The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จินตนา สุ่มมาตย์ 1 ห้องเรียน 1 โครงงานคุณธรร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thaninrat Kritchanthat Sirivisalsuwan, 2020-11-01 01:30:23

จินตนา สุ่มมาตย์ 1 ห้องเรียน 1 โครงงานคุณธรร

จินตนา สุ่มมาตย์ 1 ห้องเรียน 1 โครงงานคุณธรร

๑ ห้องเรียน ๑ โครงงานคุณธรรม

โครงงานคุณธรรม
“เดก็ ดี มีเงนิ ออม”

ชัน้ อนุบาลปี ท่ี 2/3
ครูท่ปี รึกษา

นางสาวจนิ ตนา สุ่มมาตย์

โรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดยี ์
สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต ๑

ปี การศกึ ษา ๒๕๖๓

๑ ห้องเรียน ๑ โครงงานคุณธรรม
โครงงานคณุ ธรรม

“เด็กดี มีเงินออม”

ชั้น อนบุ าลปที ่ี 2/3

ครทู ่ีปรกึ ษา
นางสาวจนิ ตนา สุ่มมาตย์

โรงเรียนอนุบาลพระสมทุ รเจดีย์
สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสมทุ รปราการ เขต ๑

ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

๑ หอ้ งเรยี น ๑ โครงงานคุณธรรม

1. ช่อื โครงงาน “เดก็ ดีมเี งินออม”

2. ทีม่ าและความสำคญั ของปญั หา
เริม่ ตน้ ปกี ารศกึ ษาในสัปดาห์แรก เด็กนกั เรียนชน้ั อนบุ าลจะยงั ไมน่ ำเงนิ มาใช้ที่โรงเรยี น มบี ้าง

เพยี ง 1-2 คนเท่านัน้ เพราะส่วนใหญผ่ ปู้ กครองจะซื้อขนมหน้าโรงเรยี นหรือตามร้านสะดวกซื้อเพือ่ นำมา
ให้ลกู รบั ประทานในช่วงพกั รบั ประทานอาหารวา่ ง แต่เมอื่ เรมิ่ เขา้ สัปดาหท์ ่ีสอง เมื่อเดก็ เกดิ ความคนุ้ เคย
กบั สถานท่ี คณุ ครูและเพ่ือนนักเรียนแล้ว ผปู้ กครองกเ็ ริ่มใหเ้ งินมาเพ่ือซอ้ื ขนม ไอศกรีม น้ำดม่ื และของเล่น
เดก็ บางคนทำเงินหายตงั้ แตต่ อนเช้า บางคนใช้ซ้อื ของกนิ ขนมขบเค้ียวหมดหรอื ใช้ซ้ือของเลน่ ท่ไี มม่ คี วาม
ทนทาน จากปญั หาดังกลา่ วทำใหเ้ กดิ โครงการ “เด็กดี มเี งนิ ออม” เพอ่ื ให้เด็กนกั เรยี นชนั้ อนบุ าลรู้จักแบง่
สดั ส่วนในการใช้เงิน รูค้ ณุ คา่ ของเงินและนำไปซ้ือของท่ีเกดิ ประโยชนก์ ับตวั เด็ก

3. วัตถปุ ระสงค์
3.1 ดา้ นความรู้ (L=Knowledge) เพ่อื ใหเ้ ด็กนกั เรยี นมีความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกับการแบ่ง

สดั สว่ นของเงนิ ในการใชจ้ า่ ยอยา่ งเหมาะสม
3.2 ด้านกระบวนการปฏิบตั ิ (Process) เพื่อใหน้ กั เรียนสามารถแบง่ จำนวนเงนิ ทีต่ นเองมี

สำหรบั การออมและการใช้จา่ ยเลอื กซอ้ื สิ่งของทีเ่ กดิ ประโยชน์สูงสดุ
3.3 ด้านเจตคติ (Attitude) เพอื่ ปลกู ฝงั นสิ ัยรกั การออมและใหเ้ ดก็ นักเรียนไดต้ ระหนักรใู้ น

คณุ คา่ ของเงนิ ตรา

4. ปญั หา
เดก็ นักเรยี นชน้ั อนบุ าลปีท่ี 2/3 ไม่แบ่งสดั ส่วนในการใช้เงินและไม่เลอื กซือ้ ส่งิ ของทเี่ กดิ

ประโยชนก์ ับตนเอง

5. สาเหตุของปัญหา
5.1 เด็กนักเรียนยงั ไมร่ ู้คา่ จำนวนของเงิน
5.2 เดก็ นักเรียนไม่รู้จักวิธีการแบง่ สัดส่วนการใชเ้ งินท่มี ี
5.3 เด็กนกั เรยี นบางส่วนเลือกซอื้ ขนมขบเคยี้ วทไ่ี มม่ ปี ระโยชน์

6. กลุ่มเป้าหมาย
- เชิงปริมาณ ร้อยละ 80 ของเด็กนกั เรียนช้ันอนุบาล 2/3 สามารถแบง่ สดั ส่วนเงนิ เพอ่ื ออมและ

ใชซ้ อื้ ส่ิงของหรืออาหารท่ีมปี ระโยชน์ต่อตวั เองได้
- เชิงปรมิ าณ นักเรยี นชน้ั อนุบาล 2/3 สามารถแบง่ สดั สว่ นการใชเ้ งนิ มีนิสัยรกั การออม ร้จู กั

เลอื กซื้อสง่ิ ของทม่ี ปี ระโยชนแ์ ละรู้คุณค่าของเงินตรา

7. หลกั ธรรมที่นำมาใช้
อทิ ธบิ าท 4
อิทธิบาท แปลวา่ บาทฐานแหง่ ความสำเร็จ หมายถงึ สิ่งซ่งึ มคี ณุ ธรรม เครือ่ งใหล้ ถุ งึ

ความสำเรจ็ ตามท่ีตนประสงค์ ผหู้ วังความสำเร็จในสง่ิ ใด ตอ้ งทำตนใหส้ มบรู ณ์ ด้วยสง่ิ ท่ีเรยี กว่า อทิ ธิบาท
ซึง่ จำแนกไว้เป็น ๔ คอื

๑) ฉนั ทะ ความพอใจรักใคร่ในส่งิ นน้ั หมายถึง ความพอใจ ในฐานะเปน็ สงิ่ ท่ี ตนถอื วา่ ดี
ท่ีสดุ ทีม่ นุษยเ์ รา ควรจะได้ ข้อน้ี เปน็ กำลงั ใจ อนั แรก ท่ีทำใหเ้ กดิ คณุ ธรรม ขอ้ ตอ่ ไป ทกุ ขอ้

๒) วิรยิ ะ ความพากเพยี รในสิง่ นน้ั หมายถงึ การการะทำท่ีตดิ ต่อ ไมข่ าดตอน เป็นระยะ
ยาว จนประสบ ความสำเรจ็ คำน้ี มคี วามหมายของ ความกลา้ หาญ เจอื อยดู่ ้วย สว่ นหนึง่

๓) จิตตะ ความเอาใจใสฝ่ กั ใฝใ่ นสิง่ น้นั หมายถงึ ความไมท่ อดทิง้ สงิ่ นนั้ ไปจากความรู้สกึ
ของตวั ทำสงิ่ ซ่งึ เป็น วตั ถปุ ระสงค์ นั้นใหเ้ ด่นชัด อย่ใู นใจเสมอ คำนี้ รวมความหมาย ของคำวา่ สมาธิ อยู่
ดว้ ยอยา่ งเตม็ ท่ี

๔) วิมังสา ความหม่นั สอดส่องในเหตุผลของส่งิ นัน้ หมายถงึ ความสอดสอ่ งใน เหตุและ
ผล แห่งความสำเร็จ เก่ยี วกบั เร่อื งนนั้ ๆ ใหล้ ึกซึ้งยิง่ ๆ ขน้ึ ไปตลอดเวลา คำนี้ รวมความหมาย ของคำวา่
ปัญญา ไว้อยา่ งเตม็ ท่ี

9. พระราชดำรสั /พระราชดำริ/คำสอน/พระบรมราโชวาท
การใชจ้ า่ ยโดยประหยัดน้ัน จะเปน็ หลักประกนั ความสมบรู ณพ์ นู สขุ ของผู้ประหยัดเองและ

ครอบครวั ช่วยปอ้ งกนั ความขาดแคลนในวนั ข้างหน้า การประหยดั ดงั กล่าวนีจ้ ะมผี ลดไี มเ่ ฉพาะแก่ผู้
ประหยดั เทา่ นน้ั ยังจะเป็นประโยชนแ์ กป่ ระเทศชาติดว้ ย” พระราชดำรสั พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว
เนื่องในโอกาสวนั ข้นึ ปใี หม่ ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๐๒

การบรู ณาการกบั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
๑. ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดที ่ีไม่นอ้ ยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่

เบยี ดเบียนตนเองและผอู้ ่นื เช่น การผลติ และการบริโภคที่อยู่ในระดบั พอประมาณ
๒. ความมเี หตผุ ล หมายถงึ การตัดสินใจเก่ยี วกบั ระดับความพอเพียงนนั้ จะตอ้ งเป็นไปอย่าง

มเี หตผุ ล โดยพจิ ารณาจากเหตุปจั จยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ตลอดจนคำนึงถงึ ผลทคี่ าดวา่ จะเกดิ ข้นึ จากการกระทำ
น้ันๆ อยา่ งรอบคอบ

๓. ภูมคิ ้มุ กัน หมายถงึ การเตรยี มตวั ให้พรอ้ มรับผลกระทบและการเปลยี่ นแปลงด้านตา่ งๆ ที่
จะเกิดข้นึ โดยคำนึงถงึ ความเปน็ ไปไดข้ องสถานการณต์ ่างๆ ทค่ี าดว่าจะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต

โดยมี เงอ่ื นไข ของการตดั สินใจและดำเนนิ กจิ กรรมตา่ งๆ ให้อยูใ่ นระดับพอเพียง ๒ ประการ
ดงั น้ี

๑. เงอ่ื นไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรเู้ กย่ี วกบั วิชาการต่างๆ ทเ่ี ก่ียวข้องรอบดา้ น
ความรอบคอบทจ่ี ะนำความรู้เหลา่ นัน้ มาพจิ ารณาให้เชอ่ื มโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความ
ระมัดระวงั ในการปฏิบตั ิ

๒. เงอ่ื นไขคณุ ธรรม ที่จะตอ้ งเสรมิ สร้าง ประกอบดว้ ย มคี วามตระหนักใน คณุ ธรรม มีความ
ซือ่ สตั ย์สุจริตและมีความอดทน มคี วามเพียร ใชส้ ตปิ ญั ญาในการดำเนนิ ชวี ติ

10. ความเชอื่ มโยงสู่คุณธรรมอตั ลกั ษณ์ : มวี ินัย
พฤตกิ รรมบ่งชเ้ี ชงิ บวก : ผบู้ รหิ ารและคณะครมู ีการปฏิบัตเิ ปน็ แบบอยา่ งทด่ี ใี นเร่อื งของการมี

วินัยในด้านการออมและเอาใจใสน่ กั เรียนในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน มโี ครงการโรงเรยี นธนาคาร
เพอื่ สง่ เสรมิ ให้นักเรยี นไดม้ นี สิ ัยรกั การออม นักเรยี นทุกคนฝากเงนิ ออมเปน็ ประจำวนั และตอ่ เนือ่ ง นักเรยี น
ทุกคนมสี มุดบญั ชีโรงเรยี นธนาคารทุกคน

11. วิธกี ารวดั และประเมนิ ผล
10.1 วธิ กี ารวดั ผล วิธกี ารประเมนิ : ประเมินความถีใ่ นการออมเงิน ออมเงนิ ทุกสัปดาห์
10.2 เคร่ืองมือการวดั ผล เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการประเมนิ : แบบบันทกึ การออมเงิน แบบประเมนิ

การมวี นิ ยั การออมเงิน
10.3 ชว่ งระยะเวลา ชว่ งเวลาการประเมนิ : ประเมนิ ทกุ สปั ดาห์ รวมระยะเวลา 5 สัปดาห์

12. ผรู้ บั ผิดชอบโครงงาน นกั เรียนชน้ั อนุบาลปีที่ 2/3

13. ที่ปรกึ ษาโครงงาน นางสาวจินตนา สมุ่ มาตย์ ครปู ระจำชนั้ นกั เรยี น ช้นั อนบุ าลปที ่ี 2/3







1



แบบประเมนิ การมวี นิ ัยการออมเงนิ

เลขท่ี ชื่อ-สกุล สัปดาห์ท่ี 1-5 หมายเหตุ
ส.1 ส.2 ส.3 ส.4 ส.5

1 เด็กหญิง ภัทรดา พาเจริญ - P P P P เกณฑก์ ารประเมนิ

2 เด็กหญิง ดรัณภัทร คาสด - P P P P ผา่ น = ออมเงินทุกสัปดาห์

3 เด็กหญิง พิชญาภัค ซ้อมทอง - P P P P ไมผ่ ่าน = ไม่ออมเงินเลย

4 เด็กหญิง กวินธิดา ทองนาค P P P P P

5 เด็กหญิง สุภาพร สมเพชร P P P P P หมายเหตุ

6 เด็กหญิง ณฐั ชยา เปรมปราชญ์ P P P P P จานวนนักเรียนสัปดาห์ท่ี

7 เด็กหญิง ปภาวรินทร์ จิตต์อารี P P P P P 1-3 จานวน 26 คน

8 เด็กหญิง สุจารี สร้อยสูงเนิน P P P P P จานวนนักเรียนสัปดาห์ที่

9 เด็กหญิง การิญชิดา ปานเงิน P P P P P 4-5 จานวน 27 คน

10 เด็กหญิง พัชรินทร์ บุญส่ง PPPPP

11 เด็กหญิง ปุณณดา นามมา PPPPP

12 เด็กหญิง รินลดา จาปาหอม P P P P P

13 เด็กหญิง กมลวรรณ น้อยนาม - PPPP

14 เด็กหญิง ลดาภรณ์ มาตา PPPPP

15 เด็กหญิง กนกธร แสดงวุฒิ P P P P P

16 เด็กชาย ฤทธิเดช ใจวิจิตร P - PP -

17 เด็กชาย กรวิชญ์ นาใจนาวี P P P - P

18 เด็กชาย ภัทรชัย พึง่ ชื่น PPPP -

19 เด็กชาย นพรัตน์ ชูรัตน์ PP - P -

20 เด็กชาย นิธิกร สักการะ P P P P P

21 เด็กชาย สมาส ใจเทีย่ ง PPPPP

22 เด็กชาย ธนวัฒน์ จงพิมาย P P P P P

23 เด็กหญิง ธัญญรัตน์ คุ้มมณี PPPPP

24 เด็กหญิง ภัทราพร พูลเกตุ PPPPP

25 เด็กชาย ดนัยพัชร ศรีรวัตร P P P P P

26 เด็กหญิง ณัฐฐา บุญมี PPPPP

26 เด็กชาย ปภาวิน สุวรรณ ยังไม่สมัครเข้าเรียน P P

ความถี่จานวนคนท่ีผ่านเกณฑ์ 22 25 25 25 24

ร้อยละจานวนคนท่ผี ่านเกณฑ์ 84.62 96.15 96.15 96.15 88.29

รอ้ ยละ 80 ของเด็กนักเรยี นชัน้ อนุบาล 2/3 สามารถแบง่ สดั สว่ นเงนิ เพอ่ื ออมเงนิ ได ้


Click to View FlipBook Version