๊าซไปที่หมายเลข 5 - 7 ข้ึนกับความ
ยาวของสายก๊าซ ใช้มือกดวาล์วท่ีตัวเครื่องกกปล่อยให้ก๊าซไหลออกมา ใช้เทียนจุดที่ปลายท่อก๊าซด้านใน
เครื่องกกจนเปลวไฟติดกับก๊าซ กดวาล์วต่อไปอกี ระยะหน่ึงสังเกตดูว่าแผงความร้อนแดงพอประมาณ และ
เมื่อปล่อยวาล์วแล้วไฟที่แผงความร้อนไม่ดับ การใช้เครื่องกกก๊าซหลายเคร่ืองต่อกับถังก๊าซ 1 ถังทาให้
เคร่ืองกกลาดับท้ายต้องกดวาล์วนาน เพ่ือไลอ่ ากาศในท่อก๊าซออก และควรทาความสะอาดกรองอากาศทุก
สัปดาห์ หา้ มสูบบุหร่ใี นโรงเรอื น เมื่อเคร่ืองกกทุกเคร่ืองติดเรยี บร้อยแล้วประมาณ 2 ชั่วโมง ให้วดั อุณหภูมิ
ที่ระดับความสูงจากวัสดุรองพื้น 4.5 เซนติเมตรให้ได้ตามความต้องการ ถ้าอุณหภูมิสูงเกินไปให้ปรับลดตัว
ควบคุมความดนั ก๊าซท่ถี ังก๊าซ
1.5 การเตรียมพ้นื ท่ีกกลกู ไก่
การจัดเตรียมพ้ืนที่ในการกกลูกไก่น้ันเกณฑ์กาหนดให้ ลูกไก่ 1 ตัว ต้องการพ้ืนท่ีใต้กก 90 ตาราง
เซนติเมตร หรือประมาณ 10 - 11 ตัวต่อตารางเมตร การคานวณพ้ืนท่ีที่เหมาะสมในการกกลูกไก่คานวณ
ได๎ ดงั นี้
ลกู ไก่ 1 ตัวต้องการพื้นที่ = 90 ตารางเซนตเิ มตร
ถ้าต้องการกกลกู ไก่ 500 ตัวต้องใช้พนื้ ที่ = 500 x 90 ตารางเซนติเมตร
สตู รในการคานวณหาพน้ื ทขี่ องวงกลม = 45,000 ตารางเซนตเิ มตร
ถ้าใช้แผงล้อมกกล้อมลูกไกต่ ้องให้มรี ัศมี (r) = 2
= √4500
= √4500 x 7
22
= 119.66 เซนตเิ มตร
หรือถ้าใชเ้ สยี มกกต้องมเี สน้ ผ่าศนู ย์กลางวงกลม 239 เซนติเมตร
ในการเล้ียงไก่ในโรงเรือนระบบปิด ลูกไก่ต้องการพ้ืนที่ในการกกน้อยก่าการเล้ียงในโรงเรอื นระบบ
เปิด โดยในพ้ืนท่ีกกในโรงเรือนระบบปิด 1 ตารางเมตร กกลูกไกไ่ ด้ 20 ตวั
1.6 การเตรยี มอปุ กรณก์ ารใหน้ ้า
เตรียมนา้ สาหรับลูกไกใ่ ห้เสร็จเรียบรอ้ ยก่อนลูกไก่มาถึงฟารม์ 1 - 2 ชวั่ โมง โดยใช้กระตกิ น้าขนาด
1 แกลลอน ต่อลูกไก่ 50 ตัว ในระยะการกกลูกไก่ให้พิจารณาถึงความยาวรางท่ีให้น้าเป็นหลัก โดยกระติก
นา้ ทีน่ ยิ มใช้กันทว่ั ไป มี 2 ขนาด ดงั น้ี
กระติกน้าขนาด 4 ลติ ร มเี สน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางจานรอง 18 เซนตเิ มตร
กระติกนา้ ขนาด 8 ลติ ร มเี สน้ ผ่าศนู ย์กลางจานรอง 22.5 เซนตเิ มตร
การคานวณจานวนกระติกนา้ สาหรบั ลกู ไก่ไข่ คานวณไดด้ ังนี้
ลูกไก่ 1 ตัวต้องการความยาวรางเพ่ือกินน้า = 2.25 เซนติเมตร
ลูกไก่ 500 ตวั ต้องการความยาวรางเพอ่ื กินนา้ = 1,125 เซนตเิ มตร
กระติกนา้ ขนาด 1 แกลลอนมีเสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง = 18 เซนติเมตร
สตู รในการคานวณหาเส้นรอบวง = 2 r
จานรองกระตกิ ขนาด 1 แกลลอน มีรศั มี (r) = 18 เซนติเมตร
9
= 9 เซนติเมตร
จานรองกระตกิ ขนาด 1 แกลลอน มเี ส้นรอบวง = 2× 22 ×9
เพราะฉะนน้ั กระติกน้าขนาด 1 แกลลอนใช้เล้ียงลูกไก่ได้ 7
= 56.57 เซนตเิ มตร
= 56.57
2.25
= 25.14 ตวั
ในกรณีท่ีมีกระติกน้าไมเ่ พียงพออนุโลมให้ใช้ 1 กระติกต่อลูกไก่ 50 ตัว โดยยึดหลักความจริง
ทีว่ า่ ลกู ไก่ไม่ไดก้ ินนา้ ทกุ ตวั ในเวลาเดยี วกนั
1.7 การจัดเตรียมนา้ ดื่มกอ่ นลูกไกม่ าถงึ ฟาร์ม 2 ช่ัวโมง
ก่อนที่ลูกไก่มาถึงฟาร์ม 2 ช่ัวโมง ต้องเตรียมน้าดื่มให้เรียบร้อย โดยผสมวิตามินในน้าด่ืมให้ลูกไก่
กิน 3 วันแรก ถ้าลกู ไกเ่ ดินทางมาไกลเกนิ 50 กโิ ลเมตร ควรผสมนา้ ตาลทรายลงไปในน้าด้วยโดยใช้น้าตาล
ทราย 10 เปอรเ์ ซ็นต์โดยน้าหนัก เพ่ือให้ลูกไก่ฟื้นตัวเร็วข้ึนและให้ลูกไก่ด่ืมหมดใน 6 ช่ัวโมง เพราะน้าตาล
เกิดการบดู ได้ง่าย ให้ลูกไกก่ ินน้าผสมน้าตาลในการให้น้าคร้ังแรกครั้งเดียว นาน้าที่ใส่ในกระตกิ น้ามาวางตั้ง
ไว้ตรงกลางเคร่ืองกกเพื่ออนุ่ นา้ ให้มอี ุณหภูมิไมต่ ่ากว่า 18 องศาเซลเซียส และเมอ่ื ลูกไก่เดินทางมาถึง ใหค้ น
เล้ียงนากระติกน้าออกมาวางบนไม้รองที่ฝังในวัสดุรองพื้นตามตาแหน่งท่ีเตรียมไว้ อย่าวางกระติกน้าบน
แกลบ เพราะลูกไก่จะคุ้ยแกลบลงไปในจานรองกระติกน้า ทาให้ลูกไก่กินน้าไม่ได้ และกระติกน้าอาจล้ม
อย่าวางไมร้ องกระตกิ นา้ สงู เกินไปเพราะลกู ไก่กินนา้ ไม่ถงึ
1.8 การเตรยี มอุปกรณใ์ ห้อาหาร
อุปกรณ์ให้อาหารลูกไก่สัปดาห์แรก เป็นถาดพลาสติกแบบกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 33.75
เซนติเมตร หรือถาดแบบสี่เหล่ียม กว้าง 48 เซนติเมตร ยาว 72 เซนติเมตร และสูง 6.5 เซนติเมตร หรือ
อาจใช้กล่องใส่ลูกไก่ตัดตามรอยปะเอากระดาษกั้นกลาง และกระดาษรองพื้นออก โดยใช้ 1 ถาด ต่อลูกไก่
100 ตัว ถ้าเป็นถาดพลาสติกต้องจัดเตรียมให้พร้อมวางซ้อนกันไว้ข้างแผงล้อมกกแต่ละแผง (ภาพที่ 6.2)
เตรยี มปลายขา้ วหรอื ข้าวโพดไวใ้ ห้ลกู ไก่กินก่อนเมื่อมาถงึ เพราะย่อยไดง้ า่ ย และชว่ ยป้องกันมูลตดิ กน้ ลูกไก่
ภาพที่ 5.2 การจดั เตรียมอปุ กรณก์ ารกกลูกไก่
1.9 การวางกระตกิ น้าและถาดอาหาร
ให้จดั วางกระตกิ น้าและถาดอาหารกระจายหลายจุดสาหรับเคร่ืองกก เอส บี เอม็ และเครื่องกกฝา
ชีแบบใช้หลอดไฟฟ้า (ภาพที่ 6.3) ให้วางตามแนวขอบเครือ่ งกกเป็นวงกลม ห่างจากขอบแผงก้ันกกด้านใน
ประมาณ 33 เซนติเมตร วางกระติกน้าคู่กันในแนวขอบเคร่ืองกกหรือวางขนานกับขอบเครื่องกกก็ได้ เม่ือ
ลูกไก่กนิ น้าแล้ว 2 ช่ัวโมงจงึ ให้อาหารลูกไก่ การวางถาดอาหารให้สว่ นหนึ่งของถาดอย่ดู ้านในของเครื่องกก
อีกส่วนหนึ่งของถาดอยู่ด้านนอกเคร่ืองกกเพ่ือให้ลูกไก่กินอาหารได้ท่ัวทุกตัวเพราะลูกไก่ที่อ่อนแอ และ
หนาว อาจไม่ออกมานอกเคร่ืองกก ค่อย ๆ เลื่อนถาดอาหารและนา้ ออกนอกเคร่ืองกกเมอ่ื ลูกไก่อายุมากข้ึน
ในการให้น้าแก่ลูกไก่อายุ 1 วัน ปริมาณของน้าไม่สาคัญเท่าความยาวของขอบภาชนะให้น้า และเมื่อลูกไก่
อายุ 5 - 7 วนั ให๎เปลย่ี นท่ใี ห้น้าเป็นกระตกิ นา้ ขนาดใหญ่ โดยเปล่ียนครั้งละ 1 - 2 กระติก พร้อมกับเปล่ยี น
จากถาดอาหารมาเป็นถาดรองของถังอาหาร และเปลี่ยนออกหมดเมื่อลูกไก่อายุ 10 วัน ในกรณีที่เปลี่ยน
จากกระติกน้าเป็นรางน้าอัตโนมัติ ควรนารางน้าเข้าแทนกระติกน้าในวันที่ 5 ของการกก แล้วย้ายกระติก
น้ามาต้ังไว้ใกล้กับรางน้า วนั ท่ี 7 ให้คัดเอากระติกน้าออก วันท่ี 10 นากระติกนา้ ออกทั้งหมด
เครือ่ งกก เอส บี เอม็ เครอื่ งกกฝาชแี บบใช้หลอดไฟฟา้
ภาพที่ 5.3 การวางกระตกิ นา้ และถาดอาหาร
1.10 การจดั อุปกรณก์ ารใหแ้ สงสวา่ ง
ให้ตรวจหลอดไฟทุกหลอดว่าใช้งานได้ดี ไม่กะพริบ หลอดและโคมไฟต้องสะอาด เพราะถ้าหลอด
และโคมไฟสกปรกจะทาให้ความเข้มของแสงลดลง เม่ือลูกไก่มาถึงฟาร์มต้องเปิดไฟให้สว่างทั้งโรงเรือนแม้
ในเวลากลางวัน เนอื่ งจากโรงเรือนมีแสงสลวั เพราะมีผา้ ม่านกัน้ อยู่ ให้ความเข้มของแสงเทา่ กับ 4 แรงเทยี น
ต่อพ้ืนที่ 1 ตารางเมตร โดยติดหลอดไฟอยสู่ ูงจากตัวไก่ 2 เมตร หรือใช้หลอดขนาด 40 แรงเทียน 1 หลอด
ต่อพน้ื ท่ี 18 ตารางเมตร
1.11 การจัดเตรียมอืน่ ๆ
ก่อนที่ลูกไก่มาถึงฟาร์ม ต้องจัดเตรียมคนงานเพื่อนาลูกไก่เข้าเลี้ยงให้พร้อม จัดเตรียมแบบฟอร์ม
การจดบันทึกต่าง ๆ จัดเตรียมโปรแกรมทางาน ระบุวันที่การปฏิบัติงานต่าง ๆ ใส่แฟ้มให้เรียบร้อย
จัดเตรยี มโปรแกรมวคั ซีน และควรสงั่ ซ้ือวัคซนี ไวก้ ่อนถงึ วันทาวคั ซีน
1.12 การจดั การเม่ือลูกไก่มาถึงฟาร์มและการจัดการในระยะแรก
เมอ่ื ทราบกาหนดการการรบั ลูกไกแ่ ล้วให้จดั เตรียมรถไปบรรทุกลกู ไก่ท่ีโรงฟกั อยา่ ใหล้ ูกไก่อยู่ท่โี รง
ฟักนานเกินไปเพราะทาให้ลูกไก่สูญเสียน้าจากร่างกายมาก รถบรรทุกลูกไก่ควรเป็นรถที่ใช้บรรทุกลูกไก่
โดยเฉพาะ โดยส่วนที่เป็นกระบะทึบต้องเจาะช่องลมและติดครีบเล็ก ๆ ให้ลมพัดเข้าตัวรถได้ มีหลังคากัน
ฝน ห้ามใช้ผ้าใบคลุมบนกล่องลูกไก่เพราะการระบายอากาศออกจากกล่องไม่ดี ลูกไก่เครียดและตายได้
ควรไปรับลูกไก่ในช่วงเย็นเพ่ือให้อากาศในระหว่างการขนส่งไม่ร้อน วางกล่องลูกไก่ห่างจากส่วนเก๋งเพราะ
บริเวณน้ีอากาศร้อน วางกล่องลูกไก่ห่างจากข้างกระบะเล็กน้อยเพ่ือให้ลมพัดผ่านได้สะดวก เม่ือบรรทุก
ลูกไก่แลว้ ไม่ควรใหร้ ถจอดโดยไม่จาเปน็ จนกวา่ จะถงึ ฟาร์ม เม่อื ลูกไกม่ าถงึ ฟาร์มมขี อ้ ควรปฏบิ ัตดิ งั นี้
1) คนงานที่นาลูกไก่เข้าเล้ียงต้องเตรียมพร้อมที่บริเวณโรงเรือน จานวนคนงานขึ้นอยู่กับจานวน
ลกู ไกท่ ่นี ามาเล้ียง
2) เมื่อลูกไกม่ าถงึ ฟาร์มให้นากล่องลกู ไก่ลงจากรถทันที แลว้ นาไปวางไวใ้ กล้ เครอื่ งกก วงกกละ 5-
10 กล่อง ตามขนาดของเคร่ืองกก ถ้ามีลูกไก่ท่ีไม่ได้เกิดจากพ่อแม่พันธ์ุฟาร์มเดียวกัน ควรแยกลูกไก่ต่าง
ฟาร์มไว้คนละกก แล้วเปิดฝากลอ่ งลูกไก่ทุกกล่องทนั ที เมอ่ื เปิดฝากล่องให้สังเกตลักษณะของลูกไก่ ลูกไก่ท่ี
ดีต้องมีขนฟู ไม่นอนหมอบกับพื้น หรืออ้าปากหายใจ เม่ือเคาะท่ีกล่อง ลูกไก่แสดงอาการตื่นตัว เม่ือจับ
ลูกไก่ดู สะดือต้องแห้ง แข้งไม่แห้งเกินไป ปาก ตา ขา ปกติ ไม่มีลักษณะพิการ สะดืออักเสบ สะดือดา ขา
บิดงอ หนา้ แขง้ สั้น ปากเบีย้ ว ตาบอด ทอ้ งบวม
3) นับจานวนลูกไก่ กล่องบรรจุลูกไก่มีกระดาษก้ันเป็นช่อง 4 ช่อง การนับให้จับลูกไก่จาก
2 ช่องที่อยู่ด้านตามความยาวของกล่อง และอยู่ห่างจากตัวผู้นับ มารวมกับลูกไก่ท่ีอยู่อีก 2 ช่องตามความ
ยาวของกล่อง และอยู่ใกล้ตัวผู้นับ แล้วให้นับลูกไก่กลับคืนไปยังช่องท่ีย้ายลูกไก่มา แล้วจดบันทึกจานวน
ลกู ไกแ่ ต่ละกล่อง
4) ปล่อยลูกไก่จากกล่อง การปล่อยลูกไก่จากกล่องเข้าเครือ่ งกก ทาไดโ้ ดยยกกลอ่ งลูกไกท่ ่ีนับแล้ว
และมีลูกไก่รวมกันอยู่ที่ 2 ช่องตามความยาวของกล่อง เข้าไปในแผงกั้นกก ให้ขอบกล่องที่มีลูกไก่อยู่สัมผัส
กบั วัสดรุ องพน้ื ควา่ กลอ่ งลูกไกล่ ง ใช้มือเกล่ียลูกไก่ให้กระจายออก
5) จดบันทกึ จานวนลูกไก่ วัน เดอื น ปี ท่ลี กู ไกเ่ กิด นา้ หนัก และฟาร์มท่ีผลติ ลกู ไก่
6) ตรวจดูการกินน้าของลูกไก่ ถ้ามีลูกไก่ท่ีกินน้าไม่เป็นต้องสอนให้ลูกไก่กินน้า โดยจับปากลูกไก่
จุ่มน้า 2 - 3 ครง้ั จานวน 2 - 3 ตัว รอบ ๆ กก เมื่อลูกไกต่ วั อนื่ เห็นกท็ าตาม ต้องให้ลูกไก่กนิ น้าโดยเร็วทสี่ ุด
เพ่อื ทดแทนการเสยี น้าจากรา่ งกาย เพราะลูกไกท่ ีข่ าดนา้ อาจแคระแกรน็ ออ่ นแอ และเรียนร้ชู ้าลง
7) เมอ่ื ลูกไก่เข้าเครื่องกกได้ 2 - 3 ชั่วโมง หรือเม่ือแนใ่ จวา่ ลกู ไก่ได้กินน้าทุกตัวแล้ว ยกถาดอาหาร
ท่ีมีปลายขา้ วหรือข้าวโพดบดวางในกก โดยวางสลับกับกระติกน้า และให้พนื้ ท่สี ว่ นหนง่ึ ของถาดย่นื เข้าไปใน
เคร่ืองกก เพ่ือให้ลูกไก่กินอาหารได้ตลอดเวลา การวางถาดอาหารต้องระวังไม่ให้ทับลูกไก่ พร้อมท้ังเคาะ
ถาดเพอื่ เรยี กลูกไก่ให้มากินอาหาร ระยะนี้ให้กินอาหารแบบเต็มท่ีทุกวันและควรให้คร้ังละน้อย แต่บ่อยคร้ัง
อย่างน้อยวันละ 5 - 7 คร้ัง โดยให้อาหารช่วงกลางวัน 4 ครง้ั และกลางคืน 3 คร้ัง ปลายข้าว หรือข้าวโพด
ให้คร้ังแรกเพียงครั้งเดียว แล้วจึงเปลี่ยนเป็นอาหารไก่เล็ก โดยผสมปลายข้าวหรือข้าวโพดกับอาหารไก่ไข่
เล็กในอัตราส่วน 1:3 ในม้ือท่ีต้องการเปลี่ยน ในมื้อถัดไปผสมในอัตราส่วน 1:1 และในมื้อที่สาม จึงใช้
อตั ราส่วน 3:1
8) ให้แสงสว่างทั้งโรงเรือน 24 ชั่วโมง ตลอด 3 วันแรกท่ีลูกไก่มาถึงฟาร์ม เพ่ือให้ลูกไก่ได้คุ้นเคย
กับสถานที่ ไฟที่ให้ควรเปิดสลัว ๆ เพื่อป้องกันลูกไก่เดินเล่น ไฟสาหรับล่อลูกไก่เข้ากกต้องเปิดอยู่
ตลอดเวลาระยะ 3 สปั ดาห์ ของการกก เมื่อลูกไก่อายุได้ 4-5 วัน ควรดับไฟแสงสวา่ งทง้ั หมด 1 ชัว่ โมงก่อน
ฟ้าสางให้มืด เพื่อสอนให้ลูกไก่รู้จักความมืดป้องกันไม่ให้ลูกไก่ตกใจ สุมเป็นกอง และทับกันตายเมื่อไฟฟ้า
ดับ ขณะที่ฝึกลูกไก่ในวันแรกควรระวังอย่าให้ลูกไก่สุมเป็นกองใหญ่หรือลงนอนให้น้า ให้ฝึกเช่นนี้เป็นเวลา
3 วันติดต่อกัน
9) หมั่นตรวจดูแลสุขภาพไก่โดยสม่าเสมอ ตรวจปริมาณอาหารและน้ากิน กระติกน้าต้องล้าง
เปลยี่ นนา้ ใหม่ทกุ วัน วันละ 2 ครง้ั เปล่ียนวสั ดุรองพ้นื ที่ช้นื แฉะหรือจบั เป็นแผ่นแข็ง
10) ขยายวงล้อมกกให้กว้างออกไปตามความเหมาะสม ในฤดูร้อนควรขยายวงล้อมทุก ๆ
2 - 3 วัน แต่ในฤดหู นาวให้ขยายทุก 3 - 4 วนั พร้อมทงั้ ยกเคร่อื งกกใหส้ ูงขน้ึ เลก็ น้อยและปรบั อุณหภูมิของ
เครื่องกกให้ต่าลง และเม่ือลูกไก่อายุได้ 4 สัปดาห์ ให้ขยายวงล้อมกกเป็นแนวตรงตามความยาวของ
โรงเรอื น โดยขยายลกู ไก่ให้เตม็ คร่งึ ห้อง และนาแผงกันกกออกเมื่ออายุ 5 สัปดาห์
11) การระบายอากาศ เป็นปัจจัยที่สาคัญอีกปัจจัยหน่ึง เมื่อไก่ไข่อายุได้ 1 สัปดาห์ ให้ปรับลด
ผ้าม่านด้านท่ีลมไม่โกรกลงครึ่งหนึ่งในตอนกลางวันและปรับผ้าม่านข้ึนในตอนกลางคืน เมื่อลูกไก่ไข่อายุได้
2 สัปดาห์ ควรปรับลดผ้าม่านด้านบนทั้ง 2 ด้าน ลงครึ่งหน่ึงในตอนกลางวัน และหยุดใช้ผ้าม่านเมื่อลูกไก่
อายุครบ 3 - 4 สัปดาห์ แต่ถ้าเป็นโรงเรือนระบบปิดเมื่อลูกไก่ไข่อายุ 1 สัปดาห์ ควรปรับความเร็วลมเป็น
50 ฟุตต่อนาที และเพ่ิมความเร็วลมขึ้นสัปดาห์ละ 50 ฟุตต่อนาที จนถึงสัปดาห์ที่ 5 ได้ความเร็วลมที่ 250
ฟุตตอ่ นาที
12) ทาวคั ซนี ตามกาหนด
13) ตดั ปากลูกไกเ่ ม่ืออายุ 6 - 9 วนั
14) ควบคมุ และป้องกนั สัตว์เลย้ี ง และสัตว์อื่น ๆ ไมใ่ หม้ ารบกวนลกู ไกไ่ ข่
15) ช่ังน้าหนักไก่ไข่รุ่นจานวน 5 เปอร์เซ็นต์ของฝูง เมื่ออายุ 7 สัปดาห์ต้องจดบันทึกปริมาณ
อาหาร จานวนไก่ตาย ไก่คัดทิ้ง ส่ิงผิดปกติ การปฏิบตั ิงาน การใช้ยาและวัคซีนเป็นประจาเพื่อใชเ้ ป็นข้อมูล
ในการพจิ ารณาแกป้ ัญหา และเป็นหลักฐานสาหรับการคานวณตน้ ทุนต่อไป
1.13 การกกลกู ไก่
ผู้เล้ียงต้องเอาใจใส่ดูแลไก่ไข่เล็กเป็นพิเศษโดยเฉพาะระยะกก 3 - 4 สัปดาห์ ซ่ึงมีปัจจัยหลาย
อยา่ งทตี่ อ้ งคานึงถงึ และระมดั ระวงั เช่น อุณหภูมิ ความชน้ื และการระบายอากาศ
1) อณุ หภมู ิ
อุณหภูมิท่ีเหมาะสมตามความตอ้ งการของลูกไก่ไข่ในระยะกกเป็นสิ่งที่มคี วามสาคญั มาก เนื่องจาก
ลูกไก่ไข่ที่ผลิตเพ่ือการค้าไม่มีแม่คอยเล้ียงดูเหมือนแม่ไก่ท่ีฟักไข่เอง ถ้าอุณหภูมิต่าเกินไปจะทาให้ลูกไก่ไข่
หนาวไมย่ อมออกไปกินอาหาร นอนสมุ กนั เพื่อให้เกดิ ความอบอุ่น ตัวท่ีอยู่ข้างล่างมักตายเพราะโดนทบั การ
ใช้อาหารสิ้นเปลืองไปกับการสร้างพลังงานเพื่อความอบอุ่นของร่างกาย แต่ถ้าอุณหภูมิสูงเกินไปมีผลทาให้
ลูกไกโ่ ตช้า แคระแกรน เนอ่ื งจากลกู ไก่กินอาหารน้อยลง ระบายความร้อนออกจากร่างกายได้ยาก
นอกจากน้ีอากาศร้อนยังทาให้ลูกไก่กินน้ามากขึ้น กินอาหารลดลง เกิดความเครียด และถ้า
อุณหภูมิสงู ตดิ ตอ่ กนั เป็นเวลานานจะทาใหล้ ูกไก่ไขม่ มี ูลตดิ ก้น และอาจทาใหต้ ายได้ อุณหภมู ิท่พี อเหมาะกับ
ความตอ้ งการของลกู ไกไ่ ข่ตามอายุการกกแสดงในตารางท่ี 5.1
ตารางท่ี 5.1 ความต้องการอุณหภมู ิของลูกไก่ในระหว่างกก
อายไุ ก่ (วัน) อุณหภูมิ (องศาเซลเซยี ส)
1-2 35
3-6 32
7-13 29
14-20 26.5
21-27 24
ท่มี า: มานติ ย์ (2536)
ระยะเวลาในการกกลูกไก่ปกติประมาณ 3 สัปดาห์ แต่ถ้าฤดูหนาวระยะเวลาการกกลูกไก่ไข่ต้อง
เพ่ิมข้ึนเป็น 4 - 5 สัปดาห์ หมั่นตรวจสภาพความเป็นอยู่ของลูกไก่ไข่อยู่เสมอ การสังเกตพฤติกรรมของ
ลูกไก่ไข่ทาได้ดังนี้คือ ถ้าลูกไก่ไข่นอนสุมทับกันอยู่ใต้เครื่องกกแสดงว่าลูกไก่ไข่หนาวเกินไป ลูกไก่หนีออก
นอกเครือ่ งกกและอยู่ห่าง แสดงว่าอุณหภูมิสูงเกินไป ลูกไก่ออกไปสุมกันข้างใดข้างหนึ่งของเคร่อื งกกแสดง
วา่ มลี มโกรกมาก ถ้าลูกไกก่ ระจัดกระจายอยู่ทั่วไปมีลักษณะการนอนเหยียดขาอย่างสบายแสดงว่าอุณหภูมิ
การกกเหมาะสม (ภาพท่ี 7.4)
ภาพท่ี 5.4 การกระจายตัวที่ดีของลูกไก่ภายใต้อุณหภมู ทิ ่ีเหมาะสม
2) ความชน้ื
ความชื้นมีความสาคัญในการเลี้ยงลูกไก่ไข่ไม่น้อยไปกว่าปัจจัยอื่นเช่นกัน ถ้าในบรรยากาศมี
ความชื้นสูงไก่ไข่ระบายความร้อนออกจากร่างกายได้ยาก เพราะไก่ไข่ระบายความร้อนในร่างกายออกใน
รูปการระเหยของน้าโดยการหอบหายใจ หรือระบายออกทางทวารหนักพร้อมสิ่งขับถ่ายเท่าน้ัน เน่ืองจาก
ไก่ไข่ไม่มีต่อมเหงื่อ นอกจากนี้ความชื้นที่สูงเกินไปทาให้มีกลิ่นเหม็นในโรงเรือน การเลี้ยงไก่ไข่แบบปล่อย
พื้น ถ้าวัสดุที่ใช้รองพื้นมีความช้ืนสูงเกิน 25 - 30 เปอร์เซ็นต์ อาจทาให้ลูกไก่ไข่เป็นหวัด และบิดได้ง่าย
ความช้ืนสัมพัทธ์ท่ีเหมาะสมคือ 60 - 70 เปอร์เซ็นต์ การแก้ไข และป้องกันปัญหาเร่ืองความช้ืนสูงควร
ปฏบิ ัติดงั น้ี
ก) อย่าให้น้าหกในโรงเรือนบ่อย ๆ ถ้าเป็นรางน้าอัตโนมัติแบบรางยาว (suspension
valve) ต้องตรวจสอบอยา่ ให้วาล์วคา้ ง และสายยางหลดุ
ข) ตรวจสอบหลังคาโรงเรือนอย่าให้มรี รู วั่ ถ้ารว่ั โดยเฉพาะในฤดฝู นให้ซ่อมแซม
ค) แบบก่อสร้างโรงเรือนไม่ควรทึบเกินไป เพราะการระบายอากาศท่ีดีช่วยแก้ไขปัญหา
ความช้ืนสูงได้
ง) ระวังปริมาณเกลือในอาหาร ถ้าอาหารมีเกลือมากกว่า 0.5 เปอร์เซ็นต์ ทาให้ไก่ไข่มูล
เหลว
จ) ถ้าภายในโรงเรือนร้อนเกินไป จะทาให้ไก่กินน้ามากถ่ายมูลบ่อย และเหลว ทาให้
ความช้ืนภายในเรือนโรงสูง แก้ไขได้โดยติดตั้งพัดลมระบายอากาศ หรือใช้น้าฉีดพ่นหลังคาทาให้อุณหภูมิ
ลดลง
ฉ) ควรกลับวัสดุรองพ้ืนบ่อย ๆ สัปดาห์ละ 2 - 3 คร้ัง เพ่ือช่วยให้วัสดุรองพ้ืนไม่เปียกชื้น
เกินไป
3) การระบายอากาศ
การระบายอากาศที่ดีเป็นส่ิงจาเปน็ ในการเลี้ยงไก่ไข่ เพราะไก่ไขต่ ้องการออกซิเจนมากเป็น 2 เท่า
เมอ่ื เทยี บกับสัตว์เลยี้ งชนิดอ่ืนทมี่ ีนา้ หนักตัวเท่ากนั การระบายอากาศไม่ดีทาใหไ้ ก่ขาดออกซิเจน เป็นผลทา
ให้ร่างกายไม่สมบูรณ์เติบโตช้า การระบายอากาศที่ดีช่วยลดก๊าซพิษ โดยเฉพาะก๊าซแอมโมเนีย (NH3) ที่
เกิดจากมูลไก่ไข่ ก๊าซน้ีเป็นอันตรายต่อเยื่อชุ่มตา่ ง ๆ ถ้าก๊าซแอมโมเนียมมี ากถึง 20 ส่วนในล้านส่วน จะทา
ให้เกิดการระคายเคืองตา หรือตาอักเสบ และถ้ามากกว่า 50 ส่วนในล้านส่วนอาจทาให้ไก่ไข่ตาย หรืออาจ
ทาให้เกิดโรคระบบทางเดินหายใจ การระบายอากาศในช่วงกกลูกไก่ไข่ต้องระมัดระวัง อย่าให้มีการระบาย
อากาศมากเกินไปจนลมโกรก เพราะทาให้ไก่ไข่เป็นหวัดได้ง่าย การระบายอากาศในโรงเรือนระบบเปิด
อาจดัดแปลงแบบแปลนของเรือนโรงให้อากาศถา่ ยเทได้สะดวก และใช้พัดลมช่วยในการระบายอากาศ ถ้า
เป็นโรงเรือนระบบปิดทึบต้องใช้พัดลมระบายอากาศภายในโรงเรือนออกเพื่อให้อากาศภายนอกเข้ามา
แทนที่
4) การให้อาหารไกไ่ ข่เล็ก
อาหารไก่ไข่เล็กต้องเป็นอาหารที่มีคุณภาพดี เพราะระบบย่อยอาหารไก่ยังพัฒนาไม่สมบูรณ์ เช่น
ความเป็นกรด - ด่างในกระเพาะ และน้าดีท่ีใช้ทาให้ไขมันแตกตัวยังมีปริมาณไม่เพียงพอ ตลอดจนขนาด
ร่างกายที่ยังเล็กอยู่ทาให้มีความทนทานต่อสารพิษต่าง ๆ ได้ต่ากว่าไก่ไข่ใหญ่ วัตถุดิบท่ีใช้ประกอบสูตร
อาหารควรเป็นวัตถุดิบท่ีมีคุณภาพ ปราศจากสารพิษ และสารยับยั้งการใช้ประโยชน์จากอาหาร อาหารไก่
ไข่เล็กควรเป็นอาหารบดหยาบ อาหารลูกไก่ไข่ระยะ 6 สัปดาห์แรก ควรมีโปรตีนประมาณ 20 - 22
เปอร์เซ็นต์ การให้อาหารระยะนี้มีความสาคัญอย่างยิ่ง ที่ต้องทาให้โครงร่างของร่างกายใหญ่ท่ีสุดตาม
พนั ธกุ รรม โครงร่างของไก่ไข่พัฒนาในช่วงแรกและคงท่ี
เมอื่ อายุ 12 - 16 สปั ดาห์ ไก่ไข่ท่ีมโี ครงร่างใหญเ่ ก็บพลังงานสารองไว้ได้มากกว่าไกท่ ่มี โี ครงร่างเล็ก
ทาให้ไม่มีผลกระทบต่อการไข่ในฤดูร้อน ลูกไก่ไข่ในฤดูร้อนกินอาหารได้น้อยลงซึ่งมีผลกระทบต่อโครงร่าง
เม่ือเป็นไก่รุ่น ฉะนั้นควรปรับระดับของโปรตีนในอาหารตามอุณหภูมิของสภาพแวดล้อม โดยยึดหลักที่ว่า
เม่อื อุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศาฟาเรนไฮต์ ไก่ไข่ต้องการโปรตีนในอาหารเพิ่มขึ้น 1 เปอร์เซ็นต์ เช่น ท่ีอณุ หภูมิ
75 องศาฟาเรนไฮต์ ไก่ต้องการโปรตีน 18 เปอร์เซ็นต์ เมื่ออุณหภมู ิเพิ่มข้ึนเป็น 95 องศาฟาเรนไฮต์ อาหาร
ลกู ไกค่ วรมโี ปรตีน 21.6 เปอร์เซน็ ต์ ซง่ึ สามรถคานวณไว้ดังน้ี
อุณหภมู ิของสภาพแวดล๎อมเพ่มิ ขึ้น = 95 - 75 องศาฟาเรนไฮต์
= 20 องศาฟาเรนไฮต์
อณุ หภมู เิ พม่ิ ขึน้ 1 องศาฟาเรนไฮต์ ต้องเพ่มิ โปรตีนในอาหาร 1 เปอรเ์ ซน็ ต์
ถ้าโปรตีน 18 เปอรเ์ ซน็ ต์ ตอ้ งเพม่ิ โปรตนี = 1×18
อณุ หภูมิเพิม่ 1 องศาฟาเรนไฮต์ ต้องเพ่ิมโปรตนี 100
= 0.18 เปอร์เซ็นต์
= 0.18 เปอร์เซ็นต์
อณุ หภมู เิ พม่ิ 20 องศาฟาเรนไฮต์ จะตอ้ งเพิ่มโปรตนี = 0.18×20
1
= 3.68 เปอรเ์ ซน็ ต์
ฉะนั้นอาหารไกไ่ ข่เลก็ ท่เี ลี้ยงในอุณหภูมิ 95 องศาฟาเรนไฮต์ ต้องมีโปรตีน
= 18 + 3.6 เปอร์เซน็ ต์
= 21.6 เปอรเ์ ซน็ ต์
การให้อาหารไก่ไข่เล็กควรให้กินแบบเต็มที่ เมื่อพ้นระยะกกควรให้อาหารวันละ 2 ครั้ง ปกติใส่
อาหารประมาณ 1 ใน 3 ของความสูงของรางอาหารหรือถังอาหาร ทาให้อาหารไม่หกหล่นมากความ
ตอ้ งการพ้ืนที่ในการกินอาหารมีความสาคญั เชน่ เดียวกันกับปริมาณของอาหาร และคณุ ภาพของอาหาร ถ้า
ใชถ้ ังอาหารก่ึงอัตโนมตั ิแบบแขวน ใหใ้ ช้ 4 ถัง ต่อไก่ 100 ตวั ตง้ั แต่อายไุ ก่ 1 - 6 สัปดาห์ ลูกไก่อายุ 1- 4
สัปดาห์ ต้องการความยาวของรางอาหาร 2.5 เซนติเมตร ต่อลูกไก่ไข่ 1 ตัว และเมื่ออายุ 5 - 6 สัปดาห์
เพิม่ ขน้ึ เป็น 3 เซนติเมตรต่อตัว ปริมาณอาหารท่ีไกไ่ ข่เลก็ ต้องการ และน้าหนักตัวแสดงในตารางท่ี 7.2
ตารางท่ี 5.2 ปริมาณอาหารท่ีไก่ไข่เล็กพันธ์ุซีพี บราวน์ ตอ้ งการต่อตัวต่อวนั
อายุไก่ (สปั ดาห์) ปริมาณอาหารตอ่ ตวั ตอ่ วัน (กรัม) น้าหนกั ตัว (กรัม)
1 12 35
2 18 100
3 23 150
4 28 200
5 33 285
6 38 370
ท่ีมา : บริษทั เจรญิ โภคภณั ฑ์อาหารสัตว์ จากดั
5) การตัดปาก
การเลี้ยงไก่แบบปล่อยฝูงหรือแบบปล่อยพื้นต้องทาการตัดปาก เพื่อป้องกันอันตรายท่ีเกิดข้ึน
เนือ่ งมาจากการจิกตีกนั การจิกตีกนั เกิดขึ้นมากในขณะท่ีเป็นไก่ไข่รุ่น ช่วงที่ไกไ่ ข่เริ่มผลัดขนเป็นขนจรงิ คือ
อายุประมาณ 7 - 8 สัปดาห์ นอกจากลดการจกิ กันแล้วยังมีผลทาให้ประสิทธิภาพการใช้อาหารดีข้นึ เพราะ
ไก่ไข่เลือกกินอาหารที่เป็นเม็ดท่ีชอบไม่ได้เนื่องจากจะงอยปากสั้น วิธีการแก้ไขการจิกตีกัน ทาได้โดยการ
ตัดปากไก่ ปกตินิยมใช้เครื่องตัดปากแบบไฟฟ้า เพราะสะดวกและรวดเร็ว ใบมีดที่ใช้ตัดมีทั้งความคมและ
ความร้อน ในการตัดปากไก่ให้ตดั ออกประมาณ 1/3 ของจงอยปากบนเป็นหลัก การตัดปากไก่ไข่นยิ มตัดทั้ง
ปากบนและปากล่าง การตัดคร้ังท่ี 1 ตัดเมื่อไก่อายุ 6 - 9 วัน ปกตินิยมตัดปากลกู ไก่ไข่แบบตัดออกท้ังปาก
บน ปากล่างพร้อมกัน (precision block debeaking) ลักษณะของชุดใบมีดประกอบด้วยใบมดี คมแบบไอ
อาร์ (IR) และแท่นรองรับซึ่งเจาะเป็นช่องสาหรับใช้ปากลูกไก่สอดเข้าไปแล้วตัดให้ขาด ซ่ึงมี 3 ช่องตาม
ขนาด คือขนาดเล็ก กลาง และใหญ่ การตัดปากครั้งท่ีสองเป็นการแต่งปากซ่ึงอยู่ในช่วงเป็นไก่รุ่นก่อนไข่
อายุระหว่าง 12 - 16 สัปดาห์ เพ่ือตัดหรือแต่งปากไก่ไข่บางตัวท่ีจงอยปากงอกยาวปกติซ่ึงเกิดจากการตัด
ไม่ดีในตอนแรก การตัดปากครั้งน้ีเป็นการแต่งปากก่อนท่ีไก่จะไข่ ถ้าไก่ไข่แล้วไม่นิยมตัดปากเพราะไก่จะ
เกิดความเครียดมากทาให้ไข่ลดน้อยลง ใบมีดสาหรับตัดปากครั้งท่ี 2 น้ี เป็นแบบไออาร์ ใช้คานรองรับ
ใบมดี แทนชอ่ งสาหรบั ใหป้ ากไกไ่ ขส่ อดเข้าไป การตดั ปากมขี ้นั ตอนการปฏบิ ัตดิ งั นี้
(1) กอ่ นตัดปากลูกไก่ 1 วัน ควรตรวจเชค็ เคร่ืองตดั ปาก และอุปกรณใ์ ห้พรอ้ มใช้งาน
(2) ต้ังอุณหภูมิใบมีดเคร่ืองตัดปากให้มีความร้อนประมาณ 1,100 องศาฟาเรนไฮต์ โดย
สังเกตใบมดี มสี สี ้มจาง และก่อนตัดปากลกู ไกแ่ ต่ละตัวตอ้ งรอใหใ้ บมดี เป็นสีส้มจาง ๆ ทกุ คร้ัง
(3) จับลูกไก่ในลักษณะคว่ามือกาตัวลูกไก่ ให้นิ้วกลาง น้ิวนาง และนิ้วก้อยช้อนอยู่ใต้อก
น้ิวชี้ช้อนอยู่ใต้คาง และนิ้วหัวแม่มือกดอยู่ท่ีท้ายทอย ก่อนเอาปากของลูกไก่ไข่สอดเข้าเคร่ืองตัดปากให้งอ
น้ิวช้ีข้ึนเบา ๆ เพ่ือบีบลาคอให้ลูกไก่อยู่ในลักษณะเงยหน้า ซ่ึงเป็นการป้องกันมิให้ลิ้นลูกไก่ถูกตัดขาด
ออกไปด้วย (ภาพที่ 7.5)
(4) สอดปากลูกไก่เข้าไปในช่องกาหนดขนาดท่ีตัดปาก เครื่องตัดปากแบบมาตรฐานรู
กลางน้ีมีขนาด 4.37 มิลลิเมตร ให้ตัดปากลูกไก่ออกคร่ึงหนึ่งของทั้งปากบนและปากล่าง โดยให้ปากของ
ลกู ไกส่ มั ผัสกบั ใบมดี ร้อนเปน็ เวลานาน 2-3 วนิ าที เพอ่ื ห้ามเลอื ด
(5) ใช้น้ิวช้ีที่อยู่ใต้คางลูกไก่ ปาดเสยผ่านจงอยปากท่ีถูกตัด สังเกตดูว่ามีเลือดติดนิ้วช้ี
หรือไม่ ถ้ามเี ลอื ดตดิ ใหจ้ ี้ปากลกู ไกก่ ับใบมีดเพ่อื ห้ามเลือด
(6) อย่าดึงปากไก่ออกจากใบมีดจนกว่าจะตัดขาดออกจากกันเสียก่อน การดึงปากออก
ขณะที่ใบมีดยงั ตดั ปากไก่ไมข่ าดทาให้เนื้อเยื่อที่เพดานปากฉีกขาดและเกดิ บาดแผลข้นึ ได้
ภาพท่ี 5.5 การตดั ปากลกู ไก่
(7) ต้องระมัดระวังอย่าตัดปากออกมากเกินไป เพราะรอยไหม้อาจลุกลามไปจนถึงจมูก
ทาให้จมูกอักเสบได้ ถ้าตัดปากน้อยเกินไปทาให้ปากงอกใหม่ซ่ึงต้องเสียเวลาตัดใหม่และเป็นอันตรายกับไก่
ตัวอนื่ ๆ
(8) ไมค่ วรตัดปากไก่ในขณะทไี่ กป่ ่วยหรอื เกิดความเครียด
(9) ควรใช้ยาพวกซัลฟา และวิตามินเค ละลายน้าให้ลูกไก่กินก่อนวันตัดปาก วันที่ทาการ
ตัดปากและหลงั การตดั ปาก ติดตอ่ กัน 3 วนั เพื่อรักษาแผล และห้ามเลอื ด
การจัดการไก่ไขร่ ะยะไกร่ ่นุ
หวั ข้อเร่อื ง
1. การจัดการไก่ไข่ร่นุ
2. การใหอ้ าหารไก่ไข่รนุ่
3. การย้ายไกร่ ุน่ ขน้ึ กรงตับ
จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. ปฏบิ ัตเิ ก่ียวกบั การจดั การเลยี้ งดูไก่ไขร่ ุ่นไดถ้ ูกตอ้ ง
2. อธบิ ายการให้อาหารไกไ่ ข่รุ่นได้
3. ปฏิบตั ิเก่ียวกับการยา้ ยไกร่ ุ่นขึ้นกรงตับไดถ้ ูกต้อง
เนอื้ หาการสอน
การผลิตไข่ไก่ของประเทศไทยได้มีการพัฒนามาเป็นลาดับ จนในปัจจุบันได้กลายเป็นธุรกิจการ
เลี้ยง ไก่ไข่เชิงการค้า จานวนไข่ไก่ท่ีผลิตได้ท้ังหมดมาจากพ่อ-แม่พันธุ์ หรือปู่-ย่าพันธ์ุที่นาเข้าจาก
ต่างประเทศที่มีสภาพภูมิอากาศแตกต่างจากประเทศไทย ทาให้ต้องมีการจัดการเล้ียงดูไก่ไข่ท่ีดี เช่น การ
กกลูกไก่ การสุขาภิบาล การป้องกันโรค การควบคุมอุณหภูมิ การระบายอากาศ การใหแ้ สงสว่าง และการ
ให้อาหารไก่ไข่แต่ละช่วงอายุต้องการการจัดการที่แตกต่างกัน เพื่อให้สะดวกต่อการจัดการจึงได้มีการ
จัดแบ่งตามอายุของไกไ่ ข่เป็น 3 ระยะ ดังนี้
1. ไก่เลก็ (chick) มีอายรุ ะหวา่ ง แรกเกดิ ถงึ 6 สัปดาห์
2. ไกร่ ุ่น (pullet) มอี ายุระหว่าง 6 ถึงไก่ท้งั ฝูงไข่ได้ 5 เปอรเ์ ซ็นต์
3. ไกไ่ ข่ (layer) นับตงั้ แตไ่ ก่ท้ังฝงู ไขไ่ ด้ 5 เปอรเ์ ซ็นต์
การเลี้ยงไก่ไข่ของประเทศไทย แบง่ ออกตามวิธนี าไกเ่ ข้าเลย้ี งไดเ้ ป็น 2 ลักษณะ คอื
1. ซื้อลูกไก่อายุ 1 วัน มาเลี้ยง เป็นวิธีที่ต้นทุนการผลิตไก่ไข่ต่อตัวต่า แต่ผู้เลี้ยงต้องมี
ความรู้และความชานาญในการจัดการไก่ไข่ระยะไก่เล็กและไก่รุ่นไข่เป็นอย่างดี และต้องมีงบประมาณใน
การลงทนุ ระยะยาว
2. ซื้อไก่รุ่นไข่อายุประมาณ 16-18 สัปดาห์มาเล้ียง วิธีน้ีเป็นวิธีท่ีให้ผลตอบแทนเร็ว ลด
ภาระในการจัดการเลย้ี งดูลูกไก่และไก่รุน่ ไข่ แต่การลงทุนสูงในระยะแรก การติดต่อซื้อไก่รุ่นไขต่ ้องมกี ารสั่ง
จองกับฟาร์มทมี่ ชี ่ือเสยี งและต้องวางแผนการสง่ั จองล่วงหน้าเป็นปี
ปัจจุบันมีบริษัทท่ีผลิตไก่รุ่นที่มีคุณภาพจาหน่าย ผู้เลี้ยงไก่ไข่จึงนิยมใช้ท้ัง 2 วิธี ควบคู่กันโดยซื้อ
ลูกไก่อายุ 1 วันมาเลี้ยงในโรงเรือนไก่เล็กที่มีอยู่แล้ว ส่วนการขยายการผลิตใช้วิธีซื้อไก่รุ่นอายุ 16 - 18
สัปดาห์ จากฟาร์มทีเ่ ชอ่ื ถือได้มาเลย้ี ง
1. การจัดการเล้ยี งดไู ก่ไข่รุ่น
ไก่รุ่นไข่เป็นไก่ที่มีอายุมากกว่า 6 สัปดาห์ ถึงเร่ิมไข่ได้ 5 เปอร์เซ็นต์ของฝูง การจัดการระยะนี้เป็น
ระยะท่ีสาคัญ โดยเฉพาะวิธีการให้อาหารและการควบคุมน้าหนักของไก่ไข่ให้พอดีกับน้าหนักมาตรฐาน
ประจาพันธุ์ การจัดการเรื่องความยาวของแสง ความเข้มข้นของแสง การกาจัดพยาธิ และการย้ายไก่ข้ึน
กรงตับ เพ่อื ทาให้ได้ไก่รนุ่ ไข่ท่ีเปน็ ไก่ไข่ทีด่ ีในอนาคต ดงั นี้
1.1 ความต้องการพน้ื ทก่ี ารเลี้ยง
พ้ืนที่การเล้ียงมีความสาคัญ เพราะไก่รุ่นเจริญเติบโตเร็ว ต้องขยายพ้ืนท่ีการเลี้ยงให้พอดีกับการ
เจริญเติบโตของไก่ ไม่เช่นน้ันจะทาให้ไก่โตช้าไม่แข็งแรง วัสดุรองพ้ืนสกปรก มีโรครบกวนได้ง่าย เช่น โรค
บิด และโรคระบบทางเดนิ หายใจ ความตอ้ งการพน้ื ท่ีของไก่รุ่นนนั้ ข้นึ อยูก่ ับสายพนั ธ์ุ และอายเุ ปน็ สาคญั ไก่
รุ่นท่ีเลี้ยงในสภาพแวดล้อมของประเทศไทยต้องการพื้นท่ีเลี้ยงประมาณ 7.5 ตัวต่อตารางเมตรในโรงเรือน
ระบบเปดิ และ 10 ตัวต่อตารางเมตร ในโรงเรอื นระบบปิด
1.2 อปุ กรณส์ าหรับไกร่ ุ่นไข่
ไก่ในระยะน้ีมีการเจริญเติบโตเร็ว ต้องการพ้ืนที่ของอุปกรณ์ต่าง ๆ มากข้ึน ประกอบกบั เป็นระยะ
ท่ีมกี ารจากัดอาหาร ถ้าอุปกรณ์ใหน๎ ้าและให้อาหารมีไม่เพียงพออาจทาใหค้ วามสม่าเสมอของฝงู ลดลง ชนิด
และปรมิ าณของอปุ กรณ์การเล้ียงไก่ระยะนี้ มดี ังต่อไปน้ี
ก) จานวนของภาชนะใหน้ ้า ความต้องการภาชนะทใี่ ห้นา้ ของไกร่ ่นุ ไขแ่ บ่งออกได้ตามชนิด
ของภาชนะ ดังแสดงในตารางท่ี 5.3
ตารางที่ 5.3 ความตอ้ งการภาชนะใหน้ ้าชนดิ ตา่ ง ๆ ของไก่รนุ่ ไข่
ชนิดของภาชนะให้นา้ พนื้ ท่ใี หน้ ้า
ขวดนา้ อตั โนมตั ิขนาด 8 ลติ ร 25 ตวั ตอ่ ถงั
นปิ เปลิ 10 ตวั ต่ออนั
ขวดน้าแบบพลาซอง 50 ตวั ตอ่ ขวด
รางนา้ 3 เซนตเิ มตรต่อตัว
ที่มา : มานิตย์ (2536)
การให้น้าโดยใช้รางน้าควรให้ระดับความลึกของน้าในรางประมาณ 0.5 น้ิว ควรปรับระดับของ
ขอบด้านบนของภาชนะให้น้าสูงพอดีกับตาไก่ ไม่ควรอยู่ระดับต่าเกินไป เพราะทาให้ภาชนะให้น้าสกปรก
ง่าย และไก่ไขอ่ าจเดนิ ชนน้าหกทาให๎วสั ดุรองพืน้ แฉะ
ข) จานวนของภาชนะให้อาหาร ความต้องการภาชนะให้อาหารในระยะไก่รุ่นไข่ ต้อง
พอเพยี งกบั ความต้องการของไก่รุ่นไข่ เพราะถ้าภาชนะให้อาหารไม่พอเพียง ไกร่ นุ่ ไขจ่ ะแย่งกันกินอาหารไก่
ทีต่ ัวเล็กบางตัวอาจไม่มีโอกาสเข้ากินอาหารพรอ้ มตัวอ่ืน ๆ ควรใช้ถังอาหาร 6 - 8 ถัง ต่อไก่ 100 ตวั ถ้าให้
อาหารโดยใช้รางอาหาร ต้องใช้ความยาวของพ้ืนที่รางอาหาร 3 น้ิว ต่อไก่ 1 ตัว ปรับระดับความสูงของ
ภาชนะให้อาหารให้อยู่ในระดับความสูงเท่าหลังไก่ ถ้าหากระดับภาชนะให้อาหารอยู่ระดับต่าไปจะทาให้
อาหารหกหล่นมาก การปรับระดับความสูงของถังแขวนหรือปรับขาตั้งรางอาหารอัตโนมัติมีความจา
เปน็ มากต้องทาเป็นประจา และต้องปรับระดับตามการเจรญิ เติบโตของไก่ไข่
1.3 การระบายอากาศ
การเล้ียงไก่รุ่นไข่โรงเรือนต้องมีการระบายอากาศดี เพ่ือลดฝุ่นละอองในโรงเรือนและมีอากาศ
บริสุทธ์ิเพื่อใช้ในการหายใจ ในโรงเรือนระบบเปิดควรใช้พัดลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 36 น้ิว ติดต้ังให้สูง
จากพ้ืนโรงเรือนประมาณ 1 เมตร พัดเป่าลมให้ไปในแนวทางเดียวกับลมธรรมชาติ ในฤดูหนาวใช้พัดลม 1
ตัวตอ่ พืน้ ท่ี 100 ตารางเมตร ฤดรู ้อนใช้พัดลม 1 ตวั ตอ่ พ้ืนที่ 80 ตารางเมตร
ในกรณีของโรงเรือนระบบปิดการระบายอากาศทอ่ี ณุ หภูมิต่ากว่า 30 องศาเซลเซียส โดยการใช้พัด
ลมดูดออกใหม้ คี วามเรว็ ลม 250 ฟตุ ตอ่ นาที
1.4 การควบคุมแสง
แสงสว่างมผี ลตอ่ อายุการให้ไขฟ่ องแรกของไก่ โดยเฉพาะความยาวของช่วงแสง และความเขม้ ของ
แสง ประเทศไทยต้งั อยู่บนเสน้ ละตจิ ดู ที่ 5 - 23 องศา เหนือเส้นศูนย์สตู ร มีความยาวของช่วงแสงธรรมชาติ
อยู่ในช่วงระหว่าง 11 ช่ัวโมง 20 นาที ถึง 13 ชั่วโมง ช่วงแสงที่เหมาะสมกับไก่รุ่นไข่ คือ 13 ชั่วโมงต่อวัน
(ใน 1 วันให้ถือว่ามีแสงธรรมชาติ 12 ช่ัวโมง) เพื่อรักษาระดับของแสงให้คงที่ตลอดช่วงอายุการเลี้ยงไก่รุ่น
ไข่อายุ 6 - 18 สัปดาห์ต้องเพ่ิมแสงโดยเปิดไฟตอนเช้าเวลา 05.30 - 06.00 น. และ 18.00 - 18.30 น.
ในชว่ งเย็น เพื่อปรับให้ความยาวของวันเท่ากันตลอดอายุการเลีย้ งไก่รนุ่ โรงเรือนระบบปิดควรควบคมุ ความ
ยาวของแสงให้คงท่ี 8 ชั่วโมงต่อวัน ความเข้มของแสงในโรงเรือนเปิดในเวลากลางวันมีถึง 300 แรงเทียน
ต้องควบคุมความเข้มของแสงธรรมชาติไม่ให้เกิน 1 แรงเทียน จึงต้องติดตั้งตาข่ายพรางแสงตลอดทั้ง
โรงเรือน นอกจากนี้ควรปลูกหญ้าหรือพืชตระกูลถ่ัวบริเวณข้างโรงเรือน เพื่อลดการสะท้อนแสงเข้าใน
โรงเรอื น โดยปลูกห่างจากโรงเรือนอย่างน้อย 1 เมตร
1.5 การควบคุมนา้ หนักตวั ไก่รนุ่ ไขแ่ ละการใหอ้ าหาร
การให้อาหารและการควบคุมน้าหนักตัวไก่รุ่น ต้องดาเนินการไปพร้อมกันเพื่อให้ไก่รุ่นทั้งโรงเรือน
มีความสม่าเสมอกันมากท่ีสุด ไก่เริ่มออกไข่ในระยะเวลาใกล้เคียงกัน ไข่ฟองใหญ่และหยุดให้ไข่ในเวลา
ใกล้เคียงกัน การปลดไกป่ ลดระวางจาหน่ายทาได้พร้อมกันทงั้ โรงเรือน
ก) การควบคุมนา้ หนกั ตวั
เม่ือไก่รุ่นอายุ 7 - 18 สัปดาห์ ควรทาการสุ่มชั่งไก่ 20 เปอร์เซ็นต์ของฝูง เพ่ือเปรียบเทียบกับ
น้าหนักมาตรฐานและคานวณหาคาความสม่าเสมอของฝูง โดยการสุ่มชัง่ ทุกห้อง เพ่ือให้ไดน้ ้าหนกั เฉลี่ยของ
ฝูงใกล้เคียงกับความเป็นจริง การสุ่มชั่งน้าหนักทุกคร้ัง ควรสุ่มช่ังไม่น้อยกว่า 3 - 5 เปอร์เซ็นต์ของฝูง ถ้า
แบ่งเปน็ ห้องควรชั่งห้องละไม่นอ้ ยกว่า 50 ตวั แต่ละหอ้ งควรสุ่มไก่ชั่งอยา่ งน้อย 4 จุด วันท่ชี ั่งแตล่ ะสปั ดาห์
ควรเป็นเวลาเดียวกัน และก่อนชั่งต้องตรวจสอบตาชั่งก่อนเสมอ แล้วหาค่าความสม่าเสมอของฝูง คานวณ
โดยใชส้ ูตร
ความสม่าเสมอของฝงู (%) = จานวนไก่ทม่ี นี า้ หนักสงู และตา่ กวา่ 10 % ของค่าเฉลีย่ ×100
จานวนไก่ทีช่ ัง่ ทั้งหมด
ตัวอย่าง สุ่มชัง่ น้าหนกั 10 เปอรเ์ ซ็นต์ ของไก่ไข่รนุ่ โรงเรือนหนึง่ ท่ีมี 100 ตวั ไดน้ ้าหนกั ตัวดงั ต่อไปน้ี
ไก่ตัวท่ี นา้ หนักตวั (กก.) ไกต่ ัวท่ี น้าหนักตวั (กก.)
1 1.1 6 0.8
2 0.9 7 0.9
3 0.9 8 1.0
4 1.0 9 0.9
5 1.1 10 1.1
น้าหนักรวมของไกท่ ชี่ ง่ั = 9.7 กโิ ลกรมั = 0.97 × 10 = 0.97 กโิ ลกรมั
ค่าเฉลีย่ ของไกท่ ี่ช่งั = 0.97 กิโลกรัม 100
น้าหนักสูงและต่ากว่า 10 เปอรเ์ ซ็นตข์ องคา่ เฉลี่ย = 0.97 + 0.097 = 1.067 กิโลกรัม
นา้ หนกั ไก่ทส่ี ูงกว่า 10 เปอรเ์ ซน็ ต์ ของค่าเฉล่ยี = 0.97 × 0.097 = 0.873 กโิ ลกรมั
น้าหนักไกท่ ส่ี งู กวา 10 เปอร์เซ็นต์ ของค่าเฉล่ยี
= 6 × 100 = 60 เปอร์เซน็ ต์
ความสมา่ เสมอของฝงู 10
ความสม่าเสมอของฝูงของไก่รุ่นไข่ ควรมีค่าไม่ต่ากว่า 80 เปอร์เซ็นต์ เพื่อให้ฝูงไก่เร่ิมให้ผลผลิต
พร้อมกัน ทาให้ได้ผลผลิตสูงสุด ขนาดฟองไข่สม่าเสมอ ปริมาณอาหารท่ีใช้ผลิตไข่ 1 โหลต่า และผลผลิต
เป็นไปตามมาตรฐาน ความสม่าเสมอของฝูงเป็นวิธีการตรวจสอบความผิดพลาดในการจัดการ ปัจจัยที่ทา
ให้ความสม่าเสมอของฝงู ต่า อาจเน่อื งมาจากอุปกรณก์ ารให้นา้ และอาหารไม่เพียงพอ
การใหอ้ าหารในระยะไก่รนุ่ ไม่รวดเร็วพอหรือไม่ท่ัวถึง และในชว่ งที่จากัดอาหารควรใหอ่ าหารก่อน
ไก่ได้รับแสงสว่าง การเลี้ยงไก่แน่นเกินไป พื้นที่การเลี้ยงต้องคานวณจากพื้นที่ของแต่ละห้องเป็นหลัก ใน
กรณีท่ีฝูงไก่มีน้าหนักแตกต่างกันมาก ต้องคัดแยกไก่ออกเป็นกลุ่ม ๆ โดยการช่ังน้าหนกั ไก่ 100 เปอร์เซ็นต์
เพอ่ื แบง่ กลมุ่ ไก่รนุ่ แตล่ ะหอ้ งควรมนี า้ หนกั แตกตา่ งกันไม่เกิน 100 กรมั วิธีแบง่ กลุ่มมีดังตอ่ ไปน้ี
(1) ชั่งน้าหนักไก่ 10 เปอร์เซ็นต์ ของฝูง คานวณหาค่าความสม่าเสมอของฝูง เพื่อ
พิจารณาว่าควรแบ่งไก่ออกเป็นกี่กลุ่ม ถ้ามีความสม่าเสมอมากกว่า 75 เปอร์เซ็นต์ ให้แบ่งไก่ออกเป็น
3 กลุ่ม ได้แก่ ไก่เล็ก ไก่กลาง ไก่ใหญ่ แต่ถ้าความสม่าเสมอต่าควรแบ่งไก่ออกเป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ ไก่เล็ก
ไกก่ ลางเล็ก ไก่กลาง ไก่กลางใหญ่ และไกใ่ หญ่
(2) คานวณพ้ืนที่การเล้ยี งไก่แต่ละกลุ่ม เช่น เล้ียงไก่ไข่ร่นุ จานวน 3,000 ตวั ในโรงเรอื นท่ี
มีความกว้าง 10 เมตร ยาว 40 เมตร แบ่งออกเป็น 4 ห้อง ๆ ละ 100 ตารางเมตร เล้ียงไก่ได้ 750 ตัว
จากค่าความสม่าเสมอของฝูง สมมุติว่ามีความสม่าเสมอมากกว่า 75 เปอร์เซ็นต์ทาให้ตัดสินใจแบ่งไก่
ออกเป็น 3 กลุ่ม โดยห้องท่ี 1 เป็นกลมุ่ ของไก่ใหญ่ คิดเป็นพื้นที่ 25 เปอร์เซ็นต์ของโรงเรือน ห้องท่ี 2 และ
3 เป็นห้องไก่กลาง คิดเป็นพื้นที่ 50 เปอร์เซ็นต์ของโรงเรือน และห้องท่ี 4 เป็นห้องไก่เล็กคิดเป็นพ้ืนท่ี 25
เปอรเ์ ซ็นต์ของโรงเรอื น
(3) เรียงลาดบั น้าหนักไกท่ ่สี ุ่มมา 300 ตัว จากน้อยไปมาก แล้วคานวณหาจานวนไก่แต่ละ
หอ้ งโดย
ไก่ 100 ตวั ต้องการไก่เล็ก = 25 ตวั
ไก่ 300 ตวั ต้องการไก่เลก็ = 25 × 300 = 75 ตัว
100
ไก่ 100 ตวั ตอ้ งการไก่กลาง = 50 ตวั
ไก่ 300 ตวั ตอ้ งการไกก่ ลาง = 50 × 300 = 150 ตวั
100
ไก่ 100 ตวั ตอ้ งการไกใ่ หญ่ = 25 ตวั
ไก่ 300 ตวั ต้องการไก่ใหญ่ = 25 × 300 = 75 ตวั
100
(4) นบั ไก่ที่เรียงน้าหนักไว้จากตัวทน่ี ้าหนักน้อยทสี่ ุดไปหาตัวที่น้าหนักที่มากกว่าขนึ้ ไป 75
ตวั (75 ตวั เป็นจานวนไก่ที่มนี ้าหนักต่าสดุ 25 เปอร์เซนต์ ของไก่ที่ส่มุ มา 300 ตวั ) แล้วดูน้าหนักว่าตัวท่ี 75
มนี า้ หนกั ตวั เท่าใด สมมตุ เิ ทา่ กับ 0.75 กโิ ลกรมั เปน็ ไกเ่ ลก็
(5) นับไก่ท่ีเรียงน้าหนักไวจ้ ากตัวท่ีน้าหนักมากที่สุดไปหาตัวที่น้าหนักที่น้อยกว่าลงมา 75
ตวั (75 ตวั เป็นจานวนไก่ท่ีมนี ้าหนักสงู สุด 25 เปอร์เซ็นต์ ของไก่ทสี่ ุ่มมา 300 ตวั ) แล้วดูน้าหนักว่าตัวท่ี 75
มีน้าหนักตวั เท่าใด สมมตุ ิเทา่ กบั 0.95 กโิ ลกรัม เป็นไกใ่ หญ่
(6) ให้ตรวจเช็คความถูกต้องของตาชั่งทั้งหมดท่ีนามาใช้ชั่งน้าหนักไก่ไข่ ซ่ึงต้องไม่น้อย
กว่า 4 เคร่ือง ใช้เทปพันสายไฟท่ีตัดเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมแหลมติดบนหน่าปัดของตาชั่งที่ตาแหน่ง 0.75
และ 0.95 กิโลกรัม
(7) ไล่ต้อนไก่ทั้งหมดมาไว้ท่ีห้องกลางเพียงห้องเดียว ใช้แผงตาข่ายก้ันเป็นทางเดิน
สาหรับไก่เลก็ ไปยังห้องสดุ ท้ายของโรงเรือน ทางเดินของไก่ใหญ่ไปยงั ห้องแรกของโรงเรอื น และพนื้ ที่ส่วนที่
เหลือของหอ้ งชั่งไก่เป็นท่ีปล่อยไก่กลาง ถ้าไม่จาเปน็ ไมค่ วรจับไก่ใสก่ ลอ่ งเพ่ือขนยา้ ย
(8) ให้มผี ู้คอยนับไกโ่ ดยใช้ทีน่ ับ (counter) 1 คน ต่อไก่ 1 กลุม่
(9) ชงั่ ไก่ทกุ ตัว โดยไก่ทมี่ ีน้าหนกั น้ยกว่าตาแหนง่ เทปพันสายไฟท่ี 0.75 กโิ ลกรมั ให้ปล่อย
ไก่ลงในช่องทางเดินไก่เล็ก เพื่อให้ไก่เดินไปห้องไก่เล็ก ไก่ที่มีน้าหนักอยู่ระหว่างเทปพันสายไฟ คือ 0.75
และ 0.95 กิโลกรัม ให้ปล่อยลงในตาแหน่งพื้นท่ีว่างของห้องชั่งไก่ เป็นไก่กลาง และไก่ท่ีมีน้าหนักตัว
มากกว่า 0.95 กิโลกรัม ให้ปล่อยลงในช่องทางเดินไกใ่ หญ่ ผู้ช่ังไก่ตอ้ งขานบอกคนงานที่นับไกว่ ่าไก่ที่ชงั่ เป็น
ไกข่ นาดใด
(10) ตรวจเช็คความเท่ยี งตรงของตาชง่ั ระหวา่ งการช่ังบ่อย ๆ
(11) ตรวจเช็คจานวนไก่แต่ละกลุ่มท่ีได้ ว่ามีจานวนตามที่ต้องการหรือไม่ เช่น ชั่งไก่ไป
แล้ว 100 ตัว คานวณปริมาณของไก่แต่ละกลุ่มว่าเป็นไก่เล็ก 25 ตัว ไก่กลาง 50 ตัว และไก่ใหญ่ 25 ตัว
หรือไม่ ถ้าไมไ่ ด้ต้องปรบั เปลี่ยนนา้ หนกั ไก่ของแตล่ ะกลุม่
(12) ข้อควรระวังในการแบ่งกลุ่มไก่ ต้องไม่จัดให้ห้องไก่ใหญ่อยู่ใกล้กับห้องไก่เล็ก เพราะ
เม่ือไก่เล็กเลด็ ลอดเข้าหอ้ งไก่ใหญไ่ ด้ ไกเ่ ล็กแย่งกนิ อาหารไมท่ ัน
ข) การให้อาหารไก่ไขร่ นุ่
การให้อาหารไก่รุ่นเพื่อควบคุมน้าหนักตัวให้ใกล้เคียงกับมาตรฐานของไก่แต่ละพันธุ์นั้นมี 2 ระบบ
ด้วยกัน คือ การให้อาหารแบบไม่จากัด ไก่ได้กินอาหารอย่างเต็มที่โดยไม่จากัดปริมาณอาหาร โดยใช้สูตร
อาหารที่แนะนาโดยผู้ผลิตพันธุ์ไก่ไข่ท่ีนามาเล้ียง และการให้อาหารแบบจากัดมี 2 วิธีด้วยกัน คือ แบบ
จากัดปริมาณอาหารท่ีให้ เช่น การให้อาหารทุกวนั แต่จากัดปรมิ าณทีใ่ ห้การให้อาหารแบบวนั เว้นวัน การให้
อาหารแบบให้ 2 วัน เว้น 1 วนั การให้อาหารแบบให้ 5 วนั เว้น 2 วัน และการจากดั คุณภาพอาหาร เช่น
การให้อาหารท่ีมีเยอื่ ใยสูง การให้อาหารท่ีมีกรดอมิโนไม่สมดุล และการให้อาหารท่ีมีโปรตีนต่า สาหรับการ
จากัดคุณภาพอาหารที่ให้ไม่นิยมใช้กันเพราะต้องเปล่ียนแปลงสูตรอาหารตลอดเวลา ซ่ึงจาเป็นต้องมี
ผู้เชี่ยวชาญด้านอาหารสัตว์ประจาฟาร์ม และโรงผสมอาหารไก่ของฟาร์มต้องผสมอาหารหลายสูตร ทาให้
ไม่สะดวกในการปฏิบัติ การจากัดอาหารควรเริม่ เมื่อไก่อายุได้ 7 สปั ดาห์ หลังการแบ่งกลุ่มไก่ การให้อาหาร
ไก่ไข่เล็กควรให้อาหารท่ีมีโปรตีนสูง และให้อาหารแบบกินเต็มท่ี จนน้าหนักใกล้เคียงกับไก่รุ่นไข่ จึงให้
อาหารแบบไก่รุ่นไข่ ไก่รุ่นไข่ควรให้อาหารจากัดปริมาณทุกวัน ส่วนไก่ไข่ใหญ่อาจเพิ่มปริมาณอาหารตาม
อายุน้อยกว่ามาตรฐาน เช่น ไก่รุ่นไข่อายุ 8 สัปดาห์ ให้ปริมาณอาหารเท่ากับไก่รุ่นไข่อายุ 7 สัปดาห์ เป็น
ต้น การเล้ียงไก่รุ่นไข่ไม่นิยมการจากัดอาหารแบบข้ามวันเพราะอากาศร้อนไก่กินไม่หมดในวันที่ให้อาหาร
ยกเว้นเลยี้ งไกใ่ นระบบโรงเรือนปิด
ระบบการใหอ้ าหารไกร่ ุน่ และไก่ก่อนไข่มรี ะบบการให้ดังน้ี
1. การให้อาหารแบบไม่จากัด (full feeding) เป็นวิธีการให้อาหารกับไก่รุ่นแบบเต็มที่ไม่
มีการจากัดปริมาณการกนิ โดยใหส้ ูตรอาหารตามปกตขิ องไก่ไขร่ ุน่
2. การให้อาหารแบบจากัดปรมิ าณ (limited feeding) การให้อาหารโดยวิธีนี้เป็นการให้
อาหารเพ่ือชลอการเจริญเติบโตของไก่ทาให้ไก่เป็นสาวช้าลง เป็นการเตรียมความพร้อมในการให้ไข่ เป็นท่ี
นยิ มใช้ทง้ั ในไก่ไข่และไกพ่ ันธุ์ การให้อาหารแบบนท้ี าได้หลายวธิ ดี งั นี้ คอื
(1) การให้อาหารทุกวันแต่จากัดปริมาณ (restricted feed intake everyday)
เปน็ การให้อาหารแบบจากัดปริมาณจากปกติในแต่ละวนั โดยปรมิ าณอาหารท่ีให้ต้องคานวณจากคู่มือเล้ียง
ไก่ไข่ วิธกี ารนีท้ าให้ไกไ่ ม่เครียด ไก่ค่อย ๆ ปรับตวั การเจริญเตบิ โตช้าลง
(2) การให้อาหารแบบวนั เว้นวนั (skip a day feeding) การให้อาหารแบบนี้เป็น
การนาจานวนอาหารทีใ่ ห้กิน 2 วันมารวมกนั และใหไ้ กก่ นิ 1 วนั โดยใหค้ รั้งเดยี ว การใหอ้ าหารวิธีนตี้ ้องมีท่ี
ให้อาหารเพียงพอกับจานวนไก่ที่เข้ามาแย่งกันกินในวันที่ให้อาหาร ไม่เช่นนั้นไก่ตัวเล็กหรืออ่อนแออาจ
ไม่ได้กิน ไก่หวิ มีการกินอาหารมากกว่าปกติอาจเกิดอาการจกุ อาหารส่วนใหญ่ไม่ถกู ย่อยทาให้ประสทิ ธิภาพ
การใช้อาหารเลวลง ในวันที่อดอาหารต้องมีน้าให้กินอยู่ตลอดเวลา ระมัดระวังไม่ให้ไก่ทาน้าหก ทาให้พื้น
โรงเรอื้ นเปียกช้ืนอาจเปน็ สาเหตทุ าใหเ้ กดิ โรคบิดได้
(3) การให้อาหารแบบ 2 วันเว้น 1 วัน (feed 2 days and skip 1 day) การให้
อาหารวธิ ีนี้เป็นการนาเอาอาหารที่ให้ไกก่ ิน 3 วันมารวมกันแล้วนามาแบง่ ให้กินเพียง 2 วัน เทา่ ๆ กัน การ
ให้อาหารแบบนี้ไก่เกิดความเครียดน้อยกว่าการให้แบบวันเว้นวัน และลดปัญหาเร่ืองไก่กินอาหารมาก
เกนิ ไป
(4) การให้อาหารแบบ 5 วันเว้น 2 วัน (feed 5 days and skip 2 days) เป็น
การนาอาหารท่ีให้กิน 7 วันมารวมกันแล้วนามาแบ่งให้ไก่กัน 5 วันเท่า ๆ กัน และหยุดให้ 2 วันใน 1
สปั ดาห์
3. การให้อาหารที่มีเย่ือใยสูงหรืออาหารมีพลังงานต่า (high fiber or low energy) การ
ใหอ้ าหารวธิ ีน้ไี ม่นยิ มใช้กนั มากนักเพราะมีความยุ่งยาก
4. การให้อาหารท่ีมีกรดอะมิโนไม่สมดุล (amino acid imbalance diet) วิธีการให้
อาหารวิธีนี้ไม่นิยมใช้ เนื่องจากเป็นวิธีที่ยุ่งยากในการปฏิบัติ เพราะการเสริมกรดอะมิโนในอาหารน้ันเสริม
เพียงเล็กน้อยอย่แู ลว้
5. การให้อาหารที่มีโปรตีนต่า (low protein diet) การให้อาหารวิธีน้ีส่วนใหญ่ใช้กันอยู่
แลว้ ในสูตรอาหารไกร่ ่นุ ไข่ การให้อาหารไกแ่ บบจากดั วธิ ีตา่ ง ๆ ไดส้ รปุ ไว้ในตารางที่ 5.4
ตารางท่ี 5.4 การให้อาหารแบบจากัดวธิ ตี า่ ง ๆ ใน 1 สปั ดาห์
วนั ให้ทุกวัน วิธีการให้อาหาร
วันเว้นวัน ให้ 2 วนั เวน้ 1 วัน ให้ 5 วนั เวน้ 2 วัน
ให้อาหาร
อาทิตย์ ให้อาหาร ใหอ้ าหาร ใหอ้ าหาร ใหอ้ าหาร
ให้อาหาร
จันทร์ ใหอ้ าหาร อดอาหาร ให้อาหาร อดอาหาร
ใหอ้ าหาร
อังคาร ใหอ้ าหาร ใหอ้ าหาร อดอาหาร ให้อาหาร
อดอาหาร
พุธ ให้อาหาร อดอาหาร ให้อาหาร
พฤหัสบดี ให้อาหาร ให้อาหาร ใหอ้ าหาร
ศุกร์ ใหอ้ าหาร อดอาหาร อดอาหาร
เสาร์ ให้อาหาร ให้อาหาร ใหอ้ าหาร
ท่มี า: มานติ ย์ (2536)
1) จุดประสงคข์ องการจากัดอาหารในไกร่ ุ่นไข่
พันทิพา (2547) กลา่ วถงึ วัตถุประสงคก์ ารจากดั อาหารในไกร่ ่นุ ไข่ ดงั นี้
1. เพื่อชลอการเจริญเติบโตของไก่สาวไม่ให้ถึงวัยเจริญพันธุ์เร็วเกินไป เนื่องจากระบบ
สบื พนั ธุ์อาจยังไม่พรอ้ ม เปน็ ผลทาใหก้ ารออกไข่ไมท่ น
2. เพ่ือป้องกันไม่ให้ไก่อ้วนเกินไป เพราะถ้าไก่อ้วนเกินไปทาให้ระบบสืบพันธุ์เกิด
ผลกระทบ คอื ทาใหไ้ ขน่ ้อย
3. เพื่อชว่ ยให้ไกร่ ุ่นไขโ่ ตสมา่ เสมอ การดแู ลฝงู ไกง่ ่ายขึน้ เปอร์เซน็ ต์เริ่มให้ไข่สงู
4. เพ่ือเป็นการลดต้นทุนคาอาหารได้ทางหนึ่ง การให้อาหารโดยจากัดปริมาณอาหารท่ีให้
กินในแต่ละวัน ในอาหารควรประกอบด้วยโปรตีน 16 - 18 เปอร์เซ็นต์ มีพลังงานค่อนข้างสูงประมาณ
2,800 กิโลแคลอรีต่อกิโลกรัม ระดับโปรตีนและพลังงานในสูตรอาหารสามารถเปล่ียนแปลงได้ตามสภาพ
อุณหภูมิ สภาพแวดล้อม สุขภาพของไก่ โดยการจากัดอาหารดังกล่าวได้มีการแสดงตัวอย่างไว้ในตารางท่ี
5.5 และ 5.6 ซ่ึงในตารางตัวอย่างทั้ง 2 ผู้ที่เล้ียงไก่ไข่สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ หรือ
ดัดแปลงไดเ้ พือ่ ให้เกิดความเหมาะสมตามสภาพการเลยี้ งไก่ไข่ (ปฐม, 2540)
ตารางท่ี 5.5 น้าหนกั ไกแ่ ละปรมิ าณอาหารทจ่ี ากัดให้ไก่อายุต่าง ๆ (ไก่ไข่พนั ธุเ์ บา)
อายุ (สัปดาห์) น้าหนักอาหาร/100 ตวั /วนั (กโิ ลกรมั ) น้าหนกั ไก่ (กรัม)
600
8 4.5 700
750
9 5.0 800
900
10 5.0 1,000
1,050
11 5.5 1,100
1,150
12 5.5 1,200
1,230
13 6.0 1,280
1,330
14 6.0 1,380
1,420
15 6.0 1,460
16 6.0
17 6.5
18 6.5
19 6.5
20 6.5
21 7.0
22 7.0
23 7.0
ทมี่ า: Shaver Management Bulletin (1979)
ตารางท่ี 5.6 นา้ หนักไก่และปรมิ าณอาหารที่จากดั ให้ไก่อายุต่าง ๆ (ไกไ่ ขพ่ ันธุ์ขนาดกลาง)
อายุ (สัปดาห์) นา้ หนกั อาหาร/100 ตวั /วัน (กิโลกรัม) น้าหนักไก่ (กรมั )
8 7.3 800
9 8.2 900
10 8.6 1,000
11 9.1 1,100
12 9.1 1,250
13 9.5 1,350
14 10.0 1,450
15 10.0 1,525
16 10.4 1,626
17 10.4 1,650
18 10.4 1,725
19 10.4 1,750
20 10.4 1,800
21 10.4 1,900
22 10.9 1,975
ทมี่ า: Shaver Management Bulletin (1979)
2) ขอ้ ควรระวงั ในการจากดั อาหาร
การจากดั อาหารในไก่รนุ่ ไข่ มขี อ้ ควรระวังดงั นี้
1. สัตวต์ ้องอยใู่ นสภาพแขง็ แรงไม่ป่วย
2. ภาชนะให้อาหารต้องมีเพียงพอกับจานวนไก่ อย่างน้อยต้องมีความยาว 10 เซนติเมตร
ตอ่ ตวั
3. ผู้เล้ียงต้องเข้าใจเก่ียวกับการกินอาหารชดเชยของไก่ให้ถูกต้อง โดยให้ไก่กินอาหาร 1
วัน ในปริมาณ 2 เท่าของอาหารท่ีไก่กินในแต่ละวัน และหยุดให้กินในวันต่อไป 1 วันในวันที่หยุดให้อาหาร
ควรเอาข้าวโพดหรือขา้ วเปลอื กโรยใหไ้ กก่ ินจานวน 1 กโิ ลกรมั ตอ่ ไก่ 100 ตวั
1.6 การกาจดั พยาธิภายในและภายนอก
การเล้ียงไก่รุ่นไข่ระบบปล่อยพื้น และมีสภาพอากาศร้อนช้ืน การควบคุมพยาธิภายในทาได้ยาก
และการให้ยาถ่ายพยาธิเป็นโปรแกรมท่ีทาให้ต้นทุนการผลิตไก่รุ่นไข่สูงขึ้น ฉะน้ันควรผ่าซากตรวจดูพยาธิ
อย่างสม่าเสมอ และส่งตัวอย่างมูลไปตรวจหาไข่พยาธิทุก ๆ 3 สัปดาห์ และถ่ายพยาธิไก่รุ่นไข่ก่อนย้ายขึ้น
กรงตับ ส่วนการกาจัดพยาธิภายนอกน้ันใช้กามะถันผงหว่านลงบนวัสดุรองพ้ืนในอัตรา 0.5 กิโลกรัมต่อ
พื้นที่ 10 ตารางเมตร เม่ือไก่อายุ 12 - 16 สัปดาห์ เพ่ือไล่พยาธิภายนอก เช่น ไร หมัด และเหา ออกจาก
ตัวไก่และโรงเรือน การหวา่ นกามะถนั ควรหวา่ นต่า ๆ และหว่านในเวลาท่ีลมสงบ เพราะกามะถันอาจถกู ลม
พัดมาถูกบริเวณใบหน้าของผู้หว่านทาให๎เกิดอาการปวดแสบปวดร้อน และหว่านกามะถันซ้าอีกคร้ังก่อน
ยา้ ยไกข่ ึ้นกรงตบั 1 สปั ดาห์
1.7 การยา้ ยไกร่ ุ่นข้นึ กรงตับ
การย้ายไก่รุ่นไข่ขึ้นกรงตับ ควรย้ายเมื่อไก่มีอายุระหว่าง 17 - 18 สัปดาห์ ต้องทาด้วยความระมัดระวัง
และรวดเร็ว เพราะเกิดการสูญเสียน้าหนักในขณะขนย้ายไก่ประมาณ 8 กรัมต่อชั่วโมงที่อุณหภูมิ 30 องศา
เซลเซียส ควรย้ายไก่ในตอนเย็น ดับไฟในโรงเรือนขณะย้ายไก่เพ่ือป้องกันไก่ตกใจ ให้วิตามินละลายน้า
ในช่วงย้ายไก่ 3 วัน การจับไก่ขณะทาการย้ายต้องจับไก่ในลักษณะอุ้มประคองไก่ ไม่จับขาไก่และให้หัวไก่
ห้อยลงเด็ดขาด การขนย้ายในระยะไกลควรใส่กล่อง ๆ ละไม่เกิน 10 ตัว และควรขนย้ายเฉพาะเวลา
กลางคนื เท่านน้ั
การจดั การไก่ไขร่ ะยะให้ไข่
หัวข้อเร่ือง
1. การจัดการไก่ไข่ระยะให้ไข่
2. การให้อาหารไก่ไข่ระยะใหไ้ ข่
3. การยา้ ยไกร่ ุน่ ข้ึนกรงตับ
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. ปฏบิ ตั เิ กยี่ วกับการจัดการเลี้ยงดูไก่ไขร่ ่นุ ไดถ้ ูกต้อง
2. อธิบายการให้อาหารไกไ่ ข่รุ่นได้
3. ปฏิบัติเกยี่ วกับการย้ายไกร่ ุ่นขน้ึ กรงตบั ไดถ้ ูกต้อง
เนอื้ หาการสอน
การผลิตไข่ไก่ของประเทศไทยได้มีการพัฒนามาเป็นลาดับ จนในปัจจุบันได้กลายเป็นธุรกิจการ
เลี้ยง ไก่ไข่เชิงการค้า จานวนไข่ไก่ท่ีผลิตได้ท้ังหมดมาจากพ่อ-แม่พันธ์ุ หรือปู่-ย่าพันธุ์ที่นาเข้าจาก
ต่างประเทศที่มีสภาพภูมิอากาศแตกต่างจากประเทศไทย ทาให้ต้องมีการจัดการเลี้ยงดูไก่ไข่ท่ีดี เช่น การ
กกลูกไก่ การสขุ าภิบาล การป้องกันโรค การควบคุมอุณหภูมิ การระบายอากาศ การใหแ้ สงสว่าง และการ
ให้อาหารไก่ไข่แต่ละช่วงอายุต้องการการจัดการท่ีแตกต่างกัน เพ่ือให้สะดวกต่อการจัดการจึงได้มีการ
จดั แบง่ ตามอายขุ องไกไ่ ข่เป็น 3 ระยะ ดังนี้
1. ไก่เล็ก (chick) มอี ายุระหว่าง แรกเกดิ ถึง 6 สปั ดาห์
2. ไกร่ ุน่ (pullet) มีอายุระหวา่ ง 6 ถึงไก่ทั้งฝงู ไข่ได้ 5 เปอรเ์ ซน็ ต์
3. ไกไ่ ข่ (layer) นบั ตงั้ แต่ไกท่ ้งั ฝงู ไข่ได้ 5 เปอรเ์ ซน็ ต์
การเล้ยี งไก่ไขข่ องประเทศไทย แบ่งออกตามวธิ ีนาไกเ่ ข้าเลย้ี งได้เปน็ 2 ลกั ษณะ คอื
1. ซื้อลูกไก่อายุ 1 วัน มาเล้ียง เป็นวิธีที่ต้นทุนการผลิตไก่ไข่ต่อตัวต่า แต่ผู้เล้ียงต้องมี
ความรู้และความชานาญในการจัดการไก่ไข่ระยะไก่เล็กและไก่รุ่นไข่เป็นอย่างดี และต้องมีงบประมาณใน
การลงทุนระยะยาว
2. ซื้อไก่รุ่นไข่อายุประมาณ 16-18 สัปดาห์มาเลี้ยง วิธีนี้เป็นวิธีที่ให้ผลตอบแทนเร็ว ลด
ภาระในการจัดการเลีย้ งดูลูกไก่และไก่รุ่นไข่ แต่การลงทุนสงู ในระยะแรก การติดต่อซ้ือไก่รุ่นไขต่ ้องมกี ารสั่ง
จองกับฟาร์มทีม่ ชี ื่อเสยี งและต้องวางแผนการส่งั จองล่วงหน้าเปน็ ปี
ปัจจุบันมีบริษัทที่ผลิตไก่รุ่นที่มีคุณภาพจาหน่าย ผู้เลี้ยงไก่ไข่จึงนิยมใช้ท้ัง 2 วิธี ควบคู่กันโดยซื้อ
ลูกไก่อายุ 1 วันมาเล้ียงในโรงเรือนไก่เล็กท่ีมีอยู่แล้ว ส่วนการขยายการผลิตใช้วิธีซ้ือไก่รุ่นอายุ 16 - 18
สปั ดาห์ จากฟาร์มทีเ่ ช่ือถอื ไดม้ าเลี้ยง
1. การจัดการเลีย้ งดไู ก่ไข่ระยะใหไ้ ข่
การเล้ียงไก่ไข่ในระยะให้ไข่ถือว่าเป็นระยะสาคัญอีกระยะหน่ึง หากไก่ไข่ได้รับการจัดการอย่าง
ถูกต้องไก่ไข่ก็เร่ิมให้ไข่ได้ตั้งแต่สัปดาห์ท่ี 18 ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับการเจริญเติบโต และสภาพอากาศ เช่น ในฤดู
หนาวไก่ไข่อาจเร่ิมไข่ฟองแรกเมื่ออายุ 126 วัน หรือเริ่มไข่เม่ืออายุ 140 วันถ้าอากาศร้อน และในเวลาอีก
7 สัปดาห์ต่อมาโดยนับหลังจากไกไ่ ข่ได้ 5 เปอร์เซ็นต์ของฝูง ไก่จะให้ไขใ่ นปรมิ าณสูงสดุ ของฝูง หลังจากน้ัน
ไข่เริ่มลดลงเป็นเส้นตรง โดยการลดลงมากหรือน้อยน้ันขึ้นอยู่กับการจัดการในระยะไก่ไข่รุ่น และไก่ไข่
จนกระทั่งอายุการไข่ที่ 52 - 60 สัปดาห์ การให้ผลผลิตค่อนข้างต่าซ่ึงอาจไม่คุ้มคา่ กับการเลี้ยง จงึ ควรปลด
ไก่ขายเพื่อนาไก่ชุดใหม่ข้ึนมาเล้ียงแทน ท้ังนี้พิจารณาจากปริมาณไข่ ราคาไข่ ราคาไก่ปลด ราคาอาหาร
และราคาไก่รุ่นท่ีจะซ้ือมาทดแทน แต่ฟาร์มขนาดใหญ่ได้กาหนดวันปลดไก่ไว้ล่วงหน้าแล้วเป็นปี และได้นา
ลูกไก่ทดแทนเข้าเล้ียง หรือส่ังจองไก่ไข่รุ่นกับบริษัทไว้แล้ว เพื่อไม่ให้ผลผลิตจากฟาร์มชะงักหรือขาดตอน
เน่ืองจากขาดไก่ไข่ทดแทน ซ่ึงเป็นผลเสียร้ายแรงในการทาฟาร์มไก่ไข่ ซ่ึงต้องมีการตลาดที่แน่นอน และ
ตอ้ งมีผลผลิตออกสตู่ ลาดอยา่ งสม่าเสมอ
1.1 ระบบการเล้ียงไก่ไข่
การเลี้ยงไก่ไข่แบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ การเลี้ยงแบบปล่อยพ้ืน และการเลี้ยงบนกรงตับ
มคี วามแตกต่างกนั ของการเลีย้ งท้ัง 2 ระบบ ดงั นี้
การเลยี้ งไกไ่ ข่แบบปลอ่ ยพน้ื การเล้ยี งไกไ่ ขบ่ นกรงตบั
1. ไดป้ ริมาณไขม่ าก 1. ไดป้ รมิ าณไขน่ อ้ ย
2. ไขม่ ขี นาดเล็ก 2. ไขม่ ขี นาดใหญ่
3. ยุ่งยากในการจดั การ 3. การจดั การสะดวก
4. การลงทุนต่า 4. การลงทนุ สงู
1.2 การยา้ ยไกข่ ้ึนกรงตบั
การย้ายไก่รุ่น่ไข่ข้ึนกรงตับควรทาด้วยความระมัดระวัง ควรย้ายในช่วงเย็นประมาณ 18.00 น.
เป็นต้นไป ใหอ้ ิเลคโตรไลท์ และวิตามินเพื่อลดความเครียด 3 วัน ก่อน ระหว่างและหลังวันย้ายควรผสมยา
ปฏชิ ีวนะ เช่น ออกซีเตตร้าไซคลิน 200 กรัมตอ่ อาหาร 1 ตันใหไ้ ก่กิน 3 วัน กอ่ น ระหว่างและหลงั การยา้ ย
1.3 ความต้องการพน้ื ทใ่ี นการเล้ียง
การเลี้ยงไก่ไข่บนพื้นโรงเรือนไก่รุ่นเดิม การเลี้ยงวิธีน้ีใช้พื้นท่ี 5.5 ตัวต่อตารางเมตร และให้ติดต้ัง
รังไข่ในอัตราส่วน 1 ช่องต่อไก่ 4 ตัว เมื่อไก่อายุ 18 สัปดาห์ การเลีย้ งไก่ไข่แบบกรงตับ ให๎ทาความสะอาด
โรงเรือนเช่นเดียวกบั การเตรียมโรงเรือนไก่เลก็ ไก่ไข่ 1 ตัว ต้องการพื้นที่ 450 ตารางเซนติเมตร ขนาดของ
กรงตับท่ีใช้เล้ียงไก่ไข่มีหลายขนาดด้วยกัน คือ ช่องละ 1, 2, 3 และ 4 ตัว ซ่ึงขึ้นอยู่กับขนาดของกรง
ควรย้ายไก่ข้ึนกรงตับเม่ืออายุ 16 - 18 สัปดาห์ สาหรับการซื้อไก่ไข่ร่นุ จากบริษัทมาเล้ียงมีขอ้ ควรระวงั คือ
อย่าเล้ียงไก่ไข่ต่างสายพันธุ์ หรือต่างอายุกันไว้ในโรงเรือนเดียวกัน ตรวจสอบการตัดปากของลูกไก่ว่า
ถกู ต้องดีแล้วหรอื ไม่ ถ้าไม่ดีต้องแจ้งให้บริษัทผู้ผลิตไก่ไข่ร่นุ มาทาการซ่อมปากไก่ไข่ในทันที ก่อนท่ีไก่จะเริ่ม
ใหไ้ ขฟ่ องแรก ควรตรวจพยาธภิ ายใน และพยาธภิ ายนอก ถา้ พบใหก้ าจัดทันที
1.4 ความต้องการภาชนะให้อาหารและนา้
ไก่ไข่มีความต้องการภาชนะให้อาหารแบบราง อัตราส่วนความยาวของขอบราง 10 เซนติเมตรต่อ
ไก่ 1 ตัว สาหรับถังอาหารให้ใช้ 6 ถัง ต่อไก่ 100 ตัว ความต้องการภาชนะให้น้าแบบถ้วยใช้ 1 ถ้วยต่อไก่
3 ตัว ถ้านิปเปิลใช้ 1 หัว ตอ่ ไก่ 3 ตัว ถ้าเป็นรางน้าให้ใช้ความยาวของขอบราง 3.8 เซนติเมตรต่อไก่ 1 ตัว
ถา้ เป็นถังน้าพลาซองใหใ้ ช้ 1 ถงั ต่อไก่ 40 ตวั
1.5 การใหแ้ สงสวา่ ง
การให้แสงสว่างกับไก่ไข่ ซึ่งมีผลกับการให้ผลผลิตของไก่ไข่ ต้องคานึงถึงสิ่งท่ีมีความสาคัญ
2 อย่างคอื ความเขม้ ของแสง และความยาวของช่วงแสง
ก) ความเข้มของแสง
ระดับความเข้มของแสงที่เหมาะสมสาหรับไก่ไข่ คือ 1 ฟุตแรงเทียนท่ีระดับตัวไก่ ในทาง
ปฏิบัติอาจใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์ขนาด 60 วัตต์ติดตั้งพร้อมโคมไฟในระดับความสูงจากระดับพื้นกรง
2.40 เมตร และให้มีระยะห่างระหว่างหลอดไฟ 5 เมตร ตามแนวทางเดิน ควรหลกี เล่ียงมุมอับแสงตรงส่วน
ต่าง ๆ ของโรงเรือนท่ีอาจเกิดจากการบงั ของกรงตบั ควรทาความสะอาดโคมไฟ และหลอดไฟสัปดาห์ละ 1
ครั้ง
ข) ความยาวของช่วงแสง
เม่ือย้ายไก่ไข่ขึ้นกรงตับควรให้แสงประมาณ 13 ชั่วโมง ไม่จาเป็นต้องเปิดไฟตลอด
24 ชั่วโมง เพอ่ื ให้ไก่เรยี นรู้การกินอาหาร และนา้ การเปิดไฟ 24 ช่ัวโมง ทาให้ไก่ไขอ่ อกจากกรงตบั จานวน
มาก เพราะยงั มีขนาดเล็กอยู่ การให้ความยาวของช่วงแสง 13 ชัว่ โมง หมายความว่าให้มีแสงสว่างติดต่อกัน
13 ชว่ั โมงต่อวนั ซง่ึ จะตอ้ งเปิดไฟแสงสวา่ งชว่ ยมากนอ้ ยเทาใดขึ้นอย่กู ับสภาพอากาศ และฤดูกาล เชน่ ถ้ามี
แสงสว่างจากดวงอาทิตย์ 11 ช่ัวโมงต่อวัน ต้องเปิดไฟแสงสว่างอีก 2 ช่ัวโมง และในช่วงเวลากลางวันท่ี
สภาพอากาศมืดต้องเปิดไฟแสงสว่างช่วยด้วยเสมอ ควรเพ่ิมความยาวของช่วงแสงตามอายุการไข่ แต่การ
เพิ่มต้องเพ่ิมไม่น้อยกว่า 30 นาที ต่อครั้ง และควรเพิ่มปริมาณอาหารด้วยทุกคร้ังที่เพ่ิมความยาวของช่วง
แสง ในสภาพอากาศร้อนจัด ควรเพิ่มความยาวของช่วงแสงในเวลาเช้ามืด เพราะอากาศเย็นไก่กินอาหารดี
ความยาวของช่วงแสงที่เหมาะสมสาหรับไก่ไข่ควรอยู่ระหว่าง 16 - 17 ช่ัวโมงต่อวัน แนวทางการเพ่ิมแสง
สว่างควรปฏิบัติดงั ตารางท่ี 6.4
ตารางที่ 6.4 แสดงเวลาการเพิม่ แสงสวา่ งในการเล้ยี งไกไ่ ข่
อายุ (สปั ดาห์) ความยาวของชว่ งแสง (ชว่ั โมง) เวลาเปดิ แสงช่วงเช้า เวลาเปิดแสงชว่ งเย็น
18 13 5.30-06.30 น. 17.30-18.30 น.
เมื่อไก่ไขไ่ ด้ 5 % 13.5 5.30-6.30 น. 17.30-19.00 น.
14 5.00-6.30 น. 17.30-19.00 น.
20 14.5 5.00-6.30 น. 17.30-19.30 น.
21 15 5.00-6.30 น. 17.30-20.00 น.
22 15.5 5.00-6.30 น. 17.30-20.30 น.
23 16 5.00-6.30 น. 17.30-21.00 น.
24 16.5 5.00-6.30 น. 17.30-21.30 น.
25 17 5.00-6.30 น. 17.30-22.00 น.
26-ปลด
ทีม่ า : ศิริ และคณะ (2527)
ความยาวของช่วงแสง 16 ชั่วโมง เพียงพอสาหรบั ไก่ไข่ที่ให้ไข่สงู สุด แต่เมือ่ อากาศรอ้ นไก่ไขก่ ิน
อาหารได้น้อยในตอนกลางวัน ควรเพ่ิมความยาวของแสงเป็น 17 ช่ัวโมงเพ่อื ให้ไก่มีเวลากินอาหารมากข้ึน
นอกจากนย้ี งั อาจเพ่ิมความยาวของช่วงแสงตามเปอรเ์ ซ็นต์การไข่ ดงั ตารางท่ี 6.5
ตารางท่ี 6.5 การเพิ่มความยาวช่วงแสงตามเปอร์เซน็ ต์การให้ไข่
เปอร์เซ็นต์การไข่ ความยาวของช่วงแสง (ชวั่ โมง)
เมอ่ื ไก่ไขไ่ ด้ 5 % 13.0
เมื่อไก่ไข่ได้ 10 % 13.5
เม่ือไก่ไข่ได้ 30 % 14.0
เมอ่ื ไก่ไข่ได้ 50 % 14.5
เมอื่ ไก่ไข่ได้ 70 % 15.0
เมอื่ ไก่ไข่ได้ 90 % 15.5
เมื่อไก่ไข่สูงสุด 16.0
ที่มา : ศริ ิ และคณะ (2527)
1.6 อาหารและการให้อาหารไก่ไข่
อาหารและการให้อาหาร ถือวา่ เป็นปัจจัยทสี่ าคัญกบั การเล้ียงไก่ไขเ่ ปน็ อย่างยิง่ เนื่องจากไก่ไขต่ ้อง
มอี าหารกนิ ตลอดการเล้ียงดู โดยเรื่องของอาหารมสี ิ่งที่เก่ียวข้องคอื สูตรอาหารไกไ่ ข่ การให้อาหาร การ
กระตนุ้ การไข่ดว้ ยปริมาณอาหาร และการควบคุมผลผลติ ไข่ด้วยปริมาณอาหาร
ก) สตู รอาหารไก่ไข่
สตู รอาหารเลี้ยงไก่ไขอ่ าจใช้ตามคาแนะนาของบริษทั ท่ีผลิตพันธ์ุไก่ไขห่ รือประยุกต์ใช้ตาม
ความเหมาะสมดงั แสดงในตารางที่ 6.6
ตารางท่ี 6.6 สตู รอาหารไก่ไขต่ ามระยะเวลาการให้ผลผลติ
โภชนะ อาหาร เปอร์เซ็นต์การไข่
ก่อนไข่ 20 สัปดาหถ์ ึงไขส่ ูงสุด ไข่ 87-80% ตา่ กวา่ 80%
โปรตีน ( %) 17.0 18.5 17.0 16.0
พลังงานใช้ประโยชน์ได้(Kcal/kg.) 2,820 2,820 2,820 2,820
แคลเซียม (%) 2.5 3.8 3.8 3.9-4.0
ฟอสฟอรัสใช้ประโยชนไ์ ด้ (%) 0.45 0.45 0.40 0.38
โซเดยี ม (%) 0.18 0.18 0.17 0.16
ไลซนี (%) 0.74 0.84 0.76 0.67
เมทไธโอนีน+ซสี ทีน (%) 0.63 0.72 0.65 0.58
ทริฟโตเฟน (%) 0.18 0.20 0.7 0.16
ท่ีมา : อทุ ยั (2529)
ข) การใหอ้ าหาร
การให้อาหารไก่ไข่ระยะไข่ ผู้เล้ียงต้องควบคุมอาหารต่อเน่ืองจากไก่ไข่รุ่นจนอายุครบ 20
สัปดาห์ และเม่ือไก่ให้ไข่ฟองแรกให้หยุดการจากัดอาหารเปลี่ยนเป็นการให้อาหารแบบกินเต็มท่ี การให้
อาหารไกไ่ ข่ในระยะนี้ให้เพิ่มขนึ้ หรอื ลดลงตามปริมาณไขท่ ี่ผลิตได้ เพราะสิง่ สาคัญต้องการใหไ้ ก่ไขน่ าอาหาร
ไปใช้เพื่อการดารงชพี และการสร้างไขเ่ ทานน้ั ไม่ให้มีอาหารส่วนเหลอื ทีน่ าไปสะสมเป็นไขมนั ซึ่งทาให้ไก่ไข่
อ้วน และปริมาณการไข่ลดลงอย่างรวดเร็ว
ค) การกระตุ้นการไขด่ ้วยปรมิ าณอาหาร
เม่ือฝูงไก่ไข่ให้ไข่สูงสุดแล้ว และปริมาณการไข่คงที่อยู่ ในขณะน้ันไก่ไข่อาจตอบสนองต่อ
อาหารที่กระตุ้นเข้าไปอีกได้ โดยการเพิ่มอาหารให้มากข้ึนในอัตรา 0.5 กิโลกรัมต่อไก่ 100 ตัว และให้
ติดต่อกัน 3 - 4 วัน ถ้าผลผลิตไข่ไม่เพ่ิมข้ึนภายใน 4 วัน ให้ลดปริมาณอาหารส่วนท่ีเพิ่มเข้าไป ถ้าฝูงไก่ไข่
ตอบสนองใหค้ งปริมาณอาหารส่วนทเี่ พม่ิ ไว้
ง) การควบคุมผลผลติ ไข่ด้วยการลดปรมิ าณอาหาร
หลังจากที่ฝูงไก่ไข่ให้ผลผลิตสูงสุดแล้ว ปริมาณการไข่เร่ิมลดลง และเมื่อปริมาณการไข่
ลดลง 4 - 6 เปอร์เซ็นต์ ให้เร่ิมลดปริมาณอาหารที่ให้เพื่อควบคุมไม่ให้ไก่ไข่อ้วนเกินไป และให้ไก่ไข่มี
ประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารสูงที่สุด ในการลดปริมาณอาหารตามผลผลิตที่ลดลง Card และ Nesheim
(1972) ได้แนะนาไวด้ ังน้ี
(1) ลดอาหารลงในอัตรา 0.20 - 0.25 กิโลกรัมต่อไก่ 100 ตวั ในชว่ งระยะเวลา 3 - 4 วัน
ถา้ ปริมาณไข่ลดลงปกติให้คงอาหารตามที่ลดแล้วไว้ แต่ถ้าปรมิ าณไข่ลดต่าลงผิดปกติให้เพ่ิมอาหารกลบั มา
ในระดบั เดมิ
(2) เม่ือลดปริมาณอาหารแล้วปริมาณการไข่ลดลงในเกณฑ์ปกติ อาจลดปริมาณอาหารลง
อีกตามวิธีการในข้อ 1 และทาตามวิธีการในข้อ 1 ได้ตามความเหมาะสมเทาท่ีปริมาณการไข่ลดลงอยู่ใน
เกณฑ์ปกติ
(3) หา้ มลดปรมิ าณอาหาร ในกรณที ่ีไก่ไขเ่ กิดความเครียด หรือป่วย
1.7 ความต้องการอาหารของไก่ไข่
การให้อาหารไก่ระยะไข่มีวัตถุประสงค์ท่ีสาคัญคือ ต้องการให้ได้ไข่ที่มีคุณภาพ และต้นทุนต่าท่ีสุด
ในการผลิตไข่ไก่ประมาณว่าต้นทุน 60 เปอร์เซ็นต์ใช้เป็นคาอาหาร โดยปริมาณอาหารท่ีไก่กินขึ้นอยู่กับ
อัตราการไข่ น้าหนักตัวไก่ และสภาพแวดลอ้ มรอบ ๆ ตัวไก่ โดยเฉพาะอุณหภูมิของสภาพแวดล้อม การให้
อาหารไก่ไข่เม่ือไก่เร่ิมไข่ฟองแรกใหห้ ยุดการควบคุมอาหาร ไก่ไข่ต้องได้รับอาหารเตม็ ที่ทุกวัน (ปฐม, 2540)
ความต้องการอาหารของไก่ไข่ สามารถคานวณได้โดยพิจาณาจากมาตรฐานความต้องการอาหารของไก่ไข่
โดยมานิตย์ (2536) ได้มีการคานวณจานวนอาหารให้เพียงพอกับความต้องการของไก่ไข่ 1 ตัว ที่มีน้าหนัก
และลกั ษณะต่าง ๆ ดงั น้ี
1. นา้ หนกั ของตวั ไก่ = 2 กิโลกรมั
2. อาหารมีพลงั งาน = 2,750 กโิ ลแคลอรตี ่อกโิ ลกรัม
3. อุณหภมู ิภายในโรงเรือน = 20 องศาเซลเซียส
4. นา้ หนักของไขเ่ ฉลยี่ ต่อฟอง = 62 กรัม
5. ไก่ตัวนี้ต้องการอาหารเพอ่ื การดารงชีพ = 70 กรัม/ตวั /วัน
6. ไก่ต้องการอาหารเพื่อผลิตไข่เพิ่มขึ้น 0.7 กรัม/ตัว/วัน เม่ือไข่เพ่ิมข้ึนทุก 1 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณ
อาหารเพอื่ การดารงชพี เพม่ิ หรือลดให้พจิ ารณาดังน้ี
1. นา้ หนักตัวไกเ่ พ่มิ หรอื ลดทกุ 50 กรัม กินอาหาร = ± 1 กรมั /ตวั /วัน
2. อุณหภมู ิเพ่ิมหรือลดทุก 1 องศาเซลเซียส = ± 1.5 กรัม/ตวั /วนั
3. อาหารมีพลงั งานเพิม่ หรือลดทุก 50 กิโลแคลอรี = ± 1 กรัม/ตวั /วนั
4. การเลี้ยงไกบ่ นกรงตบั การกินอาหารลดลง = 3 - 5 กรมั /ตวั /วัน
การคานวณปริมาณอาหาร ความต้องการแคลเซียม และการใช้เปลือกหอย โจทย์ท่ีใช้คานวณใช้
ตัวอย่างการเลีย้ งไกไ่ ขข่ องวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีชลบุรี ณ วนั ท่ี 13 กนั ยายน 2551
1. จานวนไก่ 298 ตวั
2. ไกไ่ ข่ 298 ตัวกินอาหารบริษัททอ็ ปฟดี 28.70 กิโลกรมั /วนั
3. อาหารมีแคลเซยี ม (ขอ้ มลู จากบรษิ ทั ) 4.00 เปอรเ์ ซ็นต์
4. อาหารมีพลงั งาน (ข้อมูลจากบริษทั ) 2,700.00 กโิ ลแคลอรีตอ่ กิโลกรัม
5. เปอรเ์ ซ็นต์ไขเ่ ฉลี่ย 90.65 เปอรเ์ ซ็นต์
6. ไกม่ นี า้ หนักเฉล่ีย 1,800.00 กรมั /ตวั
7. อณุ หภมู ิในโรงเรอื น (โรงเรอื นระบบเปดิ ) 27.00 องศาเซลเซยี ส
(1) การคานวณความตอ้ งการอาหาร = 70 − 4
ไก่มีน้าหนักตัว 1,800 กรัม กนิ อาหารเพื่อการดารงชพี = 66 กรัมตอ่ ตัวต่อวัน
อณุ หภูมโิ รงเรือน 27 องศาเซลเซยี สไกก่ นิ อาหาร = 66 − (7 ×1.5)
= 66 − 10.5
อาหารมีพลงั งาน 2,700 กิโลแคลอรีไก่ต้องกนิ อาหาร = 55.50 กรมั ตอ่ ตัวต่อวัน
เลีย้ งไก่ในในกรงตบั ที่ไก่อยู่อย่างสบายไก่กินอาหาร = 55.50 + 1
ไก่ไข่ 90.65 เปอร์เซ็นต์ต้องใช้อาหารเพ่ือผลติ ไข่ = 56.50 กรมั ตอ่ ตวั ตอ่ วัน
= 56.50 − 3
= 53.50 กรัมตอ่ ตัวต่อวนั
= 0.7 × 90.65
= 63.45 กรมั ตอ่ ตวั ต่อวัน
จากการคานวณพอสรุปได้ดังนี้ ไก่มีน้าหนัก 1,800 กรัม เลี้ยงในโรงเรือนท่ีมีอุณหภูมิ 27 องศา
เซลเซียส อาหารทก่ี ินมีพลงั งาน 2,700 กโิ ลแคลอรีต่อกโิ ลกรัม และเลี้ยงในกรงตบั ทไี่ ก่อย่อู ย่างสบาย ไกต่ ัว
นีต้ ้องใชอ้ าหารวนั ละ 53.50 + 63.45 = 116.95 กรัมตอ่ ตัวตอ่ วนั
(2) ความตอ้ งการแคลเซยี มของไกไ่ ข่
ไก่ไข่ในระยะท่ีกาลังให้ไข่เป็นช่วงระยะที่มีความต้องการแคลเซียมสูงกว่าปกติเพ่ือนาไปใช้ในการ
สร้างเปลือกไข่ แม่ไก่ท่ีให้ไข่ 100 เปอร์เซ็นต์ต้องการแคลเซียมวันละ 4.6 กรัมต่อตัว จึงจะเพียงพอในการ
สร้างเปลือกไข่ (อรวรรณ, 2547) การใหแ้ คลเซยี มกบั ไกไ่ ขม่ ีวิธีการให้ 2 วธิ ี ดงั นี้
1. ผสมแคลเซียมในอาหารให้เพียงพอกับความต้องการของไก่ เป็นวิธีท่ีสะดวก
ประหยัดเวลา และแรงงาน แต่มีขอ้ เสีย คอื เปอรเ์ ซ็นต์ของหินปูนหรือเปลือกหอยมากเกินไป ทาให้อาหาร
เปน็ ฝ่นุ ไกก่ ินไดน้ ้อย วิธแี กไ้ ขคือทาอาหารอัดเมด็
2. การผสมแคลเซียมในอาหารบางส่วน แล้วมีการเสริมเปลือกหอยต่างหาก คือผสม
แคลเซียมลงไปในอาหารประมาณ 2 - 2.5 เปอร์เซ็นต์ แล้วให้เปลือกหอยเสริมสัปดาห์ละคร้ัง โดยคานวณ
ให้พอดีกับความต้องการ โดยคิดจากค่ามาตรฐานคือ ไก่ให้ไข่ 100 เปอร์เซ็นต์ ใช้แคลเซียม 4.6 กรัมต่อตัว
ต่อวันคานวณความตอ้ งการของแคลเซยี มโดยมีสตู รการคานวณดังนี้
ปริมาณแคลเซยี มท่ตี ้องการ = เปอร์เซน็ ต์การไข่ 4.6 กรมั
100
ไกท่ ี่ใหไ้ ข่ 90.65 % ต้องการแคลเซยี ม = 90.65 4.6 กรัม
100
= 17 กรมั /ตวั /วัน
ปรมิ าณแคลเซียมที่ไดร้ บั = อาหารท่ีกนิ % แคลเซยี มท่ีตอ้ งการ
100
= 96.31 4
100
= 3.85 กรัม/ตัว/วัน
ไก่ไดร้ บั แคลเซยี มในอาหารไม่เพียงพอ = 4.17 − 3.85
= 0.32
กรัม/ตัว/วัน
การเสริมเปลือกหอยป่นซึ่งทามาจากเปลือกหอยนางรมมีแคลเซียมเป็นองค์ประกอบ 40
เปอร์เซน็ ต์ สามารถคานวณการให้เปลือกหอยได้ดงั น้ี
ปรมิ าณเปลอื กหอยทีเ่ สรมิ = ปริมาณแคลเซยี มท่ีต้องการเพ่มิ 100 กรมั
40
= 0.32 100
40
= 0.80 กรัม/ตวั /วัน
ต้องการเสริมเปลอื กหอยในฝูง (298) = 0.80 298
1,000
= 0.24 กโิ ลกรมั /วัน
การเพิ่มเปลือกหอยเป็นกโิ ลกรมั ต่อไก่ 100 ตวั ตอ่ สปั ดาห์
= 7 วัน 100 เปลอื กหอยทใ่ี ห้เป็นกโิ ลกรมั /ตวั /วัน
1,000
= 7 100 0.80
1,000
= 0.56 กโิ ลกรัม/100 ตัว/สัปดาห์
ไก่ไข่ 90.65 เปอร์เซ็นต์ กินอาหารเฉลี่ย 96.34 กรัม/ตัว/วัน และในอาหารมีแคลเซียม 4
เปอร์เซ็นต์ ต้องให้เปลือกหอยเสริม 0.56 กิโลกรัม/100 ตัว/สัปดาห์ โดยท่ัวไปแคลเซียมในอาหารไก่ไข่มัก
ไม่พอกับความต้องการของไก่ทจ่ี ะนาไปใช้ในการสร้างเปลอื กไข่ ควรพิจารณาเสรมิ เปลือกหอยสัปดาห์ละ 1
ครัง้ ธารงศกั ด์ิ (2542) ได้สรุปเป็นหลกั เกณฑ์ไว้ดงั ตารางที่ 6.7
ตารางท่ี 6.7 เกณฑใ์ นการเสรมิ เปลือกหอยใหก้ บั ไก่ไข่ 100 ตวั ตามเปอรเ์ ซน็ ตก์ ารใหไ้ ข่
เปอร์เซ็นต์การไข่ ปรมิ าณอาหารท่ีกนิ ปริมาณเปลือกหอยทเี่ สรมิ
(กรัม/ตวั /วนั ) (กโิ ลกรมั /100 ตวั /สัปดาห์)
50 91.5
60 98.5 0.5
70 105.5 0.8
80 112.5 1.1
90 195.5 1.3
ทม่ี า: ธารงศกั ด์ิ (2542) 1.6
(3) หลักการใหอ้ าหารไก่ไข่
การใหอ้ าหารไก่ไข่มีหลกั ในการพิจารณาและควรปฏบิ ตั ดิ งั นี้
1. พิจารณาการเพ่ิม หรือลดปริมาณอาหารตามระดับการใหผ้ ลผลิต
2. ผู้เล้ียงไก่ต้องใช้การสังเกตเปน็ เครื่องตัดสินใจใจการเพ่ิมหรอื ลดปริมาณอาหาร
3. ควรให้อาหารวันละ 2 คร้ัง คือตอนเช้าเวลา 8.00-9.00 น. และตอนบ่ายเวลา
13.00-14.00 น. และไมค่ วรเปล่ยี นแปลงเวลาให้อาหาร
4. ควรให้อาหารกอ่ นการเก็บไข่
5. ควรใหเ้ ปลอื กหอยป่นในตอนบา่ ย
6. ควรให้นา้ ก่อนใหอ้ าหาร เพ่อื ท่ไี กไ่ ดก้ ินนา้ ทันทหี ลังจากกินอาหาร
7. ควรหลกี เล่ียงการสญู เสยี อาหารทกุ วิถที าง
8. ให้อาหารไม่เกิน 1/3 ของความสูงของรางอาหาร
9. พยายามผสมอาหารใชเ้ องถ้าทาไมไ่ ดอ้ าจใชห้ วั อาหารผสม รา ขา้ วโพด หรอื ปลายขา้ ว
1.7 การระบายอากาศ
โรงเรือนเล้ียงไก่ไข่ควรระบายอากาศได้ดี ในโรงเรือนปิดท่ีอุณหภูมิต่ากว่า 30 องศาเซลเซียส
ควรระบายอากาศออกจากโรงเรือน 7 - 8 คิวบิกฟุตต่อนาทีต่อไก่ 1 ตัว แต่ถ้าโรงเรือนมีอุณหภูมิสูงกว่า
30 องศาเซลเซียส ควรระบายอากาศออกจากโรงเรือน 9 - 10 คิวบิกฟุตต่อนาทตี ่อตัว ในโรงเรือนเปิดควร
ติดต้ังพัดลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 36 นิ้ว ทุก ๆ ระยะ 10 เมตร ติดตั้งในระดับความสูงเท่ากับกรงไก่ไข่
โดยหนั หน้าพัดลมไปตามทิศทางลมธรรมชาติ
1.8 การเกบ็ ไข่
เก็บไข่ออกจากรังไข่หรือกรงตับอย่างน้อยวันละ 4 ครั้ง เพื่อหลีกเล่ียงไข่เสียหายและสกปรก หลังจากเก็บ
ไข่ควรรีบทาความสะอาดไข่ และเก็บเข้าห๎องเก็บไข่ท่ีมีอุณหภูมิ 10 - 13 องศาเซลเซียส และมีความชื้น
สมั พทั ธ์ 75 - 85 เปอร์เซน็ ต์ ควรทาความสะอาดและรมควนั ฆ่าเชื้อโรคเสมอ
1.9 การสุขาภิบาลโรงเรือน
การสุขาภิบาลโรงเรือน ไม่ควรให้ผู้ท่ีไม่เก่ียวข้องเข้าโรงเรอื นไก่ไข่ ถ้าจาเปน็ ต้องเข้าควรให้อาบน้า
และเปลี่ยนเสื้อผ้าใหม่ ช่วยลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดของโรคได้ และบริเวณหน้าโรงเรือนต้องมีอ่าง
น้ายาฆ่าเชื้อโรคสาหรับจุ่มเท้าก่อนเข้าโรงเรือนเสมอ ภายในโรงเรอื นควรปัดกวาดหยักไย่ใต้พื้นกรงตับ ตา
ข่าย หลังคา ทาความสะอาดพ้ืนอย่างน้อยวันละครั้ง หากทาไม่สม่าเสมอไก่ไข่อาจตกใจ รางอาหารและถัง
อาหารควรใช้ผ้าแห้งเช็ดสัปดาห์ละครั้ง เช็ดทาความสะอาดหลอดไฟ โคมไฟ พัดลม ถังผสมยาอย่างน้อย
สัปดาห์ละ 1 คร้ังและต้องล้างรางน้าหรือกระติกน้าวันละ 2 ครั้ง ล้างทาความสะอาดท้ังภายในและ
ภายนอกกระติกนา้ หรือรางนา้ บรเิ วณภายนอกโรงเรือนควรทาความสะอาด ตัดหญา้ ขา้ งโรงเรอื นใหส้ ้ันเพื่อ
ไม่ให้บังลม แต่ไมค่ วรถากหญ้าออก โรยปนู ขาวอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครง้ั บริเวณที่เป็นพ้ืนดินชื้นแฉะ พื้น
โรงเรือน และใต้กรงตับ เพราะปนู ขาวมีฤทธิท์ าลายไขแ่ มลงวันได้
1.10 การควบคมุ พยาธภิ ายในและภายนอก
การควบคุมพยาธิภายในและภายนอก โดยการหมั่นผ่าซากไก่ตาย และส่งมูลไก่ไปตรวจไข่พยาธิ
เป็นประจา เมื่อพบให้ทาการถ่ายพยาธิ เพราะพยาธิภายในมีผลทาให้ผลผลิตไข่ลดลง พยาธิภายนอก เช่น
ไรแดง เหา หมัด ควรจับไก่มาเปิดขนดู โดยเฉพาะไก่ท่ีอยู่ใกลก้ ับก๊อกน้า ตรวจหาพยาธิภายนอกโดยเปดิ ขน
ดูบริเวณใกลก้ ับกน้ และตรงไหล่ เพ่ือตรวจดูตัวและไข่พยาธิ พยาธิภายนอกกาจดั โดยการฉดี พ่นแม่ไก่ไข่ให้
ชุ่มด้วยเคร่ืองฉีดน้าแรงดัน 200 - 250 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว ใช้ยาเซฟวิ่น 85 ผสมกับกามะถันและ
ผงซักฟอก แตม่ ขี ้อควรระวงั คือกามะถันไมล่ ะลายนา้ ควรกวนส่วนผสมบ่อย ๆ
1.11 การให้เปลือกหอย
การให้เปลือกหอย ควรโรยเปลอื กหอยปน่ ลงในรางอาหาร หรอื ถังอาหารในอัตรา 0.5 กโิ ลกรัม ต่อ
ไก่ 100 ตัวต่อสัปดาห์ เม่ือไก่ไข่อายุมากขึ้น เพราะไก่ไข่อายุมากมักมีเปลือกไข่บาง ไข่บุบ และแตกง่าย
โดยโรยในตอนเยน็ ก่อนเลกิ งาน ควรทาเป็นประจาทุกวัน
1.12 ลกั ษณะของไกท่ ่ไี ขด่ ีและไขไ่ มด่ ี
การศึกษาถึงลักษณะของไก่ที่ไข่ดีและไข่ไม่ดี มีความจาเป็นท่ีผู้เลี้ยงต้องสังเกตดูลักษณะต่าง ๆ
ของร่างกายท่ีปรากฎให้เห็น ถึงแม้ว่าปัจจุบันไก่ไข่ทางการค้าจะให้ผลผลิตท่ีค่อนข้างสูง แต่ก็มีไก่บางตัวใน
ฝูงไมใ่ ห้ไข่หรือกินอาหารฟรี ถ้าผู้เลี้ยงคดั ไกป่ ระเภทดังกลา่ วออกย่อมทาให้ตน้ ทุนการผลิตต่าลง โดยแสดง
ลักษณะตา่ ง ๆ ของไก่ไข่ ไว้ในตารางที่ 6.8, 6.9 และ 6.10 ดงั นี้
ตารางที่ 6.8 เปรียบเทยี บลกั ษณะไกท่ ี่ไข่ และไกท่ ไี่ มไข
ลกั ษณะ ไกท่ ่ไี ข่ ไก่ทไี่ ม่ไข่
หงอนและเหนียง แดงสดใส อ่อนนุ่ม ใหญ่ เล็ก ซดี หยาบ ตกสะเกด็
หนา้ แดงสดใส เหลืองซีด
ตา กลม โต นนู เด่นสกุ ใส ไมน่ นู เดน่ เซอื่ งซึม
ขอบตา บาง ขอบขาว หนา เหลอื ง
หนงั อ่อนนุ่ม ยืดหยนุ่ หนา ตงึ มไี ขมันใตผ้ วิ หนงั
ขน ย่งุ ขาด สกปรก ไมเ่ งางาม เป็นมันเงางาม หรือหลุดรว่ ง เหลือง
แข้ง ค่อนข้างขาวซีด แบน กลม
กน้ ชุ่มชื้น ขยายใหญ่ มสี ชี มพเู รื่อ ๆ แห้ง เลก็ เหลือง
กระดูกเชงิ กราน ขยายกวา้ งเกนิ กว่า 2-3 นวิ้ มือ เล็ก แคบ
ช่องทอ้ ง เต็ม นิ่ม ยืดหยุน่ แขง็ มไี ขมนั มาก
ท่มี า : ภูวนาท (2544)
ตารางท่ี 6.9 เปรียบเทียบไก่ทไี่ ข่ทน และไข่ไมท่ น
ลกั ษณะ ไก่ไขท่ น ไกไ่ ขไ่ มท่ น
ไขต่ ิดต่อกันไมน่ าน และหยดุ ไข่หลายวัน
ระยะการให้ไข่ ไข่ติดต่อกนั เป็นระยะเวลานาน หรือไข่ 1 วันเว้น 1 วนั ไข่ 3 วนั หยดุ 4 วัน เป็นต้น
สะอาด หลวม
และหยุดไข่เพียงระยะ 1-2 วนั เริ่มผลัดขนเรว็ และใชเ้ วลาในการผลดั ขนนาน
ขน แหง้ และขาดรุ่งร่งิ ไม่เรยี บร้อย
เวลาผลดั ขน เรม่ิ ผลดั ขนช้า และผลดั อยา่ ง
รวดเรว็
ทีม่ า : ภูวนาท (2544)
ตารางที่ 6.10 เปรยี บเทียบไกไ่ ข่ดก และไข่ไมด่ ก
ลกั ษณะ ไก่ไขด่ ก ไก่ไขไ่ ม่ดก
ความลกึ ของลาตัว ลกึ ประมาณ 4 – 5 นว้ิ มอื ลาตวั ต้นื ประมาณ 2 นิว้ มือ
แข้ง เปน็ เหลี่ยมเป็นมุม แขง้ ค่อนข้างกลม
หนัง อ่อนนุ่ม บางและหลวม แขง็ หนา หยาบมีไขมนั มาก
นัยน์ตา นูนเดน่ สดใส ไม่นนู เด่น ขนุ่ มัว
ก้น เปยี กชุม่ ขยายใหญ่ ปลนิ้ ออกง่าย ไม่ค่อยเปียกชุ่ม ปล้ินออกยาก
หงอนและเหนยี ง ใหญ่ แดงสดใส และอ่อนน่มุ เล็ก ไมส่ ดใส และไม่คอ่ ยอ่อนนุ่ม
กระดูกเชิงกราน ชี้ตรงและกว้าง ชเี้ ขา้ หากนั และหนา
เม็ดสที ป่ี รากฏตามส่วน จะจางไปตามจานวนไขท่ ี่ได้ จางหายไปน้อยกวา่ จานวนไข่ท่คี วรจะ
ตา่ ง ๆ ของร่างกาย ได้
ทมี่ า : ภวู นาท (2544)