The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1นวัตกรรมพระอภัยมณี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kannika64, 2022-03-28 08:56:47

1นวัตกรรมพระอภัยมณี

1นวัตกรรมพระอภัยมณี

บทเรยี นเสมอื นจรงิ

ชดุ ที่ ๓ พระอภัยมณี
ตอนหนีนางผเี สอื้ สมุทร

นางกรรณิการ์ พัฒนนิติศกั ดิ์ ม.๓

ตำแหน่งครู วทิ ยฐำนะ ครชู ำนำญกำรพิเศษ

บทเรยี นเสมอื นจริง

คำนำ

บทเรียนเสมือนจรงิ กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชดุ ที่ 3 เรือ่ งพระอภัยมณี
ตอน พระอภยั มณหี นนี างผีเสอ้ื จัดทาขึ้นเพอ่ื เปน็ เครอื่ งมอื ในการพฒั นาทักษะการอ่านเชิง
วิเคราะห์ ประเมนิ คุณค่าวรรณคดใี ห้กบั นักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 การอา่ นพจิ ารณาคุณค่า
วรรณคดเี ป็นเครอ่ื งมอื สาคญั ในการทาความเขา้ ใจวรรณคดี ไดแ้ ก่ การศึกษาดา้ นเนื้อหา
รปู แบบความงามทางภาษาด้านวรรณศิลป์ สงั คม แนวคดิ เพ่ือเปน็ พื้นฐานในการวิเคราะห์
วิจารณ์และประเมินคณุ คา่ ซง่ึ เป็นการศึกษาวรรณคดี ในระดบั ลกึ ซึง้ ยงิ่ ขึน้

ในการจัดทาบทเรียนเสมือนจริง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย น้ัน ได้ลาดับข้ันตอน
การทาจากง่ายไปยาก เพื่อเป็นการกระตุ้น เร้าใจ ให้นักเรียนมีความสนใจต่อการเรียนรู้
การฝึกการอ่านเชิงวิเคราะห์ เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเขียนเร่ืองจากจิตนาการเชิงสร้างสรรค์ และ
มเี จตคตทิ ด่ี ตี อ่ การเรยี นภาษาไทย

ผจู้ ัดทาหวงั เป็นอยา่ งยงิ่ ว่า บทเรียนเสมือนจรงิ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชุดท่ี 3
เรอ่ื งพระอภยั มณี ตอน พระอภัยมณีหนนี างผเี สอื้ จะเปน็ แนวทางหนง่ึ ในการจัดกระบวนการสอน
การอา่ นเชิงวเิ คราะห์ ประเมินคา่ กระบวนการคดิ ให้กบั นักเรยี นไดต้ ามเจตนารมณข์ องหลักสตู ร
และเป็นประโยชน์ตอ่ การจดั กระบวนการเรยี นร้ขู องครกู ลุ่มสาระภาษาไทย และกลมุ่ สาระอ่นื ๆ
หากมขี อ้ บกพรอ่ งประการใด ผ้จู ดั ทาขอนอ้ มรับคาแนะนาดว้ ยความขอบคุณยงิ่

กรรณกิ าร์ พฒั นนติ ศิ กั ดิ์

ชุดที่ ๓ พระอภัยมณี
ตอนหนีนางผีเสอื้ สมุทร

บทเรียนเสมือนจริง
คำแนะนำกำรใช้บทเรยี นเสมอื นจรงิ สำหรบั ครู

บทเรียนเสมือนจริง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 มีกิจกรรม
ทงั้ หมด 5 กิจกรรม แตล่ ะชดุ มีกิจกรรมการเรียนรู้ จานวน 5 กจิ กรรม และเพ่ือให้การใช้
บทเรยี นเสมือนจริง อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธิผล ครผู ้สู อนควรดาเนินการ ดังน้ี

1. เตรียมและศึกษาแผนการจดั การเรียนร้แู ละบทเรียนเสมือนจรงิ กอ่ นท่ีจะใหน้ ักเรียน
ไดป้ ฏิบตั กิ ิจกรรมในชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ดว้ ยบทเรียนเสมอื นจริง

2. อธบิ ายใหน้ ักเรยี นทราบถงึ จดุ ประสงค์ของการใช้ ชุดกิจกรรมการอ่านพจิ ารณาคุณค่า
วรรณคดี เพ่อื ใหน้ ักเรยี นไดป้ ระโยชน์สงู สุดจากการเรยี นด้วยชดุ บทเรียนเสมือนจรงิ

3. ตระหนกั อย่เู สมอวา่ ในการทากจิ กรรมควรใหน้ กั เรียนมีส่วนร่วมมากทสี่ ุด อาทิ การมี
ส่วนรว่ มในการทากิจกรรม การตรวจแบบฝึกหัดดว้ ยตนเอง การเสนอแนะหรือแสดงความ
คิดเห็นในการนาเสนอผลงาน ตลอดจนการบนั ทกึ คะแนน และการเปรียบเทียบพฒั นาการของ
ตนเอง

4. ใหน้ ักเรียนอ่านและปฏิบตั ิตามคาแนะนาสาหรับนกั เรยี นในบทเรียนเสมือนจรงิ

ชดุ ที่ ๓ พระอภัยมณี
ตอนหนีนางผเี สอื้ สมทุ ร

บทเรียนเสมอื นจริง
คำแนะนำกำรใช้บทเรยี นเสมือนจรงิ สำหรับนกั เรยี น

บทเรยี นเสมือนจรงิ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 มกี จิ กรรม
ทั้งหมด 5 กจิ กรรม แตล่ ะชดุ มีกิจกรรมการเรียนรู้ จานวน 5 กิจกรรม และเพอื่ ใหก้ ารใช้
บทเรียนเสมอื นจรงิ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพและเกิดประสทิ ธผิ ล ครผู ู้สอนควรดาเนินการ ดงั นี้

1. นักเรยี นปฏบิ ตั ิตามขนั้ ตอนการเรยี นรูใ้ นชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยบทเรียนเสมือนจริง
2. นักเรยี นศกึ ษาจดุ ประสงค์ของการใช้ ชุดกิจกรรมการอา่ นพิจารณาคุณค่าวรรณคดี
เพอื่ ให้นักเรยี นไดป้ ระโยชน์สงู สุดจากการเรยี นดว้ ยชดุ บทเรียนเสมอื นจริง
3. นกั เรียนควรมสี ว่ นรว่ มในการทากิจกรรม เชน่ การตรวจแบบฝกึ หดั ดว้ ยตนเอง
การเสนอแนะหรอื แสดงความคิดเหน็ ในการนาเสนอผลงาน ตลอดจนการบนั ทกึ คะแนน และการ
เปรยี บเทียบพฒั นาการของตนเอง
4. นกั เรียนต้องอ่านและปฏบิ ัติตามคาแนะนาสาหรบั นักเรียนในบทเรียนเสมือนจรงิ

ชุดที่ ๓ พระอภยั มณี
ตอนหนนี างผเี สอื้ สมทุ ร

บทเรยี นเสมอื นจริง
มำตรฐำนกำรเรียนร้แู ละตวั ชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้ ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทย
อยา่ งเห็นคุณค่า และนามาประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตจรงิ

ตวั ชว้ี ัด
สามารถพิจารณาคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ทั้งดา้ นวรรณศลิ ป์ ด้านเนอ้ื หา

ด้านสังคม และดา้ นการนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้
จดุ ประสงค์การเรียนรู้

๑. นักเรยี นมคี วามร้คู วามเข้าใจและบอกหลกั การอ่านพจิ ารณาคณุ ค่าวรรณคดีได้
๒. นักเรยี นสามารถบอกคุณคา่ ของวรรณคดีท่ีอ่านได้
๓. นักเรยี นสามารถวิเคราะห์เนื้อหาและความสาคญั ของวรรณคดที ่อี ่านได้
๔. นักเรยี นสามารถสรุปใจความสาคัญของวรรณคดีที่อ่านได้
๕. นกั เรยี นสามารถถอดคาประพนั ธจ์ ากวรรณคดที อ่ี ่านได้
๖. นักเรยี นบอกความหมายของคาศัพท์ได้
๗. นกั เรยี นสรุปความรู้ทีไ่ ดจ้ ากการอา่ นวรรณคดีได้
๘. นกั เรยี นอ่านออกเสยี งทานองเสนาะได้ถกู ต้อง
๙. นักเรียนมเี จตคติที่ดตี ่อการอา่ นวรรณคดี

ชุดที่ ๓ พระอภัยมณี
ตอนหนนี างผีเสือ้ สมทุ ร

บทเรยี นเสมือนจริง
สำระสำคัญ

การพจิ ารณาคุณคา่ วรรณคดี หหรือการพนิ ิจวรรณคดี
เปน็ เคร่อื งมือสาคญั ในการทาความเข้าใจวรรณคดี
ไดแ้ ก่ การศกึ ษาด้านเน้อื หา รปู แบบความงามทางภาษา
ด้านวรรณศิลป์ สังคม แนวคิด เพ่อื เป็นพน้ื ฐานในการ
วิเคราะห์ วจิ ารณ์และประเมินคณุ คา่
ซงึ่ เปน็ การศึกษาวรรณคดี ในระดับลกึ ซงึ้ ยิ่งข้นึ

ชดุ ที่ ๓ พระอภยั มณี
ตอนหนนี างผีเสอื้ สมทุ ร

บทเรยี นเสมอื นจริง

บทเรยี นคณุ คำ่ วรรณคดี

วรรณคดีมขุ ปาฐะ
วรรณคดีราชสานัก หรอื วรรณคดลี ายลกั ษณ์

ชุดที่ ๓ พระอภัยมณี
ตอนหนีนางผีเสือ้ สมุทร

บทเรยี นเสมือนจรงิ

หลกั กำรอ่ำนพจิ ำรณำคณุ ค่ำวรรณคดี

ชดุ ที่ ๓ พระอภัยมณี
ตอนหนีนางผีเสือ้ สมทุ ร

บทเรยี นเสมือนจริง

หลักกำรอำ่ นพจิ ำรณำคณุ ค่ำวรรณคดี
ดำ้ นวรรณศลิ ป์

ย่ำมกระสอบ กรอบแกรบ กระไกรกรกิ กลกั พรกิ พลกิ แพลง ตะแคงหงำย
กูบกระโดด โยกอยำ่ ง ทุกย่ำงเดิน เขย้อื นเยิน ยอบเยอื ก ยะยวบกำย
กบั หมไู่ ม้ ไกรกรวย กันเกรำกรำ่ ง พะยอมยำง ตำพยัคฆ์ พยุงเหยี ง
นกบนิ กรวด พรวดพรำด ประกำยพรำย พลกุ ระจำย ช่อช่วง ดังดวงเดือน
เพดำนดำด ลำดล้วน กระจกงำม พระเพลงิ พลำม พร่ำงพรำ่ ง สว่ำงพรำย

ชุดที่ ๓ พระอภัยมณี
ตอนหนีนางผีเสือ้ สมทุ ร

บทเรียนเสมอื นจรงิ

หลักกำรอ่ำนพิจำรณำคณุ คำ่ วรรณคดี

จาก
จาก
จาก จาก

ชดุ ที่ ๓ พระอภัยมณี
ตอนหนนี างผีเสอื้ สมทุ ร

บทเรียนเสมือนจริง

หลักกำรอ่ำนพจิ ำรณำคุณค่ำวรรณคดี

เชน่ ใชค้ าว่า “งาม” ซ้าๆกันเพ่อื ยา้ ให้เห็นความงาม

ของนางเทพอัปสร และยังทง้ิ ทา้ ยดว้ ยความว่า
“...งามออ่ นท้ังกายา” เพ่ือบง่ บอกวา่ เป็นความงามของสตรีเพศ
ทีส่ มบรู ณป์ ราศจากท่ีติ จนทาให้นนทกน้นั มคี วามหลงใหล

ชุดที่ ๓ พระอภัยมณี
ตอนหนีนางผีเสอื้ สมทุ ร

บทเรยี นเสมือนจรงิ

หลกั กำรอ่ำนพจิ ำรณำคณุ ค่ำวรรณคดี

ชดุ ที่ ๓ พระอภัยมณี
ตอนหนีนางผีเสือ้ สมทุ ร

บทเรยี นเสมือนจรงิ

หลักกำรอำ่ นพจิ ำรณำคุณคำ่ วรรณคดี
ด้ำนเนื้อหำ

เชน่ จากเรือ่ งนริ าศภูเขาทอง สุนทรภู่ไดเ้ ขยี นบรรยายวา่

“ทั้งองคฐ์ าน ราญรา้ ว ถึงเกา้ แสก เผลอแยก ยอดสดุ ก็หลุดหกั

โอเ้ จดีย์ ท่ีสรา้ ง ยงั ร้างรัก เสียดายนกั นกึ น่า น้าตากระเดน็

กระนห้ี รือ ชือ่ เสียง เกียรติยศ จะมหิ มด ล่วงหนา้ ทันตาเหน็

เป็นผู้ดี มีมาก แล้วยากเย็น คดิ ก็เปน็ อนิจจงั เสยี ทงั้ น้ัน

ชดุ ที่ ๓ พระอภยั มณี
ตอนหนีนางผีเสือ้ สมทุ ร

บทเรียนเสมือนจริง

หลักกำรอำ่ นพจิ ำรณำคุณคำ่ วรรณคดี
ดำ้ นสังคม

๑. เนือ้ เรื่องสะท้อนให้เหน็ ถึงความเชอื่ ในเรือ่ งการกลบั ชาติมาเกิด
๒. เนอ้ื เรอ่ื งสะท้อนให้เห็นพฤตกิ รรมของการจองเวร กอ่ ให้เกดิ

การล้างแคน้ ที่ไม่สน้ิ สุด
๓. คตธิ รรมจากเร่อื งนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นการดารงชวี ติ ประจาวนั ได้

“ถงึ หน้าแพ แลเห็น เรือทนี่ ง่ั คิดถงึ คร้ัง กอ่ นมา น้าตาไหล

เคยหมอบรบั กับพระ จมน่ื ไวย แลว้ ลงใน เรอื ทีน่ งั่ บลั ลังกท์ อง

เคยทรงแต่ง แปลงบท พจนารถ เคยรบั ราช โองการ อา่ นฉลอง

จนกฐนิ แมน่ า้ แลลาคลอง มไิ ดข้ อ้ ง เคืองขดั หทั ยา”

ชดุ ที่ ๓ พระอภยั มณี
ตอนหนีนางผีเสอื้ สมทุ ร

บทเรยี นเสมอื นจริง

หลกั กำรอ่ำนพิจำรณำคุณคำ่ วรรณคดี
ด้ำนกำรนำไปใช้ในชีวติ ประจำวัน

ชดุ ที่ ๓ พระอภัยมณี
ตอนหนนี างผีเสอื้ สมทุ ร

บทเรยี นเสมอื นจริง

ผูแ้ ต่ง : พระสนุ ทรโวหาร (ภู่) หรอื สุนทรภู่
ลกั ษณะคาประพนั ธ์ : นทิ านคากลอน
ทม่ี าของเร่ือง : หนังสอื เร่ืองพระอภัยมณี

ตอนพระอภัยมณหี นนี างผีเสอ้ื
จุดประสงค์ในการแตง่ :

เพอื่ เปน็ นทิ านอา่ นความเพลดิ เพลนิ
และแตง่ ถวายกรมหม่นื อปั สรสดุ าเทพ

สุนทร ภู่กวีเอกแห่งกรงุ รตั นโกสินทร์ เกิดเม่ือ
วันที่ ๒๖ มถิ ุนำยน ๒๓๒๙ รชั สมัยสมเดจ็ พระพุทธยอดฟำ้
จฬุ ำโลกมหำรำช บดิ ำเปน็ ชำวบ้ำนกรำ่ อำเภอแกลง
จงั หวัดระยอง มำรดำเปน็ ชำวฉะเชิงเทรำ บิดำกบั มำรดำเลกิ รำ้ งกนั
มำรดำเปน็ นำงนมในพระองค์เจำ้ จงกล

-นิรำศ ๙ เรื่อง ไดแ้ ก่ นริ ำศเมอื งแกลง นิรำศพระบำท
นริ ำศภูเขำทอง นริ ำศสุพรรณบุรี นริ ำศวดั เจำ้ ฟ้ำ นิรำศอิเหนำ
นิรำศพระปฐม นิรำศเมืองเพชรบรุ ี และนริ ำชพระแทน่ ดงรัง
-นิทำงคำกลอน ๕ เร่อื ง ไดแ้ ก่ โคบุตร พระอภยั มณี
ลักษณวงศ์ สิงหไกรภพ คำกำพย์ 1 เร่ือง คือ กำพยพ์ ระไชยสรุ ิยำ

ชดุ ที่ ๓ พระอภัยมณี
ตอนหนีนางผีเสือ้ สมทุ ร

บทเรยี นเสมอื นจริง

ผูแ้ ต่ง : พระสนุ ทรโวหาร (ภู่) หรอื สุนทรภู่
ลกั ษณะคาประพนั ธ์ : นทิ านคากลอน
ทม่ี าของเร่ือง : หนังสอื เร่ืองพระอภัยมณี

ตอนพระอภัยมณหี นนี างผีเสอ้ื
จุดประสงค์ในการแตง่ :

เพอื่ เปน็ นทิ านอา่ นความเพลดิ เพลนิ
และแตง่ ถวายกรมหม่นื อปั สรสดุ าเทพ

สุนทร ภู่กวีเอกแห่งกรงุ รตั นโกสินทร์ เกิดเม่ือ
วันที่ ๒๖ มถิ ุนำยน ๒๓๒๙ รชั สมัยสมเดจ็ พระพุทธยอดฟำ้
จฬุ ำโลกมหำรำช บดิ ำเปน็ ชำวบ้ำนกรำ่ อำเภอแกลง
จงั หวัดระยอง มำรดำเปน็ ชำวฉะเชิงเทรำ บิดำกบั มำรดำเลกิ รำ้ งกนั
มำรดำเปน็ นำงนมในพระองค์เจำ้ จงกล

-นิรำศ ๙ เรื่อง ไดแ้ ก่ นริ ำศเมอื งแกลง นิรำศพระบำท
นริ ำศภูเขำทอง นริ ำศสุพรรณบุรี นริ ำศวดั เจำ้ ฟ้ำ นิรำศอิเหนำ
นิรำศพระปฐม นิรำศเมืองเพชรบรุ ี และนริ ำชพระแทน่ ดงรัง
-นิทำงคำกลอน ๕ เร่อื ง ไดแ้ ก่ โคบุตร พระอภยั มณี
ลักษณวงศ์ สิงหไกรภพ คำกำพย์ 1 เร่ือง คือ กำพยพ์ ระไชยสรุ ิยำ

ชดุ ที่ ๓ พระอภัยมณี
ตอนหนีนางผีเสือ้ สมทุ ร

บทเรยี นเสมือนจรงิ

นทิ านคากลอนเรือ่ งพระอภัยมณี เป็นจินตนิยายทมี่ แี นวคิดแปลกใหม่ โดยได้
ประสมประสานเหตุการณ์ในชีวิตจริงและจินตนาการมาเรียงร้อยเป็น
เรือ่ งราวทสี่ นกุ สนาน ให้ข้อคดิ คตธิ รรมในการดาเนนิ ชวี ติ

ชดุ ที่ ๓ พระอภยั มณี
ตอนหนนี างผีเสือ้ สมุทร

บทเรยี นเสมือนจรงิ

ความเป็นมา

นิทานคากลอนเรือ่ งพระอภัยมณเี ป็นวรรณคดที ่ีได้รับการยกย่องว่าเป็นผลงาน
ที่ดเี ด่นเรื่องหนง่ึ ของสุนทรภู่ เปน็ เรอ่ื งทีแ่ สดงใหเ้ ห็นแนวคิดแปลกใหม่เกย่ี วกับ
ตัวละคร ฉาก สถานท่แี ละให้ความรใู้ นเรอื่ งคติธรรมสอนใจในการดาเนินชีวิต
ได้เปน็ อยา่ งดี

ลกั ษณะคาประพนั ธ์

เรื่องพระอภยั มณีเปน็ กลอนนทิ านท่ีประพันธ์ด้วยกลอนสภุ าพทีเ่ ป็นเอกลกั ษณ์
เฉพาะตัวของสนุ ทรภู่ คือแตล่ ะวรรคจะมีสัมผัสใน ทงั้ สัมผสั สระและสัมผัส
อกั ษร ทาให้คากลอนมคี วามไพเราะ

ชุดที่ ๓ พระอภยั มณี
ตอนหนีนางผีเสอื้ สมทุ ร

บทเรยี นเสมอื นจรงิ

เรือ่ งย่อ

ท้าวสุทัศน์กษตั ริยแ์ หง่ เมืองรัตนา โปรดให้โอรสทัง้ สองพระองค์ คือ
พระอภัยมณี และศรีสวุ รรณ ไปเรียนวิชาเพ่ือกลับมาปกครองบ้านเมือง แต่
พระอภยั มณกี ลับเลือกเรียนวชิ าเปา่ ปี่ ส่วนศรสี วุ รรณเรยี นวิชากระบก่ี ระบอง
พระบดิ าทรงกรวิ้ เพราะเหน็ วา่ วิชาท่เี รียนไมส่ ามารถใช้ประโยชน์ในการ
ปกครองบา้ นเมอื งได้ พระโอรสทั้งสองพระองคจ์ ึงทรงถูกขับไล่ออกจากเมอื ง
เสด็จไปพบพราหมณ์สามคน คือ วเิ ชยี ร โมราและสานน พราหมณท์ ้ังสามไม่
เชื่อในอทิ ธิพลของเพลงป่ี จึงทลู ขอให้พระอภัยมณีเปา่ ปีใหฟ้ ัง เสียงเพลงปี่
ไพเราะจบั ใจมาก พราหมณท์ งั้ สามคนและศรสี วุ รรณจงึ เคลิ้มหลับไป

เสียงเพลงปลี่ อยตามลมไปไกลทาให้นางผีเส้อื สมทุ รซ่ึงหากินอยู่กลางทะเล
ไดย้ ิน และตามเสยี งเพลงมาจงึ เห็นเจา้ ชายหนุ่มรูปงามทรงน่ังเป่าปอี่ ยู่ นาง
ผเี ส้อื สมุทรหลงรักพระอภัยมณที นั ที จึงจู่โจมจับตัวพระอภยั มณีแลว้ พาไปอย่ใู น
ถา้ ทเ่ี กาะกลางทะเลอนั เป็นทอ่ี ยขู่ องนาง นางผเี ส้อื สมุทรแปลงกายเปน็ หญงิ
สาวสวยงามมาพดู จาเกี้ยวพระอภยั มณี ซึง่ พระอภยั มณที รงรู้ไดท้ ันทีว่านางเป็น
ยักษแ์ ปลงกายมา และทรงรู้วา่ หากขัดขนื อาจส้ินพระชนม์ จึงต้องจาพระทยั
อยกู่ บั นาง จนกระท่ังนางผเี สื้อสมุทรมบี ตุ รกบั พระอภยั มณีพระองคห์ น่งึ ช่ือ
สินสมุทร

วนั หนง่ึ นางผเี สอื้ สมทุ รออกไปหากิน นางนาหินก้อนใหญ่ปิดปากประตูถ้าไว้
เมือ่ นางไปแลว้ สนิ สมุทรเห็นพระบิดาหลับจึงผลักก้อนหินออกแล้วไปว่ายน้าเล่น
จับเงือกได้จึงนามาถวายพระอภัยมณี เงือกน้าอ้อนวอนขอชีวิตและขอรับใช้
พระอภัยมณีทรงขอให้เงือกพาหนีจากนางผีเสื้อสมุทรไปอยู่ท่ีเกาะแก้วพิสดาร
โดยให้พระอภัยมณที รงวางแผนลวงนางผีเสอื้ สมุทร

จากนั้นครอบครัวเงือกก็พาพระอภัยมณีและสินสมุทรหนีไปเกาะแก้ว
พสิ ดาร เมื่อนางผีเสื้อสมุทรกลับมาไม่พบสามีและบุตรจึงแน่ใจว่าท้ังสองหนีไป
แลว้ จงึ ติดตามไปด้วยความคงั่ แคน้

ชุดที่ ๓ พระอภยั มณี
ตอนหนีนางผเี สอื้ สมทุ ร

บทเรยี นเสมือนจรงิ

เรือ่ งย่อ

จากนัน้ ครอบครวั เงอื กกพ็ าพระอภัยมณีและสนิ สมทุ รหนีไป เกาะแกว้ พิสดาร
เมอ่ื นางผเี ส้อื สมทุ รกลบั มาไม่พบสามแี ละบุตรจึงแนใ่ จว่าทั้งสองหนีไปแล้ว จงึ ตดิ ตาม
ไปดว้ ยความคง่ั แค้น

พระอภัยมณที รงแน่พระทัยรู้ว่านางผเี สือ้ สมทุ รตามมา ทรงเกรงวา่ ผอู้ ่นื จะไดร้ บั

อันตราย จงึ บอกเงือกใหป้ ล่อยพระองคส์ ้นิ พระชนมเ์ พียงผ้เู ดียว จนกระทัง่ เงอื กสาว
พาพระอภัยมณีและสินสมทุ รมาถึงเกาะแก้วพิสดาร

พระฤๅษรี ไู้ ดด้ ว้ ยฌานวา่ จะมผี หู้ นีนางผีเสื้อสมุทรมาพง่ึ พา ทา่ นจึงคอยรับและ
ร่ายมนตรป์ อ้ งกนั ไมใ่ ห้นางผีเสื้อสมุทรเขา้ ใกล้เกาะ พระฤๅษีเตือนให้นางกลบั ไปอยู่ที่
ถ้าตามเดิม ด้วยความโกรธนางผีเสอ้ื สมทุ รจึงกา้ วร้าวกล่าวร้ายพระฤๅษี พระฤๅษีจึง
เสกทราบขวา้ งไปทาให้นางเจบ็ ปวดจาต้องหลบไป แต่กย็ ังวนเวยี นอยู่ไมห่ า่ งจากเกาะ

ชดุ ที่ ๓ พระอภัยมณี
ตอนหนนี างผเี สอื้ สมทุ ร

บทเรยี นเสมือนจรงิ

เนอ้ื เรอื่ ง

จะกลา่ วกลับจบั ความไปตามเรือ่ ง ถึงบาทเบ้อื งปรเมศพระเชษฐา
องค์อภยั มณีศรโี สภา ตกยากอย่คู หู ามาช้านาน
กับดว้ ยนางอสุรีนีรมิต เปน็ คู่ชิดเชยชมสมสมาน
ต้องรักใครไ่ ปตามยามกันดาร จนนางมารมีบตุ รบรุ ุษชาย

ความวา่
พระอภัยมณถี ูกนางผเี สอื้ สมทุ รจับตวั ไปให้อยู่ในถ้า พระอภยั มณี

เกรงวา่ จะถูกทารา้ ยจึงจาเป็นตอ้ งอยู่กับนางจนกระทัง่ มบี ุตรพระองค์หนง่ึ
ชื่อ สินสมทุ ร

ฝ่ายกมุ ารสินสมุทรสดุ สวาท ไมห่ ่างบาทบดิ าอัชฌาสัย
ความรักพอ่ ยิง่ กวา่ แม่มาแต่ไร ดว้ ยมิได้ขูเ่ ข็ญเช่นมารดา
เหน็ ทรงธรรมบ์ รรทมสนทิ น่งิ หนีไปว่ิงเล่นอยใู่ นคูหา
โลดลาพองลองเชิงละเลิงมา เห็นแผน่ ผาพิงผนดิ ปิดหนทาง

ความว่า
สินสมุทรจะคอยดูแลพระอภยั มณไี มใ่ หห้ ่างไปไหนไกล เมอ่ื เห็นพระบดิ า

หลบั และถูกกอ้ นหนิ ปิดปากถา้ อยู่ จึงชว่ ยผลักออกไปแล้วจึงออกไปวา่ ยนา้ เล่น

ชุดที่ ๓ พระอภยั มณี
ตอนหนีนางผเี สือ้ สมุทร

บทเรียนเสมือนจริง

เน้ือเร่อื ง

ยงิ่ ถกู น้ากาลังยิ่งเกรียงไกร เทย่ี วเลยี้ วไลข่ ป่ี ลาในสาชล
ระลอกซดั พลดั เข้าในปากฉลาม ลอดออกตามซีกเหงอื กเสือกสลน
เห็นฝูงเงือกเกลือกกล้ิงมากลางชล คิดว่าคนมีหางเหมือนอย่างปลา
ครนั้ ถามไถ่ไม่พดู ก็โผนจับ ดูกลอกกลับกลางนา้ ปล้ามจั ฉา

ความวา่
สินสมุทรได้ออกไปว่ายน้าเล่น และได้เหน็ ฝูงเงอื กกลุ่มหน่ึงท่ีมีลักษณะ

คลา้ ยปลา สนิ สมทุ รไดเ้ ข้าไปถามไถ่ เมอื่ เหน็ ไม่พูดจึงได้จับเงือกเหล่านั้นมา
ถวายให้กับพระอภัยมณี

ฝา่ ยเงือกนา้ นอนกลง้ิ นงิ่ สดับ กติ ตศิ พั ท์สองแจ้งแถลงไข
รูภ้ าษามนุษย์แนใ่ นใจ จะกราบไหวว้ อนว่าใหป้ รานี
ค่อยเขยือ้ นเลือ่ นลุกขึ้นท้ังเจบ็ ยังมนึ เหนบ็ นอ้ มประณตบทศรี
พระผา่ นเกลา้ เจ้าฟ้าในธาตรี ขา้ ขอชวี ติ ไวอ้ ยา่ ให้ตาย

ความว่า
นางเงือกออ้ นวอนขอชีวิตและขอรับใช้พระอภยั มณี และไดบ้ อกกบั

พระอภัยมณีวา่ หากพระองค์ตอ้ งการส่ิงใดในน้าจะนามาถวาย

ชุดที่ ๓ พระอภยั มณี
ตอนหนนี างผีเสือ้ สมุทร

บทเรียนเสมือนจริง

เน้อื เรือ่ ง

พระฟงั เงอื กพูดได้ใหส้ งสาร จึงว่าทา่ นคดิ นีด้ ีขยัน

รูเ้ จรจาสารพัดนา่ อัศจรรย์ อยพู่ ูดกนั อีกสักหนอ่ ยจึงคอ่ ยไป
เราตรองตรกึ นกึ จะหนีนางผเี สื้อ แตใ่ ต้เหนือไม่รู้แหง่ ตาแหนง่ ไหน
ทา่ นเจนทางกลางทะเลคะเนใจ ทากระไรจึงจะพน้ ทนทรมาน

ความว่า
พระอภัยมณีฟังเงอื กพดู แลว้ เกิดความรู้สึกสงสาร จงึ ได้รักษาชีวิตเงอื ก

เอาไว้ และพระองคท์ รงขอใหเ้ งือกพาหนจี ากนางผีเส้อื สมุทร แต่ไม่รูจ้ ะไปอยู่
ในท่ใี ด จงึ ใหเ้ งอื กเลอื กสถานทที่ ่ีจะพาไปเพ่ือให้รอดพ้นจากนางผีเสอื้ สมทุ ร

นางผเี ส้ือเหลือโกรธโลดทะลง่ึ โตดงั หนึ่งยคุ นุ ธรข์ นุ ไศล
ลุยทะเลโครมครามออกตามไป สมุทรไทแทบจะถลม่ ทลาย
เหล่าละเมาะเกาะขวางหนทางยกั ษ์ ภเู ขาหกั หินหลดุ ทรุดสลาย
เสยี งครึกคร้นื คลื่นคล้มุ ข้นึ กลุ้มกาย ผเี สื้อร้ายรีบรดุ ไม่หยุดยืน

ความวา่
เมอ่ื นางผเี สื้อสมุทรรู้วา่ พระอภัยมณไี ด้หนีจากนางไป นางจึงออก

ตามหาพระอภัยมณีไปทั่วทอ้ งทะเลมหาสมุทรโดยไมล่ ดละความพยายาม

ชดุ ที่ ๓ พระอภัยมณี
ตอนหนนี างผเี สอื้ สมุทร

บทเรียนเสมอื นจริง

เนือ้ เรอื่ ง

พระโยคีชหี้ น้าวา่ อุเหม่ ยังโวเ้ ว้วนุ่ วายอตี ายโหง

เพราะหวงผวั มวั เมาเฝ้าตะโกรง ว่ากูโกงมงึ ก็ตกนรกเอง

อียักษาตาโตโมโหมาก รปู ก็กากปากกเ็ ปราะไมเ่ หมาะเหม็ง

นมสองข้างอย่างกระโปรงดูโตงเตง ผัวของเอ็งเขาระอาไม่นา่ ชม

จึงหนมี าอาศยั กูให้อยู่ มิใชก่ รู ูเ้ หน็ เทา่ เส้นผม

มาตรีชาว่ากผู ดิ ในกจิ กรม จะใหส้ มน้าหนา้ สาแก่ใจ

แลว้ เสกทรายปรายขวา้ งมากลางคล่นื ดังลกู ปืนยิงยักษ์ให้ตักษัย

ผเี สื้อกลวั ตวั สนั่ เพียงบรรลยั กห็ ลบไปตามวนชลธาร

ความวา่
นางผีเส้ือสมทุ รกา้ วร้าวตอ่ พระโยคีหรอื ฤๅษี พระโยคจี ึงโมโหตอ่ วา่ ด่าทอ

นางต่างๆ นานา ใหร้ สู้ านกึ จากน้ันจึงเสกทรายขวา้ งไปทาให้นางเจบ็ ปวด
จาตอ้ งหลบไป แตก่ ย็ งั วนเวียนอยูไ่ ม่หา่ งจากเกาะ

ชดุ ที่ ๓ พระอภัยมณี
ตอนหนีนางผเี สอื้ สมทุ ร

บทเรียนเสมอื นจริง

คาศัพทท์ า้ ยบท

คำศัพท์ ควำมหมำย
กร่ิงใจ นึกแคลงใจ นึกระแวง นึกสงสยั
กิจกรม การงานรวบรวมไพร่พลเพอื่ ประโยชนข์ องบา้ นเมือง
กิตติศพั ท์ เสียงเล่าลือ เสียงสรรเสริญ เสียงยกยอ่ ง
กมุ ภา จระเข้
เกาะเกียน แผน่ ดินท่ีมีอ่าว มีน้าทะเลลอ้ มรอบ
ขนุ ไศล ภูเขาใหญ่
คลา้ ยคลา้ ย เคลื่อนไหวไปเร่ือย
เจียระบาด ผา้ คาดเอวชนิดหน่ึง มีชายหอ้ ยท่ีหนา้ ขา
เฉโก คนฉลาดแกมโกง
ซึก แทรกอยู่ ซ้ึงเขา้ ไป
ตรีชา ติเตียน ตาหนิ กล่าวโทษ
ตะโกรง ทะเยอทะยาน อยากได้ ตะกละตะกลาม
ถือเพทไสย มีความเชี่ยวชาญในเวทมนตร์คาถาอาคม
ทาไขหู ทาเป็นไม่ไดย้ นิ
ทารัก แสร้งทาทีวา่ รักมาก

ชดุ ที่ ๓ พระอภยั มณี
ตอนหนนี างผเี สือ้ สมุทร

บทเรยี นเสมือนจรงิ

คาศพั ทท์ า้ ยบท

คำศัพท์ ควำมหมำย
ปากเปราะ พดู วา่ คนโดยไม่มีการไตร่ตรอง
ผนิด ปิ ดใหแ้ น่น
พะเนิน คอ้ นขนาดใหญ่ใชต้ ีเหลก็ หรือทุบหิน
พษิ ฐาน ขอร้องออ้ นวอนต่อสิ่งศกั ด์ิสิทธ์ิ
เพลงศาสตรา ลีลาท่าทางการต่อสู้ดว้ ยอาวธุ ต่างๆ
ภกั ษาหาร อาหารที่กินเป็ นประจา
มะซาง ผลไมร้ สหวานเยน็ มียางมาก
รุทร น่ากลวั ยงิ่
ลุยอ่อน ลุยน้าจนอ่อนแรง
โวเ้ ว้ พดู จาเหลวไหล
สมุทรไท ทอ้ งทะเลอนั กวา้ งใหญ่
สลาตนั ลมพายุ
หนีเขาใช้ บวชเพราะตอ้ งการหนีราชการ
หุบหอ้ ง ถ้า
เห่ชา้ การเห่กล่อมลูกใหน้ อนดว้ ยทานองเพลงชา้ ๆ
แห่งนุสนธ์ิ ท่ีติดต่อ การติดต่อ

ชุดที่ ๓ พระอภัยมณี
ตอนหนนี างผีเสือ้ สมทุ ร

การพจิ ารณาคุณคา่ วรรณคดี บทเรียนเสมือนจรงิ

ดำ้ นวรรณศลิ ป์

๑) การใช้ถอ้ ยคา ผูป้ ระพันธ์มีความสามารถในการเลือกใช้คาทสี่ ือ่ อารมณ์
ความรสู้ ึกได้อยา่ งงดงาม เหมาะสมแก่เน้อื เรอื่ งและฐานะของตัวละครในเรอ่ื ง

๒) การใช้โวหาร ผปู้ ระพันธ์เลอื กใช้สานวนโวหารทใ่ี หผ้ อู้ ่านเกิดจินตภาพได้
ชดั เจน

๓) การเลน่ เสียง นอกจากสมั ผสั นอกซึ่งเปน็ สัมผัสบงั คับแล้ว ทกุ วรรคของคากลอน
จะแพรวพราวดว้ ยสัมผัสใน อนั ได้แก่ เสยี งสัมผัสสระและสมั ผัสอักษร

๔) ลลี าการประพันธ์ กลอนนิทานตอนน้ีปรากฏลีลาการประพันธ์ ดังนี้
เสาวรจนี คือบทชมความงามของธรรมชาติ
นารปี ราโมทย์ คอื บทโอ้โลม เก้ียวพาราสีหรอื บทปลอบใจ
พโิ รธวาทงั คอื บทโกรธ ขดั เคอื ง ต่อว่า ดา่ ทอ
สลั ลาปงั คพิสัย คือบทวา้ เหว่ เงยี บเหงา โศกเศร้า เสยี ใจ ครา่ ครวญ

ด้ำนเนอื้ หำ

นทิ านคากลอนเรอื่ งพระอภัยมณี ตอนพระอภยั มณหี นีนางผีเสื้อ เป็น
เรอ่ื งคาสอนทางพุทธศาสนา การเห็นผดิ เปน็ ชอบ การทาอะไรตามใจตนไม่
คานึงถึงผลที่จะตามมา

กวใี ชจ้ นิ ตนาการถ่ายทอดเรอ่ื งราวอยา่ งสร้างสรรค์ และพบแนวคิด
ทางพุทธศาสนาเรือ่ งการเหน็ ผิดเป็นชอบ การไมย่ อมรบั ความจรงิ การไม่
รู้จกั ปลอ่ ยวางนามาซึ่งความทกุ ข์

ชุดที่ ๓ พระอภัยมณี
ตอนหนนี างผเี สือ้ สมทุ ร

บทเรียนเสมอื นจริง

การพจิ ารณาคณุ คา่ วรรณคดี

ดำ้ นสงั คม

๑) ความเช่อื เรอ่ื งความฝนั และโชคลาง
ความเชือ่ ในเร่ืองความฝนั ซ่งึ เป็นความเชอ่ื ทผี่ ูกพันอยูก่ บั คนไทย ถ้าฝนั ดี
ก็จะเกิดความสบายใจ หากเปน็ ฝนั รา้ ยกจ็ ะต้องหาหนทางแก้ไข

๒) ความเช่ือเรื่องการสะเดาะเคราะห์
คนไทยมีความเช่ือว่าหากมีสง่ิ ไม่ดเี กิดข้ึนกบั ตนเองและครอบครวั มักมสี าเหตุ
มาจากเคราะหก์ รรมหรือโชคชะตา ซ่ึงการแก้ไขต้องอาศัยการสะเดาะเคราะห์

๓) ความเช่อื เรื่องเทพยดาทส่ี ิงสถิตอยูต่ ามสถานทีต่ า่ งๆ
ความเชอื่ ทว่ี ่าทุกสถานท่จี ะมีสง่ิ ศักด์สิ ิทธทิ์ ้งั ที่เป็นเทวดา ภูตผี ปีศาจสิงสถิต
ผกู พันอยู่กับวิถีชีวิตของคนไทยมายาวนาน

๔) คา่ นิยมของสงั คมไทยทเี่ ดก็ ตอ้ งเคารพผู้ใหญ่
สังคมไทยเปน็ สงั คมทพ่ี ่งึ พาอาศัยกัน มคี วามผูกพันกตัญญูรู้คุณและจะให้
ความเคารพผูใ้ หญ่ เมอ่ื ได้กระทาส่ิงใดทถี่ อื ว่าเปน็ การลว่ งเกินควรท่ีจะกล่าวโทษ
ไม่ควรกระทาสงิ่ ใดที่เปน็ การลว่ งเกนิ

ชุดที่ ๓ พระอภัยมณี
ตอนหนนี างผเี สือ้ สมุทร

บทเรียนเสมอื นจรงิ

การพจิ ารณาคณุ คา่ วรรณคดี

ด้ำนกำรนำไปใช้ในชีวติ ประจำวัน

๑) ความมีนาใจและเสยี สละให้ผูอ้ ืน่ เปน็ สิ่งควรทา
ตวั ละครในเรื่องต่างแสดงความเอือ้ เฟื้อเผอื่ แผ่ มนี ้าใจต่อกัน เหน็ ใจ
ในความทกุ ขข์ องเพ่ือนมนุษย์ ปรารถนาใหผ้ ู้อนื่ มีความสุข

๒) ชวี ิตคู่ที่ไม่ไดเ้ กิดจากความรักไมไ่ ดเ้ กดิ จากความเต็มใจย่อมไม่ย่งั ยืน
ไดส้ ะท้อนแนวคิดด้านความรกั คอื ชวี ติ คูท่ ่ีเกิดข้นึ จากความไมเ่ ตม็ ใจ
ย่อมไมม่ คี วามยืนยาวหรอื มน่ั คง

๓) บดิ ามารดาคอื ตวั อย่างทด่ี ีสาหรบั บตุ ร
สะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ บิดามารดาคอื ผู้ทอี่ ยใู่ กล้ชิดกับบุตรมากท่สี ุด ทศั นคติ
ความเคารพนบั ถอื หรอื ความรกั ยอ่ มเกิดขึ้นในขณะใชเ้ วลาอยรู่ ว่ มกัน

๔) การทางานรว่ มกันต้องรบั ฟังความคดิ เห็นของผู้อ่ืน
ชี้ให้เหน็ วา่ ในการทางานตอ้ งมกี ารวางแผนรว่ มกัน ยอมรบั ฟงั
ความคิดเห็นซึ่งกนั และกนั และนาข้อมูลมาใชใ้ นการตัดสินใจ การดาเนนิ
ตามแผนควรประเมินกาลังของตน หากงานยงั ไมส่ าเร็จจะชาล่าใจไมไ่ ด้
ใหด้ าเนนิ การอยา่ งเร่งรีบและหากมีปญั หาอุปสรรคต้องชว่ ยกันแกไ้ ข

ชดุ ที่ ๓ พระอภัยมณี
ตอนหนีนางผีเสือ้ สมุทร

บทเรยี นเสมือนจริง

ภาระงาน(กลมุ่ )

1.ทา mind mapping นาเสนอ
-ประวัติผู้แตง่
-สรปุ เรื่องยอ่
-วเิ คราะห์ รสวรรณดี
-ตั้งคาถามท้ายเรื่อง 5 ข้อ
(สามารถจัดทาในกระดาษบรุ๊ฟ
หรอื โปรแกรมนาเสนอ Canva)

2. ทาหนังสือเล่มเล็ก ตง้ั ชอ่ื เรอ่ื ง โดยแตง่ เรอื่ งจาก
ข้อคดิ ที่ไดจ้ ากเรื่องที่อา่ น
(สามารถจดั ทาในกระดาษ 100 ปอนด์
หรือโปรแกรมนาเสนอแบบ E-Book ดว้ ย Canva)

๓. กาหนดสง่ และนาเสนอ หลังสอบโอเน็ต
๔. ส่งโครงร่างงาน กอ่ นจัดทาผลงานจริง

ชดุ ที่ ๓ พระอภัยมณี
ตอนหนนี างผเี สือ้ สมทุ ร


Click to View FlipBook Version