The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pa0936182147, 2019-06-17 09:32:07

Unit 3

Unit 3

จลุ ชีววทิ ยา (MICROBIOLOGY)

หนว่ ยการรู้ท่ี 3 กล้องจลุ ทรรศน์

1. ประเภทและชนิดกล้องจุลทรรศน์
2. สว่ นประกอบของกลอ้ งจลุ ทรรศน์
3. การใชแ้ ละบารุงรักษากล้องจลุ ทรรศน์

จลุ ชีววิทยา (MICROBIOLOGY)

หน่วยการรู้ที่ 3 กลอ้ งจลุ ทรรศน์

จุดประสงค์การเรยี นร(ู้ นาทาง)
1. เพ่ือใหม้ ีความรูแ้ ละเข้าใจเกย่ี วกับกล้องจลุ ทรรศน์
2. เพ่ือให้มคี วามรู้และเข้าใจเก่ียวกบั ส่วนประกอบของกลอ้ งจุลทรรศน์
3. เพอ่ื ให้มีความร้แู ละเข้าใจเกี่ยวกบั การใช้และบารงุ รกั ษากลอ้ งจุลทรรศน์

จลุ ชวี วทิ ยา (MICROBIOLOGY)

หนว่ ยการรูท้ ี่ 3 กลอ้ งจุลทรรศน์

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้(ปลายทาง)
1. บอกชนดิ กลอ้ งจลุ ทรรศนไ์ ด้
2. อธบิ ายส่วนประกอบของกลอ้ งจลุ ทรรศน์ได้
3. อธบิ ายวิธีการใชแ้ ละบารงุ รกั ษากล้องจุลทรรศนไ์ ด้

จุลชีววิทยา (MICROBIOLOGY)

หน่วยการรทู้ ่ี 3 กลอ้ งจุลทรรศน์

กล้องจุลทรรศน์เป็นอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ท่ีมีความสาคัญในการศึกษาจุล
ชวี วิทยาเป็นอย่างมาก เนื่องจากจุลินทรีย์มีขนาดเล็กจาเป็นต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ใน
การขยายภาพให้มีขนาดใหญ่ข้ึน เพ่ือใช้ในการศึกษาสัณฐานวิทยา สรีรวิทยาของ
จลุ นิ ทรีย์

กล้องจุลทรรศน์ (MICROSCOPE)

1. ประเภทของกล้องจุลทรรศน์

กล้องจลุ ทรรศน์แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
- กล้องจลุ ทรรศน์แบบใชแ้ สง (OPTICAL MICROSCOPES)
- กล้องจุลทรรศนอ์ ิเลก็ ตรอน (ELECTRON MICROSCOPE)

กล้องจุลทรรศน์ (MICROSCOPE)

1.1 กลอ้ งจลุ ทรรศน์ทใ่ี ช้แสงแบบธรรมดา

ประกอบด้วยเลนส์ 2 ชนิดคือ เลนส์ใกล้วัตถุและเลนส์ใกล้ตา เป็นกล้อง
จุลทรรศน์ท่ีใช้แสง ร่วมกับเลนส์เพ่ือทาให้เกิดภาพ โดยใช้แสงผ่านวัตถุแล้วข้ึนมาที่
เลนสจ์ นเหน็ ภาพที่บนวัตถุอย่างชดั เจน

กลอ้ งจุลทรรศนท์ ี่ใชแ้ สงแบบธรรมดา

กลอ้ งจลุ ทรรศน์ (MICROSCOPE)

1.2 กล้องจุลทรรศน์แบบสเตอรโิ อ

เป็นกล้องที่ประกอบด้วยเลนส์ท่ีทาให้เกิดภาพแบบ 3 มิติ ใช้ศึกษาวัตถุที่มี
ขนาดใหญ่แต่ตาเปล่าไม่สามารถแยกรายละเอียดได้จึงต้องใช้กล้องชนิดน้ี ช่วยขยาย
ใช้งานกันอย่างแพร่หลายส่วนมากจะใช้ด้านอุตสาหกรรม ท้ังอุตสาหกรรม
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ หรอื แมแ้ ต่จวิ เวอร์รี่ และการตรวจสอบช้ินงานท่วั ๆไป

กลอ้ งจุลทรรศนแ์ บบสเตอรโิ อ

กลอ้ งจลุ ทรรศน์ (MICROSCOPE)

1.2 กล้องจุลทรรศน์แบบสเตอรโิ อ แบ่งออกเปน็ 3 ชนดิ

1. กล้องจุลทรรศน์แบบสเตอริโอชนิด FIX กาลังขยาย
2. กล้องจุลทรรศน์แบบสเตอริโอชนิด DUAL ZOOM จะเป็นการปรับหมุนท่ี
OBJECTIVE LEN เพื่อเปลี่ยนค่ากาลังขยาย แต่มันสามารถปรับกาลังขายได้เพียงแค่
2 ค่าเทา่ น้ัน
3. กลอ้ งจุลทรรศน์แบบสเตอริโอชนิด ZOOM สามารถทาการปรับกาลังขยาย
ได้อย่างต่อเนอ่ื งทเ่ี ราตอ้ งการทอ่ี ยู่ใน สเกล 0.7X – 4.5X นี้เทา่ น้ัน

กล้องจลุ ทรรศน์ (MICROSCOPE)

1.3 กลอ้ งจุลทรรศนอ์ ิเล็กตรอน

ก ล้ อง จุล ทร รศ น์อิ เล็ ก ต รอ นจ ะใ ช้พ ลั ง ง าน ไฟ ฟ้ า ไป แ ต ก ตั วใ ห้ค ล่ื น อิเ ล็ ก ต ร อ น
(ELECTRON BEAM) เคล่ือนที่ผ่านสนามแม่เหล็ก และผ่านตัวอย่างท่ีติดฉลากด้วยโลหะ
การเคล่ือนที่ของอิเล็กตรอนทาให้เกิดภาพแทนการใช้แสงสว่าง และใช้สนามแม่เหล็กแทน
เลนส์ การเคล่ือนท่ีของอิเล็กตรอนมีความยาวคลื่นสั้นกว่าความยาวคลื่นแสงมาก ทาให้เพ่ิม
กาลังขยายได้เป็นหม่ืน หรือแสนเท่า การปรากฏของภาพจะถูกประมวลผลโดยโปรแกรม
คอมพวิ เตอร์ ลกั ษณะภาพจะแสดงเปน็ ภาพขาวดาเท่าน้ัน

กล้องจลุ ทรรศน์ (MICROSCOPE)

1.3 กลอ้ งจลุ ทรรศน์อเิ ลก็ ตรอนแบบสอ่ งผา่ น (TRANSMISSION ELECTRON
MICROSCOPE : TEM)

สามารถมองเหน็ โครงสร้าง
ภายในของวัตถไุ ด้

กลอ้ งจุลทรรศน์ (MICROSCOPE)

1.3 กล้องจลุ ทรรศนอ์ เิ ล็กตรอนแบบสอ่ งกราด (SCANNING ELECTRON
MICROSCOPE: SEM)

ใช้ศกึ ษาลักษณะพ้นื ผวิ ดา้ นนอก
ของเน้ือเยื่อและเซลล์ หนา้ ตดั ของโลหะและวัสดุ
ภาพทปี่ รากฏสามารถประมวลผลโดย
โปรแกรมคอมพิวเตอรเ์ ป็นภาพ 3 มติ ิ

ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์

1. เลนส์ใกลต้ า หรือ OCULAR (EYEPIECES) ทาหนา้ ที่ขยายภาพท่เี กดิ
จากเลนสว์ ตั ถกุ าลงั ขยายของเลนส์ใกลต้ า มีตวั เลขบอก เช่น 10X,15X,20X
ซึ่งหมายความว่ามกี าลังขยาย 10 เท่า, 15 เทา่ และ 20 เท่า ตามลาดบั

สว่ นประกอบของกล้องจลุ ทรรศน์

2. จานหมนุ (NOSEPIECE) ทาหน้าเปล่ียนเลนสใ์ กล้วัตถุตามความ
ตอ้ งการของผูใ้ ช้ โดยการใช้มอื หมุนทจ่ี าน

สว่ นประกอบของกล้องจลุ ทรรศน์

2. จานหมนุ (NOSEPIECE) ทาหน้าเปล่ียนเลนสใ์ กล้วัตถุตามความ
ตอ้ งการของผูใ้ ช้ โดยการใช้มอื หมุนทจ่ี าน

สว่ นประกอบของกล้องจุลทรรศน์

3. เลนส์ใกล้วัตถุ (OBJECTIVE LENS)

Ocular Objectives magmification at eye point

10X 4 X (low power) 40X
10X 10 X (low power) 100X

10X 40 X (high power or high dry) 400X

10X 100 X (oil immersion) 1000X

ส่วนประกอบของกลอ้ งจุลทรรศน์

4. เลนสร์ วมแสง (CONDENSER) เปน็ ตวั รวมแสงส่องใต้แผ่นสไลด์
5. STAGE เป็นแท่นวางสไลดท์ จ่ี ะสอ่ งดู ตรงกลางมีช่องให้แสงผ่านมา
ด้านขา้ งจะมี SPRING CLIP หรอื SLIDE HOLDER ช่วยยึดสไลด์ให้แนน่ และมี
MECHANICAL STAGE ควบคมุ การเคล่ือนทไ่ี ปมาของแผน่ สไลด์จากซ้ายไป
ขวาหรอื หนา้ มาหลัง

ส่วนประกอบของกล้องจลุ ทรรศน์

6. ปรับปรมิ าณแสง (CONDENSER) เปน็ ตัวควบคมุ ปรมิ าณแสงผา่ นเข้า
กลอ้ ง ประกอบดว้ ยเลนสท์ ใ่ี ช้รวมแสงอยใู่ ต้ STAGE โดยรวมแสงผา่ น
DIAPHRAGM มารวมกันท่ตี รงกลาง STAGE พอดี แลว้ ใหแ้ สงผา่ นวัตถุมาเขา้
ตา กล้องสว่ นใหญ่มีเลนส์ 2 อัน สามารถปรับให้เลือ่ นข้นึ ลงได้

ส่วนประกอบของกลอ้ งจลุ ทรรศน์

7. ปรบั เล่อื นสไลด์ (MECHANICAL STAGE CONTROLS) เปน็ ตัวเลอื่ น
สไลด์ แกน X แกน Yสาหรับเลือกตาแหน่งของภาพท่ีต้องการดู

8. แหลง่ กาเนิดแสง (LIGHT SOURCE) เปน็ แหล่งกาเนิดแสงของกล้อง
อาจเป็นกระจกเงาหรอื หลอดไฟ และมกี ระจกกรองแสงเพือ่ ใหไ้ ดแ้ สงเหมอื น
แสงธรรมชาติ บางกล้องอาจมที ี่ปรับแสงเขา้ มากหรือนอ้ ยตามตอ้ งการ

ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์

9. หวั กล้อง (HEAD) ชนดิ กระบอกตาคมู่ มุ เอน 45 องศา หัวกลอ้ งหมุน
ไดร้ อบตัว 360 องศา และมี ปุ่มลอ็ คตรงึ ให้อยกู่ ับท่ี ทาด้วยโลหะท่แี ขง็ แรง
ปรับระยะหา่ งของตาได้

10. ท่ีหนีบสไลด์ (STAGE CLIP) คือส่วนที่เลือ่ นปรับสไลด์ให้อย่ใู น
ตาแหน่งโฟกสั ของเลนส์ OBJECTIVE

สว่ นประกอบของกล้องจุลทรรศน์

11. ปรบั ความเขม้ แสง (BRIGHTNESS CONTROL KNOB) เปน็ ตัว
ควบคุมแหลง่ กาเนิดแสงของกลอ้ ง ให้สวา่ งมากหรอื นอ้ ยตามต้องการ

12. ปรับภาพหยาบ (COARSE FOCUS) ปมุ่ ปรับระยะโฟกัสอย่างหยาบ
ทาให้ระยะโฟกสั เปลี่ยนไดเ้ ร็ว

สว่ นประกอบของกล้องจลุ ทรรศน์

13. ปรบั ภาพละเอยี ด (FINE FOCUSING KNOB) ปุม่ ปรับระยะโฟกสั
อยา่ งละเอียด ทาใหร้ ะยะโฟกสั เปลย่ี นช้าๆ ทาใหภ้ าพคมชดั ยง่ิ ขน้ึ FINE
ADJUSTMENT บางชนิดมจี านวนรอบจากดั เมือ่ หมุนจนถึงจดุ ทหี่ มุนไม่ไดอ้ กี
ตอ่ ไปจะตอ้ งหยุด ถา้ พยายามหมนุ ตอ่ ไปจะทาใหเ้ ฟืองของล้อหมุนเสียหายได้

14. ฐาน (BASE) คอื สว่ นลา่ งสุดของกล้องจุลทรรศน์ เป็นฐานรองรับ
สว่ นต่างๆ และรับน้าหนกั ทั้งหมดของกลอ้ ง

สว่ นประกอบของกลอ้ งจุลทรรศน์

การใชก้ ล้องจุลทรรศน์

การใช้กลอ้ งจุลทรรศน์เป็นเรือ่ งปกตสิ าหรบั ผูศ้ ึกษาทดลองเก่ียวกับชีววทิ ยา
ฉะน้นั ผใู้ ช้กล้องควรศกึ ษาวธิ กี ารใชก้ ลอ้ งให้ถูกต้องด้วย กรณที จ่ี ะกล่าวตอ่ ไปน้ี
ผู้ใชบ้ างคนอาจคดิ วา่ ไมส่ าคญั หรอื อาจถอื วา่ ตัวเองใช้เป็นแลว้ จะขา้ มขน้ั ตอนไป
ก็ได้

การใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์

การใช้กล้องควรปฏบิ ัติตามขนั้ ตอนดังน้ี

1. ใหใ้ ชก้ ลอ้ งจุลทรรศนท์ ่หี ้องปฏิบัติการมใี ชอ้ ยู่ ยกกล้องอยา่ งถกู วธิ ี
2. วางกล้องไวต้ รงหนา้ ปรบั กลอ้ งให้อยู่ในลักษณะที่สามารถทางานได้สะดวก
3. ควรศกึ ษาระบบการทางานของกลอ้ งและสว่ นประกอบให้เข้าใจกอ่ นลงมอื
ใชจ้ รงิ จากคู่มือหรือถามผ้ดู แู ลห้องปฏิบัติการ

การใชก้ ล้องจุลทรรศน์

การใช้กล้องควรปฏิบัติตามขนั้ ตอนดังน้ี

4. ให้หมุนรีโวลวิงโนสพิชเอาเลนสใ์ กล้วัตถุอันกาลังขยาย 4X หรอื 10X เขา้ ตรงชอ่ ง
กึ่งกลางของแทน่ วางวัตถุ สาหรบั ผู้เรม่ิ ใช้ ขอแนะนาใหใ้ ช้อนั 4X กอ่ น เพราะหาภาพได้ง่าย
กวา่ ขณะหมุนเมอ่ื ไดย้ นิ เสยี งดงั กร๊ิก หมายความวา่ เลนส์เขา้ ทถ่ี ูกต้องแล้ว

5. ปรับเลนส์รวมแสงให้ข้นึ อยู่ในระดับสงู สุด

6. เปดิ ไอรสิ ไดอะเฟรมของเลนส์รวมแสงออกให้กวา้ งท่สี ุด

การใช้กลอ้ งจลุ ทรรศน์

การใช้กลอ้ งควรปฏบิ ัตติ ามข้ันตอนดังน้ี

7. กรณีทใี่ ช้กระจกเงา ใหเ้ ปิดสวิตช์ของหลอดไฟฟา้ จากแหล่งแสง หากแหลง่ แสงอยู่
ท่ฐี านกใ็ ห้เสียบปลกั๊ เปิดสวติ ช์ได้เลย แสงทใ่ี ช้ควรเปน็ แสงขาวนวล

8. ดึงเลนส์ใกลต้ าออกจากกล้องวางในทส่ี ะอาด หากเปน็ แบบสองกระบอกตาใหด้ ึง
ด้านที่ถนัดออกเพียงอนั เดียว

การใชก้ ล้องจุลทรรศน์

การใช้กล้องควรปฏิบัตติ ามขน้ั ตอนดงั นี้

9. มองดูท่ปี ากลากลอ้ งดา้ นทถี่ อดเลนสใ์ กลต้ าออก มือทง้ั สองจบั ที่กระจกเงาหนั เอา
ดา้ นราบเข้าหาแสงสว่าง พยายามปรับให้แสง สะท้อนเข้าส่กู ลอ้ งมากท่ีสุด โดยใหส้ ังเกต
ดังน้ี

ถา้ เห็นแสงขาวนวลเตม็ พื้นทรี่ ับแสงลักษณะเชน่ นถ้ี ือว่าแสงสวา่ งถูกต้องดีแลว้ หาก
แสงไม่เต็ม หรอื ต้องการมากกวา่ นี้ใหใ้ ช้กระจกด้านเว้า แตค่ วรระวงั เพราะแสงมากจะมผี ล
ต่อนัยนต์ าเม่ือแสงถูกต้อง ก็ให้ดาเนินการขัน้ ต่อไป

การใช้กลอ้ งจุลทรรศน์

การใช้กลอ้ งควรปฏบิ ตั ติ ามขั้นตอนดังนี้

10. ปิดไอรสิ ไดอะเฟรมให้มากที่สดุ ขณะปิดให้สงั เกตความเขม้ ของแสงไว้ด้วย
แลว้ กค็ อ่ ยๆ เปดิ ใหก้ วา้ งอีกคร้งั หลังจากนั้นปรับความ เข้มของแสงสวา่ งให้เขา้ สู่
กล้องประมาณ 2/3 หรอื 60-75 เปอรเ์ ซน็ ต์เมื่อทุกอย่างเรียบร้อยใหส้ วมเลนส์ใกลต้ า
กลับเขา้ ทเ่ี ดมิ

การใชก้ ลอ้ งจุลทรรศน์

การใชก้ ล้องควรปฏิบตั ิตามข้นั ตอนดังน้ี

11. นาตัวอยา่ งทต่ี ้องการศึกษาใหส้ ่วนทจ่ี ะดอู ยตู่ รงจดุ ก่ึงกลางตรงสว่ นบนสุดของเลนส์รวมแสง
แท่นธรรมดาต้องใช้สปรงิ คลิบหนบี ตัวอย่างให้แนน่ วิธีการโดยยกปมุ่ ข้นึ ก่อนแล้วหมนุ สปรงิ มาอยู่ตรง
ขอบสไสด์จากนัน้ กค็ อ่ ยๆ กดลงจนแน่น

12. การปรับหาภาพหรือโฟกัสต้องคานงึ ถงึ ระยะทางานของเลนสใ์ กลว้ ัตถทุ ุกครั้ง กลอ้ งเลนส์
ประกอบท่ัวๆ ไป เร่ิมตน้ ดว้ ยการใช้กาลงั ขยายต่าก่อนทกุ ครง้ั แลว้ จงึ ค่อยเปล่ียนเม่อื ภาพชดั เจนไปสู่
กาลงั ขยายท่สี ูงขนึ้ อนั ต่อๆ ไป ตามลาดบั ยกเว้นกล้องสเตอริโอตอ้ งใชก้ าลังขยายสงู สุดก่อน

การใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์

การใช้กล้องควรปฏบิ ตั ิตามขน้ั ตอนดังนี้

13. เลอ่ื นภาพตรงตาแหน่งทตี่ ้องการศกึ ษาเขา้ กง่ึ กลางของพนื้ ที่ หรือตรงเข็มช้ีปรับภาพใหช้ ดั เจน
อกี ครงั้ กอ่ นเปลยี่ นเปน็ กาลังขยายท่สี งู อนั ต่อไป

14. ในกรณีที่แสงมีสคี ่อนไปทางแดงหรอื มีแสงมากเกินไป ใหใ้ ชแ้ วน่ กรองแสงสีฟา้ หรือขาวมวั ๆ
ลดแสงหรอื อาจจะหร่ีไอรสิ ไดอะเฟรมกไ็ ด้

15. กรณีกลอ้ งเป็นแบบหน่งึ กระบอกตาขณะมองภาพต้องลืมตาทง้ั 2 ขา้ ง ไม่ควรหลับตาข้างใด
ขา้ งหน่งึ แม้ว่าคร้ังแรกๆ ทาได้อยาก แต่คร้ังต่อไปจะชินไปเอง ทง้ั นี้เพือ่ ป้องกนั สายตาเอยี ง หรอื ปวด
เหมอ่ื ยในตามีผลทาให้ปวดศรีษะได้ ขณะทางานต้องสลับทงั้ ขา้ งขวาและข้างซ้ายเท่าๆ กัน

การใชก้ ล้องจลุ ทรรศน์

การใช้กล้องควรปฏิบตั ติ ามข้ันตอนดงั น้ี

16. กรณีกลอ้ งแบบสองกระบอกตา ท่ีกระบอกตาจะมีท่ีปรบั ระยะห่างของเลสน์ใกล้ตา ผใู้ ช้
ตอ้ งปรบั ให้ตรงกบั ความต้องการของนัยน์ ตากอ่ นทกุ ครง้ั

17. กรณใี ช้กาลงั ขยาย 100X ตอ้ งใช้น้ามัน วธิ ีการหยดทาได้ทง้ั ทต่ี ัวอย่างและหนา้ เลนส์
กลา่ วคือ หมนุ หน้าเลนส์อันกาลังขยาย 100X ขนึ้ ดา้ นบน เมอื่ หยดน้ามันแล้วหมุนกลับเข้าทีเ่ ดมิ
เมือ่ เลิกใชง้ านต้องการเชด็ น้ามนั ออกกก็ ระทาแบบเดียวกัน หากเปล่ียนกาลงั ขยายหรอื เปลย่ี นสไลด์
ให้เปล่ยี นจากอนั 100X ไปหาอนั 4X ไม่ใชเ่ ปล่ียนจาก 100X ไปหา 40X ซงึ่ ระยะทางานใกลเ้ คียง
กันมาก บางครงั้ นา้ มนั อาจโดนเลนส์ อัน 40X ได้

การใชก้ ล้องจลุ ทรรศน์

การใชก้ ล้องควรปฏิบตั ิตามขน้ั ตอนดังน้ี

18. การใชก้ ล้องสาหรับงานเฉพาะอย่าง กลอ้ งจลุ ทรรศนแ์ บบเรอื งแสง หาก
ไม่มคี วามร้เู ก่ียวกบั วิธกี ารใชห้ ้ามใชเ้ ดด็ ขาด เพราะนอกจากจะทาให้กลอ้ งเสยี หาย
แล้วผ้ใู ช้เองอาจมีอนั ตรายถงึ กบั นัยน์ตาบอด

ขอ้ ควรระวงั ในการใชก้ ล้องจุลทรรศน์

1) ในการยกกล้องและเคลือ่ นยา้ ยกล้อง ตอ้ งใชม้ ือหน่งึ จบั ทีแ่ ขนและอกี มือหน่งึ รองทฐ่ี านของ
กลอ้ ง

2) สไลด์และกระจกปดิ สไลดท์ ีใ่ ชต้ ้องไมเ่ ปยี ก เพราะอาจจะทาใหแ้ ท่นวางวัตถเุ กิดสนิม และเลนส์
ใกล้วตั ถอุ าจขึ้นราได้

3) เมอื่ ต้องการหมนุ ปุม่ ปรบั ภาพหยาบตอ้ งมองด้านขา้ งตามแนวระดบั แท่นวางวตั ถุ เพ่อื ป้องกัน
การกระทบของเลนสใ์ กล้วตั ถุกับกระจกสไลด์ ซึ่งอาจทาใหเ้ ลนส์แตกได้

4) การหาภาพตอ้ งเรมิ่ ดว้ ยเลนสใ์ กล้วัตถทุ ม่ี กี าลงั ขยายตา่ สดุ ก่อนเสมอ

ขอ้ ควรระวงั ในการใช้กลอ้ งจุลทรรศน์

5) เมื่อต้องการปรบั ภาพให้ชดั ขึ้นให้หมนุ เฉพาะปุ่มปรบั ภาพละเอียดเทา่ น้ัน เพราะถ้าหมนุ ปมุ่
ปรับภาพหยาบจะทาใหร้ ะยะภาพหรอื จดุ โฟกสั ของภาพเปลยี่ นไปจากเดมิ

6) ห้ามใชม้ อื แตะเลนส์ ควรใช้กระดาษเชด็ เลนส์ในการทาความสะอาดเลนส์
7) เมื่อใชเ้ สรจ็ แล้วต้องเอาวัตถุทศี่ ึกษาออก เช็ดแทน่ วางวตั ถุและเช็ดเลนส์ให้สะอาด หมุนเลนส์
ใกลว้ ัตถุกาลังขยายต่าสดุ ให้อยตู่ รงกลางลากลอ้ ง และเลื่อนลากลอ้ งลงต่าสุด ปรับกระจกให้อยูใ่ น
แนวตงั้ ฉากกับแทน่ วางวัตถุเพอื่ ป้องกันไมใ่ หฝ้ ุน่ เกาะ แลว้ เกบ็ ใส่กล่องหรือตใู้ ห้เรยี บรอ้ ย

การบารุงรักษากลอ้ งจลุ รรศน์

1) ควรดูแลรักษากล้องให้สะอาดอย่เู สมอ และเมอ่ื ไม่ได้ใชก้ ล้องควรใชถ้ ุงคลมุ กล้องไวเ้ สมอ เพอ่ื
ปอ้ งกนั ฝุ่นละอองและสง่ิ สกปรกเขา้ ไปสัมผสั กับเลนสข์ องกลอ้ ง

2) ในการทาความสะอาดหรือการประกอบกลอ้ ง ควรทาดว้ ยความระมดั ระวงั อย่าใหช้ ้ินส่วนถกู
กระแทกหรือหลุดตกหล่น กรณีท่กี ลอ้ งหรือสว่ นประกอบใดๆของกลอ้ งตกหรือกระแทก จะมีผลใหเ้ ม่อื
ประกอบกล้องแล้วภาพทเี่ หน็ ไมค่ มชัด เปน็ เพราะระบบภายใน (ปรซิ มึ ) อาจเกิดการคลาดเคล่ือนได้ ซ่ึง
กรณีนี้ ควรสง่ ใหก้ ับบรษิ ทั ซอ่ ม เพราะการตงั้ ศนู ย์ของปรซิ ึมและระบบเลนสภ์ ายในนั้นต้องใชเ้ ครือ่ งมอื ท่ี
ซับซ้อนและความชานาญของชา่ ง

การบารุงรกั ษากล้องจุลรรศน์

3) หา้ มใชม้ ือหรอื สว่ นใดๆของรา่ งกาย สัมผัสถูกส่วนทเ่ี ปน็ เลนส์ และหลีกเล่ียงการนาเลนสอ์ อก
จากตัวกลอ้ ง

4) ในกรณีท่ีถอดเลนสอ์ อกจากตัวกล้อง ควรใช้ฝาครอบดว้ ยทกุ คร้ังเพื่อป้องกันไมใ่ หฝ้ ่นุ ละออง
เขา้ ไปขา้ งใน ซ่ึงอาจทาให้เกิดความไมช่ ดั ของการมองภาพ

5) สาหรบั เลนส์ใกลว้ ัตถุ 100X ท่ใี ชก้ บั OIL IMMERSION หลงั จากใชแ้ ล้ว ควรทาความสะอาด
ทุกครั้ง โดยการเชด็ ดว้ ยกระดาษเช็ดเลนส์ COTTON BUD หรอื ผา้ ขาวบางท่สี ะอาด และนมุ่ ชุบด้วย
นา้ ยาไซลนี หรอื ส่วนผสมของแอลกอฮอลแ์ ละอเี ทอร์ ในอตั ราสว่ น 40:60 ตามลาดับ

การบารุงรักษากล้องจุลรรศน์

6) ควรหมนุ ปรบั ปมุ่ ปรับความฝืดเบาใหพ้ อดี ไม่หลวมเกนิ ไป ซ่ึงจะทาใหแ้ ท่นวางสไลด์เลอื่ นหมุด
ลงมาได้ง่าย หรือฝดื จนเกินไปทาใหก้ ารทางานช้าลง

7) ปุ่มปรบั ภาพหยาบนนั้ ควรหมนุ ในลักษณะทวนเขม็ นาฬกิ าอย่างชา้ ๆ จนกว่าจะได้ภาพ ห้าม
ปรบั ปมุ่ ปรับภาพท้งั ซา้ ยและขวาของตวั กล้องในลกั ษณะสวนทางกนั เพราะนอกจากจะไม่ได้ภาพตาม
ต้องการแลว้ ยงั จะทาใหเ้ กิดการขดั ขอ้ งของฟันเฟือง

8) ในกรณีตอ้ งการใช้แสงมากๆควรใช้การปรบั ไดอะเฟรม แทนการปรับเรง่ ไฟไปตาแหนง่ ทีก่ าลงั
แสงสวา่ งสดุ (กรณีหลอดไฟ) จะทาใหห้ ลอดไฟมีอายยุ าวข้ึน

การบารุงรักษากลอ้ งจุลรรศน์

9) กอ่ นปิดสวติ ช์ไฟทุกคร้ังควรหรไ่ี ฟกอ่ นเพอ่ื ยดื อายุการใชง้ าน และเมื่อเลกิ ใช้กค็ วรปดิ สวิตชท์ ุกคร้งั
10) การเสยี บปลั๊กไฟของตวั กล้องไมค่ วรใชร้ วมกนั กับเครื่องใชไ้ ฟฟา้ อื่น เพราะจะทาใหห้ ลอดไฟขาด
งา่ ย
11) หลงั จากเช็ดสว่ นใดๆของกล้องก็ตาม ถ้าไม่แน่ใจวา่ แห้งหรอื ปราศจากความชืน้ แลว้ ควรเป่าลม
ให้แห้ง โดยใช้พดั ลม หรือ ลกู ยางเปา่ ลม (หา้ มเปา่ ดว้ ยปากเพราะจะมีความช้ืน)
12) เมอ่ื แน่ใจว่าแหง้ และสะอาดแลว้ จึงคลุมดว้ ยถุงพลาสตกิ
13) เก็บกลอ้ งไว้ในท่ีท่ีคอ่ นข้างแหง้ และไม่มคี วามชื้น

การทาความสะอาดเลนส์

1) เปา่ หรือปดั เศษผงหรอื วสั ดอุ ่นื ๆที่อาจจะกอ่ ให้เกดิ รอยขดู ขดี บนพืน้ ผิวเลนส์ โดยใช้ลกู ยางบบี หรอื
ปัดดว้ ยแปรงขนออ่ นๆ แตถ่ ้ายงั ไมส่ ามารถเอาออกไดใ้ ห้ใช้ผา้ ขาวบางท่ีสะอาดและนมุ่ ชุบด้วยน้าเช็ดเบาๆ

2) เตรยี มน้ายาเช็ดเลนส์ (อีเทอร์:แอลกอฮอล์ = 60:40)
3) ทาความสะอาดทั้งเลนส์ใกลต้ า และเลนสใ์ กลว้ ัตถุ ใช้ COTTON BUD หรอื กระดาษเช็ดเลนสพ์ นั
รอบปลายคีบ แล้วชุบด้วยนา้ ยาเชด็ เลนส์เพียงเลก็ นอ้ ย แล้วจึงเรม่ิ เช็ดเลนสจ์ ากจุดศูนย์กลางของเลนสแ์ ลว้
หมนุ ทารัศมกี วา้ งขึน้ เรอ่ื ยๆไปสู่ขอบเลนสอ์ ยา่ งชา้ ๆ

การทาความสะอาดเลนส์

4) ในการใช้น้ายาเชด็ เลนส์ต้องระวังด้วยว่าน้ายานน้ั สามารถละลายสขี องกลอ้ งและละลายกาวของ
เลนสไ์ ด้

5) ในการผสมน้ายาเชด็ เลนสอ์ าจเปลยี่ นแปลงได้ตามอุณหภมู ิและความชนื้ หากอีเทอร์มากเกินไปอาจ
ทาใหม้ รี อยการเช็ดอยบู่ นเลนสไ์ ด้ แต่ถา้ แอลกอฮอลม์ ากเกนิ ไปจะมรี อยเปน็ คราบอย่บู นเลนส์เชน่ กนั

งานมอบหมาย

วิชาการจดั การส่งิ แวดลอ้ มในฟาร์มสัตว์เลยี้ ง

ให้นกั ศกึ ษาแบ่งกลุ่มออกเป็น 3 กล่มุ ๆ ละ 2 คน ตามความสมัครใจของผเู้ รยี น โดยใหท้ ารายงาน
เปน็ รปู เลม่ แบบสมบรู ณ์ และ POWERPOINT พร้อมรายงานหนา้ ช้ันเรียน ในชว่ั โมงเรยี นวันพฤหัสบดที ี่
15 พฤศจกิ ายน 2561

1. หลกั ปฏบิ ตั ิในการจดั การสง่ิ แวดลอ้ มในฟารม์ สัตวเ์ ล้ียง
2. การจดั การสง่ิ แวดลอ้ มตามมาตรฐานฟารม์ สตั วเ์ ลี้ยง
3. การปรับสภาพแวดลอ้ มให้เหมาะสมกับการเลี้ยงสตั ว์

หมายเหตุ : ในชั่วโมงวิชาการปรบั ปรุงพันธ์สุ ัตว์ และจุลชวี วทิ ยา ให้ทกุ คนไปเคลียรง์ านที่ค้างทกุ รายวชิ า
ให้เสร็จและใหน้ าแฟ้มสะสมผลงานมาสง่ ในช่ัวโมงเรียนวนั พฤหสั บดีท่ี 15 พฤศจกิ ายน 2561 ด้วย


Click to View FlipBook Version