๑ โรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ อ าเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาฬสินธุ์ โรงเรียนที่มีวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การน้อมน าพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ของในหลวงรัชกาลที่ ๑๐ สู่การปฏิบัติ “กระบวนการด าเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ โดยใช้ SAMKHA MODEL”
๒ ค าน า นวัตกรรม เรื่อง กระบวนการด าเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ โดยใช้ “SAMKHA MODEL” คือ นวัตกรรมในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ซึ่งโรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ส านักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาฬสินธุ์ เป็นหน่วยงานที่จัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ครูผู้สอนได้ตระหนักถึง ภาระหน้าที่ที่จะต้องพัฒนานักเรียนที่อยู่ในความรับผิดชอบให้มีพฤติกรรมหรือคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มี คุณธรรม จริยธรรม จึงได้พัฒนานวัตกรรมกระบวนการโดยใช้ “SAMKHA MODEL” ในการแก้ไขปัญหา ขอขอบคุณ นายเธียรชัย ประกอบเลิศ ผู้อ านวยการโรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ ว่าที่ร้อยตรีจักราวุธ บุษดี รองผู้อ านวยการโรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกท่าน ตลอดจนคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้น าชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะกรรมการสภานักเรียน ที่ร่วมกันท างาน สนับสนุน ส่งเสริมและให้ความร่วมมือมาโดยตลอด รวมทั้งค าชี้แนะข้อบกพร่องต่างๆที่ยินดีน้อมรับและจะน าไป แก้ไขปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้นต่อไป โรงเรียนสามขาสว่างวิทย์
๓ สารบัญ เรื่อง หน้า ความส าคัญของผลงาน ๑ จุดประสงค์และเป้าหมายของผลงาน ๒ กระบวนการผลิตผลงานหรือขั้นตอนการด าเนินงาน ๓ ผลการด าเนินการ ๔ ปัจจัยความส าเร็จ ๕ บทเรียนที่ได้รับ ๖ การเผยแพร่ ๗ การขยายผลต่อยอดสู่ความยั่งยืน ๘ ข้อเสนอแนะในการน าผลงานไปใช้ ๘ ภาคผนวก ข
๔ ชื่อผลงาน : กระบวนการด าเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ โดยใช้ “SAMKHA MODEL” ด้าน มีคุณธรรมน าชีวิต : มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง – มีคุณธรรม ชื่อสถานศึกษา/หน่วยงาน : โรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ ต.สามขา อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์ ขนาดโรงเรียน ขนาดกลาง สังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาฬสินธุ์ โทรศัพท์ ๐๙๗ ๓๔๓๑๒๘๘ โทรสาร……………………………….อีเมลล์ [email protected] …………………………………………………………………………… ๑. ความส าคัญของผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ ( Best Practice ) การพัฒนานักเรียนให้เป็นบุคคลที ่มีคุณภาพทั้งด้านร ่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความสามารถ มี คุณธรรมจริยธรรม และมีวิถีชีวิตที ่เป็นสุขตามที ่สังคมมุ ่งหวัง โดยผ ่านกระบวนการทางการศึกษานั้น นอกจากจะด าเนินการ ด้วยการส่งเสริมสนับสนุนนักเรียนแล้ว การป้องกันและการช่วยเหลือแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดกับนักเรียนก็เป็นสิ่งส าคัญ เนื่องจากสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในทุกมิติ ทั้งด้านการ สื่อสาร เทคโนโลยี ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาการระบาดของสารเสพติด ปัญหาครอบครัว ปัญหาการแข่งขัน ทุกรูปแบบ ก ่อให้เกิดความทุกข์ ความวิตกกังวล ความเครียด ซึ ่งล้วนแต ่เป็นผลเสียต ่อสุขภาพจิตและ สุขภาพกาย ของทุกคน จนน าไปสู่การเกิดปัญหาและสภาวะวิกฤติทางสังคม ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของนักเรียน ให้มีความสมบูรณ์พร้อมทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา ความรู้ ความสามารถ คุณธรรมจริยธรรม ตลอดจนให้มีทักษะในการด ารงชีวิต จึงจ าเป็นที่ทุกโรงเรียน ในฐานะ หน่วยงานที่ต้องรับผิดชอบในการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตผู้เรียน และแก้วิกฤติสังคม จึงควรน าระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียนมาประยุกต์ใช้และพัฒนาให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละโรงเรียน โรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ เป็นโรงเรียนขนาดกลาง มีนักเรียนในเขตพื้นที่บริการและนอกเขตพื้นที่ บริการเข้ามาเรียน ซึ่งนักเรียนต่างคนต่างครอบครัวล้วนมีคุณภาพชีวิตที่แตกต่างกัน ปัญหาที่ส่งผลต่อการ เรียนรู้ของผู้เรียนก็ต่างกัน หากจะให้นักเรียนเป็นบุคคลที่มีความสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความสามารถ มีคุณธรรมจริยธรรม และมีวิถีชีวิตที่เป็นสุขตามที่สังคมมุ่งหวัง นอกจากการจัดการเรียนรู้ใน ด้านวิชาการ หรือจัดการส ่งเสริมสนับสนุนในด้านอื ่นๆให้กับนักเรียนแล้ว การป้องกันและการช่วยเหลือ แก้ปัญหาต ่างๆ ที ่เกิดกับนักเรียนก็เป็นสิ ่งส าคัญไม ่แพ้ความรู้ในด้านวิชาการ เนื ่องจากสภาพสังคมที่ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในทุกมิติ ทั้งด้านการสื่อสาร เทคโนโลยี ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาการระบาดของ โรคระบาด สารเสพติด ปัญหาครอบครัว ปัญหาการแข่งขันทุกรูปแบบ ก่อให้เกิดความทุกข์ความวิตกกังวล ความเครียด ซึ ่งล้วนแต ่เป็นผลเสียต ่อสุขภาพจิตและสุขภาพกายของนักเรียนทุกคน จนน าไปสู ่การเกิด ปัญหา และสภาวะวิกฤติทางสังคม
๕ จากเหตุผลดังกล่าว โรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาฬสินธุ์ มีความต้องการในการขับเคลื่อนงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ ให้ประสบผลส าเร็จ โดยน าเอา “SAMKHA MODEL” ซึ่งเป็นโมเดลที่ใช้ในการบริหารคุณภาพการศึกษา โรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ โดยวงจรคุณภาพ (Deming Cycle) : PDCA (P-Plan , D-Do , C- Check , A-Action) และภายใต้“SAMKHA MODEL” ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ และได้น้อมน าพระบรมราโชบายด้าน การศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ ๑๐ มาสืบสานต่อยอดในระดับบุคคล ชั้นเรียน โรงเรียนและชุมชนให้เกิดความ ยั่งยืน โดยการน าศาสตร์พระราชาทุกองค์ความรู้เพื่อน ามาใช้ในการด ารงชีวิต ประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นคนดีของ สังคมต่อไป ๒. จุดประสงค์และเป้าหมายของผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ ( Best Practice ) ๒.๑. จุดประสงค์ ๑.เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับการดูแลช่วยเหลือและพัฒนา ทั้งด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ๒.เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักตนเอง น าความสามารถของตนเองไปใช้ในทางที่เป็นประโยชน์ ๓.เพื่อให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม เป็นคนดีของสังคมและประเทศชาติ สามารถอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีความสุขตามพระบรมราโชบาย ๔.เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีต่อพระบรมราโชบาย ๒.๒. เป้าหมาย ๑. เชิงปริมาณ ๑.นักเรียนที่จัดอยู่ในเกณฑ์ของกลุ่มเสี่ยง ตามเกณฑ์การคัดกรองของระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียน ลดลงร้อยละ ๓ ๒.นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีทักษะการด ารงชีวิตเพิ่มขึ้น ร้อยละ ๑๐๐ ๓.นักเรียนมีความรู้ทักษะ และเจตคติที่ดีต่อพระบรมราโชบาย ร้อยละ ๑๐๐ ๒. เชิงคุณภาพ ๑.โรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ มี “SAMKHA MODEL” ซึ่งท าให้ระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนมีประสิทธิภาพ ๒.นักเรียนเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีทักษะการด ารงชีวิต อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขตามพระบรมราโชบาย ๓. กระบวนการผลิตผลงานหรือขั้นตอนการด าเนินงาน
๖ ๓.๑ บริหารพัฒนาคุณภาพงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้วย “SAMKHA MODEL”ดังนี้ S = Sufficiency Economy ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง A = Application การน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ M = Management การบริหารจัดการ K = Key Performance Indicator ตัวชี้วัดความส าเร็จ H = Holistic การจัดการแบบองค์รวม A = Activity กิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ ๓.๒ ด าเนินการใช้วงจรเดมมิง (Deming Cycle) : PDCA (P-Plan , D-Do , C- Check , A-Action) ในการปฏิบัติงานทั้งระบบ โดยใช้ “SAMKHA MODEL” และน ามาจัดเรียงล าดับตามกระบวนการ บริหารจัดการ ดังนี้ ๑ การวางแผน (Plan) M = Management การบริหารจัดการ ได้แก่ การวางแผนการด าเนินงาน การบริหารจัดการต่างๆในการด าเนินงานระบบ ดูแลช่วยเหลือนักเรียน ซึ่งเป็นขั้นตอนแรกในการด าเนินงาน ๒ ปฏิบัติตามแผน (Do) ปฏิบัติตามแผน โดยการบริหารจัดการแบบองค์รวม ร่วมมือ กันส่งเสริมและจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ H = Holistic การจัดการแบบองค์รวม A = Activity กิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ S = Sufficiency Economy ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓ ตรวจสอบ (Check) ตรวจสอบคุณภาพตัวชี้วัด K = Key Performance Indicator ตัวชี้วัดความส าเร็จ ๔ ปรับปรุงแก้ไข (Action) น าผลที่ได้ประชาสัมพันธ์ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทราบ และน า ความรู้นั้นไปประยุกต์ใช้เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน A = Application การน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ ๓.๓ ประเมินผลท ี่ได้จากพัฒนาองค์กรด้วย“SAMKHA MODEL”
๗ SAMKHA MODEL P A D C S = Sufficiency Economy ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง A = Application การน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ M = Management การบริหารจัดการ K = Key Performance Indicator ตัวชี้วัดความส าเร็จ H = Holistic การจัดการแบบองค์รวม A = Activity กิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ ๔. ผลการด าเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ จากการด าเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ โดยใช้ “SAMKHA MODEL” ก่อให้เกิดผลจากการด าเนินงาน ดังนี้ ๔.๑.ผลที่เกิดกับผู้เรียน ๑.ผู้เรียนได้รับการพัฒนาจนผ่านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามพระบรมราโชบาย ๒.ผู้เรียนสามารถพัฒนาทักษะการท างานเป็นกลุ่มและทักษะการแก้ปัญหาตามพระบรมราโชบาย ๓.ผู้เรียนเป็นคนดีของสังคม และสามารถพัฒนาศักยภาพความเป็นพลเมืองโลกได้ตามพระบรมราโชบาย ๔.ผู้เรียนเกิดความภาคภูมิใจในตนเองและภาคภูมิใจในผลงานที่สร้างชื่อเสียงให้กับโรงเรียนและชุมชน
๘ ๔.๒.ผลที่เกิดกับครู ๑.ครูเป็นแบบอย่างที่ดีได้รับการยอมรับและศรัทธาในวิธีการจัดกิจกรรมจากนักเรียน ผู้ปกครอง เพื่อนครูและชุมชนตามพระบรมราโชบาย ๒.ครูเกิดความภาคภูมิใจในผลงานที่ร่วมกันท าจนเกิดความส าเร็จเห็นผลเป็นเชิงประจักษ์ให้กับ โรงเรียน ๓.ครูมีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีและสามารถน าองค์ความรู้ตามพระบรมราโชบายมาใช้ใน ชีวิตประจ าวันและถ่ายทอดให้กับผู้อื่นได้ ๔.๓.ผลที่เกิดกับโรงเรียน ๑.ยกระดับคุณภาพของผู้เรียนด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ได้ทั้งโรงเรียนตามพระบรมรา โชบาย ๒.โรงเรียนได้รับความเชื่อมั่นศรัทธาจากผู้ปกครอง ชุมชน มากขึ้น ๓.โรงเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ๔.๔.ผลที่เกิดกับชุมชน ๑.ชุมชนมีความเชื่อมั่นในการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน พัฒนาผู้เรียนจนผ่านคุณลักษณะ อันพึงประสงค์มากขึ้น ๒.ชุมชนมีความภาคภูมิใจ ศรัทธาโรงเรียนและเข้ามามีส่วนร่วม ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน และร่วมพัฒนาโรงเรียนมากขึ้น ๓.ชุมชนมีความเข้มแข็งและสามารถพึ่งตนเองได้ตามพระบรมราโชบาย ๕. ปัจจัยความส าเร็จ การด าเนินกิจกรรมจนได้รับความส าเร็จมาจากปัจจัยดังนี้คือ ๑.บ้าน วัด โรงเรียน ๒.หมู่บ้านทุกหมู่บ้าน ชุมชนทุกชุมชนในต าบลสามขา ต าบลนาขาม ๓.หน่วยงานองค์การบริหารส่วนต าบลสามขาและเทศบาลต าบลนาขาม ๔.โรงเรียนประถมศึกษาในเขตพื้นที่บริการ ๕.งบประมาณสนับสนุนจากโรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ตามโครงการ ๑๐,๐๐๐ บาท ๖.ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาฬสินธุ์ ๖. บทเรียนที่ได้รับ
๙ จากการด าเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ โดยใช้ “SAMKHA MODEL” ได้ด าเนินงานตามยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของนักเรียนให้เป็นบุคคลที่มีความสมบูรณ์พร้อมทั้งด้าน ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีทักษะการด ารงชีวิตอยู่ในสังคมที่ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในทุกมิติ อย่างมีความสุข รอดพ้นจากสภาวะวิฤตต่าง ๆ ได้อย่างปลอดภัย ประกอบด้วย ๑.ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีมาตรฐานคุณภาพ และมีหลักฐานการท างานที่ตรวจสอบได้ ซึ่ง มีกระบวนการและขั้นตอนของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีองค์ประกอบส าคัญ ๕ ขั้นตอน ดังนี้ ๑.๑.การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ครูที่ปรึกษาสอบถามข้อมูลที่จ าเป็นเกี่ยวกับตัวนักเรียน ข้อมูลนักเรียนเป็นสิ่งส าคัญที่จะ ช่วยให้ครูที่ปรึกษามีความเข้าใจนักเรียนมาขึ้น สามารถน าข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เพื่อการคัดกรองนักเรียนและ น าไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาส่งเสริม การป้องกันและแก้ไขปัญหาของนักเรียนได้อย่างถูกทาง ๑.๒.การคัดกรองนักเรียน โดยแยกเป็นกลุ่ม ๔ กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มปกติ คือ นักเรียนที่ได้รับการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ ตามเกณฑ์การคัดกรองของ โรงเรียนอยู่ในเกณฑ์ของกลุ่มปกติ ซึ่งควรได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันและการส่งเสริมพัฒนา กลุ่มเสี่ยง คือ นักเรียนที่อยู่ในเกณฑ์ของกลุ่มเสี่ยงตามเกณฑ์การคัดกรองของโรงเรียน ซึ่ง โรงเรียนต้องให้การป้องกันและแก้ไขตามกรณี กลุ่มมีปัญหา คือ นักเรียนที่จัดอยู่ในเกณฑ์ของกลุ่มมีปัญหาตามเกณฑ์การคัดกรองของ โรงเรียน ซึ่งโรงเรียนต้องช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาโดยเร่งด่วน กลุ่มพิเศษ คือ นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ มีความเป็นอัจฉริยะแสดงออกซึ่ง ความสามารถอันโดดเด่นด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายด้านอย่างเป็นที่ประจักษ์เมื่อเทียบกับผู้มีอายุในระดับเดียวกัน ภายใต้สภาพแวดล้อมเดียวกัน ซึ่งโรงเรียนต้องให้การส่งเสริมให้นักเรียนได้พัฒนาศักยภาพความสามารถพิเศษนั้น จนถึงขั้นสูงสุด ๑.๓.การป้องกันและแก้ไขปัญหา การป้องกันและแก้ไขปัญหา ให้กับนักเรียนนั้นมีหลายเทคนิควิธีการ แต่สิ่งที่ครูที่ปรึกษาได้ น ามาเป็นแนวทางเบื้องต้นในการด าเนินการ คือ - การให้ค าปรึกษาเบื้องต้น - การจัดกิจกรรมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา ๑.๔.การพัฒนาและส่งเสริมนักเรียน กิจกรรมหลักส าคัญที่โรงเรียนได้ด าเนินการ ในการส่งเสริมพัฒนานักเรียน คือ ๑. การจัดกิจกรรมโฮมรูม ๒. การเยี่ยมบ้านนักเรียน
๑๐ ๓. การจัดประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน (classroom meeting) ๔. การจัดกิจกรรมมาร์ชชิ่งความดีเพื่อสร้างความดีพื้นฐานสากล ๕ ประการ ๕. การจัดกิจกรรมโรงเรียนสุจริต ๖. การจัดกิจกรรมเข้าค่ายพุทธธรรม ๗. การจัดกิจกรรมธนาคารความดี ๘. การจัดกิจกรรมอบรมคุณธรรมจริยธรรมประจ าสัปดาห์ ๑.๕.การส่งต่อนักเรียน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหานักเรียนโดยครูที่ปรึกษา อาจมีกรณีบางกรณีที่บางปัญหามี ความยากต่อการช่วยเหลือ หรือช่วยเหลือแล้วนักเรียนมีพฤติกรรมไม่ดีขึ้นก็ได้ด าเนินการส่งต่อไปยังผู้เชี่ยวชาญ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะปัญหาของนักเรียนในแต่ละกรณี การส่งต่อแบ่งเป็น ๒ แบบ คือ ๑.การส่งต่อภายใน ครูที่ปรึกษาส่งต่อไปยังครูที่สามารถให้การช่วยเหลือนักเรียนได้ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับลักษณะปัญหา เช่น ส่งต่อครูแนะแนว ครูพยาบาล ครูประจ าวิชา หรือฝ่ายกิจการนักเรียน ๒.การส่งต่อภายนอก ครูแนะแนวหรือฝ่ายกิจการนักเรียนเป็นผู้ด าเนินการส่งต่อไปยัง ผู้เชี่ยวชาญภายนอก หากพิจารณาเห็นว่าเป็นกรณีปัญหาที่มีความยากเกินกว่าศักยภาพของโรงเรียนจะดูแล ช่วยเหลือได้ ๒.ระบบการด าเนินงานทุนการศึกษา เพื่อส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาความสามารถของผู้เรียน ให้เหมาะสมตามอัตภาพของแต่ละบุคคล เสริมสร้างทักษะชีวิต ช่วยให้ผู้เรียนสามารถปรับตัวพร้อมรับความ เปลี่ยนแปลงของสังคม ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และสามารถด ารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โรงเรียนเมืองกาฬสินธุ์ด าเนินงานการช่วยเหลือนักเรียนด้านทุนการศึกษา ดังนี้ ๒.๑ นักเรียนที่มีระดับผลการเรียนเฉลี่ยสูง แสดงให้เห็นถึงความเพียรพยายาม ความ ขยัน อดทน ความมีวินัยในตนเอง ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน รู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และรักการค้นคว้า ส่งผลท าให้นักเรียนประสบความส าเร็จ พัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ ๒.๒ นักเรียนที่ครอบครัวขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความประพฤติดี ควรได้รับการดูแล ช่วยเหลือเพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาให้สูงขึ้นตามศักยภาพ ๒.๓ นักเรียนที่มีจิตอาสา บ าเพ็ญประโยชน์เพื่อผู้อื่นและสังคมควรได้รับการสนับสนุน ความเป็นคนดีของสังคมที่ยั่งยืน ๗. การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ ๑.ได้เผยแพร่ผลงานในชุมชนต าบลสามขา – นาขาม จนได้รับค าชื่นชมจากผู้ปกครองนักเรียน ๒. เผยแพร่ในเว็บไซต์โรงเรียนสามขาสว่างวิทย์URL http://.samkhaschool.ac.th
๑๑ ๓. เผยแพร่ผลงานใน facebook page โรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ สพม.กาฬสินธุ์ ๔. ผลงานที่ได้รับการยอมรับ ๘.การขยายผลต่อยอดสู่ความยั่งยืน โรงเรียนสามขาสว่างวิทย์มีการเผยแพร่รูปแบบกระบวนการด าเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้วย วิธีการที่หลากหลาย อาทิ การจัดท ารายงาน การเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของโรงเรียน การจัดประชุมสัมมนา การจัด กิจกรรมร่วมกันของโรงเรียนในสหวิทยาเขต การน าเสนอโรงเรียนที่มีความสนใจเข้าศึกษาดูงาน เป็นต้น ๙.ข้อเสนอแนะในการน าผลงาน/นวัตกรรมไปใช้ ๙.๑.ควรมีการดูแลอย่างใกล้ชิดจากครูที่ปรึกษาและควรเสริมสร้างแรงจูงใจเชิงบวกให้กับนักเรียน โดย สร้างความตระหนัก การรับรู้ ยอมรับ เข้าใจในบริบทและสภาพการ ๙.๒.น าระบบเทคโนโลยีมาใช้ในการสนับสนุนการด าเนินงานให้มีความคล่องตัว
๑๒ ภาคผนวก
๑๓ แผนภูมิที่ ๑ การบริหารจัดการระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ แผนภูมิที่ ๒ กฎหมาย นโยบาย และจุดเน้นที่เกี่ยวข้อง ก าหนดทิศทาง/ กลยุทธ์ การวางระบบและแผนการด าเนินงาน คณะกรรมการด าเนินงาน - ทีมน า - ทีมท า - ทีมประสาน - หรืออื่นๆ ตาม ความเหมาะสม ภายใต้บริบทของ สถานศึกษา - วิเคราะห์สภาพปัญหา - ศักยภาพของสถานศึกษา - บริบท สังคม และชุมชน นิเทศ ก ากับ ติดตาม และประเมินผล ขั้นตอนการด าเนินงาน ๑.การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ๒.การคัดกรอง ๓.การส่งเสริมและพัฒนา ๔.การป้องกันและแก้ไขปัญหา ๕.การส่งต่อ
๑๔ ขั้นตอนการด าเนินการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างเป็นระบบครบวงจร ของโรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ ๒.คัดกรอง กลุ่มพิเศษ มีข้อมูลนักเรียนทุกคน อย่างรอบด้าน กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มมีปัญหา ๓.การส่งเสริมและพัฒนา ๔.การป้องกันและแก้ไขปัญหา ดี กรณีมี บางกรณี ประเมิน ๕.การส่งต่อ (ภายใน) คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ทักษะชีวิต คุณภาพชีวิตที่ดี ๑.รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
๑๕ หลักฐานประกอบที่แสดงให้เห็นว่านักเรียนทุกคนได้รับการดูแลช่วยเหลือและคุ้มครอง อย่างทั่วถึงและใกล้ชิด ส่งผลต่อคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนในภาพรวมสูงขึ้น นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร มีทักษะชีวิต ปลอดภัยจากการออกกลางคัน และปลอดสารเสพติด รวมทั้งอบายมุขทั้งปวง ครูที่ปรึกษาเยี่ยมบ้านนักเรียนและท าข้อมูลทุกคน ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ทุกหลังคาเรือน รายงานผลต่อกลุ่ม บริหารงานกิจการนักเรียนและรายงานผู้บริหารตามล าดับ กิจกรรมตรวจสารเสพติด ภาคเรียนละ1ครั้ง
๑๖ กิจกรรมพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมลูกเสือเนตรนารีต้านภัยยาเสพติด กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา
๑๗ หลักฐานประกอบที่แสดงให้เห็นว่าครูได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ความเข้าใจและทักษะในการปฏิบัติงานการ ดูแลช่วยเหลือนักเรียน และสะท้อนให้เห็นถึงขวัญและก าลังใจและคุณภาพการปฏิบัติงานของครู ผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษามีการประชุมวางแผนการด าเนินงาน โรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ร่วมประชุมPLC โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. โรงเรียนวิถีพุทธ โรงเรียนสุจริต จัดโดย สหวิทยาเขตวงนารายณ์ ณ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย กาฬสินธุ์
๑๘ หลักฐานประกอบการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุภภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของ โรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ กิจกรรม ๑ ต ารวจ ๑ โรงเรียน กิจกรรมอบรมให้ความรู้การป้องกันตนเองจากยาเสพติด จากสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ประชุมผู้ปกครองนักเรียน
๑๙ ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาและภาคีเครือข่าย ประชุม PLC โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. โรงเรียนวิถีพุทธ โรงเรียนสุจริต จัดโดย สหวิทยาเขตวงนารายณ์ เมื่อ วันที่ ๘ กันยายน ๒๕๖๔ ณ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัยกาฬสินธุ์
๒๐ หลักฐานประกอบการด าเนินงานตามสภาพความส าเร็จของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน น านักเรียนเข้าค่ายธรรมมะและรับทุนการศึกษากับนายอ าเภอกุฉินารายณ์ ณ วัดภูถ้ าพระ ด าเนินกิจกรรมตามโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ
๒๑ ด าเนินกิจกรรมมาร์ชชิ่งความดี ความดีพื้นฐานสากล ๕ ประการ กิจกรรมส่งเสริมทักษะชีวิตให้นักเรียน
๒๒ หลักฐานประกอบการส่งเสริมสนับสนุน เสริมสร้างขวัญและก าลังใจ ติดตาม นิเทศ และประเมินผล การด าเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ กิจกรรมนิเทศภายในและตรวจเยี่ยมชั้นเรียนจากผู้บริหารโรงเรียน กิจกรรมนิเทศ ติดตาม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จากส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาฬสินธุ์
๒๓ กิจกรรมตรวจเยี่ยมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการบริหารจัดการ จากรองผอ.เขต สพม.กาฬสินธุ์และสหวิทยาเขตวงนารายณ์ รับการตรวจราชการจากส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๒๔ ผลงานที่สะท้อนความส าเร็จของโรงเรียนในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างเป็นองค์รวมทุกด้าน รางวัล เสมา ป.ป.ส. ผลงานดีเด่นระดับเงิน โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ปีการศึกษา ๒๕๕๙ รางวัล โล่เชิดชูเกียรติผลงานดีเด่นห้องเรียนสีขาว โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ปีการศึกษา ๒๕๕๙ รางวัล เสมา ป.ป.ส. ผลงานดีเด่นระดับทอง โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ปีการศึกษา ๒๕๖๐
๒๕ ได้รับรางวัลระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนดีเด่น ระดับทอง โรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ น านักเรียนเข้าร่วมจัดนิทรรศการน าเสนอผลงาน บริษัทสร้างการดี ในการรับการประเมินเพื่อรับรางวัลโรงเรียนพระราชทานของโรงเรียนกุฉินารายณ์ โรงเรียนสามขาสว่างวิทย์ ต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย กาฬสินธุ์
๒๖
๒๗
๒๘
๒๙
๓๐