The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นวัตกรรมC3S Model คณะครูสายชั้นป6โรงเรียนอนุบาล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thaninrat Kritchanthat Sirivisalsuwan, 2021-09-25 22:11:25

นวัตกรรมC3S Model คณะครูสายชั้นป6โรงเรียนอนุบาล

นวัตกรรมC3S Model คณะครูสายชั้นป6โรงเรียนอนุบาล

คาํ นาํ

นวตั กรรมการปฏบิ ัติทเ่ี ปน เลศิ (Best Practice) เร่ือง “การใชรปู แบบการสอน C3S
model เพือ่ พฒั นาการจัดกิจกรรมการเรยี นรหู ลักสตู รตา นทจุ ริตศกึ ษาบูรณาการกบั การจัดการเรียนรู
กับกลมุ สาระการเรยี นรูตางๆ ตามแนวทาง Active Learning” เปนนวัตกรรมท่เี กิดขน้ึ จากกลมุ PLC
ของคณะครูสายช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 6 โรงเรยี นอนุบาลพระสมทุ รเจดีย และนวัตกรรมท่ที ําใหเกิด
การเรียนรูแบบบรู ณาการการจดั การเรียนการสอนทค่ี รอบคลมุ ท้ังพฤตกิ รรมที่ตองพัฒนา (ความกลา
แสดงออก) เนอ้ื หาในหลักสูตรทจุ รติ ศึกษาและและเนอ้ื หาจากกลุม สาระการเรยี นรูตา งๆ นกั เรียนได
เขาใจและเห็นความสําคญั ของพฤตกิ รรมความกลาแสดงออก, หลกั สตู รตา นทุจริตศึกษา และเนอื้ หา
การเรียนของกลมุ สาระการเรียนรตู า งๆทนี่ าํ มาบูรณาการกนั และไดร บั การพฒั นาจนเปน ที่ยอมรับ
ของครู นักเรียน ผูปกครองและชมุ ชน หวงั เปนอยา งยง่ิ วา นวัตกรรม เรือ่ ง “การใชร ปู แบบการสอน
C3S model เพือ่ พฒั นาการจดั กจิ กรรมการเรียนรหู ลักสูตรตานทุจริตศึกษาบูรณาการกับการจัดการ
เรียนรกู ับกลุม สาระการเรียนรตู างๆ ตามแนวทาง Active Learning” จะเปนแบบอยางในการบรหิ าร
จดั การเรยี นรภู ายใตวิถชี วี ิตใหม ในสถานศกึ ษาอื่นๆตอ ไป

คณะสายชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี 6
โรงเรยี นอนุบาลพระสมุทรเจดยี 

สารบัญ 1
1
คํานํา 2
สารบญั 2
ชอ่ื ผลงาน 3
ความเปนมาและสภาพปญหา 3
แนวทางการแกปญหาและการพฒั นา 3
จดุ ประสงคและเปาหมายของการดาํ เนินงาน 5
ขั้นตอนการดําเนนิ งาน 10
การออกแบบนวตั กรรม 10
ผลการดาํ เนินงานตามกจิ กรรม 26
ประสทิ ธิภาพของการดําเนนิ งาน 26
ผลการดําเนนิ งาน 26
ผลสัมฤทธข์ิ องงาน 27
ผลการดาํ เนินงานทีเ่ กดิ ข้ึนตามจุดประสงค 27
ประโยชนท่ีไดร ับ 27
ปจ จยั แหง ความสาํ เร็จ 28
บทเรียนทไ่ี ดร บั
การเผยแพร/การยอมรบั /รางวลั ที่ไดร บั
การนาํ เสนอผลงานระหวางการตดิ ตามฯของ อ.ก.ต.ป.น.
ภาคผนวก

1

ช่อื ผลงาน การใชร ปู แบบการสอน C3S model เพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรยี นรูหลกั สตู รตาน

ทุจริตศึกษาบรู ณาการกบั การจัดการเรียนรกู บั กลุมสาระการเรยี นรตู า งๆ ตามแนวทาง

Active Learning

ช่อื ผเู สนอผลงาน โรงเรียนอนบุ าลพระสมุทรเจดีย
โรงเรียนอนุบาลพระสมทุ รเจดีย
โทรศพั ท 02-4258413 โทรสาร 02-4259753
โทรศัพทม อื ถือ 092-4918018 E-mail [email protected]

1. ความสาํ คญั ของผลงานนวตั กรรมการปฏิบตั ทิ เี่ ปน เลศิ
1.1 ความตอ งการพัฒนานวตั กรรม
จากการรวมกลมุ PLC ของคณะครูสายชั้นประถมศกึ ษาปที่ 6 ไดสํารวจถึงผูเรียน

ของตนเองพบวา มที ัง้ ดานท่ีดี และดานทตี่ อ งพฒั นา ซ่ึงดา นท่ีดีประกอบไปดว ย 1. มีจติ อาสา 2. มา
โรงเรยี นอยา งสมาํ่ เสมอ 3. ยอมรบั ฟงความคิดเห็นของครูผสู อน 4. มีความเสียสละ 5. มีความรกั และ
ความสามัคคีในหมูคณะ 6. สามารถใชเ ทคโนโลยีไดอ ยางหลากหลาย 7. มนี า้ํ ใจ 8. มมี ารยาท และ
9. สามารถแกไ ขปญ หาเฉพาะหนา ไดดี และดานท่ตี องพัฒนา ประกอบไปดวย 1. ขาดความกลา
แสดงออก 2. ขาดความรบั ผิดชอบ 3. ขาดความคิดริเร่มิ 4. ขาดทกั ษะการจบั ใจความสําคัญ และ
5. ขาดความใฝรู และประเดน็ ทสี่ มาชิกกลมุ PLC ของคณะครสู ายชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 6 เลอื ก
สงเสริมในดานที่ดีคอื มีจติ อาสา และดานทตี่ อ งพัฒนาคือความกลา แสดงออก เนอ่ื งจากพฤติกรรม
ความกลา แสดงออกถอื เปนสิ่งที่จําเปนอยางยิง่ ตอการดาํ เนนิ ชีวติ ในสังคมปจ จุบันของนกั เรยี น เปน
ปจจัยที่ทําใหน กั เรยี นสามารถเผชิญกบั สถานการณตาง ๆ ไดอ ยา งเหมาะสม กลาฟนฝา อุปสรรค
ปญหา และยงั ทาํ ใหเ ปนบุคคลท่มี คี วามม่ันใจในตนเอง ไดใ นสง่ิ ท่ตี อ งการ และบุคคลทพี่ บเหน็ จะให
เกียรติมากขึ้น การที่คนเราจะเร่มิ เปลย่ี นแปลงไปสูพฤติกรรมการแสดงออกน้ัน จะตองตระหนกั ไว
เสมอวา การเปล่ียนแปลงน้นั จะทําใหค นใกลชิดหรือคนทีเ่ กี่ยวขอ งแสดงพฤติกรรมโตตอบในทาทางลบ
ตอการเปลีย่ นแปลงนั้นไดเ นื่องจากวา ถาเราไมเ คยมพี ฤติกรรมความกลา แสดงออกแลวไปแสดงออก
เลย การเปลีย่ นแปลงนนั้ ยากทผี่ ูใกลชดิ หรอื คนที่เกยี่ วขอ งจะยอมรบั ได พวกเราจะคุนเคยกบั สงิ่ ท่ีเรา
เปน ไดรับในสงิ่ ที่ตองการความกลวั วา จะสญู เสยี เราจากไปจากการกระทําน้ัน ซงึ่ เราไมค วรจะยอ ทอ
หรอื เปลี่ยนใจท่ีจะเปลี่ยนแปลงตวั เอง อาจจะไมส ามารถที่จะไมใ สใ จคนท่เี รารัก หรอื คนท่ีสําคญั ใน
ชีวติ ของเราไดอยางไรก็ตามพฤตกิ รรมความกลาแสดงออกเปนคณุ สมบัตทิ ี่สามารถปลกู ฝง และพัฒนา
ใหเ กิดข้ึนไดใ นตัวบคุ คลใหมคี วามกลาแสดงออกท่ถี กู ตองและเหมาะสมไดทาํ ใหบคุ คลเรียนรทู ่จี ะเปน
“ผชู นะ” ในสถานการณตา ง ๆ อยางแทจริง เม่อื กลมุ PLC ของคณะครสู ายชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 6 ได
ศึกษาเพ่มิ เตมิ พบวา ปจจัยที่มีอทิ ธพิ ลตอ การกลาแสดงออก

2

เกิดจากภายใน
- เดก็ มีรา งกายแขง็ แรงสมบรู ณ หนา ตาผวิ พรรณงดงาม - จติ ใจม่ันคง - อารมณด ี สขุ ภาพจิตดี และ
เกิดจากภายนอก
- เปนผลกระทบทไี่ ดรบั มาจากส่งิ แวดลอม เชน ครอบครวั เพื่อน คณุ ครู ฯลฯ
- ไดรับคาํ ชมและการไดรับความไววางใจ - ไดร ับการยกยอง และเปน ท่ียอมรบั ของบุคคลอ่ืน
- ไดรับการสนับสนนุ และการสง เสรมิ ฯลฯ

1.2 แนวทางการแกป ญ หาและการพัฒนา
เมอื่ พบพฤติกรรมท่ีตองพัฒนาแลว กลุม PLC ของคณะครูสายชนั้ ประถมศึกษาปที่ 6

ไดสํารวจถึงหลักสูตรดานทุจริตศึกษา (Anti – Corruption Education หลักสูตรการศึกษาข้ัน
พ้นื ฐานและหลักสูตรอุดมศกึ ษา) ก็ควรนํามาปรบั ใชในการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา ดวย
สาเหตุท่ีวาปญหาการทุจริตคอรรัปชันเปนปญหาที่นําไปสูความยากจนและความเหล่ือมล้ําทาง
เศรษฐกิจ และเปน อุปสรรคขดั ขวางการพฒั นาประเทศท่ีแทจริงกระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดใหนํา
หลักสูตรตานทุจริตศึกษาไปปรับใชในการจัดการเรียนของสถานศึกษา ท้ังนี้ในการจัดการเรียนการ
สอนหลกั สูตรดังกลา วใหมุงเนนการสรา งความรูความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับความหมายและขอบเขต
ของกํารกระทําทุจริตในลักษณะตาง ๆ ทั้งทางตรงและทางออม ความเสียหายท่ีเกิดจากการทุจริต
ความสําคญั ของการตอ ตา นการทุจริต รวมท้ังจดั ใหมีการประเมนิ ผลสัมฤทธ์ขิ องการจัดการเรียนรูตาม
หลักสูตรในแตละชวงวัยของผูเรียนดวย การจัดการเรียนการสอนที่สามารถสอนไดครอบคลุมท้ัง
เน้ือหาจากกลุมสาระการเรียนรูตาง ๆ พฤติกรรมท่ีตองพัฒนา และเน้ือหาจากหลักสูตรตานทุจริต
ศกึ ษาก็ควรเปน รูปแบบการสอนทีส่ มาชิกรวมกันออกแบบเอง เพือ่ จะไดนําไปจัดกจิ กรรมการเรียนรูได
ทกุ กลุมสาระการเรยี นและยังบูรณาการหลักสูตรตานทุจริตศึกษาไดดวย กลุม PLC ของคณะครูสาย
ช้ันประถมศกึ ษาปที่ 6 ไดร วมคิดคนพฒั นารปู แบบการสอนใหม C3S model เพื่อการจัดกิจกรรมการ
เรียนรูของนักเรียนใหมีคุณภาพตามแนวทาง Active Learning นวัตกรรม “การใชรูปแบบการสอน
C3S model เพือ่ พัฒนาการจดั กิจกรรมการเรียนรูหลักสูตรตานทุจริตศึกษาบูรณาการกับการจัดการ
เรียนรูกับกลมุ สาระการเรยี นรูตางๆ ตามแนวทาง Active Learning” มีความสอดคลองกับบริบท
ของผูเรียน และสามารถนําไปพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูไดจริง เน่ืองจากมีขั้นการสอนที่
ชดั เจนตามทฤษฎกี ระบวนการจัดการเรยี นการสอนแบบเชิงรุก

2. วัตถุประสงคแ ละเปาหมายของการดําเนนิ งาน
2.1 วตั ถุประสงคข องการดําเนนิ งาน
1. เพ่อื พัฒนารูปแบบการสอนท่สี ามารถจัดกจิ กรรมการเรียนไดค รอบคลุมทัง้

พฤติกรรมทตี่ องพัฒนา เนอื้ หาจากกลุมสาระการเรยี นรูตาง ๆ และเนื้อหาจากหลักสูตรตานทุจริต
ศกึ ษา

2. เพือ่ สงเสรมิ ใหคณะครูกลุม PLC ของคณะครูสายชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี 6 มี
รปู แบบการสอนใหมๆ

3

2.2 เปา หมายของการดาํ เนินงาน
2.2.1 เปาหมายเชงิ ปริมาณ
นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 โรงเรยี นอนุบาลพระสมทุ รเจดีย ปการศึกษา

2563 จํานวน 152 คน ไดร ับการสอนดว ยรูปแบบการสอน C3S model

2.2.2เปาหมายเชิงคณุ ภาพ
นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที่ 6 โรงเรียนอนบุ าลพระสมทุ รเจดยี ม ี

ประสบการณ ตรงเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนดวยรูปแบบการสอน C3S model เพ่ือพัฒนาการ
จัดกิจกรรมการเรยี นรหู ลักสตู รตานทุจริตศึกษาบูรณาการกบั การจัดการเรียนรกู ับกลมุ สาระการ
เรียนรูตางๆ ตามแนวทาง Active Learning

3. ขน้ั ตอนการดําเนินงาน
3.1 การออกแบบนวัตกรรม โดยเริม่ จากการสํารวจรูปแบบการสอนที่สมาชิกในกลมุ PLC

ของคณะครูสายชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี 6 มีประสบการณอ ยูแลว เพ่ือนาํ ไปเชื่อมโยงกบั รปู แบบการสอน
ใหม

- การสอนโดยการใชประสบการณ/ สถานการณจ ําลอง/เหตุการณสมมติ เพื่อ
ยกตวั อยางเปน เรื่องเลาจุดประกายใหน กั เรยี นไดสามารถแยกแยะเหตกุ ารณขอ เท็จจรงิ และ
ขอ คดิ เหน็ ได

- การสอนโดยการใชเกมการศึกษา เพ่อื เรา /กระตุน/ดึงความสนใจ/สรา งบรรยากาศใน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู

- การใชกระบวนการกลุม และการเรยี นแบบรว มมอื สามารถสรา งพลังในการเรยี นรู
ของนกั เรยี นไดอยางมคี ุณภาพ นกั เรียนมีการแบง หนา ท่ีของสมาชิกในกลมุ และมีการกําหนดหรอื ระบุ
บทบาทในการทาํ กิจกรรมไดอ ยางชัดเจน

- การสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ โดยใหน ักเรียนแสดงเปนตัวละคร/ฉายภาพตวั
ละครในอดุ มคติ ซ่ึงสามารถกระตุนใหกิจกรรมมีสสี ันและนา สนใจเปน อยางมาก

- การสอนแบบโครงงานเปน ฐาน (Project Base Learning) โดยเนน ในเรอื่ งของ
โครงงานคุณธรรม เน่ืองจากตองใชกระบวนการระดมความคดิ /ระดมสมองของสมาชกิ ในกลมุ เพือ่
แกไขปญหาตาง ๆ ตามจุดประสงคข องโครงงานท่ตี ้ังไว

3.2 การดําเนนิ งานตามกจิ กรรม ออกแบบรูปแบบการสอนใหมเ พื่อพัฒนาการจัดกจิ กรรม
การเรยี นรหู ลักสูตรตานทุจรติ ศกึ ษาบูรณาการกับการจดั การเรียนรกู บั กลมุ สาระการเรียนรูตางๆ ตาม
แนวทาง Active Learning โดยนําประสบการณ (เดมิ ) กบั หลกั วชิ าการ เขียนเปน แนวทางเลือกใหม
ดงั น้ี

4

STEP 1  C  Creativity (กจิ กรรมสรางสรรค)

- เกมการศกึ ษา - เพลงเฮฮา - คําถามเราพลงั
- VDO เรียนรู - บทบาทสมมติ - เทคโนโลยเี สรมิ พลัง

STEP 2  C  Cooperative (รวมมือรว มใจ)

- แบง กลมุ - โครงงาน - วิเคราะหรว มกัน
- ระดมความคิด - ถายทอดความรสู กึ - ปญ หามที างออก

STEP 3  C  Crystallize (ตกผลกึ ความรู) - แผนผงั มโนทัศน
- แผนภาพความคดิ - คําถามกระตนุ ความรู
- แบบทดสอบ

STEP 4  S  Sharing (แบงปนความคดิ )

- Facebook - ปา ยนิเทศ
- แลกเปลี่ยนเรียนรู - ไมคส ุจรติ จติ STRONG

5

3.3 ประสิทธิภาพของการดาํ เนนิ งาน เพอื่ นวตั กรรมมีประสิทธิภาพ จงึ จัดลําดบั ขั้นตอนไวดงั น้ี
3.3.1 การเขียนกรอบแนวคดิ เพ่ือการพัฒนานวตั กรรม

1) ชือ่ นวตั กรรม/กระบวนการ “C3S model”
2) วัตถุประสงค เพ่ือพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรูหลักสูตรตานทุจริตศึกษาโดยบูรณาการการ
จดั การเรียนการสอน กับกลมุ สาระการเรยี นรตู าง ๆ ตามแนวทาง Active Learning
3) ทฤษฎกี ารเรียนรู/หลักการ/แนวคดิ ของการจัดการเรยี นรูทน่ี าํ มาใช

3.1) แนวคิดเทคนคิ การต้ังคําถามของ Bloom

3.2) แนวคิดเกมการศึกษาของ ทิศนา แขมมณี ไดกลาววา เกมการศึกษาคือกระบวนการ
เลน ทมี่ รี ะเบยี บ กฎเกณฑ มีเง่อื นไขหรอื ขอ ตกลงรว มกันท่ไี มย งุ ยากซบั ซอนมากนักทําใหผูเลนมีความ
สนุกสนาน รา เริง มุงพฒั นาทกั ษะความคิดสรางสรรค สง เสริมใหเ ด็กเกิดคุณธรรมจากความหมายของ
เกมการศกึ ษาดังกลาว

6

3.3) แนวคดิ กระบวนการกลมุ ของ วัชรา เลาเรียนดี ไดกลาววา การเรียนรูแบบรวมมือเปน
แนวคิดในการจัดการเรียนรูรูปแบบหนึ่ง ท่ีนักเรียนไดรวมกันเรียนรูและปฏิบัติกิจกรรมใหบรรลุผล
สําเร็จตามจุดมุงหมาย มุงเนนการรวมกันปฏิบัติงานชวยเหลือซ่ึงกันและกัน และพัฒนาทักษะทาง
สังคมและใหทุกคนรับผิดชอบตอผลงานของตนเองและของกลุม ทุกคนตองมีการแลกเปลี่ยนความ
คดิ เห็นชว ยเหลอื พึ่งพากัน ยอมรบั กนั และกัน รวมทั้งชวยเหลือเพื่อนสมาชิกใหสามารถเรียนรูไดตาม
วตั ถุประสงคท ่กี ําหนด

3.4) แนวคิดการสอนแบบบทบาทสมมติของ ทศิ นา แขมมณี ไดก ลา ววา วธิ ีสอนโดยใชการ
แสดงบทบาทสมมติ คอื กระบวนการท่ผี สู อนใชในการชวยใหผ ูเ รยี นเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงค
ท่ีกําหนด โดยการใหผูเรียนสวมบทบาทในสถานการณซ่ึงมีความใกลเคียงกับความเปนจริง และ
แสดงออกมาตามความรูสึกนึกคิดของตน และนําเอาการแสดงออกของผูแสดง ทั้งทางดาน
ความรู ความคดิ ความรูส ึกและพฤตกิ รรมทสี่ งั เกตพบวา เปน ขอ มลู ในการอภปิ ราย เพอ่ื ใหผูเรียนเกิด
การเรยี นรูตามวัตถปุ ระสงค

3.5) แนวคิดการสอนแบบสาธิตของ ทิศนา แขมมณี ไดกลาววา ที่ครูหรือนักเรียนคนใด
คนหนง่ึ แสดงบางสง่ิ บางอยา งใหนกั เรียนดหู รอื ใหเพอ่ื น ๆ ดอู าจเปนการแสดงการใชเครื่องมือแสดง
ใหเห็นกระบวนการวิธีการ กลวิธีหรือการทดลองท่ีมีอันตราย ซึ่งไมเหมาะที่จะใหนักเรียนทําการ
ทดลอง การสอนวิธนี ช้ี วยใหน กั เรยี นเกดิ ความรูความเขา ใจและสามารถทําในส่ิงน้ันไดถูกตอง และยัง
เปนการสอนใหนักเรียนไดใชทักษะในการสังเกต และถือวาเปนการไดประสบการณตรงวิธีหนึ่ง วิธี

7

สอนแบบสาธติ จึงเปน การสอนท่ยี ดึ ผูส อนเปน ศูนยก ลาง เพราะผูสอนเปนผูวางแผน ดําเนินการ และ
ลงมือปฏบิ ตั ิ ผเู รยี นอาจมสี ว นรว มบางเล็กนอ ย วธิ สี อนแบบนจ้ี ึงเหมาะสําหรับ จุดประสงคการสอนท่ี
ตอ งการใหผ ูเ รยี นเห็นขน้ั ตอนการปฏิบตั ิ เชน วชิ าพลศกึ ษา ศิลปศกึ ษา อตุ สาหกรรมศิลป วิชาในกลุม
การงานและพ้ืนฐานอาชีพ เปนตน

3.6) แนวคิดการเขียนแผนภาพความคิดของ Tony Buzan ไดกลาววา การถายทอด
ความคิด หรอื ขอ มลู ตาง ๆ ทม่ี ีอยใู นสมองลงกระดาษ โดยการใชภ าพ สี เสน และการโยงใย แทนการ
จดยอแบบเดิมที่เปนบรรทัด ๆ เรียงจากบนลงลาง ซึ่งในขณะเดียวกันมันก็ชวยเปนส่ือนําขอมูลจาก
ภายนอก เชน หนังสือ คําบรรยาย การประชุม สงเขาสมองใหเก็บรักษาไวไดดีกวาเดิม ซํ้ายังชวยให
เกิดความคิดสรางสรรคไดงายเขา เนื่องจะเห็นเปนภาพรวม และเปดโอกาสใหสมองใหเชื่อมโยงตอ
ขอมูลหรือความคิดตา ง ๆ เขาหากันไดง า ยกวา “ใชแสดงการเชื่อมโยงขอมูลเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหน่ึง
ระหวา งความคิดหลัก ความคดิ รอง และความคดิ ยอ ยท่ีเกีย่ วขอ งสัมพันธกัน” ซึ่งลกั ษณะการเขียนผัง
ความคดิ เทคนคิ การคดิ คอื นําประเด็นใหญ ๆ มาเปน หลกั แลว ตอดวยประเดน็ รองในชั้นถดั ไป

8

3.7) แนวคดิ การเขยี นแผนภาพโครงเรื่องของ อัจฉรา ชีวพันธ ไดกลาววา เปนรูปแบบหน่ึง
ของแผนภาพความคิด มักใชในการวางแผนภาพโครงเร่ือง เปนรูปแบบหน่ึงของแผนภาพ โครงเร่ือง
ของเร่อื งท่จี ะเขยี น ซ่งึ มีตัวละคร ฉาก การดําเนนิ เร่อื งซง่ึ เปนไปตามลดับเหตุการณ และใชในการสรุป
เร่อื งจากการอา นเพอื่ ยอ ความ ซึ่งจะชวยใหเ ขา ใจความคิดรวบยอดหรือขอ เท็จจรงิ ไดด ยี งิ่ ข้ึน

3.8) แนวคิดการใชเทคโนโลยมี าชว ยในการเสริมการเรยี นการสอนในชนั้ เรยี น ของ Sloan
foundation เพื่อแกปญหาตาง ๆ เชน ปญหาความแตกตางของผูเรียน ดานพื้นฐานความรู ความ
แตกตางดานความเร็วในการเรียน และความแตกตางของแบบการเรียน (Learning Style)
ตวั อยา งเชน ในการเรียนการสอนหลกั ที่เปน แบบชัน้ เรียน ผูเรียนจํานวนมาก มคี วามแตกตาง ดานพื้น
ฐานความรู ทําใหผ ูเรยี นสวนหนง่ึ ตามไมทนั ขณะทผ่ี ูสอนเองก็มปี ญ หาในการปรบั ความเร็ว ในการสอน
ใหส อดคลอ งกบั ระดับความเร็วในการเรียนรูท่ีแตกตางกันของผูเรียน ดังน้ันผูสอน สามารถเตรียมสื่อ
การเรียนรูในระบบอีเลิรนนิง (เชน คอรสแวร CAL/คอรสแวร Web) ใหผูเรียนไปเรียนทบทวนดวย
ตนเองนอกเวลาเรียนได

9

3.3.2 นํารปู แบบการสอน C3S model เสนอตอผูเ ชี่ยวชาญ (Expert) ของกลมุ PLC ของ
คณะครูสายชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 6 ทราบ

3.3.3 ผเู ชีย่ วชาญ (Expert) นางอชั ลีย บัวทรง ตําแหนง ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการ
พเิ ศษ ผูเชี่ยวชาญของกลุม PLC ของคณะครูสายช้ันประถมศกึ ษาปที่ 6 รบั รองรปู แบบการสอนและ
ใหค วามเห็นวา “รปู แบบการสอน (Teaching model) เนอ่ื งจาก “C3S model” มคี วามเหมาะสม
ซง่ึ สามารถพัฒนาการจัดกจิ กรรมการเรียนรหู ลกั สูตรตา นทจุ ริตศึกษาโดยบูรณาการการจัดการเรียน
การสอน กบั กลุมสาระการเรียนรูตา ง ๆ ตามแนวทาง Active Learning ไดจริง ”

10

4. ผลการดําเนนิ การ/ผลสัมฤทธ์ิ/ประโยชนท ไ่ี ดร บั
4.1 ผลสมั ฤทธขิ์ องนวัตกรรม คณะครูสายช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี 6 มีรูปแบบการสอนใหม

ตัวอยางท่ี 1 การนาํ รูปแบบการสอน C3S model ไปใชกบั กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย
พัฒนาผเู รียน เร่อื ง “แผนภาพโครงเร่ือง”

บรู ณาการหลกั สตู รตา นทจุ ริต เรอื่ ง ผลประโยชนสว นตนและประโยชนส ว นรวม
ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2563 ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี 6
รายวิชาภาษาไทย รหสั วิชา 16101 จํานวน 2 ช่ัวโมง

จุดประสงคการเรยี นรู
1) เขา ใจและอธิบายการเขยี นแผนภาพโครงเร่อื งได (K)
2) สามารถแยกผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวมโดยใชกระบวนการกลุม และ

กระบวนการคดิ วิเคราะห ได (P)
3) ตระหนกั และเหน็ ผลประโยชนสวนรวมเปนสําคัญ (A)

ข้นั ตอน/การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู

STEP 1  C  Creativity (กิจกรรมสรางสรรค)
1. ครูผสู อนเปดคลปิ วดิ โี อ เรือ่ ง “ไมส ายเกนิ ไป” ใหผูเรียนดู เม่อื ดูคลปิ วิดโี อจบ
ครูผูสอนและผูเรียนรวมกนั อภิปรายเกี่ยวกับเรอ่ื งราวในคลปิ วดิ ีโอ
2. ครูผูส อนสมุ เลือกผูเรียนใหต อบคําถามเก่ียวกับคลปิ วดิ ีโอท่ีไดด ู

11

STEP 2  C  Cooperative (รวมมอื รว มใจ)
4. ครูผูสอนอธิบายความหมายผลประโยชนสวนรวม และผลประโยชนสวนตนให
ผูเรียนฟงพรอมยกตัวอยางใหผูเรียนเขาใจ และใหผูเรียนชวยกันยกตัวอยาง
ผลประโยชนสวนรวม และผลประโยชนตน
5. ครูผูสอนใหผูเรียนชวนกันระดมความคิดในการวิเคราะหผลประโยชนสวนรวม
และผลประโยชนสว นตนจากเหตุการณใ นคลิปวดิ โี อ

STEP 2  C  Cooperative (รวมมอื รว มใจ) (ตอ )
6. ครผู สู อนสุม เลือกผเู รยี นใหบ อกพฤติกรรมที่เปนผลประโยชนสวนรวมที่ปฏิบัติใน
ชีวติ ประจาํ วัน
7. ครผู ูส อนเชือ่ มโยงเขา สเู รื่องการเขยี นแผนภาพโครงเรือ่ ง โดยอธิบายรายละเอียด
การเขียนแผนภาพโครงเร่อื ง ดงั น้ี

8. ครูผูสอนใหนักเรียนเขียนแผนภาพโครงเร่ือง จากคลิปวีดิโอท่ีไดดูลงในใบงาน
พรอ มวาดภาพประกอบ และตกแตงใหส วยงาม

กจิ กรรมที่ 6.2 ปรบั ปรุง/พัฒนา การสอน (Do) จํานวน 1 ชั่วโมง

กระบวนการ/แนวทาง/ขนั้ ตอน
ทําการพัฒนาและปรับปรุงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหมใน STEP 1 ข้ัน C :

Creativity (กจิ กรรมสรา งสรรค) โดยครูรวมเรียนรู (Buddy Teacher) แนะนําตั้งคําถามปลายเปด
และต้ังคําถามคิดวิเคราะหใหกับผูเรียน โดยมีการสุมช่ือนักเรียนในการตอบคําถามเพ่ือเราความ
สนใจ และกระตนุ ผเู รียน

กิจกรรมที่ 6.3 เยีย่ มช้ันเรยี น/เชียรใ หก าํ ลงั ใจ (See) จาํ นวน 2 ชัว่ โมง

12

ครรู ว มเรียนรู (Buddy Teacher)
นางสาวจุฑามาศ ประภากรเจรญิ ตําแหนง รองหัวหนาสายชนั้ ประถมศึกษาปที่ 6

เยย่ี มช้นั เรยี น หองเรียนชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 6/3
สง่ิ ทพ่ี บเห็นขณะการสังเกตการณสอน/เย่ียมชั้นเรียน

พฤตกิ รรมการเรียน/สง่ิ ท่พี บจากผลงานผเู รียน
1) ผเู รยี นสวนใหญใ หค วามรวมมือในการตอบคาํ ถาม
2) ผเู รียนตนื่ เตน และมคี วามสนกุ สนานในการเรยี นรู
3) ผเู รียนสามารถบอกองคประกอบของการเขยี นแผนภาพโครงเรอื่ งได
4) ผเู รียนสามารถสรุปเร่อื ง ไมส ายเกินไปได

พฤติกรรมการสอน
1) ครูผูสอนมีความเปน กนั เองกบั ผูเ รยี นเปน อยา งมาก
2) ครูผูสอนใชก ระบวนการคดิ วเิ คราะหส อดแทรกในทุก ๆ ข้ันการสอนอยางเปนธรรมชาติ
3) ครูผูสอนทาทายผเู รยี นใหม ีความตืน่ ตัวอยเู สมอโดยใชห ลักเสริมแรงบวก
4) ครูใหผูเรียนสงั เกตคลิปวดิ ีโอ

การพดู คยุ หลังการสังเกตการสอน
1) กลา วชมเชยผูสอนวามกี ารวางแผนในการจัดกิจกรรมการเรยี นรมู าเปน อยา งดี
2) ครผู ูสอนเตรยี มสื่อการสอนมาเปนอยางดี

กจิ กรรมที่ 6.4 การสะทอนผลการปฏบิ ัติ (Reflection) จํานวน 1 ชัว่ โมง
ครรู ว มเรยี นรู (Buddy Teacher)

นางสาวจฑุ ามาศ ประภากรเจริญ ตําแหนง รองหัวหนาสายชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 6
แลกเปลี่ยนเรยี นรู ณ หองสมุด ชน้ั 1 โรงเรียนอนุบาลพระสมทุ รเจดีย
อะไรทาํ ไดดคี วรคงอยู

ครูผูส อนจดั กิจกรรมการเรียนรูโดยใหผูเรียนไดเรียนรูรวมกันทั้งหมด มีการใหผูเรียนไดตอบ
คาํ ถามครบ ทุกคน 100 % คาํ ถามแบบเปด กวา งทาํ ใหผ ูเรียนสามารถมีคําตอบไดอยางหลากหลายไม
ปดกั้นความคิดของผูเรียน มีการใชกฎกติกาในช้ันเรียน สามารถควบคุมช้ันเรียนไดเปนอยางดี การ
ดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรูสอดคลองกับรูปแบบการสอน C3S model ผูเรียนไดเรียนรูแบบ
Active Learning อยา งแทจรงิ

13

ปญหาทีเ่ ปน อุปสรรคตอการเรียนรู
เนื่องจากผูเรียนในช้ันเรียนมีประมาณ 39 คน ซ่ึงเปนจํานวนที่คอนขางมาก อาจจะทําให

ผเู รยี นบางคนไมสามารถแสดงออกทางความคดิ ไดอ ยางเต็มท่ี
ควรพฒั นา/แกไขอะไรบา ง

ปรับกจิ กรรมใหผเู รียนทุกคนมีสว นรวม และปฏิบัตกิ ิจกรรมไดค รบทุกคน
รปู ภาพประกอบ PLC

(ตอ)
ภาคเรยี นท่ี 1 ปก ารศึกษา 2563 ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 6

รายวิชาภาษาไทย รหัสวชิ า 16101 จาํ นวน 2 ช่วั โมง
จุดประสงคการเรยี นรู

1) เขาใจและอธิบายการเขียนแผนภาพโครงเรือ่ งได (K)
2) สามารถแยกผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวมโดยใชกระบวนการกลุม และ
กระบวนการคดิ วเิ คราะห ได (P)
3) ตระหนกั และเหน็ ผลประโยชนส วนรวมเปนสําคญั (A)
ข้นั ตอน/การจดั กิจกรรมการเรียนรู

14

STEP 3  C  Crystallize (ตกผลกึ ความรู)
9. ครูผสู อนสุมเลือกผูเรียนใหออกมานําเสนอใบงานหนาชั้นเรียน พรอมใหขอเสนอแนะใน
การทําใบงาน
10. ครูผูสอนและผูเรียนรวมกันสรุปเรื่อง การเขียนแผนภาพโครงเร่ือง และผลประโยชน
สวนรวม และผลประโยชนส วนตน

STEP 4  S  Sharing (แบงปน ความคิด)
11. ครูผูสอนแจกกระดาษแผนเล็ก ๆ ใหผูเรียนเขียนช่ือ และเขียนการทําประโยชนเพ่ือ
สว นรวมในชีวิตประจําวัน จากนั้นนําไปติดท่ีตนประโยชนสวนรวมท่ีครูผูสอนเตรียมไวหนา
ชัน้ เรยี น เพื่อเปน การประกาศความดีและแลกเปลี่ยนเรียนรกู บั เพ่อื นรวมชนั้ เรยี น

กิจกรรมที่ 6.2 ปรบั ปรงุ /พัฒนา การสอน (Do) จาํ นวน 1 ชั่วโมง
กระบวนการ/แนวทาง/ขน้ั ตอน

ทาํ การพัฒนาและปรบั ปรุงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหมใน STEP 4 ข้ัน C : Sharing
(แบงปน ความคดิ ) โดยครูรว มเรียนรู (Buddy Teacher) แนะนาํ ใหถ ายคลิปการนําเสนอผลงานหนา
ชั้นเรียนของผูเรียนลงเผยแพรในส่ือ Youtube เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนเรียนรูกับเพื่อน ๆ ในโลก
ออนไลน
กิจกรรมที่ 6.3 เยีย่ มชัน้ เรียน/เชียรใ หกาํ ลงั ใจ (See) จํานวน 2 ชัว่ โมง
ครูรวมเรียนรู (Buddy Teacher)

นางสาวจฑุ ามาศ ประภากรเจรญิ ตําแหนง รองหัวหนาสายชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 6

15

เย่ียมชั้นเรียน หองเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี 6/3
สิง่ ท่ีพบเห็นขณะการสงั เกตการณส อน/เย่ียมช้นั เรยี น

พฤติกรรมการเรียน/สงิ่ ท่ีพบจากผลงานผเู รียน
1) ผเู รยี นทกุ คนนาํ เสนอแผนภาพโครงเรื่องหนา ช้นั เรียนไดเ ปนอยา งดี
2) ผูเรียนตนื่ เตน และมคี วามสนุกสนานในการเรียนรู
3) ผูเรยี นเขารว มกิจกรรม “ตนประโยชนส วนรวม” โดยการแสดงความคิดเห็นท่ีหลากหลาย

และสรางสรรค
4) ผูเ รยี นสามารถแยกแยะระหวางประโยชนสว นตนและประโยชนส วนรวมได

พฤตกิ รรมการสอน
1) ครผู ูสอนมีความเปนกันเองกับผูเรยี นเปน อยา งมาก
2) ครูผูสอนใชก ระบวนการคิดวเิ คราะหสอดแทรกในทกุ ๆ ขั้นการสอนอยา งเปนธรรมชาติ
3) ครผู ูสอนทา ทายผเู รยี นใหมีความต่นื ตวั อยเู สมอโดยใชหลกั เสริมแรงบวก

การพดู คยุ หลงั การสังเกตการสอน
1) กลา วชมเชยผูสอนวามกี ารวางแผนในการจัดกิจกรรมการเรียนรมู าเปน อยา งดี
2) ครผู ูสอนเตรยี มสือ่ การสอนมาเปน อยางดี

กิจกรรมที่ 6.4 การสะทอนผลการปฏิบตั ิ (Reflection) จาํ นวน 1 ชว่ั โมง
ครูรว มเรยี นรู (Buddy Teacher)

นางสาวจฑุ ามาศ ประภากรเจริญ ตาํ แหนง รองหัวหนาสายชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 6
แลกเปลยี่ นเรียนรู ณ หองสมุด ชั้น 1 โรงเรียนอนบุ าลพระสมทุ รเจดีย
อะไรทําไดดีควรคงอยู

ครูผูสอนจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใหผูเรียนไดเรียนรูรวมกันท้ังหมด มีการใหผูเรียนไดเขา
รว มกจิ กรรม “ตน ประโยชนสวนรวม” ครบทกุ คน 100 % สามารถควบคุมชั้นเรยี นไดเปนอยางดี การ
ดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรูสอดคลองกับรูปแบบการสอน C3S model ผูเรียนไดเรียนรูแบบ
Active Learning อยา งแทจ รงิ
ปญ หาท่เี ปนอุปสรรคตอ การเรียนรู

ผเู รียนบางคนยงั ไมส ามารถสรุปในใบงานเรอ่ื งแผนภาพโครงเรอ่ื งได

16

ควรพัฒนา/แกไ ขอะไรบาง
ครูผูสอนใชเทคนิค “เพ่ือนชวยเพื่อน” กลาวคือ ใหผูเรียนท่ีสามารถทําใบงานไดถูกตองไป

อธิบายผูเรียนท่ยี งั ไมม คี วามเขา ใจในใบงาน
รูปภาพประกอบ PLC

17

ตวั อยางที่ 2 การนํารปู แบบการสอน C3S model ไปใชกบั กลุม สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตรแ ละ
เทคโนโลยี

พฒั นาผเู รียน เรือ่ ง “หนา ท่ขี องพลเมอื งที่ควรปฏบิ ตั ิ ”
บรู ณาการหลกั สูตรตานทุจรติ เรอ่ื ง พลเมืองกับความรบั ผดิ ชอบตอสงั คม
ภาคเรยี นท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2563 ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 6
รายวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) รหสั วชิ า ว16101 จํานวน 2 ช่ัวโมง
จดุ ประสงคการเรยี นรู
1) เขาใจและอธบิ ายหนาทีข่ องพลเมอื งที่ควรปฏิบัติได (K)
2) สามารถแยกหนาทแ่ี ละไมใชห นา ทข่ี องพลเมอื งทด่ี ีได (P)
3) ตระหนักและเห็นความสําคญั ในหนา ทขี่ องพลเมืองทดี่ ีเปนสาํ คญั (A)
ขน้ั ตอน/การจัดกิจกรรมการเรยี นรู

STEP 1  C  Creativity (กจิ กรรมสรางสรรค)
1. ครูผูสอนเปดอนิ โฟกราฟค เร่อื ง “การละเมดิ สิทธสิ วนบคุ คล” ใหผเู รียนดเู ม่ือดอู ินโฟ
กราฟค จบ ครูผสู อนและผเู รียนรวมกันอภิปรายเกยี่ วกับเรอ่ื งราวในอนิ โฟกราฟค
https://www.youtube.com/watch?v=sjAZ5c6R7KY
2. ครูผูส อนสมุ เลอื กผูเรียนใหตอบคําถามเกี่ยวกบั อนิ โฟกราฟค ทีไ่ ดด ู

18

STEP 2  C  Cooperative (รว มมอื รว มใจ)
3. ครูผูสอนอธิบายความหมายสิทธิสวนบุคคลใหผูเรียนฟงพรอมยกตัวอยางใหผูเรียนเขาใจ
และใหผ ูเรียนชวยกันยกตัวอยางการละเมิดสิทธสิ ว นบุคคล
4. ครูผูสอนใหผ ูเ รยี นชวนกันระดมความคิดในการวิเคราะหสิทธิสวนบุคคลจากอินโฟกราฟคท่ี
ใหผ เู รยี นดู

STEP 2  C  Cooperative (รวมมือรว มใจ) (ตอ)
5. ครูผสู อนสมุ เลอื กผูเรียนใหบอกพฤตกิ รรมทีเ่ ปน สิทธิสว นบคุ คลท่ีปฏบิ ัตใิ นชีวิตประจาํ วนั
6. ครูผสู อนเชอ่ื มโยงเขา สูเรอื่ งสิทธหิ นาทีข่ องตนเอง โดยอธบิ ายรายละเอยี ดการเขียน ดังนี้

กจิ กรรมท่ี 6.2 ปรับปรงุ /พฒั นา การสอน (Do) จํานวน 1 ช่วั โมง
กระบวนการ/แนวทาง/ข้ันตอน

ทําการพัฒนาและปรับปรุงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหมใน STEP 1 ข้ัน C :
Creativity (กิจกรรมสรางสรรค) โดยครูรวมเรียนรู (Buddy Teacher) แนะนําตั้งคําถามปลายเปด
และต้ังคําถามคิดวิเคราะหใหกับผูเรียน โดยมีการสุมชื่อนักเรียนในการตอบคําถามเพื่อเราความ
สนใจ และกระตนุ ผูเรยี น
กิจกรรมที่ 6.3 เยย่ี มชน้ั เรียน/เชยี รใ หก ําลังใจ (See) จาํ นวน 2 ช่วั โมง

19

ครรู วมเรียนรู (Buddy Teacher)
นางสาวดารินทร มาดี ตาํ แหนง ครูสายชั้นประถมศึกษาปท ี่ 6

เยย่ี มชน้ั เรียน หองเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 6/2
สิ่งทพี่ บเหน็ ขณะการสงั เกตการณสอน/เยย่ี มชั้นเรียน

พฤติกรรมการเรียน/สง่ิ ที่พบจากผลงานผูเ รียน
1) ผูเรยี นสวนใหญใ หความรวมมอื ในการตอบคาํ ถาม
2) ผูเรยี นตื่นเตน และมคี วามสนุกสนานในการเรียนรู
3) ผเู รยี นสามารถบอกหนาที่ของตนเองไดดี

พฤตกิ รรมการสอน
1) ครูผูสอนมคี วามเปนกนั เองกับผเู รยี นเปน อยา งมาก
2) ครูผูสอนใชกระบวนการคดิ วเิ คราะหสอดแทรกในทุก ๆ ขน้ั การสอนอยางเปน ธรรมชาติ
3) ครผู ูสอนใชหลักเสริมแรงบวก
4) ครใู หผเู รียนศกึ ษาอินโฟกราฟค

การพูดคุยหลังการสังเกตการสอน
1) กลาวชมเชยผูสอนวามกี ารวางแผนในการจดั กิจกรรมการเรยี นรูมาเปน อยางดี
2) ครผู ูสอนเตรยี มสอื่ การสอน(อินโฟกราฟฟค )มาเปน อยา งดี

กจิ กรรมที่ 6.4 การสะทอนผลการปฏบิ ัติ (Reflection) จาํ นวน 1 ช่ัวโมง
ครูรวมเรียนรู (Buddy Teacher)

นางสาวดารินทร มาดี ตําแหนง ครสู ายช้นั ประถมศึกษาปท่ี 6
แลกเปล่ียนเรียนรู ณ หองสมดุ ช้นั 1 โรงเรียนอนบุ าลพระสมทุ รเจดีย
อะไรทาํ ไดดีควรคงอยู

ครูผสู อนจดั กิจกรรมการเรยี นรูโดยใหผูเรียนไดเรียนรูรวมกันท้ังหมด มีการใหผูเรียนไดตอบ
คาํ ถามครบ ทุกคน 100 % คําถามแบบเปดกวางทาํ ใหผูเรียนสามารถมคี าํ ตอบไดอยางหลากหลายไม
ปดกั้นความคิดของผูเรียน มีการใชกฎกติกาในชั้นเรียน สามารถควบคุมช้ันเรียนไดเปนอยางดี การ
ดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรูสอดคลองกับรูปแบบการสอน C3S model ผูเรียนไดเรียนรูแบบ
Active Learning อยา งแทจรงิ

20

ปญ หาที่เปนอุปสรรคตอ การเรียนรู
เนอ่ื งจากผูเรยี นบางคนไมก ลา นาํ เสนอขอมูลของตนเอง

ควรพฒั นา/แกไ ขอะไรบาง
ปรับกจิ กรรมใหผ เู รียนใชช ื่อสมมติเพ่ือเขียนลงใบงาน

รูปภาพประกอบ PLC

ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศกึ ษา 2563 ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ 6
รายวิชาวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) รหสั วิชา ว16101 จํานวน 2 ช่ัวโมง

(ตอ)
จุดประสงคการเรียนรู

1) เขาใจและอธิบายการเขยี นหนาท่ีของพลเมอื งได (K)
2) สามารถแยกบทบาทหนาที่ของตนเองและผูอ่ืนใชกระบวนการกลุม และกระบวนการคิด
วิเคราะห ได (P)
3) ตระหนกั และเหน็ ผลประโยชนส วนรวมเปนสาํ คญั (A)
ขน้ั ตอน/การจดั กิจกรรมการเรียนรู

21

STEP 3  C  Crystallize (ตกผลกึ ความรู)
7. ครูผูสอนสมุ เลอื กผูเรียนใหออกมานําเสนอใบงานหนาช้ันเรียน พรอมใหขอเสนอแนะใน
การทาํ ใบงาน
8. ครูผสู อนและผูเรยี นรวมกนั สรุปเรือ่ ง หนาท่ีของพลเมอื งท่คี วรปฏิบัติ

STEP 4  S  Sharing (แบงปนความคิด)
9. ครูผสู อนแจกกระดาษแผนเล็ก ๆ ใหผูเรียนเขียนชื่อ และหนาท่ีของตนเองและครูผูสอน
และครูรว มเรียนรูเ ดินดผู ลงานนักเรียน และใหนักเรียนนําเสนอผลงานที่นเองเขยี นไว

กิจกรรมที่ 6.2 ปรับปรุง/พฒั นา การสอน (Do) จาํ นวน 1 ช่วั โมง

กระบวนการ/แนวทาง/ขนั้ ตอน
ทาํ การพัฒนาและปรับปรุงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหมใน STEP 4 ข้ัน C : Sharing

(แบงปนความคิด) โดยครูรวมเรียนรู (Buddy Teacher) แนะนําใหเคลือบผลงานเพ่ือเปนสือการ
เรยี นรูในโอกาสตอ ไป

กจิ กรรมที่ 6.3 เย่ียมช้ันเรยี น/เชยี รใหก าํ ลงั ใจ (See) จาํ นวน 2 ช่วั โมง

ครูรว มเรียนรู (Buddy Teacher)
นางสาวดารนิ ทร มาดี ตาํ แหนง ครูสายชั้นประถมศึกษาปท ี่ 6

เยย่ี มช้นั เรียน หอ งเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ 6/2

22

สง่ิ ท่พี บเห็นขณะการสังเกตการณส อน/เยี่ยมชั้นเรียน

พฤตกิ รรมการเรียน/สิง่ ทีพ่ บจากผลงานผเู รยี น
1) ผเู รียนทกุ คนนาํ เสนอช้ินงานของตนเองเปน อยางดี
2) ผูเรยี นต่นื เตน และมีความสนกุ สนานในการเรยี นรู
3) ผูเรยี นเขารว มกจิ กรรม “หนาท่ขี องตนเอง” โดยการแสดงความคิดเห็นที่หลากหลายและ

สรา งสรรค
4) ผเู รียนสามารถแยกแยะระหวา งหนาที่ของตนเองและไมใ ชห นาท่ตี นเอง

พฤตกิ รรมการสอน
1) ครูผูสอนมคี วามเปน กนั เองกบั ผูเรียนเปนอยางมาก
2) ครผู ูสอนใชก ระบวนการคดิ วเิ คราะหสอดแทรกในทุก ๆ ข้ันการสอนอยางเปนธรรมชาติ
3) ครผู ูสอนกระตุน ผูเรียนใหมีความต่ืนตัวอยูเ สมอโดยใชหลกั เสริมแรงบวก

การพดู คยุ หลังการสังเกตการสอน
1) กลาวชมเชยผูสอนวา มกี ารวางแผนในการจดั กิจกรรมการเรยี นรมู าเปน อยา งดี
2) ครูผูสอนเตรยี มส่ือการสอนมาเปนอยางดี

กจิ กรรมท่ี 6.4 การสะทอ นผลการปฏบิ ัติ (Reflection) จาํ นวน 1 ชว่ั โมง

ครรู ว มเรียนรู (Buddy Teacher)
นางสาวดารินทร มาดี ตําแหนง ครูสายช้นั ประถมศึกษาปที่ 6

แลกเปล่ยี นเรียนรู ณ หอ งสมุด ชั้น 1 โรงเรยี นอนบุ าลพระสมุทรเจดยี 

อะไรทําไดด ีควรคงอยู
ครูผูสอนจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใหผูเรียนไดเรียนรูรวมกันท้ังหมด มีการใหผูเรียนไดเขา

รวมกิจกรรม “หนาที่ของตนเองที่ควรปฏิบัติ” ครบทุกคน 100 % สามารถควบคุมชั้นเรียนไดเปน
อยางดี การดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรูสอดคลองกับรูปแบบการสอน C3S model ผูเรียนได
เรยี นรูแบบ Active Learning อยา งแทจรงิ

ปญ หาท่เี ปน อปุ สรรคตอ การเรียนรู
ผูเรียนบางคนพูดไดแตไมสามารถเขียนไดทกุ คาํ ทพ่ี ดู

23

ควรพฒั นา/แกไขอะไรบาง
ครูผูสอนใชเทคนิค “เพ่ือนชวยเพ่ือน” กลาวคือ ใหผูเรียนท่ีสามารถทําใบงานไดถูกตองไป

อธบิ ายผูเรียนทย่ี งั ไมม ีความเขา ใจในใบงาน
รปู ภาพประกอบ PLC

พัฒนพาัฒผเูนราียผนเู รเรียือ่นงเร“อ่ืแงสด“งกคาวราลมะคเมิดิดเหสทิน็ ธจข์ิากอเงรผอื่ อู งื่นท”่ีอาน”
บูรณาการหบลรู ักณสาูตกราตราหนลทกั จุสรตู ิตรตเรา ่อืนงทจุ พรลติ เมเรือือ่ งงกับกคาวราทมาํ รกบั าผรบิดาชนอบตอสงั คม
ภาคเรียนท่ี 1 ปการศกึ ษา 2563 ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 6
รายวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รหสั วิชา ว16101 จาํ นวน 2 ชว่ั โมง

(ตอ)
จุดประสงคการเรียนรู

1) อธบิ ายความรแู ละความคดิ จากเรื่องคลปิ วดี ีโอไปใชใ นการดาํ เนินชวี ิต (K)
2) สามารถเรยี นรูแ ละมคี วามเขา ใจเก่ียวกบั ปฎิบัติตนตามหนา ท่พี ลเมอื ง (K)
3) สามารถปฏบิ ัตติ นเปนผูร บั ผิดชอบตอ สงั คม (P)
4) ตระหนกั และเหน็ ขอ เสยี ของการไมรับผิดชอบบตอ สงั คม (A)

24

ขั้นตอน/การจัดกิจกรรมการเรยี นรู

STEP 3  C  Crystallize (ตกผลกึ ความรู)
10. ครูผสู อนสุม เลอื กผูเรยี นใหออกมานาํ เสนอใบงานหนาชน้ั เรียน พรอมใหขอเสนอแนะใน
การทาํ ใบงาน
11. ครูผูส อนและผเู รียนรวมกันสรปุ เรอ่ื ง การละเมิดสิทธ์ิ การละเมดิ ความเปนสวนตัว และ
การละเมดิ ลิขสิทธิ์

STEP 4  S  Sharing (แบงปนความคดิ )
12. ครูผูสอนใหผูเรียนนําบัตรสารภาพที่เขียนไปแยกประเภทใหถูกตอง

กิจกรรมท่ี 6.2 ปรบั ปรงุ /พัฒนา การสอน (Do) จาํ นวน 1 ช่วั โมง

25

กระบวนการ/แนวทาง/ขน้ั ตอน
ทําการพัฒนาและปรับปรงุ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหมใน STEP 4 ข้ัน C : Sharing

(แบงปนความคิด) โดยครูรวมเรียนรู (Buddy Teacher) แนะนําใหเคลือบผลงานเพ่ือเปนสื่อการ
เรียนรูในโอกาสตอ ไป
กิจกรรมที่ 6.3 เยี่ยมชน้ั เรยี น/เชยี รใ หกําลังใจ (See) จาํ นวน 2 ช่ัวโมง
ครรู วมเรยี นรู (Buddy Teacher)

นางสาวดารนิ ทร มาดี ตาํ แหนง ครสู ายช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี 6
เยีย่ มชัน้ เรียน หองเรียนช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 6/4

สิง่ ท่พี บเห็นขณะการสงั เกตการณส อน/เยี่ยมชัน้ เรยี น
พฤตกิ รรมการเรยี น/สิ่งทพี่ บจากผลงานผเู รยี น

1) ผเู รียนทกุ คนนาํ เสนอ “บัตรสารภาพ” หนา ชน้ั เรียนไดเ ปนอยางดี
2) ผเู รียนต่ืนเตน และมคี วามสนกุ สนานในการเรยี นรู
3) ผูเรียนเขารวมกิจกรรม “บัตรสารภาพ” โดยการแสดงความคิดเห็นท่ีหลากหลายและ
สรางสรรค
4) ผูเรียนสามารถระบุพฤติกรรมท่เี ปนการละเมดิ สทิ ธิ์ของผอู ืน่ และแนวทางในการแกป ญหา
พฤติกรรมการสอน
1) ครผู ูสอนมีความเปน กนั เองกบั ผเู รียนเปนอยางมาก
2) ครผู ูสอนใชก ระบวนการคดิ วเิ คราะหส อดแทรกในทกุ ๆ ขัน้ การสอนอยา งเปนธรรมชาติ
3) ครผู ูสอนทาทายผูเรยี นใหมีความตนื่ ตัวอยเู สมอโดยใชห ลกั เสริมแรงบวก
การพดู คุยหลงั การสังเกตการสอน
1) กลา วชมเชยผูสอนวา มีการวางแผนในการจัดกิจกรรมการเรยี นรูม าเปน อยางดี
2) ครูผูสอนเตรียมสือ่ การสอนมาเปนอยางดี
กจิ กรรมท่ี 6.4 การสะทอ นผลการปฏบิ ัติ (Reflection) จํานวน 1 ชั่วโมง
ครรู ว มเรยี นรู (Buddy Teacher)
นางสาวดารนิ ทร มาดี ตาํ แหนง ครูสายชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 6
แลกเปล่ยี นเรียนรู ณ หองสมดุ ชนั้ 1 โรงเรยี นอนุบาลพระสมุทรเจดยี 

26

อะไรทาํ ไดดคี วรคงอยู
ครูผูสอนจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใหผูเรียนไดเรียนรูรวมกันท้ังหมด มีการใหผูเรียนไดเขา

รวมกิจกรรม “บัตรสารภาพ” ครบทุกคน 100 % สามารถควบคุมช้ันเรียนไดเปนอยางดี การ
ดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรูสอดคลองกับรูปแบบการสอน C3S model ผูเรียนไดเรียนรูแบบ
Active Learning อยา งแทจริง

ปญหาท่ีเปน อปุ สรรคตอ การเรียนรู
ผเู รียนบางคนยังไมส ามารถสรุปในใบงานเรื่องแผนภาพโครงเรอ่ื งได

ควรพฒั นา/แกไ ขอะไรบาง
ครูผูสอนใชเทคนิค “เพ่ือนชวยเพ่ือน” กลาวคือ ใหผูเรียนที่สามารถทําใบงานไดถูกตองไป

อธิบายผเู รยี นที่ยงั ไมม คี วามเขาใจในใบงาน
4.2 ผลที่เกิดข้ึนตามวตั ถุประสงค
1. ไดร ว มกนั พฒั นารปู แบบการสอน “C3S model” ทส่ี ามารถจดั กจิ กรรมการ

เรียนไดครอบคลุมทง้ั พฤติกรรมที่ตอ งพัฒนา เนือ้ หาจากกลมุ สาระการเรยี นรูตาง ๆ และเน้ือหาจาก
หลักสตู รตานทจุ รติ ศกึ ษา

2. คณะครูกลุมPLC ของคณะครูสายชนั้ ประถมศึกษาปที่ 6 มรี ูปแบบการสอนใหมๆ

4.3 ประโยชนท ี่ไดรบั
1. ไดร ปู แบบการสอน “C3S model” ท่ีสามารถจัดกจิ กรรมการเรียนไดค รอบคลมุ

ทั้งพฤตกิ รรมทต่ี องพัฒนา เนอ้ื หาจากกลมุ สาระการเรียนรตู า ง ๆ และเนือ้ หาจากหลกั สูตรตา นทุจรติ
ศึกษา

2. คณะครูกลุมPLC ของคณะครูสายชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 มีรูปแบบการสอนใหมๆ
3. นักเรยี นไดเ รียนรกู ิจกรรมผา นการสอนแบบ Active Learning มคี วามทาทาย
และสนกุ สนาน
4. ครผู ูสอนเปลี่ยนสถานะตนเองเปนผอู ํานวยความสะดวกในการสอน (Facilitator)

5. ปจ จัยความสาํ เรจ็

1. กระบวนการสรางชุมชนแหง การเรียนรทู างวิชาชพี (Professional Learning
Community: PLC) เพ่อื พัฒนาคุณภาพการศึกษา เพอ่ื พัฒนากระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูของ
ครูใหมีประสทิ ธภิ าพ และเพือ่ พัฒนาสอ่ื /นวัตกรรมทางการศกึ ษาในการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการ
เรียนของผูเรียนใหมคี ุณภาพอยา งยงั่ ยนื และสามารถเปน แบบอยา งทดี่ ีใหกับครผู ูสอนทงั้ ในและนอก

27

โรงเรียนได โดยกลมุ PLC ระดบั สายช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ไดพฒั นารูปแบบการสอน C3S model
เพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรูหลักสูตรตานทจุ รติ ศกึ ษาบรู ณาการกบั การจัดการเรียนรูกบั กลมุ
สาระการเรียนรูต างๆ ตามแนวทาง Active Learning

2. ความรวมมอื ของคุณครสู ายช้ันประถมศกึ ษาปที่ 6 และผูเชย่ี วชาญกลุม PLC

6. บทเรียนทีไ่ ดร บั
1. การชน่ื ชมผเู รยี นแบบเทคนิคเสริมแรงบวกเพ่ือควบคุมพฤติกรรมอันไมพึง

ประสงค และเปน การเสรมิ กําลงั ใจใหกบั ผูเรยี นไปในตวั
2. การตัง้ คาํ ถามของครูผูส อนตอ งตั้งคาํ ถามแบบเปด กวาง เนนการคดิ วเิ คราะหเ ปน

สาํ คญั เพ่ือนําไปสกู ารตงั้ คําถามทีม่ ีความยากข้ึน คอื การตงั้ คําถามแบบสงั เคราะห
3. ครผู สู อนตอ งรอการตอบคําถามของผเู รยี น จะไมม ีการใบค ําตอบ เพื่อใหผ ูเรยี น

ไดตอบคําถามไดอยา งหลากหลาย เนนเหตุผลในการตอบคําถาม ครูผสู อนจะตองมีองคค วามรใู นการ
ตอบคําถามกับผูเรยี น ในกรณีเม่อื ผูเรยี นสงสัย

4. การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิของผูเรียนในรายวชิ าตาง ๆ เพ่อื ตอยอดในการสราง
นวัตกรรม

5. ควรหาคาประสทิ ธภิ าพของนวตั กรรมเพอ่ื สรา งความม่ันใจใหกบั คนท่ีจะนาํ ไปใช

7. การเผยแพร
1. การแสดงผลงานทางกระบวนการ PLC ของโรงเรยี นอนุบาลพระสมทุ รเจดยี  ณ

หอ งบวั ชมพู เมอ่ื วันท่ี 15 ธนั วาคม พ.ศ. 2563
2. การแสดงผลงาน นิทรรศการ วชิ าการ รวมใจ แลกเปลี่ยนเรยี นรโู ครงการ

โรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. ของโรงเรียนอนุบาลพระสมทุ รเจดยี  ณ โรงเรยี นปอมพระจลุ เกลา เมอื่ วนั ท่ี
29 มนี าคม พ.ศ. 2564

3. การนาํ เสนอผลงานระหวางการติดตามฯของ อ.ก.ต.ป.น. เมือ่ วนั ท่ี 23 สงิ หาคม
พ.ศ. 2564

4. การนาํ เสนอผา นFacebook โรงเรยี นอนุบาลพระสมุทรเจดยี 

28

ภาคผนวก

29

30

31


Click to View FlipBook Version