The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

4 หลักสูตร วิชา วิทยาศาสตร์ โรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดีย์ 2561

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thaninrat Kritchanthat Sirivisalsuwan, 2020-02-14 01:21:56

4 หลักสูตร วิชา วิทยาศาสตร์ โรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดีย์ 2561

4 หลักสูตร วิชา วิทยาศาสตร์ โรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดีย์ 2561

หลกั สตู รกลุ่มสำระกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตร์
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)

ตำมหลกั สูตรแกนกลำงกำรศึกษำขน้ั พ้ืนฐำน
พทุ ธศกั รำช ๒๕๕๑

โรงเรยี นอนุบำลพระสมทุ รเจดีย์ พทุ ธศักรำช 2561

สำนักงำนเขตพนื้ ทก่ี ำรศกึ ษำประถมศึกษำสมุทรปรำกำร เขต 1
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพน้ื ฐำน
กระทรวงศึกษำธิกำร



ประกาศโรงเรยี นอนุบาลพระสมุทรเจดีย์
เรอื่ ง ให้ใชห้ ลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดยี ์ พทุ ธศักราช 2561

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

*******************************

เพื่อให้การจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดีย์เป็นไป
ด้วยความสมบูรณ์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ จึงต้องดาเนินการจัดการศึกษาตามนโยบายของ
กระทรวงศึกษาธกิ ารใหม้ คี วามครอบคลมุ ในเรือ่ งตา่ ง ๆ คอื

๑. การจัดการศกึ ษาตามนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารู้”
๒. การปรบั ปรงุ และพฒั นาหน่วยการเรียนร้บู รู ณาการแบบครบวงจร
๓. การปรบั เปลีย่ นจานวนชวั่ โมงของรายวิชาพนื้ ฐาน รายวิชาเพ่ิมเติม และกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน
4. การปรบั ปรงุ และพัฒนาหนว่ ยการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรยี นรูต้ า่ ง ๆ
5. การเปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ
สาระภูมศิ าสตร์ ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 สาหรับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 และช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ในปี
การศึกษา 2561 สาหรับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 และชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 ในปีการศึกษา 2562 และสาหรับชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ในปีการศึกษา 2563 (คาสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. 1239/2560 และคาส่ัง
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ที่ 30/2561)
6. การยกเลิกมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี และสาระท่ี 3
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และเปล่ียนช่ือกลุ่มสาระการเรียนรู้ (คาส่ังสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ที่ 921/2561)
7. การปรบั ปรุงโครงสร้างเวลาเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
(คาสง่ั สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ที่ 922/2561)

บัดน้โี รงเรียนไดด้ าเนนิ การจดั ทาหลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นอนุบาลพระสมุทรเจดีย์ พุทธศักราช
2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ พรอ้ มนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนใน
ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2561 แลว้

ท้ังน้ีหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดีย์ พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ได้รับความเห็นชอบจากมติของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ัน
พนื้ ฐาน โรงเรยี นอนุบาลพระสมุทรเจดีย์แล้วน้ัน จึงขอประกาศให้ใช้หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลพระสมุทร
เจดยี พ์ ุทธศกั ราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานพทุ ธศักราช 2551 ตั้งแตบ่ ดั น้เี ปน็ ตน้ ไป

ประกาศ ณ วนั ที่ ๑0 พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖1

ลงช่ือ ลงชอ่ื

(นายสนิท เปี่ยมสวสั ดิ์) (นางวรีวรรณ สงิ ห์ทอง)
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ผูอ้ านวยการโรงเรยี นอนบุ าลพระสมุทรเจดยี ์

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นอนุบาลพระสมทุ รเจดยี ์ พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 หนา้ ก

คำนำ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนบุ าลพระสมุทรเจดีย์ พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้จัดทาข้ึนตามแนวทางท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศกั ราช 2551 และเปน็ ไปตามมาตรา 27 วรรคสอง แหง่ พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ี
แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ซ่ึงกาหนดให้สถานศึกษามีหน้าท่ีจัดทาสาระของหลักสูตรสถานศึกษาตาม
หลักการ จุดหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนด เพ่ือตอบสนองต่อความต้องการในส่วนท่ี
เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ เพื่อให้เยาวชนเป็นสมาชิกที่ดี
ของครอบครวั ชมุ ชน สงั คมและประเทศชาติ

ท้งั น้ีโรงเรียนอนุบาลพระสมทุ รเจดยี ์เปน็ ไปด้วยความสมบูรณ์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ จึงต้อง
ดาเนนิ การจัดการศกึ ษาตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารใหม้ ีความครอบคลมุ ในเร่ืองต่าง ๆ คือ

๑. การจดั การศึกษาตามนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้”
๒. การปรับปรงุ และพฒั นาหนว่ ยการเรยี นร้บู รู ณาการแบบครบวงจร
๓. การปรับเปล่ียนจานวนชว่ั โมงของรายวชิ าพ้ืนฐาน รายวิชาเพิม่ เติม และกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน
4. การปรบั ปรุงและพัฒนาหน่วยการเรยี นรู้ในกลุ่มสาระการเรยี นร้ตู ่าง ๆ
5. การเปลย่ี นแปลงมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ดั กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และ
สาระภูมศิ าสตร์ ในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 สาหรับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ในปี
การศึกษา 2561 สาหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 และช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 ในปีการศึกษา 2562 และสาหรับช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ในปีการศึกษา 2563 (คาส่ังกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ. 1239/2560 และคาส่ัง
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ท่ี 30/2561)
6. การยกเลิกมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี และสาระที่ 3
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และเปล่ียนชื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้ (คาส่ังสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน ท่ี 921/2561)
7. การปรับปรุงโครงสร้างเวลาเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
(คาส่ังสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ท่ี 922/2561)

หลักสตู รสถานศึกษาฉบบั น้ี ประกอบด้วยวิสยั ทัศนข์ องโรงเรยี น หลักการ จุดมงุ่ หมาย สมรรถนะของผเู้ รียน
และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ โครงสร้างของหลักสตู ร คาอธบิ ายรายวิชา การวดั และการประเมินผลการเรียนรู้ ซ่ึง
ทางโรงเรียนได้กาหนดไว้ในหลักสูตรฉบับน้ี เพ่ือให้ผู้ที่เก่ียวข้องและผู้ที่นาหลักสูตรฉบับน้ีไปใช้ได้เข้าใจและสามารถ
นาไปใช้ได้อย่างถูกตอ้ งและบรรลุผลตามทีต่ อ้ งการ

หลกั สูตรสถานศกึ ษาของโรงเรียนอนุบาลพระสมทุ รเจดีย์ ฉบับนี้ สาเร็จลลุ ่วงไปด้วยดีก็ด้วยความร่วมมือและ
ช่วยเหลือจากบุคลากรหลายฝ่าย ประกอบด้วย ผู้อานวยการสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานของ
โรงเรียน ผู้ปกครองนักเรียน คณะครูและผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องทุกภาคส่วนท่ีมีส่วนร่วมดาเนินการ ทางโรงเรียนจึง
ขอขอบพระคุณทา่ นมา ณ โอกาสน้ี

ลงชือ่ ลงชื่อ

(นายสนทิ เป่ยี มสวัสด์)ิ (นางวรีวรรณ สงิ ห์ทอง)
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ผู้อานวยการโรงเรยี นอนุบาลพระสมทุ รเจดยี ์

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนบุ าลพระสมุทรเจดีย์ พทุ ธศกั ราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 หน้า ข

สำรบัญ หนา้

หวั ข้อ ข
ประกาศโรงเรยี นอนุบาลพระสมุทรเจดยี ์ ค
คานา 1
สารบัญ 2
ความนา 2
วิสยั ทศั น์ 3
หลกั การ 4
จดุ ม่งุ หมาย 5
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 6
คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 7
โครงสรา้ งเวลาเรียนหลกั สตู รสถานศกึ ษา 8
9
- โครงสร้างเวลาเรียนหลักสูตรสถานศึกษา ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 10
- โครงสร้างเวลาเรียนหลักสูตรสถานศึกษา ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 2 11
- โครงสรา้ งเวลาเรยี นหลักสตู รสถานศึกษา ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 12
- โครงสรา้ งเวลาเรยี นหลกั สตู รสถานศกึ ษา ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 13
- โครงสร้างเวลาเรียนหลักสูตรสถานศกึ ษา ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 13
- โครงสร้างเวลาเรียนหลักสตู รสถานศึกษา ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 15
ทาไมต้องเรียนวทิ ยาศาสตร์ 15
เรยี นรอู้ ะไรในวทิ ยาศาสตร์ 18
เป้าหมายของวิทยาศาสตร์ 19
คุณภาพผู้เรียน 19
มาตรฐานการเรยี นรู้ 20
ตัวช้วี ัด 24
โครงสร้างกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 25
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ 31
ตัวชีว้ ัดและสาระการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ 36
- ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1 42
- ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2 49
- ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 3 57
- ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 66
- ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 67
- ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 74
วิเคราะหต์ ัวช้วี ัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 82
- ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 1
- ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 2 หนา้ ค
- ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3

หลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นอนุบาลพระสมุทรเจดีย์ พุทธศกั ราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

สำรบัญ (ต่อ) หนา้

หัวข้อ 93
วเิ คราะห์ตวั ชวี้ ัด กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ตอ่ ) 103
113
- ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 133
- ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 134
- ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 135
คาอธบิ ายรายวชิ า กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 136
- ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 137
- ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 138
- ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 3 139
- ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 140
- ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 5 141
- ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 142
อภิธานศพั ท์ 145
หนว่ ยการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 147
- ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 149
- ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 2 152
- ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 154
- ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 155
- ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 156
- ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 158
สาระบูรณาการแบบครบวงจร
เอกสารอา้ งองิ
ภาคผนวก
- คาสัง่ โรงเรียนอนุบาลพระสมทุ รเจดยี ์

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นอนบุ าลพระสมุทรเจดีย์ พทุ ธศักราช 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 หน้า ง

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนอนุบาลพระสมทุ รเจดยี ์พทุ ธศกั ราช ๒๕61

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

ความนา

จากการทบทวนหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๔๔ ได้นาไปสู่การพัฒนาหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่มีความเหมาะสมชัดเจนท้ังเป้าหมายของหลักสูตรในการ

พัฒนาคุณภาพผู้เรียนและกระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติในระดับสถานศึกษาโดยได้มีการกาหนด

วิสัยทัศน์จุดหมายสมรรถนะสาคัญของผู้เรียนคุณลักษณะอันพึงประสงค์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดที่

ชัดเจนเพ่อื ใชเ้ ปน็ ทศิ ทางในการจัดทาหลกั สตู รการเรยี นการสอนในแต่ละระดบั นอกจากน้ันได้กาหนดโครงสร้าง

เวลาเรยี นของแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรียนรูใ้ นแต่ละชนั้ ปีไว้ในหลกั สตู รแกนกลางอีกท้ังได้ปรับกระบวนการวัดและ

ประเมินผลผู้เรียนเกณฑ์การจบการศึกษาแต่ละระดับและเอกสารแสดงหลักฐานทางการศึกษาให้มีความ

สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละมคี วามชัดเจนตอ่ การนาไปปฏิบตั ิ

โรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดีย์ได้นาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มา
ใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาให้เป็นปัจจุบันโดยจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา
นกั เรยี นของโรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดยี ใ์ หม้ ีคณุ ภาพด้านความรแู้ ละทักษะที่จาเป็นสาหรับการดารงชีวิตใน
สังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงและแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิตตามแนวคิด Thailand
Education 4.0 เพ่ือให้นักเรียนคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ โดย
กาหนดเป้าหมายด้านผู้เรียน ดังนี้

๑. มคี ุณธรรม จริยธรรม ดาเนินชีวิตในหมู่คณะด้วยการแบ่งปัน ปฏิบัติคุณธรรม ความรัก และเมตตา
ที่แสดงออกในการเคารพสิทธิซึ่งกันและกัน และคานิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติ
ตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตนนับถือ ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๒. เป็นเลิศทางวิชาการ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน มีความรู้ ความสามารถในการใช้ภาษาเพ่ือการสื่อสาร การคิด
การแกป้ ัญหา การใช้เทคโนโลยี และมที กั ษะชวี ิต

๓. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตทีด่ ี มีสุขนสิ ยั และรักการออกกาลงั กาย
๔. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครอง
ตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๕. มีสุนทรียภาพด้านวรรณกรรม ศิลปะ และดนตรี มจี ติ สานกึ ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญา
ไทย แสดงออกซง่ึ เอกลักษณ์ความเป็นไทย การอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม มีจิตสาธารณะท่ีมุ่งทาประโยชน์
และสร้างสิ่งที่ดงี ามในสังคม ยืนหยัดปฏิบัติความดดี ้วยความมน่ั ใจ และอยู่รว่ มกันในสังคมอย่างมคี วามสุข
การจดั ทาหลกั สูตรสถานศกึ ษาจะประสบความสาเรจ็ ตามเป้าหมายได้ เกิดจากความร่วมมือร่วมใจของผู้
ท่เี ก่ยี วขอ้ งทุกฝ่าย โดยร่วมกันทางานอย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง ในการวางแผน ดาเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน
ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาผ้เู รียนไปสคู่ ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนร้ทู ีก่ าหนดไว้

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นอนบุ าลพระสมทุ รเจดีย์ พทุ ธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หนา้ 1

วิสัยทศั น์

“ผเู้ รียนมีคุณภาพ โรงเรยี นได้มาตรฐาน พัฒนาสสู่ ากล
บนพน้ื ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสคู่ วามเปน็ วถิ พี ทุ ธ”

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นอนบุ าลพระสมทุ รเจดีย์ มงุ่ พัฒนาผ้เู รียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติ ให้
เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลท้ังด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิต สานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพล
โลก ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะ
พื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญบนพ้ืนฐานความเช่ือว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ พรั่งพร้อมด้วย
การนาแนวคิดเชิงบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการจัดการเรียนการสอนเชิงวิถีพุทธ
เน้นอัตลักษณ์ “คุณธรรมนาความรู้” เข้ามาพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพและมีจิตสาธารณะเพ่ือตอบแทนสังคม
ประเทศต่อไป

หลกั การ

หลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนอนบุ าลพระสมทุ รเจดีย์ มีหลกั การทสี่ าคัญ ดงั นี้
1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เป็น
เป้าหมายสาหรับพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพ้ืนฐานของความเป็นไทยควบคู่กับ
ความเป็นสากล
2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่าง เสมอภาค
และมคี ณุ ภาพ
3. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้
สอดคลอ้ งกบั สภาพและความตอ้ งการของท้องถ่นิ
4. เปน็ หลักสตู รการศกึ ษาที่มโี ครงสร้างยืดหยุ่นทง้ั ด้านสาระการเรยี นรู้ เวลา และการจดั การเรยี นรู้
5. เปน็ หลกั สตู รการศึกษาทเ่ี นน้ ผ้เู รียนเป็นสาคัญ
6. เป็นหลกั สตู รการศกึ ษาสาหรบั การศกึ ษาในระบบ สามารถเทียบโอนผลการเรยี นรู้และ
ประสบการณ์

หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนอนบุ าลพระสมุทรเจดยี ์ พทุ ธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 หนา้ 2

จดุ ม่งุ หมาย

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดีย์ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข
มศี กั ยภาพในการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชพี จงึ กาหนดเป็นจุดมงุ่ หมายเพื่อให้เกิดกบั ผู้เรียน ดังนี้

1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทตี่ นนบั ถอื ยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

2. มคี วามรคู้ วามสามารถในการส่อื สาร การคดิ การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต
3. มสี ุขภาพกายและสุขภาพจติ ท่ีดี มีสขุ นิสัย และรกั การออกกาลังกาย
4. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครอง
ตามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิต
สาธารณะทมี่ ุง่ ทาประโยชนแ์ ละสร้างสิ่งท่ีดงี ามในสังคม และอย่รู ่วมกนั ในสังคมอยา่ งมีความสุข

หลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นอนุบาลพระสมุทรเจดยี ์ พุทธศักราช 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 หน้า 3

สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน

ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดีย์ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มี
สมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ดงั นี้

1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณอ์ นั จะเปน็ ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลดปัญหา
ความขดั แยง้ ต่าง ๆ การเลอื กรบั หรอื ไมร่ ับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้
วธิ กี ารส่ือสาร ที่มปี ระสิทธิภาพ โดยคานงึ ถึงผลกระทบทม่ี ตี ่อตนเองและสงั คม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สรา้ งสรรค์ การคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปส่กู ารสรา้ งองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพ่ือ
การตัดสนิ ใจเกย่ี วกับตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปลยี่ นแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
และมีการตัดสนิ ใจทีม่ ปี ระสิทธภิ าพโดยคานึงถึงผลกระทบ ทีเ่ กิดขนึ้ ตอ่ ตนเอง สังคมและสงิ่ แวดลอ้ ม

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ
ดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรยี นรู้อยา่ งต่อเน่อื ง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วย
การสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การ
ปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพ แวดล้อม และการรู้จักหลีกเล่ียงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์
ท่สี ่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อ่ืน

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพฒั นาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทางาน การ
แก้ปัญหา อยา่ งสรา้ งสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสมและมคี ณุ ธรรม

หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรียนอนบุ าลพระสมทุ รเจดยี ์ พทุ ธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 หน้า 4

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

การพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดีย์ มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนมี
คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เพ่อื ใหส้ ามารถอยูร่ ว่ มกบั ผอู้ น่ื ในสังคมได้อย่างมีความสุข ท้ังในฐานะพลเมืองไทยและ
พลโลก ดังน้ี

1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
2. ซอื่ สัตยส์ จุ ริต
3. มวี ินัย
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยู่อย่างพอเพยี ง
6. มงุ่ มัน่ ในการทางาน
7. รกั ความเป็นไทย
8. มจี ิตสาธารณะ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นอนบุ าลพระสมทุ รเจดยี ์ พทุ ธศักราช 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 หน้า 5

โครงสรา้ งเวลาเรียน

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดีย์ พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 ไดก้ าหนดโครงสรา้ งเวลาเรยี น ดงั นี้

กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ กจิ กรรม เวลาเรยี น ป.5 ป.6
ระดับช้ันประถมศึกษา
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 160 160
ภาษาไทย 160 160
คณติ ศาสตร์ 200 200 200 160 80 80
วิทยาศาสตร์ 200 200 200 160 120 120
80 80 80 80 40 40

สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 80 80 120 80 80

- ประวตั ิศาสตร์ 40 40 40 40 80 80
80 80
- ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม 40 40 40 80 80 80
- หนา้ ที่พลเมืองวฒั นธรรมและการ 80 80
840 840
ดาเนนิ ชวี ติ ในสงั คม
- เศรษฐศาสตร์ 40 40
- ภมู ิศาสตร์ 120 120
40 40
สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 40 40 40 80 40 40
ศิลปะ 20 20 20 80 30 30
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 20 20 20 80 10 10
ภาษาต่างประเทศ 200 200 200 80 1,000 1,000
840 840 840 840 ช.ม./ปี ช.ม./ปี
รวมเวลาเรยี นพน้ื ฐาน
รายวิชาเพ่มิ เตมิ ตามบริบท/จุดเนน้ คอื 40 40 40 40
- รายวิชาหน้าทพี่ ลเมือง
120 120 120 120
กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน 40 40 40 40

- กจิ กรรมแนะแนว

- ลกู เสอื /เนตรนารี 40 40 40 40
- ชมุ นมุ ชมรม 30 30 30 30

- กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน์ 10 10 10 10

รวมเวลาเรียนทง้ั หมด 1,000 1,000 1,000 1,000

ตามทหี่ ลักสตู รกาหนด ช.ม./ปี ช.ม./ปี ช.ม./ปี ช.ม./ปี

* หมายเหตุ การจดั เวลาเรยี นทั้งหมดเป็นไปตามความเหมาะสมและบรบิ ทของสถานศึกษา

ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 - 3 ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 – 5 ประถมศกึ ษาปีที่ 6
ลดเวลาเรียนฯ จานวน 5 ชม./สปั ดาห์ ลดเวลาเรยี นฯ จานวน 5 ชม./สปั ดาห์ ลดเวลาเรียนฯ จานวน 5 ชม./สปั ดาห์
- ศลิ ปะ + การงานฯ (1 ชม.) - Eng ครูตา่ งชาติ (2 ชม.) - Engครตู า่ งชาติ (2 ชม.)
- ยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน (2 ชม.) - ยกระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น (1 ชม.) - ธรรมศึกษาชนั้ ตรี (1 ชม.)
- ซ่อมเสรมิ (1 ชม.) - ซอ่ มเสริม (1 ชม.) - ยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น (1 ชม.)
- พอเพยี ง + วิถีพทุ ธ (1 ชม.) - พอเพยี ง + วิถพี ทุ ธ (1 ชม.) - พอเพยี ง + วิถพี ุทธ (1 ชม.)

หลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดีย์ พุทธศักราช 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 หนา้ 6

โครงสรา้ งเวลาเรียน ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1

รายวชิ า / กจิ กรรม เวลาเรียน (ชม./ปี)
รายวชิ าพนื้ ฐาน (๘๔๐)
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐
ว ๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๘๐
ส ๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 40
ส ๑๑๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐
พ ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา 40
ศ ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ 20
ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี 20
อ ๑๑๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 200
รายวิชา/กจิ กรรมเพิม่ เติม (๔๐)
ส ๑๑๒๐๑ หน้าที่พลเมือง ๔๐
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน (๑๒๐)
*กจิ กรรม “ลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู้”
- กิจกรรมแนะแนว ๔๐
กิจกรรมนกั เรียน
- ลกู เสอื /เนตรนารี ๔๐
- ชมุ นุม/ชมรม ๓๐
- กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐
รวมเวลาเรยี นท้ังหมดตามหลกั สูตรกาหนด ๑,๐๐๐

*หมายเหตุ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 กจิ กรรม “ลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้” จานวน 5 ชม./สปั ดาห์

- ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน (2 ชม.) - ศิลปะ + การงานฯ (1 ชม.)

- ซ่อมเสรมิ (1 ชม.)

- พอเพยี ง + วิถพี ทุ ธ (1 ชม.)

หลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนอนุบาลพระสมทุ รเจดยี ์ พทุ ธศักราช 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 หน้า 7

โครงสร้างเวลาเรยี น ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 2

รายวชิ า / กิจกรรม เวลาเรียน (ชม./ปี)
รายวชิ าพน้ื ฐาน (๘๔๐)
ท ๑2๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค ๑2๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐
ว ๑2๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๘๐
ส ๑2๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 40
ส ๑2๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐
พ ๑2๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา 40
ศ ๑2๑๐๑ ศิลปะ 20
ง ๑2๑๐๑ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี 20
อ ๑2๑๐๑ ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 200
รายวิชา/กิจกรรมเพิม่ เติม (๔๐)
ส ๑2๒๐๑ หน้าทพ่ี ลเมือง ๔๐
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น (๑๒๐)
กจิ กรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
- กจิ กรรมแนะแนว ๔๐
กจิ กรรมนักเรยี น
- ลกู เสือ/เนตรนารี ๔๐
- ชมุ นมุ /ชมรม ๓๐
- กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐
รวมเวลาเรียนทั้งหมดตามหลักสูตรกาหนด ๑,๐๐๐

*หมายเหตุ ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 กจิ กรรม “ลดเวลาเรยี น เพมิ่ เวลารู้” จานวน 5 ชม./สปั ดาห์

- ยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน (2 ชม.) - ศิลปะ + การงานฯ (1 ชม.)

- ซอ่ มเสริม (1 ชม.)

- พอเพยี ง + วถิ ีพทุ ธ (1 ชม.)

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดีย์ พทุ ธศักราช 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 หนา้ 8

โครงสร้างเวลาเรยี น ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3

รายวชิ า / กิจกรรม เวลาเรียน (ชม./ปี)
รายวชิ าพน้ื ฐาน (๘๔๐)
ท ๑3๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค ๑3๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐
ว ๑3๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๘๐
ส ๑3๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 40
ส ๑3๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔๐
พ ๑3๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา 40
ศ ๑3๑๐๑ ศิลปะ 20
ง ๑3๑๐๑ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี 20
อ ๑3๑๐๑ ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 200
รายวิชา/กิจกรรมเพิม่ เติม (๔๐)
ส ๑3๒๐๑ หน้าทพ่ี ลเมือง ๔๐
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น (๑๒๐)
กจิ กรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
- กจิ กรรมแนะแนว ๔๐
กจิ กรรมนักเรยี น
- ลกู เสือ/เนตรนารี ๔๐
- ชมุ นมุ /ชมรม ๓๐
- กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐
รวมเวลาเรียนทั้งหมดตามหลักสูตรกาหนด ๑,๐๐๐

*หมายเหตุ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 กจิ กรรม “ลดเวลาเรยี น เพมิ่ เวลารู้” จานวน 5 ชม./สปั ดาห์

- ยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน (2 ชม.) - ศิลปะ + การงานฯ (1 ชม.)

- ซอ่ มเสริม (1 ชม.)

- พอเพยี ง + วถิ ีพทุ ธ (1 ชม.)

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดีย์ พทุ ธศักราช 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 หนา้ 9

โครงสรา้ งเวลาเรยี น ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4

รายวชิ า / กจิ กรรม เวลาเรยี น (ชม./ปี)
รายวชิ าพนื้ ฐาน (๘๔๐)
ท ๑4๑๐๑ ภาษาไทย 160
ค ๑4๑๐๑ คณิตศาสตร์ 160
ว ๑4๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๘๐
ส ๑4๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 80
ส ๑4๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐
พ ๑4๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 80
ศ ๑4๑๐๑ ศิลปะ 80
ง ๑4๑๐๑ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี 80
อ ๑4๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 80
รายวชิ า/กจิ กรรมเพิม่ เติม (๔๐)
ส ๑4๒๐๑ หน้าท่ีพลเมือง ๔๐
กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน (๑๒๐)
กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้”
- กจิ กรรมแนะแนว ๔๐
กิจกรรมนกั เรยี น
- ลูกเสอื /เนตรนารี ๔๐
- ชุมนุม/ชมรม ๓๐
- กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐
รวมเวลาเรยี นทัง้ หมดตามหลักสูตรกาหนด ๑,๐๐๐

*หมายเหตุ ประถมศึกษาปีท่ี 4 กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” จานวน 4 ชม./สัปดาห์

- Eng ครตู า่ งชาติ (2 ชม.) - ซ่อมเสรมิ (1 ชม.)

- ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น (1 ชม.) - พอเพยี ง + วิถพี ทุ ธ (1 ชม.)

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นอนบุ าลพระสมทุ รเจดยี ์ พุทธศกั ราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 หน้า 10

โครงสรา้ งเวลาเรยี น ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 5

รายวชิ า / กจิ กรรม เวลาเรยี น (ชม./ปี)
รายวชิ าพนื้ ฐาน (๘๔๐)
ท ๑5๑๐๑ ภาษาไทย 160
ค ๑5๑๐๑ คณิตศาสตร์ 160
ว ๑5๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๘๐
ส ๑5๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 80
ส ๑5๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐
พ ๑5๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 80
ศ ๑5๑๐๑ ศิลปะ 80
ง ๑5๑๐๑ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี 80
อ ๑5๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 80
รายวชิ า/กจิ กรรมเพิม่ เติม (๔๐)
ส ๑5๒๐๑ หน้าท่ีพลเมือง ๔๐
กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน (๑๒๐)
กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้”
- กจิ กรรมแนะแนว ๔๐
กิจกรรมนกั เรยี น
- ลูกเสอื /เนตรนารี ๔๐
- ชุมนุม/ชมรม ๓๐
- กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐
รวมเวลาเรยี นทัง้ หมดตามหลักสูตรกาหนด ๑,๐๐๐

*หมายเหตุ ประถมศึกษาปีท่ี 5 กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” จานวน 4 ชม./สัปดาห์

- Eng ครตู า่ งชาติ (2 ชม.) - ซ่อมเสรมิ (1 ชม.)

- ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น (1 ชม.) - พอเพยี ง + วิถพี ทุ ธ (1 ชม.)

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นอนบุ าลพระสมทุ รเจดยี ์ พุทธศกั ราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 หน้า 11

โครงสร้างเวลาเรยี น ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6

รายวชิ า / กจิ กรรม เวลาเรยี น (ชม./ปี)
รายวชิ าพ้ืนฐาน (๘๔๐)
ท ๑6๑๐๑ ภาษาไทย 160
ค ๑6๑๐๑ คณติ ศาสตร์ 160
ว ๑6๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๘๐
ส ๑6๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 80
ส ๑6๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐
พ ๑6๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา 80
ศ ๑6๑๐๑ ศลิ ปะ 80
ง ๑6๑๐๑ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี 80
อ ๑6๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 80
รายวชิ า/กจิ กรรมเพมิ่ เติม (๔๐)
ส ๑6๒๐๑ หน้าทีพ่ ลเมือง ๔๐
กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น (๑๒๐)
กจิ กรรม “ลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู้”
- กิจกรรมแนะแนว ๔๐
กิจกรรมนักเรยี น
- ลูกเสือ/เนตรนารี ๔๐
- ชมุ นมุ /ชมรม ๓๐
- กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐
รวมเวลาเรยี นท้ังหมดตามหลักสูตรกาหนด ๑,๐๐๐

*หมายเหตุ ประถมศึกษาปที ่ี 4 กจิ กรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” จานวน 4 ชม./สปั ดาห์

- Eng ครูต่างชาติ (2 ชม.) - ธรรมศึกษาชน้ั ตรี (1 ชม.)

- ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น (1 ชม.) - พอเพยี ง + วถิ พี ทุ ธ (1 ชม.)

หลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นอนบุ าลพระสมุทรเจดยี ์ พุทธศกั ราช 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 หน้า 12

ทาไมตอ้ งเรยี นวทิ ยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์มีบทบาทสาคัญย่ิงในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับทุก
คนทั้งในชีวิตประจาวันและการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่องมือเคร่ืองใช้และผลผลิตต่าง ๆ
ท่ีมนุษย์ได้ใช้เพ่ืออานวยความสะดวกในชีวิตและการทางาน เหล่าน้ีล้วนเป็นผลของความรู้วิทยาศาสตร์
ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อ่ืน ๆ วิทยาศาสตร์ช่วยให้มนุษย์ได้พัฒนาวิธีคิด ท้ังความคิดเป็น
เหตเุ ป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถใน
การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลท่ีหลากหลายและมีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้
วทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ วฒั นธรรมของโลกสมัยใหมซ่ ึง่ เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ (K knowledge-based society) ดังนั้นทุก
คนจึงจาเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้รู้วิทยาศาสตร์ เพ่ือที่จะมีความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีที่
มนุษยส์ รา้ งสรรค์ขึน้ สามารถนาความรู้ไปใชอ้ ยา่ งมีเหตุผล สร้างสรรค์ และมคี ุณธรรม

เรยี นรอู้ ะไรในวิทยาศาสตร์ (ฉบับเดมิ )

กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์มงุ่ หวงั ใหผ้ ู้เรียน ได้เรยี นรู้วิทยาศาสตร์ท่ีเน้นการเชื่อมโยงความรู้กับ
กระบวนการ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้
และการแก้ปัญหาทีห่ ลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทากิจกรรมด้วยการลงมือ
ปฏบิ ตั จิ รงิ อย่างหลากหลาย เหมาะสมกบั ระดบั ชน้ั โดยได้กาหนดสาระสาคญั ไวด้ งั นี้

 ส่ิงมีชีวิตกับกระบวนการดารงชีวิต ส่ิงมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต โครงสร้างและ
หน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชวี ิต และกระบวนการดารงชวี ติ ความหลากหลายทางชีวภาพ การถ่ายทอด
ทางพันธุกรรม การทางานของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต วิวัฒนาการและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
และเทคโนโลยชี ีวภาพ

 ชีวิตกับส่ิงแวดล้อม สิ่งมีชีวิตที่หลากหลายรอบตัว ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ
ส่ิงแวดล้อม ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้
และจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ ในระดบั ท้องถ่ิน ประเทศ และโลก ปัจจัยท่ีมีผลต่อการอยู่รอดของส่ิงมีชีวิต
ในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ

 สารและสมบัติของสาร สมบัติของวัสดุและสาร แรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค การเปล่ียน
สถานะ การเกดิ สารละลายและการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมีของสาร สมการเคมี และการแยกสาร

 แรงและการเคลื่อนท่ี ธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง แรงนิวเคลียร์ การ
ออกแรงกระทาต่อวัตถุ การเคล่ือนท่ีของวัตถุ แรงเสียดทาน โมเมนต์การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ใน
ชีวติ ประจาวัน

 พลงั งาน พลังงานกบั การดารงชีวติ การเปลย่ี นรูปพลังงาน สมบตั ิและปรากฏการณ์ของแสง
เสียง และวงจรไฟฟ้า คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสีและปฏิกิริยานิวเคลียร์ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสาร
และพลงั งานการอนรุ ักษ์พลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชวี ติ และสง่ิ แวดลอ้ ม

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นอนุบาลพระสมุทรเจดยี ์ พุทธศกั ราช 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 หนา้ 13

 กระบวนการเปลย่ี นแปลงของโลก โครงสรา้ งและองคป์ ระกอบของโลก ทรัพยากรทางธรณี
สมบัตทิ างกายภาพของดิน หิน น้า อากาศ สมบตั ขิ องผิวโลก และบรรยากาศ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของ
เปลือกโลก ปรากฏการณท์ างธรณี ปัจจัยทีม่ ีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ

 ดาราศาสตร์และอวกาศ วิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี เอกภพ ปฏิสัมพันธ์และผล
ตอ่ ส่ิงมีชีวติ บนโลก ความสัมพนั ธข์ องดวงอาทติ ย์ ดวงจนั ทร์ และโลก ความสาคัญของเทคโนโลยีอวกาศ

 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหา
ความรู้ การแก้ปัญหา และจิตวทิ ยาศาสตร์

เรียนรู้อะไรในวิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง)

กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ท่ีเน้นการเช่ือมโยงความรู้ กับ
กระบวนการ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้
และแก้ปัญหาทีห่ ลากหลาย ให้ผเู้ รยี นมีสว่ นร่วมในการเรยี นรู้ทุกข้ันตอน มีการทากิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติ
จริง อย่างหลากหลาย เหมาะสมกบั ระดับชน้ั โดยกาหนดสาระสาคัญดังนี้

วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ เรยี นรเู้ กี่ยวกับ ชีวิตในส่ิงแวดลอ้ ม องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต การดารงชีวิตของ
มนษุ ยแ์ ละสัตว์ การดารงชีวติ ของพชื พันธกุ รรม ความหลากหลายทางชวี ภาพและวิวฒั นาการของสิง่ มีชีวติ

วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เก่ียวกับ ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร การเคล่ือนที่
พลังงาน และคล่นื

วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกับ โลกในเอกภพ ระบบโลก และมนุษย์กับ การ
เปลยี่ นแปลงของโลก

ชีววิทยา เรียนรู้เก่ียวกับ การศึกษาชีววิทยา สารเคมีในสิ่งมีชีวิต เซลล์ของสิ่งมีชีวิต พันธุกรรมและ
การถ่ายทอด วิวัฒนาการ ความหลากหลายทางชีวภาพ โครงสร้างและการทางานของส่วนต่าง ๆ ในพืชดอก
ระบบและการทางานในอวยั วะต่าง ๆ ของสตั ว์และมนษุ ย์ และสิง่ มีชีวติ และสิ่งแวดล้อม

เคมี เรียนรู้เก่ียวกับ ปริมาณสาร องค์ประกอบและสมบัติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร ทักษะ
และการแก้ปัญหาทางเคมี

ฟิสกิ ส์ เรยี นรู้เกย่ี วกบั ธรรมชาติและการคน้ พบทางฟิสิกส์ แรงและการเคลื่อนท่ี และพลังงาน
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เรียนรู้เก่ียวกับ โลกและกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา
ข้อมูลทางธรณีวิทยาและการนาไปใช้ประโยชน์ การถ่ายโอนพลังงานความร้อนของโลก การเปล่ียนแปลง
ลักษณะ ลมฟา้ อากาศกับการดารงชีวติ ของมนุษย์ โลกในเอกภพ และดาราศาสตรก์ ับมนษุ ย์
เทคโนโลยี
การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรู้เก่ียวกับการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
เทคโนโลยีเพื่อดารงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพ่ือแก้ปัญหา หรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออก
แบบ เชงิ วิศวกรรม เลอื กใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคานึงถงึ ผลกระทบต่อชวี ติ สังคม และสิ่งแวดลอ้ ม
วิทยาการคานวณ เรยี นรูเ้ ก่ยี วกับการพฒั นาผู้เรียนให้มคี วามรคู้ วามเข้าใจ มที ักษะการคิด เชิงคานวณ
การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ และ
เทคโนโลยีสารสนเทศสื่อสารในการแก้ปัญหาทพ่ี บในชวี ติ จริงได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นอนุบาลพระสมุทรเจดีย์ พทุ ธศกั ราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 หนา้ 14

เป้าหมายของวทิ ยาศาสตร์

ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ค้นพบความรู้ด้วยตนเองมากท่ีสุด เพื่อให้ได้ ทั้ง
กระบวนการและความรู้จากวิธีการสังเกต การสารวจตรวจสอบ การทดลอง แล้วนาผลที่ได้มาจัดระบบ เป็น
หลกั การ แนวคดิ และองคค์ วามรู้ การจัดการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์จงึ มเี ป้าหมายทส่ี าคัญดงั นี้

๑. เพอื่ ให้เขา้ ใจหลักการ ทฤษฎี และกฎทเ่ี ป็นพน้ื ฐานในวชิ าวทิ ยาศาสตร์
๒. เพื่อให้เขา้ ใจขอบเขตของธรรมชาตขิ องวิชาวิทยาศาสตร์และข้อจากัดในการศึกษาวชิ าวทิ ยาศาสตร์
๓. เพ่ือให้มที ักษะท่ีสาคัญในการศึกษาค้นคว้าและคิดค้นทางเทคโนโลยี
๔. เพื่อให้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์ และ
สภาพแวดล้อม ในเชงิ ทม่ี ีอิทธพิ ลและผลกระทบซึง่ กนั และกัน
๕. เพื่อนาความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม และ
การดารงชวี ิต
๖. เพ่ือพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการ ทักษะ
ในการสื่อสาร และความสามารถในการตดั สินใจ
๗. เพื่อให้เป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยอี ย่างสร้างสรรค์

คุณภาพผเู้ รียน

จบชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 (ฉบบั เดิม)

 เข้าใจลักษณะทั่วไปของส่ิงมีชีวิต และการดารงชีวิตของส่ิงมีชีวิตท่ีหลากหลายในส่ิงแวดล้อม
ทอ้ งถิน่

 เข้าใจลักษณะที่ปรากฏและการเปล่ียนแปลงของวัสดุรอบตัว แรงในธรรมชาติ รูปของ
พลงั งาน

 เขา้ ใจสมบตั ทิ างกายภาพของดิน หนิ นา้ อากาศ ดวงอาทิตย์ และดวงดาว
 ตั้งคาถามเกี่ยวกับส่ิงมีชีวิต วัสดุและสิ่งของ และปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว สังเกต สารวจ
ตรวจสอบโดยใชเ้ ครื่องมืออยา่ งง่าย และสอ่ื สารสิง่ ทีเ่ รยี นรดู้ ้วยการเลา่ เรอื่ ง เขียนหรอื วาดภาพ
 ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการดารงชีวิต การศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติม
ทาโครงงานหรือชน้ิ งานตามทก่ี าหนดให้ หรอื ตามความสนใจ
 แสดงความกระตือรือร้น สนใจที่จะเรียนรู้ และแสดงความซาบซึ้งต่อส่ิงแวดล้อมรอบตัว
แสดงถึงความมีเมตตา ความระมดั ระวงั ตอ่ สิง่ มชี วี ิตอื่น
 ทางานที่ได้รับมอบหมายด้วยความมุ่งม่ัน รอบคอบ ประหยัด ซื่อสัตย์ จนเป็นผลสาเร็จ และ
ทางานร่วมกบั ผู้อน่ื อย่างมคี วามสขุ

หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นอนบุ าลพระสมุทรเจดีย์ พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 หนา้ 15

จบชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ )

เขา้ ใจลักษณะทัว่ ไปของสงิ่ มชี วี ิต การดารงชวี ติ ของส่งิ มชี ีวิต และทรัพยากรธรรมชาติทห่ี ลากหลาย
ในส่งิ แวดลอ้ มของทอ้ งถิน่

เขา้ ใจลกั ษณะที่ปรากฏ สมบตั ิบางประการของวัสดุ และการเปลีย่ นแปลงของวัสดรุ อบตวั
เขา้ ใจการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ และแรงที่กระทาตอ่ วัตถทุ าให้วัตถุเปล่ยี นแปลงการเคลื่อนท่ี
ความสาคญั ของพลังงานไฟฟ้าและแหล่งผลติ พลงั งานไฟฟ้า
เขา้ ใจลักษณะทป่ี รากฏของดวงอาทติ ย์ ดวงจันทร์ และดวงดาว องค์ประกอบ และสมบัติทางกายภาพ
ของดิน หิน น้า อากาศ ลกั ษณะภมู ิประเทศแบบต่าง ๆ ในทอ้ งถ่นิ และการเกิดลม
ตัง้ คาถามเกย่ี วกับสงิ่ มชี วี ติ วสั ดุและสงิ่ ของ การเคลื่อนท่ขี องวัตถุ และปรากฏการณ์ต่าง ๆ รอบตวั
สังเกต สารวจตรวจสอบโดยใช้เคร่ืองมืออย่างง่าย รวบรวมข้อมูล บันทึก และอธิบายผลการสารวจตรวจสอบ
ด้วยการเขยี น หรอื วาดภาพ และสื่อสารส่ิงทเ่ี รียนรู้ด้วยการเล่าเรอื่ ง หรอื ดว้ ยการแสดงท่าทางเพอ่ื ใหผ้ อู้ ืน่ เข้าใจ
แกป้ ญั หาอย่างงา่ ยโดยใช้ข้ันตอนการแก้ปญั หา มที กั ษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
เบื้องตน้ รกั ษาข้อมูลส่วนตวั
แสดงความกระตือรือร้น สนใจท่ีจะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องท่ีจะศึกษาตามท่ี
กาหนดให้ หรือตามความสนใจ มีสว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เห็น และยอมรับฟังความคดิ เห็นผู้อน่ื
แสดงความรับผิดชอบด้วยการทางานท่ีได้รับมอบหมายอย่างมุ่งม่ัน รอบคอบ ประหยัด ซื่อสัตย์ จน
งานลลุ ว่ งเปน็ ผลสาเรจ็ และทางานร่วมกบั ผอู้ ื่นอย่างมคี วามสขุ
ตระหนักถึงประโยชน์ของการใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดารงชีวิต ศึกษา หา
ความรูเ้ พิม่ เตมิ ทาโครงงาน หรือชิน้ งานตามทก่ี าหนดให้หรือตามความสนใจ

จบช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 (ฉบับเดิม)

 เข้าใจโครงสรา้ งและการทางานของระบบต่างๆ ของส่ิงมีชีวิต และความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิต
ที่หลากหลายในสิ่งแวดลอ้ มทแ่ี ตกตา่ งกัน

 เข้าใจสมบตั แิ ละการจาแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะของสาร สมบัติของสารและการทาให้สาร
เกดิ การเปลยี่ นแปลง สารในชีวติ ประจาวนั การแยกสารอยา่ งง่าย

 เข้าใจผลท่ีเกิดจากการออกแรงกระทากับวัตถุ ความดัน หลักการเบ้ืองต้นของแรงลอยตัว
สมบัตแิ ละปรากฏการณเ์ บือ้ งตน้ ของแสง เสยี ง และวงจรไฟฟา้

 เข้าใจลักษณะ องคป์ ระกอบ สมบตั ิของผิวโลก และบรรยากาศ ความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์
โลก และดวงจันทร์ท่มี ผี ลต่อการเกดิ ปรากฎการณ์ธรรมชาติ

 ต้ังคาถามเก่ียวกับส่ิงท่ีจะเรียนรู้ คาดคะเนคาตอบหลายแนวทาง วางแผนและสารวจ
ตรวจสอบโดยใช้เคร่ืองมอื อปุ กรณ์ วิเคราะหข์ อ้ มูล และสอ่ื สารความรจู้ ากผลการสารวจตรวจสอบ

 ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดารงชีวิต และการศึกษาความรู้เพ่ิมเติม
ทาโครงงานหรือชนิ้ งานตามท่กี าหนดใหห้ รอื ตามความสนใจ

 แสดงถงึ ความสนใจ มงุ่ ม่นั รบั ผิดชอบ รอบคอบและซอ่ื สตั ย์ในการสืบเสาะหาความรู้

 ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แสดงความชื่นชม ยกย่อง และ
เคารพสิทธิในผลงานของผูค้ ดิ คน้

 แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่ว งใย แสดงพฤติกรรมเ กี่ยวกับการใช้การดูแลรักษา
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมอยา่ งรคู้ ณุ คา่

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลพระสมทุ รเจดยี ์ พุทธศกั ราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 หน้า 16

 ทางานร่วมกบั ผู้อ่นื อยา่ งสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นของตนเองและยอมรับฟังความคิดเห็น
ของผูอ้ นื่

จบชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 (ฉบบั ปรบั ปรุง)

เข้าใจโครงสร้างและการทางานของระบบต่าง ๆ ของส่ิงมีชีวิต ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบ
นิเวศ และความหลากหลายของทรพั ยากรธรรมชาตทิ ี่พบในระดับประเทศ

เข้าใจสมบัติและการจาแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะของสาร สมบัติของสารและการทาให้สาร เกิดการ
เปลีย่ นแปลง การเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมีของสาร การแยกสารอยา่ งง่าย และสารในชวี ติ ประจาวนั

เขา้ ใจลักษณะของแรงประเภทต่าง ๆ ผลท่เี กิดจากแรงกระทาต่อวัตถุ ความดัน หลักการเบื้องต้น ของ
แรงพยุง สว่ นประกอบและหน้าทีข่ องส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า การถา่ ยโอนพลังงานกลท่เี กดิ จาก
แรงเสยี ดทานไปเปน็ พลงั งานอ่นื สมบตั แิ ละปรากฏการณเ์ บอื้ งตน้ ของเสียง และแสง

เขา้ ใจลักษณะของดาวในเอกภพ และจาแนกประเภทของกลุ่มดาว ความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์ โลก

และดวงจันทร์ทมี่ ีผลตอ่ การเกดิ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยอี วกาศ

เขา้ ใจองค์ประกอบและสมบัติของดิน น้า และบรรยากาศ และปัจจัยท่ีมีผลต่อการเปล่ียนแปลงของผิว
โลก การเกิดลมบก ลมทะเล ผลกระทบท่เี กดิ จากธรณีพบิ ัตภิ ัยและปรากกฏการณ์เรือนกระจก

ตั้งคาถาม หรือกาหนดปัญหาเก่ียวกับส่ิงท่ีจะเรียนรู้ตามที่กาหนดให้ หรือตามความสนใจ คาดคะเน
คาตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สอดคล้องกับคาถาม หรือปัญหาท่ีจะสารวจตรวจสอบ วางแผนและ
สารวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูลท้ัง
เชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ

ค้นหาขอ้ มูลอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและประเมนิ ความน่าเชือ่ ถือ ตดั สินใจเลือกขอ้ มูล ใช้เหตุผลเชิงตรรกะ
ในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการทางานร่วมกัน เข้าใจสิทธิและหน้าท่ีของตน
เคารพสทิ ธิของผู้อนื่

วิเคราะห์ข้อมูล ลงความเห็น และสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลท่ีมาจากการสารวจตรวจสอบ ใน
รปู แบบทเี่ หมาะสม เพอื่ สอ่ื สารความรู้จากผลการสารวจตรวจสอบได้อย่างมเี หตุผลและหลกั ฐานอา้ งองิ

แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น ในส่ิงที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เก่ียวกับเร่ืองที่จะศึกษาตามความ
สนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรบั ในข้อมลู ที่มหี ลกั ฐานอา้ งองิ และรบั ฟังความคดิ เห็นผอู้ ่นื

แสดงความรับผิดชอบด้วยการทางานท่ีได้รับมอบหมายอย่างมุ่งม่ัน รอบคอบ ประหยัด ซ่ือสัตย์ จน
งานลลุ ่วงเปน็ ผลสาเร็จ และทางานร่วมกับผ้อู ่นื อย่างอย่างสร้างสรรค์

ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้ในความรู้และกระบวนการ ทาง
วิทยาศาสตร์ในการดารงชีวิต แสดงความช่ืนชม ยกย่องและเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น และศึกษา หา
ความรเู้ พิ่มเตมิ ทาโครงงาน หรือช้ินงานตามที่กาหนดให้หรอื ตามความสนใจ

แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเก่ียวกับการใช้ การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และ

ส่ิงแวดลอ้ มอย่างรู้คณุ คา่

หลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นอนบุ าลพระสมุทรเจดยี ์ พทุ ธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 หนา้ 17

มาตรฐานการเรยี นรู้

การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานจึงกาหนดใหผ้ ูเ้ รยี นเรยี นรู้ ๘ กลุม่ สาระการเรียนรู้ ดังนี้

๑. ภาษาไทย
๒. คณิตศาสตร์
๓. วิทยาศาสตร์
๔. สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
๕. สุขศึกษาและพลศึกษา
๖. ศิลปะ
๗. การงานอาชพี และเทคโนโลยี
๘. ภาษาต่างประเทศ
โดยในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสาคัญของการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุส่ิงที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยม ท่ีพึง
ประสงค์เม่ือจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกสาคัญ ในการขับเคลื่อน
พัฒนาการศึกษาท้ังระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และ
ประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบการ
ประเมนิ คณุ ภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึงการทดสอบระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา และ
การทดสอบระดบั ชาติ ระบบการตรวจสอบเพ่ือประกันคุณภาพดังกล่าวเป็นส่ิงสาคัญท่ีช่วยสะท้อนภาพการจัด
การศึกษาว่าสามารถพัฒนาผเู้ รียนใหม้ คี ุณภาพตามทม่ี าตรฐานการเรียนรูก้ าหนดเพยี งใด

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นอนุบาลพระสมุทรเจดยี ์ พทุ ธศักราช 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 หนา้ 18

ตวั ชี้วัด

ตัวช้วี ดั ระบสุ ิง่ ท่ีนักเรยี นพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมท้ังคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับช้ัน ซ่ึงสะท้อน
ถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม นาไปใช้ ในการกาหนดเน้ือหา จัดทา
หน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สาคัญสาหรับการวัดประเมินผลเพ่ือตรวจสอบคุณภาพ
ผเู้ รียน ตวั ช้ีวัดชน้ั ปี จงึ เปน็ เปา้ หมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละชัน้ ปีในระดบั การศกึ ษาภาคบังคับ

ตารางแสดงตัวช้ีวดั ของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้จาแนกตามช้นั ปี

รายวิชา ระดับชั้น (จานวนตัวช้ีวัด)
วทิ ยาศาสตร์ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
15 23 28 21 34 37

โครงสร้างกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ระดบั ประถมศึกษา

โครงสรา้ งเวลาเรียน กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ จานวน 80 ชัว่ โมง/ปี
รายวชิ าพืน้ ฐาน จานวน 80 ชวั่ โมง/ปี
ป.1 ว 11101 วทิ ยาศาสตร์ 1 จานวน 80 ช่ัวโมง/ปี
ป.2 ว 12101 วทิ ยาศาสตร์ 2 จานวน 80 ชั่วโมง/ปี
ป.3 ว 13101 วทิ ยาศาสตร์ 3 จานวน 80 ชั่วโมง/ปี
ป.4 ว 14101 วทิ ยาศาสตร์ 4 จานวน 80 ชวั่ โมง/ปี
ป.5 ว 15101 วทิ ยาศาสตร์ 5
ป.6 ว 16101 วิทยาศาสตร์ 6

หลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนอนบุ าลพระสมทุ รเจดีย์ พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 หนา้ 19

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั เดมิ ใช้ใน ป.2 ป.3 ป.5 และ ป.6)

สาระที่ 1 สิ่งมชี ีวติ กับกระบวนการดารงชีวิต
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหนว่ ยพ้นื ฐานของส่ิงมีชีวิต ความสัมพนั ธ์ของโครงสร้าง และหน้าท่ีของ

ระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตท่ีทางานสมั พนั ธ์กัน มีกระบวนการสบื เสาะหาความรู้
สอ่ื สารส่งิ ท่ีเรียนรู้และนาความร้ไู ปใช้ในการดารงชีวิตของตนเองและดแู ลสิง่ มีชีวติ
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความสาคญั ของการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม
ววิ ฒั นาการของส่งิ มชี ีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชเ้ ทคโนโลยีชีวภาพที่มี
ผลกระทบต่อมนษุ ย์และสิ่งแวดล้อม มกี ระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจติ
วทิ ยาศาสตร์ สอื่ สาร ส่ิงท่ีเรยี นรู้ และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

สาระที่ 2 ชีวติ กบั ส่ิงแวดล้อม
มาตรฐาน ว 2. 1 เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิน่ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสิง่ แวดล้อมกบั สง่ิ มชี วี ิต

ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชวี ติ ตา่ ง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสบื เสาะหา
ความรู้และจิตวิทยาศาสตรส์ ่ือสารสงิ่ ทเี่ รียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาตใิ นระดับ
ทอ้ งถนิ่ ประเทศ และโลกนาความรูไ้ ปใช้ในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ
สิง่ แวดลอ้ มในท้องถิน่ อย่างย่ังยนื

สาระท่ี 3 สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว 3. 1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสมบตั ิของสารกบั โครงสรา้ งและแรงยึด

เหนยี่ วระหว่างอนภุ าค มีกระบวนการสบื เสาะ หาความรู้และจติ วิทยาศาสตรส์ อ่ื สาร
ส่ิงทีเ่ รยี นรู้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจหลกั การและธรรมชาติของการเปลย่ี นแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย
การเกดิ ปฏิกริ ิยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ ส่ือสารสิ่งที่
เรยี นรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

หลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นอนุบาลพระสมทุ รเจดยี ์ พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 หนา้ 20

สาระที่ 4 แรงและการเคล่อื นท่ี
มาตรฐาน ว 4. 1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโนม้ ถว่ ง และแรงนิวเคลยี ร์ มีกระบวน

การสบื เสาะหาความรู้ สอ่ื สารส่งิ ที่เรยี นรู้และนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์อย่างถูกต้อง
และมคี ุณธรรม

สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ (ต่อ)
มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจลักษณะการเคลือ่ นท่ีแบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาตมิ ีกระบวนการสบื เสาะหา

ความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สอ่ื สารสิ่งที่เรยี นรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระท่ี 5 พลังงาน เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพลงั งานกับการดารงชวี ิต การเปลี่ยนรปู พลงั งาน
มาตรฐาน ว 5. 1 ปฏิสัมพนั ธร์ ะหว่างสารและพลงั งาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
มีกระบวน การสบื เสาะหาความรู้ สอ่ื สารสิ่งทีเ่ รียนรู้และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

สาระท่ี 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
มาตรฐาน ว 6. 1 เขา้ ใจกระบวนการต่าง ๆ ท่ีเกดิ ขึน้ บนผวิ โลกและภายในโลก ความสมั พันธข์ อง

กระบวนการต่าง ๆ ที่มผี ลต่อการเปล่ียนแปลงภมู ิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐาน
ของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวทิ ยาศาสตร์ สื่อสารสิง่ ท่ีเรยี นรแู้ ละ
นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
มาตรฐาน ว 7. 1 เขา้ ใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพการปฏิสมั พนั ธภ์ ายในระบบ

สรุ ิยะและผลต่อสิ่งมชี วี ติ บนโลก มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรแู้ ละจติ
วิทยาศาสตร์ การสือ่ สารส่ิงที่เรียนรแู้ ละนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว 7.2 เข้าใจความสาคัญของเทคโนโลยอี วกาศท่ีนามาใชใ้ นการสารวจอวกาศและ
ทรัพยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการส่ือสาร มีกระบวนการสบื เสาะหาความรู้
และจติ วิทยาศาสตร์ ส่ือสารสิ่งทเ่ี รียนรู้และนาความรไู้ ปใช้ประโยชนอ์ ย่างมีคณุ ธรรม
ตอ่ ชีวติ และสง่ิ แวดล้อม

สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 8. 1 ใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจิตวิทยาศาสตร์ในการสบื เสาะหาความรู้

การแก้ปญั หา รวู้ ่าปรากฏการณท์ างธรรมชาติท่เี กิดข้ึนสว่ นใหญ่มีรูปแบบท่แี นน่ อน
สามารถอธบิ ายและตรวจสอบได้ ภายใตข้ ้อมูลและเคร่ืองมอื ท่มี ีอยู่ในชว่ งเวลาน้นั ๆ
เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คมและส่ิงแวดล้อม มคี วามเก่ียวข้องสมั พันธก์ ัน

หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นอนบุ าลพระสมทุ รเจดีย์ พุทธศกั ราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 หนา้ 21

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ใชใ้ น ป.1 และ ป.4)

สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสง่ิ ไม่มีชวี ติ กสั ง่ิ มชี วี ิต

และความสัมพันธร์ ะหวา่ งสิง่ มีชีวิตกับสิง่ มีชีวติ ต่าง ๆ ในระบบนเิ วศ การถา่ ยทอด
พลังงาน การเปล่ียนแปลงแทนทใ่ี นระบบนเิ วศ ความหมายของประชากร ปญั หา
และผลกระทบที่มตี ่อทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละการแก้ไขปัญหาสง่ิ แวดลอ้ มรวมท้ังนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบตั ิของสิง่ มชี วี ิต หนว่ ยพนื้ ฐานของส่ิงมชี ีวติ การลาเลยี งสารผ่านเซลล์
ความสัมพันธข์ องโครงสรา้ ง และหนา้ ที่ของระบบตา่ ง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางาน
สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่
ทางานสัมพันธ์กนั รวมทั้งนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว 1.3 เขา้ ใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม สาร
พันธกุ รรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย ทาง
ชีวภาพและววิ ัฒนาการของสง่ิ มชี ีวติ รวมทั้งนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
สาระท่ี 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัตขิ องสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสาร
กับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการ
เปลย่ี นแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี
มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาตขิ องแรงในชวี ิตประจาวัน ผลของแรงท่กี ระทาต่อวัตถุ ลกั ษณะ
การเคลอ่ื นทแี่ บบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ รวมท้งั นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลงั งาน การเปล่ยี นแปลงและการถ่ายโอนพลังงานปฏิสัมพันธ์
ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคล่ืน
ปรากฏการณ์ ที่เก่ียวข้องกับเสียง แสง และคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งนาความรู้ไป
ใช้ประโยชน์
สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เขา้ ใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และววิ ฒั นาการของเอกภพ กาแล็กซี
ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อส่ิงมีชีวิต
และการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง
ภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพบิ ตั ิภัย กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศและ
ภูมิอากาศโลก รวมทัง้ ผลตอ่ ส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดารงชีวิตในสังคมทมี่ กี ารเปลยี่ นแปลง
อยา่ งรวดเร็ว ใชค้ วามรแู้ ละทักษะทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และศาสตร์อืน่
เพอื่ แกป้ ญั หา หรือ พัฒนางานอย่างมีความคิดสรา้ งสรรคด์ ้วยกระบวนการออกแบบ
เชิงวศิ วกรรม เลือกใช้ เทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสมโดยคานึงถึงผลกระทบต่อชวี ิต
สังคม และส่งิ แวดล้อม

หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นอนบุ าลพระสมทุ รเจดยี ์ พทุ ธศักราช 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 หนา้ 22

มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ เชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่พี บในชีวติ จริงอย่างเป็นข้นั ตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทางาน
และการแก้ปญั หาไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ รูเ้ ทา่ ทัน และมจี รยิ ธรรม

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนบุ าลพระสมทุ รเจดยี ์ พุทธศกั ราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 หน้า 23

ตัวชว้ี ดั และสาระการเรยี นรู้
กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นอนุบาลพระสมทุ รเจดีย์ พทุ ธศกั ราช 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 หน้า 24

ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1

สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับ

ส่ิงมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การ
ถ่ายทอดพลังงาน การเปล่ียนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร
ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม แนวทางในการ
อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมรวมท้ังนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์

ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรู้

1. ระบุช่ือพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ - บริเวณต่าง ๆ ในท้องถ่ิน เช่น สนามหญ้า ใต้ต้นไม้

บริเวณตา่ ง ๆ จากข้อมูลท่รี วบรวมได้ สวนหยอ่ ม แหลง่ น้า อาจพบพชื และสตั วห์ ลายชนิดอาศยั อยู่

- บริเวณทแ่ี ตกต่างกันอาจพบพืชและสัตว์แตกต่างกัน เพราะ

2. บอกสภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสม สภาพแวดลอ้ มของแตล่ ะบรเิ วณจะมี
กับการดารงชีวิตของสัตว์ในบริเวณที่ ความเหมาะสมต่อการดารงชวี ติ ของพืชและสัตว์ท่ีอาศัยอยู่ใน
แต่ละบริเวณ เช่น สระน้า มีน้าเป็นที่อยู่ อาศัยของหอย ปลา
อาศัยอยู่
สาหร่าย เป็นท่ีหลบภัยและมี แหล่งอาหารของหอยและปลา

บริเวณต้นมะม่วงมีต้นมะม่วงเป็นแหล่งที่อยู่ และมีอาหาร

สาหรบั กระรอกและมด

- ถ้าสภาพแวดล้อมในบริเวณที่พืชและสัตว์อาศัยอยู่มีการ

เปล่ียนแปลง จะมีผลต่อการดารงชีวิตของพชื และสตั ว์

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นอนุบาลพระสมทุ รเจดยี ์ พุทธศกั ราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 หนา้ 25

มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัตขิ องสงิ่ มีชวี ติ หนว่ ยพืน้ ฐานของสง่ิ มชี ีวติ การลาเลียงสาร
ผ่านเซลล์ ความสมั พนั ธข์ องโครงสร้าง และหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของสัตว์
และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าท่ีของ
อวัยวะต่าง ๆ ของพชื ท่ที างานสัมพันธก์ ันรวมทั้งนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้

1. ระบุชื่อ บรรยายลักษณะและบอก - มนุษย์มีส่วนต่าง ๆ ที่มีลักษณะและหน้าที่แตกต่างกัน

หน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เพื่อให้เหมาะสมในการดารงชีวิต เช่น ตามีหน้าที่ ไว้มองดู

มนุษย์ สัตว์ และพืช รวมทั้งบรรยาย โดยมีหนังตาและขนตาเพื่อป้องกันอันตรายให้กับตา หูมี

การทาหน้าท่ีร่วมกัน ของส่วนต่าง ๆ หน้าท่ีรับฟังเสียง โดยมีใบหูและรูหู เพ่ือเป็นทางผ่านของ

ของร่างกายมนุษย์ในการทากิจกรรม เสียง ปากมหี น้าทพ่ี ูด กนิ อาหาร มชี อ่ งปากและมีริมฝีปากบน

ตา่ ง ๆ จากขอ้ มูลทร่ี วบรวมได้ ล่าง แขนและมือมีหนา้ ทยี่ ก หยบิ จับ มที ่อนแขนและนิ้วมือที่

ขยับได้ สมอง มีหนา้ ท่คี วบคุมการทางานของส่วนต่าง ๆ ของ

ร่างกาย เป็นก้อนอยู่ในกะโหลกศีรษะ โดยส่วนต่าง ๆ ของ

ร่างกายจะทาหน้าท่ีร่วมกันในการทากิจกรรม ใน

ชีวติ ประจาวัน

- สัตว์มีหลายชนิด แต่ละชนิดมีส่วนต่าง ๆ ที่มีลักษณะและ

หน้าที่แตกต่างกัน เพื่อให้เหมาะสม ในการดารงชีวิต เช่น

ปลามีครีบเป็นแผ่น ส่วนกบ เต่า แมว มีขา ๔ ขาและมีเท้า

สาหรบั ใชใ้ นการเคลอ่ื นท่ี

- พืชมีส่วนต่าง ๆ ท่ีมีลักษณะและหน้าที่แตกต่างกัน เพื่อให้

เหมาะสมในการดารงชีวิตโดยทั่วไป รากมีลักษณะเรียวยาว

และแตกแขนงเป็นรากเล็ก ๆ ทาหน้าที่ดูดน้า ลาต้นมี

ลักษณะเป็นทรงกระบอกต้ังตรงและมีก่ิงก้าน ทาหน้าท่ีชูก่ิง

ก้าน ใบ และดอก ใบมีลักษณะเป็นแผ่นแบน ทาหน้าที่สร้าง

อาหาร นอกจากนี้พืชหลายชนิดอาจมีดอกที่มีสี รูปร่างต่าง ๆ

ทาหน้าที่สืบพันธุ์ รวมทั้งมีผลที่มีเปลือก มีเน้ือห่อหุ้มเมล็ด

และมีเมล็ดซึ่งสามารถงอกเปน็ ตน้ ใหม่ได้

2. ตระหนักถึงความสาคัญของส่วน - มนุษย์ใช้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายในการทากิจกรรมต่าง ๆ

ต่าง ๆ ของร่างกายตนเอง โดยการ เพอ่ื การดารงชีวติ มนษุ ย์จึงควรใช้ส่วนต่าง ๆ

ดูแลส่วนต่าง ๆ อย่างถูกต้อง ให้ ของร่างกายอย่างถูกต้อง ปลอดภัย และรักษา ความสะอาด

ปลอดภัย และรักษาความสะอาดอยู่ อยเู่ สมอ เช่น ใช้ตามองตัวหนังสือในที่ ๆ มีแสงสว่างเพียงพอ

เสมอ ดูแลตาให้ปลอดภัยจากอันตราย และรักษาความสะอาดตา

อยู่เสมอ

หลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนอนบุ าลพระสมทุ รเจดีย์ พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 หน้า 26

มาตรฐาน ว 1.3 เขา้ ใจกระบวนการและความสาคญั ของการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม สาร
พันธกุ รรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมท่ีมีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย ทาง
ชวี ภาพและวิวฒั นาการของสง่ิ มีชีวิต รวมทั้งนาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์

ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรู้
-
-

สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสาร

กับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการ
เปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี

ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้

1. อธิบายสมบัติที่สังเกตได้ของวัสดุท่ี - วัสดุท่ีใช้ทาวัตถุท่ีเป็นของเล่น ของใช้ มีหลายชนิด เช่น ผ้า

ใช้ทาวัตถุซ่ึงทาจากวัสดุชนิดเดียว แก้ว พลาสติก ยาง ไม้ อิฐ หิน กระดาษ โลหะ วัสดุแต่ละ

หรือหลายชนิดประกอบกันโดยใช้ ชนิดมีสมบัติท่ีสังเกตได้ต่าง ๆ เช่น สี นุ่ม แข็ง ขรุขระ เรียบ

หลักฐานเชิงประจักษ์ ใส ขุน่ ยดื หดได้ บดิ งอได้

2. ระบุชนิดของวัสดุและจัดกลุ่มวัสดุ - สมบตั ิทส่ี งั เกตไดข้ องวสั ดุแตช่ นดิ อาจเหมือนกัน ซ่ึงสามารถ

ตามสมบตั ทิ ีส่ งั เกตได้ นามาใชเ้ ป็นเกณฑ์ในการจดั กลมุ่ วัสดุได้

- วสั ดบุ างอย่างสามารถนามาประกอบกันเพ่ือทาเป็นวัตถุต่าง

ๆ เช่น ผ้าและกระดุม ใชท้ าเส้อื ไมแ้ ละโลหะ ใช้ทากระทะ

มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชวี ติ ประจาวนั ผลของแรงทีก่ ระทาตอ่ วตั ถุ ลกั ษณะ
การเคลอื่ นทแี่ บบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ รวมท้ังนาความร้ไู ปใช้ประโยชน์

ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้
-
-

มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลงั งาน การเปลยี่ นแปลงและการถ่ายโอนพลังงานปฏิสัมพันธ์

ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคลื่น

ปรากฏการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า รวมท้ังนาความรู้ไป

ใชป้ ระโยชน์

ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรู้

1. บรรยายการเกิดเสียงและทิศทาง - เสียงเกิดจากการส่ันของวัตถุ วัตถุที่ทาให้เกิดเสียงเป็น

การเคล่ือนที่ของเสียงจากหลักฐาน แหล่งกาเนิดเสียงซึ่งมีท้ังแหล่งกาเนิดเสียงตามธรรมชาติและ

เชิงประจักษ์ แหล่งกาเนิดเสียงที่มนุษย์สร้างขึ้น เสียงเคลื่อนที่ออกจาก

แหลง่ กาเนิดเสยี งทุกทิศทาง

หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลพระสมทุ รเจดีย์ พทุ ธศกั ราช 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 หน้า 27

สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และวิวฒั นาการของเอกภพ

กาแลก็ ซี ดาวฤกษ์ และระบบสุรยิ ะ รวมทั้งปฏิสัมพนั ธ์ภายในระบบสรุ ิยะทส่ี ่งผล
ต่อสิ่งมชี ีวิตและการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีอวกาศ

ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรู้

1. ระบุดาวท่ีปรากฏบนท้องฟ้าใน - บนท้องฟ้ามีดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาว ซ่ึงในเวลา

เวลากลางวัน และกลางคืนจากข้อมูล กลางวันจะมองเห็นดวงอาทิตย์และอาจมองเห็นดวงจันทร์

ทีร่ วบรวมได้ บางเวลาในบางวนั แต่ไม่สามารถมองเห็นดาว

2. อธิบายสาเหตุที่มองไม่เห็นดาว - ในเวลากลางวันมองไม่เห็นดาวส่วนใหญ่เน่ืองจาก

ส่วนใหญ่ ในเวลากลางวันจาก แสงอาทิตย์สว่างกว่าจึงกลบแสงของดาว ส่วนในเวลา

หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ กลางคนื จะมองเห็นดาวและมองเหน็ ดวงจนั ทร์ เกอื บทุกคนื

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลง
ภายในโลก และบนผิวโลก ธรณพี บิ ัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและ
ภูมอิ ากาศโลก รวมทง้ั ผลต่อสิ่งมชี ีวติ และสิง่ แวดล้อม

ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรู้

1. อธิบายลักษณะภายนอกของหิน - หินท่ีอยู่ในธรรมชาติมีลักษณะภายนอกเฉพาะตัว ที่สังเกต

จากลกั ษณะเฉพาะตัวที่สังเกตได้ ได้ เช่น สี ลวดลาย นา้ หนกั ความแขง็ และเน้อื หนิ

หลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นอนุบาลพระสมทุ รเจดยี ์ พทุ ธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 หน้า 28

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี เขา้ ใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยเี พือ่ การดารงชวี ิตในสงั คมที่มีการเปลย่ี นแปลง
มาตรฐาน ว 4.1 อยา่ งรวดเร็ว ใชค้ วามรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์และศาสตร์อืน่
เพ่ือแก้ปญั หา หรือ พัฒนางานอย่างมีความคดิ สร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบ
เชงิ วิศวกรรม เลือกใช้ เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคานงึ ถึงผลกระทบต่อชีวิต
สงั คม และสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้
- -

มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคิดเชงิ คานวณในการแก้ปัญหาทพี่ บในชีวิตจรงิ อย่างเป็น
ข้ันตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การ
ทางาน และการแกป้ ญั หาได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ร้เู ทา่ ทัน และมีจรยิ ธรรม

ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรู้

1. แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้การลอง - การแก้ปญั หาให้ประสบความสาเร็จทาได้โดยใช้ขั้นตอนการ

ผดิ ลองถกู การเปรยี บเทียบ แก้ปญั หา

- ปัญหาอย่างง่าย เช่น เกมเขาวงกต เกมหาจุดแตกต่างของ

ภาพ การจัดหนงั สอื ใสก่ ระเป๋า

2. แสดงลาดับขั้นตอนการทางาน - การแสดงข้ันตอนการแก้ปัญหาทาได้โดยการเขียน บอกเล่า

หรือ การแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ วาดภาพ หรือใชส้ ัญลักษณ์

ภาพ สญั ลกั ษณ์ หรือขอ้ ความ - ปัญหาอย่างง่าย เช่น เกมเขาวงกต เกมหาจุดแตกต่างของ

ภาพ การจัดหนงั สือใสก่ ระเปา๋

3. เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ - การเขียนโปรแกรมเป็นการสร้างลาดับของคาสั่ง ให้

ซอฟต์แวรห์ รอื สอ่ื คอมพวิ เตอร์ทางาน

- ตัวอย่างโปรแกรม เช่น เขียนโปรแกรมสั่งให้ ตัวละครย้าย

ตาแหนง่ ยอ่ ขยายขนาด เปล่ียนรูปร่าง

- ซอฟต์แวร์ หรือส่ือที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น ใช้บัตร

คาส่ังแสดงการเขยี นโปรแกรม, Code.org

4. ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดเก็บ - การใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยีเบื้องต้น เช่น การใช้เมาส์

เรียกใช้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ คยี ์บอรด์ จอสัมผสั การเปิด-ปิด อปุ กรณ์เทคโนโลยี

- การใช้งานซอฟต์แวร์เบ้ืองต้น เช่น การเข้าและออกจาก

โปรแกรม การสรา้ งไฟล์ การจดั เก็บ การเรียกใช้ไฟล์ ทาได้ใน

โปรแกรม เช่น โปรแกรมประมวลคา โปรแกรมกราฟิก

โปรแกรมนาเสนอ

- การสร้างและจัดเก็บไฟล์อย่างเป็นระบบจะทาให้เรียกใช้

ค้นหาข้อมลู ไดง้ า่ ยและรวดเรว็

หลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดยี ์ พุทธศกั ราช 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 หน้า 29

ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรู้

5. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติตาม - การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เช่น

ข้อตกลงในการใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกัน ดูแลรักษา รู้จักข้อมูลส่วนตัว อันตรายจากการเผยแพร่ข้อมูล

อปุ กรณ์เบ้อื งตน้ ใช้งานอย่างเหมาะสม ส่วนตัว และไม่บอกข้อมูลส่วนตัวกับบุคคลอื่นยกเว้น

ผู้ปกครอง หรือครู แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อต้องการ ความ

ช่วยเหลือเกีย่ วกบั การใช้งาน

- ข้อปฏิบัติในการใช้งานและการดูแลรักษาอุปกรณ์

เช่น ไม่ขีดเขียนบนอุปกรณ์ ทาความสะอาด ใช้

อุปกรณอ์ ย่างถกู วิธี

- การใช้งานอย่างเหมาะสม เช่น จัดท่านั่งให้ถูกต้อง

การพกั สายตาเมื่อใช้อุปกรณ์เป็นเวลานาน ระมัดระวัง

อบุ ัตเิ หตจุ ากการใช้งาน

หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นอนบุ าลพระสมทุ รเจดยี ์ พทุ ธศักราช 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 หน้า 30

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 2

สาระที่ 1 ส่ิงมชี ีวติ กบั กระบวนการดารงชวี ติ
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหนว่ ยพน้ื ฐานของสง่ิ มีชีวติ ความสมั พนั ธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบ

ตา่ ง ๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทางานสัมพันธ์กนั มีกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ สื่อสาร
ส่ิงทเ่ี รยี นรแู้ ละนาความรูไ้ ปใช้ในการดารงชวี ิตของตนเองและดแู ลสิง่ มีชีวติ

ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรู้
 พชื ตอ้ งการนา้ และแสงในการเจรญิ เตอบโตและ
1. ทดลองและอธิบาย น้า แสง เปน็
ปัจจัยทีจ่ าเปน็ ตอ่ การดารงชีวติ การดารงชีวติ

ของ  พชื และสตั วต์ ้องการอาหาร น้า อากาศ เพ่ือการดารงชวี ติ
พชื และการเจริญเติบโต

2. อธบิ ายอาหาร นา้ อากาศ เป็น  นาความรู้ไปใช้ประโยชนใ์ นการดูแลพืชและสตั วเ์ พื่อให้
ปัจจัยทจ่ี าเป็นต่อการดารงชีวิต เจริญเติบโตไดด้ ี
และการเจรญิ เติบโตของพืชและ
สัตว์ และนาความรไู้ ปใช้  พืชและสัตวม์ กี ารตอบสนองตอ่ แสง อุณหภูมิ และ
ประโยชน์ การสัมผสั

3. สารวจและอธบิ ายพชื และสัตว์  ร่างกายมนุษยส์ ามารถตอบสนองตอ่ แสง อณุ หภูมิ และ
สามารถตอบสนองตอ่ แสง การสัมผสั
อุณหภูมิ และการสัมผสั
 มนษุ ย์ตอ้ งการอาหาร น้า อากาศ เพื่อการดารงชีวิตและ
4. ทดลองและอธบิ ายร่างกายของ การเจริญเตบิ โต
มนษุ ย์สามารถตอบสนองตอ่ แสง
อณุ หภูมิ และการสมั ผสั

5. อธิบายปจั จยั ทจ่ี าเปน็ ต่อการ
ดารงชวี ิตและการเจรญิ เติบโตของ
มนษุ ย์

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นอนุบาลพระสมุทรเจดีย์ พุทธศกั ราช 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 หน้า 31

มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
วิวฒั นาการของสิ่งมีชีวติ ความหลากหลายทางชวี ภาพ การใช้เทคโนโลยชี วี ภาพทีม่ ี
ผลกระทบต่อมนุษยแ์ ละสิง่ แวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ ละจติ วทิ ยา
ศาสตร์ ส่ือสารสิง่ ท่ีเรียนรแู้ ละนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรู้

1. อธิบายประโยชน์ของพชื และสตั ว์  พชื และสตั ว์มปี ระโยชนต์ อ่ มนษุ ย์ในแง่ของปัจจัยส่ี คอื
ในทอ้ งถิ่น เป็นอาหาร ท่ีอยู่อาศัย เคร่ืองน่งุ ห่ม และยารกั ษาโรค

 พชื ในท้องถ่ินท่ีมีประโยชน์ต่อมนษุ ย์ เชน่ ไมโ้ กงกาง
ใบเล็ก ไม้โกงกางใบใหญ่ ไมแ้ สมขาว ไม้แสมดา ต้น

ลาพู
ต้นจาก ตน้ ตะบูน ต้นเหงือกปลาหมอดอกขาว
ต้นโพทะเล

 สตั ว์ในท้องถิ่นที่มีประโยชนต์ อ่ มนุษย์ เชน่ นาก
นกกินเป้ยี ว ปลาตีน แซงแซว แมงดาทะเล ก๊ังตกั๊ แตน
ปทู ะเล ปูแสม แสมกา้ มแดง หอยข้นี กหรือหอยเจดีย์

สาระที่ 2 สง่ิ มีชีวิตกับกระบวนการดารงชวี ิต
มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสิง่ แวดล้อมในท้องถ่ิน ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสิ่งแวดล้อมกบั สิ่งมีชีวติ

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสิง่ มีชวี ิตตา่ ง ๆ ในระบบนิเวศ มกี ระบวนการสืบเสาะหาความรู้
และจิตวทิ ยาศาสตร์ ส่ือสารสงิ่ ท่ีเรียนรูแ้ ละนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้
- -

มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจความสาคญั ของทรัพยากรธรรมชาติ การใชท้ รพั ยากรธรรมชาตใิ นระดับ
ท้องถิ่น ประเทศ และโลก นาความรไู้ ปใชใ้ นการจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ
สิ่งแวดล้อมในท้องถ่นิ อยา่ งยัง่ ยืน

ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้
- -

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดยี ์ พุทธศกั ราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 หนา้ 32

สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว 3.1 เขา้ ใจสมบตั ิของสาร ความสมั พนั ธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสรา้ งและแรง

ยึดเหนี่ยวระหว่างอนภุ าค มีกระบวนการสบื เสาะหาความรู้และจิตวทิ ยาศาสตร์
สอ่ื สารสง่ิ ทีเ่ รยี นรูแ้ ละนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรู้

1. ระบุชนิดและเปรียบเทียบสมบตั ิ  ของเลน่ ของใช้อาจทาจากวัสดตุ ่าง ๆ กนั เชน่ ไม้ เหล็ก
ของวสั ดทุ ่ีนามาทาของเล่นของใช้ กระดาษ พลาสติก ยาง ซง่ึ วสั ดตุ ่างชนดิ กนั จะมีสมบัติ
ในชวี ติ ประจาวัน แตกตา่ งกนั

2. เลือกใชว้ สั ดแุ ละสง่ิ ของตา่ ง ๆ ได้  การเลือกวัสดุและสิง่ ของต่าง ๆ มาใช้งานใน
อย่างเหมาะสมและปลอดภัย ชวี ติ ประจาวัน เพือ่ ความเหมาะสมและปลอดภยั ต้อง
พิจารณาจากสมบัติของวสั ดทุ ใี่ ช้ทาส่งิ ของนั้น

 การเลอื กวสั ดุและสง่ิ ของตา่ ง ๆ ในทอ้ งถน่ิ มาใช้งานใน
ชวี ติ ประจาวัน เชน่
ทลายของผลจาก นามาทาแสป้ ดั ยงุ
ใบจาก นามาทาปลาตะเพียนเป็นของเลน่
กา้ นจาก นามาทาไม้กวาด

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นระดบั
ทอ้ งถน่ิ ประเทศ และโลก นาความรู้ไปใชใ้ นการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

และส่ิงแวดลอ้ มในท้องถ่ินอย่างยงั่ ยนื

ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้
- -

สาระท่ี 4 แรงและการเคลือ่ นท่ี
มาตรฐาน ว 4.1 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องแรงแม่เหลก็ ไฟฟ้า แรงโน้มถว่ ง และแรงนิวเคลียร์

มกี ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สอ่ื สารสิ่งทเ่ี รียนรแู้ ละนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์
อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม

ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้
1. ทดลองและอธิบายแรงท่ีเกดิ จาก
 แมเ่ หล็กมีแรงดึงดดู หรอื ผลักระหว่างแท่งแมเ่ หล็ก
แม่เหลก็ รอบแท่งแมเ่ หล็กมีสนามแมเ่ หลก็ และสามารถดึงดูดวตั ถุ
ทีท่ าดว้ ยสารแมเ่ หล็ก
2. อธบิ ายการนาแมเ่ หล็กมาใช้
ประโยชน์  แมเ่ หลก็ มปี ระโยชน์ในการทาของเลน่ ของใช้ และนาไป
แยกสารแมเ่ หล็กออกจากวัตถอุ ่ืนได้
3. ทดลองและอธิบายแรงไฟฟา้ ท่ีเกิด
จากการถวู ัตถบุ างชนิด  เม่อื ถวู ตั ถบุ างชนิดแลว้ นาเขา้ ใกล้กันจะดึงดูดหรือผลกั
กนั ได้ แรงทีเ่ กิดขึ้นนเ้ี รียกว่า แรงไฟฟ้า และวัตถุนนั้ จะ
ดงึ ดดู วัตถุเบา ๆ ได้

หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนอนบุ าลพระสมุทรเจดยี ์ พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 หนา้ 33

มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจลักษณะการเคลอ่ื นท่ีแบบตา่ ง ๆ ของวัตถใุ นธรรมชาติ มกี ระบวนการสบื
เสาะหาความรแู้ ละจติ วิทยาศาสตร์ ส่อื สารสิ่งทเ่ี รียนรูแ้ ละนาความร้ไู ปใช้ประโยชน์

ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้
- -

สาระท่ี 5 พลังงาน เขา้ ใจความสัมพันธร์ ะหวา่ งพลังงานกบั การดารงชวี ิต การเปลี่ยนรปู พลังงาน
มาตรฐาน ว 5.1 ปฏสิ ัมพันธ์ระหว่างสารและพลงั งาน ผลของการใชพ้ ลงั งานตอ่ ชวี ติ และสิ่งแวดล้อม มี
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ส่อื สารสิง่ ทเี่ รยี นร้แู ละนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้

1. ทดลองและอธบิ ายไดว้ ่าไฟฟา้ เปน็  ไฟฟ้าจากเซลลไ์ ฟฟา้ หรือแบตเตอรส่ี ามารถทางานได้
พลังงาน ไฟฟ้าจงึ เป็นพลังงาน

2. สารวจและยกตัวอย่างเคร่ืองใช้  พลังงานไฟฟ้าเปลีย่ นเป็นพลังงานอ่นื ได้ ซ่งึ ตรวจสอบได้
ไฟฟ้าในบ้านทีเ่ ปลย่ี นพลังงาน จากเครอื่ งใช้ฟ้าในบา้ น เช่น พดั ลม หม้อหงุ ข้าวไฟฟ้า
ไฟฟ้าเป็นพลงั งานอนื่

สาระท่ี 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
มาตรฐาน ว 6.1 เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ทีเ่ กิดขน้ึ บนผิวโลกและภายในโลก ความสมั พนั ธข์ อง

กระบวนการต่าง ๆ ทีม่ ผี ลต่อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐาน
ของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ ละจติ วทิ ยาศาสตร์ สื่อสารสิง่ ท่เี รียนรแู้ ละ
นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้

1. สารวจและจาแนกประเภทของดิน  ดินจาแนกออกเปน็ ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ดนิ รว่ น

โดยใช้สมบตั ิทางกายภาพเปน็ ดนิ เหนยี ว และดนิ ทราบ ตามลกั ษณะท่ีแตกต่างกันในดา้ น

เกณฑแ์ ละนาความรไู้ ปใช้ ของสี เนอ้ื ดิน การอมุ้ น้า และการจบั ตวั ของดนิ ซง่ึ นาไป

ประโยชน์ ใช้ประโยชนไ์ ด้แตกต่างกันตามสมบัตขิ องดนิ

 สมบัติของดินเค็มชายทะเลบรเิ วณในอาเภอพระสมุทร

เจดีย์

สาระท่ี 7 ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ
มาตรฐาน ว 7.1 เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสรุ ิยะ กาแล็กซแี ละเอกภพ การปฏิสัมพันธภ์ ายในระบบ

สุริยะและผลต่อสง่ิ มีชวี ิตบนโลก มีกระบวนการสบื เสาะหาความรู้และ
จิตวทิ ยาศาสตร์ ส่ือสารสิ่งทเ่ี รียนรู้และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้

1. สืบคน้ และอภิปรายความสาคญั  ดวงอาทิตย์เป็นแหลง่ พลงั งานท่ีสาคัญของโลก เพราะให้
ของดวงอาทิตย์ ทงั้ พลงั งานความร้อนและพลงั งานแสง ซ่ึงชว่ ยในการ
ดารงชีวิตของสง่ิ มชี ีวติ

หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรียนอนบุ าลพระสมุทรเจดยี ์ พุทธศกั ราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 หน้า 34

มาตรฐาน ว 7.2 เขา้ ใจความสาคัญของเทคโนโลยอี วกาศที่นามาใชใ้ นการสารวจอวกาศและ
ทรพั ยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสื่อสาร มกี ระบวนการสืบเสาะหาความรู้
และจติ วทิ ยาศาสตร์ ส่ือสารสิง่ ที่เรยี นรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชนอ์ ยา่ งมีคุณธรรม
ต่อชวี ติ และสิง่ แวดลอ้ ม

ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้
- -

สาระท่ี 8 ธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวทิ ยาศาสตรใ์ นการสืบเสาะหาความรู้

การแก้ปัญหา รวู้ า่ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขน้ึ ส่วนใหญม่ รี ูปแบบที่แน่นอน
สามารถอธิบายและตรวจสอบไดภ้ ายใต้ข้อมลู และเคร่ืองมือทม่ี ีอยใู่ นชว่ งเวลาน้ัน ๆ
เข้าใจวา่ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม มีความเก่ียวข้องสัมพนั ธ์

ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรู้
-
1. ต้งั คาถามเกี่ยวกบั เรื่องทจี่ ะศึกษา
ตามทกี่ าหนดให้และตาม -
ความสนใจ
-
2. วางแผนการสงั เกต สารวจ
ตรวจสอบ ศึกษาค้นคว้า โดยใช้ -
ความคิดของตนเอง ของกลุม่ และ -
ของครู -
-
3. ใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ เครอื่ งมือที่
เหมาะสมในการสารวจ -
ตรวจสอบ และบนั ทึกข้อมูล

4. จัดกล่มุ ขอ้ มลู เปรยี บเทยี บ และ
นาเสนอผล

5. ต้ังคาถามใหม่จากผลการสารวจ
ตรวจสอบ

6. แสดงความคิดเหน็ เป็นกลุ่มและ
รวบรวมเปน็ ความรู้

7. บันทึกและอธบิ ายผลการสงั เกต
สารวจตรวจสอบอยา่ งตรงไป
ตรงมา โดยเขียนภาพ แผนภาพ
หรอื คาอธิบาย

8. นาเสนอผลงานด้วยวาจาใหผ้ ู้อ่ืน
เข้าใจกระบวนการและผลของงาน

หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลพระสมทุ รเจดีย์ พุทธศกั ราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 หนา้ 35

ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3

สาระท่ี 1 ส่งิ มีชีวิตกับกระบวนการดารงชวี ติ
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหนว่ ยพื้นฐานของสิ่งมชี ีวิต ความสมั พนั ธข์ องโครงสร้าง และหน้าท่ีของระบบ

ตา่ ง ๆ ของส่งิ มีชีวิตท่ที างานสัมพันธก์ ัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ส่ือสาร
ส่งิ ท่เี รียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิตของตนเองและดแู ลสิง่ มีชีวิต

ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรู้
- -

มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม
ววิ ฒั นาการของสิ่งมชี วี ิต ความหลากหลายทางชวี ภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มี
ผลกระทบต่อมนุษย์และสง่ิ แวดล้อม มกี ระบวนการสบื เสาะหาความรูแ้ ละจิตวทิ ยา
ศาสตร์ สื่อสารสิ่งทเ่ี รยี นรู้และนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรู้

1. อภิปรายลกั ษณะต่าง ๆ ของ  ส่งิ มีชวี ติ แตล่ ะชนิดจะมลี ักษณะแตกต่างกัน

สิง่ มีชวี ิตใกล้ตวั

2. เปรียบเทียบและระบลุ กั ษณะที่  ส่ิงมชี ีวิตทุกชนิดจะมลี ักษณะภายนอกทปี่ รากฏคลา้ ยคลึง

คล้ายคลงึ กันของพ่อแม่กับลูก กับพอ่ แม่ของสงิ่ มชี วี ติ ชนิดน้ัน

3. อธบิ ายลกั ษณะทค่ี ล้ายคลึงกนั ของ  ลกั ษณะภายนอกทค่ี ล้ายคลงึ กันของพ่อแม่กับลูกเป็นการ

พอ่ แม่กับลูกว่าเปน็ การถา่ ยทอด ถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม

ลักษณะทางพนั ธกุ รรมและนา  มนษุ ยน์ าความรู้ท่ีไดเ้ ก่ยี วกับการถา่ ยทอดลักษณะทาง

ความรู้ไปใช้ประโยชน์ พนั ธุกรรมมาใชป้ ระโยชน์ในการพฒั นาสายพันธ์ุของพชื

และสตั ว์

มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจกระบวนการและความสาคญั ของการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม
ววิ ัฒนาการของสิง่ มชี วี ติ ความหลากหลายทางชวี ภาพ การใชเ้ ทคโนโลยีชีวภาพทม่ี ี
ผลกระทบต่อมนุษย์และส่งิ แวดลอ้ ม มกี ระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจติ วทิ ยา
ศาสตร์ สอ่ื สารส่งิ ทเี่ รยี นรู้และนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้

4. สืบค้นข้อมูลและอภปิ รายเก่ยี วกับ  สิ่งมีชวี ิตท่ีไม่สามารถปรบั ตัวให้เขา้ กับสภาพแวดลอ้ มที่
ส่งิ มชี ีวติ บางชนดิ ทีส่ ูญพนั ธ์ไุ ป เปลย่ี นแปลงไปไดก้ ็จะสญู พนั ธไ์ุ ปในทสี่ ดุ
แล้วและทดี่ ารงพนั ธ์มุ าจนถงึ
ปัจจบุ ัน  สิง่ มชี วี ิตท่สี ามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมท่ี
เปลยี่ นแปลงไปไดจ้ ะสามารถอยูร่ อดและดารงพันธต์ุ ่อไป

หลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นอนุบาลพระสมุทรเจดีย์ พทุ ธศกั ราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 หนา้ 36

สาระท่ี 2 สิง่ มีชีวิตกบั กระบวนการดารงชีวิต
มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสิง่ แวดล้อมในท้องถิน่ ความสมั พนั ธ์ระหว่างสิง่ แวดล้อมกบั ส่งิ มชี วี ิต

ความสัมพันธ์ระหวา่ งส่ิงมชี ีวติ ต่าง ๆ ในระบบนเิ วศ มกี ระบวนการสืบเสาะหาความรู้
และจติ วทิ ยาศาสตร์ สื่อสารส่ิงที่เรยี นรู้และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้

1. สารวจสง่ิ แวดลอ้ มในท้องถ่ินของ  สง่ิ แวดลอ้ ม หมายถงึ สิง่ ที่อยรู่ อบ ๆ ตวั เรามีทัง้ ส่งิ มีชวี ติ
ตนและอธบิ ายความสมั พันธ์ของ และไม่มีชวี ติ ส่งิ มีชีวติ มีความสมั พนั ธก์ บั สิง่ แวดลอ้ มทัง้
สิง่ มชี ีวติ กบั สงิ่ แวดลอ้ ม กบั สง่ิ มีชวี ิตด้วยกนั และกับส่ิงไมม่ ีชีวติ

 ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม

มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจความสาคญั ของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาตใิ นระดับ
ท้องถน่ิ ประเทศ และโลก นาความรไู้ ปใชใ้ นการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิง่ แวดลอ้ มในท้องถน่ิ อย่างย่ังยืน

ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้
1. สารวจทรพั ยากรธรรมชาติ และ
 ดิน หิน น้า อากาศ ป่าไม้ สตั วป์ ่าและแร่จดั เป็น
อภปิ รายการใช้ทรัพยาธรรมชาติ ทรพั ยากรธรรมชาติทม่ี ีความสาคญั
ในท้องถน่ิ
 มนุษยใ์ ช้ทรัพยากรธรรมชาตใิ นท้องถ่นิ เพื่อประโยชน์ต่อ
2. ระบุการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติท่ี การดารงชีวิต
ก่อให้เกดิ ปญั หาสิ่งแวดลอ้ มใน
ท้องถนิ่  ทรัพยากรและส่งิ แวดล้อม

3. อภิปรายและนาเสนอการใช้  มนุษยน์ าทรัพยากรธรรมชาตมิ าใชอ้ ย่างมากมายจงึ สง่ ผล
ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งประหยดั กระทบต่อส่งิ แวดลอ้ มในท้องถิน่
คุ้มคา่ และมีสว่ นร่วมในการปฏิบตั ิ
 สภาพปัญหาในชมุ ชนและสงั คม

 มนุษย์ตอ้ งช่วยกนั ดูแลและรูจ้ กั ใช้ทรพั ยากรธรรมชาติ
อย่างประหยัดและคุม้ ค่า เพ่อื ให้มีการใช้ได้นานและยัง่ ยืน

 วิถีชวี ติ ในชุมชนกับเศรษฐกิจพอเพยี ง สนิ ค้า และ
ผลิตภัณฑ์ในชุมชน

สาระท่ี 3 สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว 3.1 เขา้ ใจสมบตั ิของสาร ความสมั พันธร์ ะหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรง

ยึดเหนี่ยวระหวา่ งอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์
สือ่ สารสง่ิ ท่ีเรียนรู้และนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้
 ของเลน่ ของใชอ้ าจมีส่วนประกอบหลายสว่ น และอาจทา
1. จาแนกชนดิ และสมบัตขิ องวัสดุท่ี
เป็นสว่ นประกอบของของเลน่ จากวัสดุหลายชนิดซึง่ มสี มบตั แิ ตกตา่ งกัน
ของใช้
 วัสดแุ ต่ละชนิดมีสมบตั แิ ตกตา่ งกัน จึงใชป้ ระโยชน์ได้
2. อธบิ ายการใชป้ ระโยชน์ของวัสดุ ตา่ งกัน
และชนดิ

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนบุ าลพระสมทุ รเจดยี ์ พทุ ธศักราช 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 หน้า 37

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดบั
ท้องถ่ิน ประเทศ และโลก นาความรู้ไปใช้ในการจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ
สงิ่ แวดลอ้ มในท้องถนิ่ อยา่ งย่งั ยืน

ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรู้

1. ทดลองและอธิบายผลของการ  เมอื่ มีแรงมากระทา เชน่ การบบี บิด ทุบ ตดั ตงึ ตลอดจน
เปลี่ยนแปลงทเี่ กดิ ข้ึนกับวัสดุ เมื่อ การทาให้ร้อนขนึ้ หรือทาใหเ้ ย็นลง จะทาให้วัสดเุ กดิ การ
ถกู แรงกระทา หรอื ทาให้ร้อนข้ึน เปลยี่ นแปลงรูปรา่ ง ลักษณะหรือมสี มบัตแิ ตกตา่ งไปจาก
หรอื ทาใหเ้ ยน็ ลง เดิม

2. อภิปรายประโยชน์และอนั ตรายท่ี  การเปล่ยี นแปลงของวัสดุ อาจนามาใช้ประโยชนห์ รือทา
อาจเกดิ ขึน้ เน่ืองจากการ ให้เกดิ อันตรายได้
เปล่ียนแปลงของวัสดุ

สาระท่ี 4 แรงและการเคลื่อนท่ี
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถว่ ง และแรงนวิ เคลียร์

มกี ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ส่อื สารสิง่ ทีเ่ รยี นรู้และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
อยา่ งถูกต้องและมีคุณธรรม

ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรู้
1. ทดลองและอธบิ ายผลของการ
 การออกแรงกระทาตอ่ วตั ถุแล้วทาให้วตั ถเุ ปล่ยี นแปลง
ออกแรงท่ีกระทาต่อวัตถุ การเคลอ่ื นที่ โดยวตั ถทุ ่หี ยุดน่ิงจะเคลื่อนทแี่ ละวัตถทุ ่ี
กาลงั เคล่อื นท่จี ะเคล่ือนทเ่ี ร็วขนึ้ หรอื เคล่ือนทชี่ า้ ลง หรือ
2. ทดลองการตกของวัตถุส่พู ้ืนโลก หยุดเคลอ่ื นทีห่ รือเปลี่ยนทิศทาง
และอธบิ ายแรงที่โลกดงึ ดูดวตั ถุ
 วตั ถุตกสู่พืน้ โลกเสมอ เนือ่ งจากแรงโน้มถว่ งหรือแรง
ดึงดูดของโลก กระทาต่อวัตถุ และแรงนี้คอื น้าหนักของ
วัตถุ

มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจลักษณะการเคล่ือนท่ีแบบต่าง ๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มกี ระบวนการสบื
เสาะหาความรแู้ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ สอ่ื สารสิ่งท่ีเรียนรู้และนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้
- -

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลพระสมทุ รเจดยี ์ พทุ ธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 หนา้ 38

สาระที่ 5 พลังงาน เข้าใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างพลงั งานกับการดารงชีวติ การเปลย่ี นรูปพลงั งาน
มาตรฐาน ว 5.1 ปฏสิ ัมพันธร์ ะหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลงั งานตอ่ ชีวิตและส่ิงแวดล้อม มี
กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ สอ่ื สารสง่ิ ท่ีเรียนรแู้ ละนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้
1. บอกแหล่งพลังงานธรรมชาตทิ ใี่ ช้
 การผลิตไฟฟา้ ใช้พลังงานจากแหล่งเป็นแหล่งพลังงานที่มี
ผลิตไฟฟา้ จากดั เช่น นา้ มนั แก๊สธรรมชาติ บางแหลง่ เปน็ แหล่ง
พลงั งานท่หี มุนเวยี น เช่น น้า ลม
2. อธบิ ายความสาคญั ของพลงั งาน
ไฟฟ้า และเสนอวธิ กี ารใชไ้ ฟฟ้า  พลังงานไฟฟา้ มคี วามสาคัญตอ่ ชีวิตประจาวัน เชน่ เปน็
อยา่ งประหยัดและปลอดภัย แหล่งกาเนิดแสงสวา่ ง จงึ ต้องใชไ้ ฟฟ้าอย่างประหยัด เช่น
ปิดไฟเม่ือไมใ่ ชง้ าน รวมท้ังใชไ้ ฟฟ้าอย่างปลอดภยั เชน่
เลือกใช้อุปกรณต์ า่ ง ๆ ท่ีมีมาตรฐาน

สาระท่ี 6 กระบวนการเปล่ียนแปลงของโลก
มาตรฐาน ว 6.1 เข้าใจกระบวนการตา่ ง ๆ ท่เี กิดข้ึนบนผวิ โลกและภายในโลก ความสมั พันธ์ของ

กระบวนการต่าง ๆ ท่มี ผี ลต่อการเปล่ียนแปลงภมู อิ ากาศ ภมู ปิ ระเทศ และสัณฐาน
ของโลก มีกระบวนการสบื เสาะหาความร้แู ละจิตวทิ ยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งทเี่ รยี นรู้และ
นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้
1. สารวจและอธบิ ายสมบัติทาง
 นา้ พบได้ทั้งทีเ่ ป็นของเหลว ของแขง็ และแกส๊ น้าละลาย
กายภาพของน้าจากแหลง่ นา้ ใน สารบางอยา่ งได้ นา้ เปลี่ยนแปลงรปู รา่ งตามภาชนะท่บี รรจุ
ทอ้ งถิน่ และนาความรู้ไปใช้ และรกั ษาระดับในแนวราบ
ประโยชน์
 คณุ ภาพของนา้ พิจารณาจากสี กลนิ่ ความโปรง่ ใส่ของน้า
2. สบื ค้นข้อมูลและอภปิ ราย  น้าเปน็ ทรัพยากรธรรมชาติท่มี ีความจาเปน็ ต่อชีวิต ท้งั ใน
สว่ นประกอบของอากาศและ
ความสาคญั ของอากาศ การบริโภค อปุ โภค จึงต้องใช้อยา่ งประหยัด
 ทรพั ยากร และสิ่งแวดล้อม
3. ทดลอง อธบิ ายการเคลอ่ื นทขี่ อง
อากาศท่ีมีผลจากความแตกต่าง  อากาศ ประกอบด้วย แกส๊ ไนโตรเจน แกส๊ ออกซิเจน แก๊ส
ของอณุ หภมู ิ คาร์บอนไดออกไซด์ และแกส๊ อนื่ ๆ รวมทัง้ ไอน้าและฝุ่น
ละออง

 อากาศมคี วามสาคัญต่อการดารงชีวติ สิ่งมีชีวติ ทุกชนดิ
ตอ้ งใช้อากาศในการหายใจ และอากาศยงั มีประโยชน์ใน
ดา้ นอ่นื ๆ อกี มากมาย

 อากาศจะเคล่ือนจากบรเิ วณท่มี ีอณุ หภูมติ า่ ไปยังบริเวณท่ี
มีอณุ หภูมิสูงกว่า โดยอากาศทีเ่ คลื่อนที่ในแนวราบทาให้
เกดิ ลม

หลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนอนบุ าลพระสมทุ รเจดยี ์ พทุ ธศกั ราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 หนา้ 39

สาระท่ี 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
มาตรฐาน ว 7.1 เข้าใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแลก็ ซีและเอกภพ การปฏสิ ัมพนั ธภ์ ายในระบบ

สุริยะและผลต่อส่ิงมชี วี ติ บนโลก มกี ระบวนการสบื เสาะหาความร้แู ละ
จิตวทิ ยาศาสตร์ สือ่ สารสิง่ ท่เี รียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู้

1. สงั เกตและอธิบายการขึ้น-ตกของ โลกหมุนรอบตัวเองทาใหเ้ กิดปรากฏการณ์ต่อไปน้ี

ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ การเกดิ  ปรากฏการณ์ข้ึน-ตกของดวงอาทติ ย์ และดวงจันทร์

กลางวนั กลางคืน และการกาหนด  เกดิ กลางวันและกลางคืนโดยดา้ นทห่ี นั รบั แสงอาทติ ย์เป็น

ทศิ เวลากลางวนั และด้านตรงข้ามท่ีไม่ไดร้ บั แสงอาทติ ยเ์ ปน็

เวลากลางคืน

 กาหนดทศิ โดยสงั เกตจากการข้ึนและการตกของดวง

อาทติ ย์ ให้ด้านท่เี ห็นดวงอาทติ ยข์ นึ้ เป็นทิศตะวนั ออก

และดา้ นทเี่ หน็ ดวงอาทิตย์ตกเป็นทิศตะวนั ตก เมอื่ ใช้ทศิ

ตะวนั ออกเปน็ หลกั โดยให้ด้านขวามืออยู่ทางทศิ

ตะวนั ออก ด้านซ้ายมืออยู่ทางทิศตะวนั ตก ด้านหนา้ เป็น

ทศิ เหนอื และด้านหลังจะเป็นทศิ ใต้

มาตรฐาน ว 7.2 เขา้ ใจความสาคญั ของเทคโนโลยอี วกาศท่นี ามาใช้ในการสารวจอวกาศและ
ทรพั ยากรธรรมชาติ ดา้ นการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสบื เสาะหาความรู้
และจติ วทิ ยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งท่เี รยี นร้แู ละนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์อยา่ งมีคณุ ธรรม
ตอ่ ชวี ิตและส่งิ แวดล้อม

ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้
- -

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นอนุบาลพระสมทุ รเจดยี ์ พทุ ธศกั ราช 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หนา้ 40

สาระท่ี 8 ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และจิตวทิ ยาศาสตรใ์ นการสบื เสาะหาความรู้

การแกป้ ัญหา รวู้ า่ ปรากฏการณท์ างธรรมชาตทิ ่เี กิดข้นึ สว่ นใหญม่ ีรปู แบบท่ีแน่นอน
สามารถอธบิ ายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมลู และเคร่ืองมือที่มีอย่ใู นชว่ งเวลาน้นั ๆ
เขา้ ใจวา่ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสง่ิ แวดล้อม มีความเก่ียวข้องสัมพนั ธ์

ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรู้
-
1. ตัง้ คาถามเก่ียวกบั เรื่องทีจ่ ะศึกษา -
ตามท่กี าหนดใหแ้ ละตามความสนใจ
-
2. วางแผนการสังเกต เสนอวิธสี ารวจ
ตรวจสอบ ศกึ ษาค้นควา้ โดยใช้ -
ความคิดของตนเอง ของกลุ่ม และ -
คาดการณ์ส่งิ ทีจ่ ะพบจากการ -
สารวจตรวจสอบ -

3. เลอื กใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือท่ี -
เหมาะสมในการสารวจ ตรวจสอบ
และบันทึกข้อมูล

4. จดั กลมุ่ ขอ้ มลู เปรียบเทียบกบั ส่งิ ท่ี
คาดการณ์ไว้ และนาเสนอผล

5. ตงั้ คาถามใหมจ่ ากผลการสารวจ
ตรวจสอบ

6. แสดงความคดิ เหน็ และรวบรวมขอ้ มูล
จากกลมุ่ นาไปสกู่ ารสร้างความรู้

7. บนั ทกึ และอธิบายผลการสงั เกต
สารวจตรวจสอบตามความเปน็
จรงิ มแี ผนภาพประกอบคาอธิบาย

8. นาเสนอ จดั แสดงผลงาน โดยอธิบาย
ด้วยวาจา และเขียนแสดกระบวนการ
และผลของงานให้ผู้อ่นื เข้าใจ

หลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นอนุบาลพระสมุทรเจดยี ์ พุทธศกั ราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 หนา้ 41

ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4

สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสงิ่ ไม่มีชีวติ กับ

สงิ่ มีชวี ติ และความสัมพันธ์ระหว่างสง่ิ มีชีวติ กับสิ่งมชี วี ติ ต่างๆ ในระบบนิเวศ
การถ่ายทอดพลงั งาน การเปลี่ยนแปลงแทนทีใ่ นระบบนเิ วศ ความหมายของ
ประชากร ปญั หาและผลกระทบทมี่ ีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
แนวทางในการอนรุ ักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสง่ิ แวดล้อม
รวมทง้ั นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้
- -

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบตั ิของส่ิงมีชวี ติ หนว่ ยพืน้ ฐานของสิ่งมชี วี ติ การลาเลยี งสารผา่ นเซลล์
ความสัมพนั ธข์ องโครงสรา้ ง และหน้าท่ขี องระบบต่าง ๆ ของสตั วแ์ ละมนษุ ย์ท่ี
ทางานสมั พนั ธก์ ัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหนา้ ที่ของอวัยวะต่างๆ ของพชื
ท่ที างานสมั พันธก์ ัน รวมทง้ั นาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรู้

1. บรรยายหน้าทีข่ องราก ลาต้น ใบ • ส่วนต่างๆ ของพชื ดอกทาหน้าที่แตกต่างกนั
และดอกของพชื ดอกโดยใชข้ ้อมลู ท่ี
รวบรวมได้ - รากทาหนา้ ท่ีดดู นา้ และแร่ธาตุขนึ้ ไปยังลาต้น
- ลาตน้ ทาหน้าที่ลาเลยี งนา้ ต่อไปยังส่วนต่างๆ
ของพืช
- ใบทาหนา้ ทสี่ ร้างอาหาร อาหารที่พชื สร้างขึ้นคือ
น้าตาลซึ่งจะเปลยี่ นเป็นแป้ง
- ดอกทาหนา้ ท่ีสบื พันธุ์ ประกอบด้วยส่วนประกอบ
ต่างๆ ได้แก่ กลีบเลยี้ ง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และ
เกสรเพศเมีย ซงึ่ สว่ นประกอบแต่ละสว่ นของดอก
ทาหน้าทแ่ี ตกตา่ งกนั

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลพระสมุทรเจดีย์ พุทธศักราช 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 หน้า 42

มาตรฐาน ว 1.3 เขา้ ใจกระบวนการและความสาคญั ของการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม
สารพันธกุ รรม การเปลีย่ นแปลงทางพนั ธุกรรมท่มี ผี ลต่อส่ิงมีชีวิต ความหลากหลาย
ทางชวี ภาพและววิ ฒั นาการของส่งิ มชี ีวติ รวมทงั้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรู้

1. จาแนกสง่ิ มชี วี ิตโดยใชค้ วาม • สงิ่ มชี ีวิตมหี ลายชนิด สามารถจดั กล่มุ ไดโ้ ดยใช้

เหมือนและความแตกตา่ งของลกั ษณะ ความเหมือนและความแตกต่างของลกั ษณะต่างๆ เช่น
ของส่ิงมีชีวติ ออกเปน็
กลุ่มพืชสรา้ งอาหารเองได้ และเคล่อื นทด่ี ้วยตนเองไมไ่ ด้
กลุ่มพชื กลุ่มสัตว์ และกลุ่มท่ีไมใ่ ช่พชื กลุ่มสตั ว์กนิ ส่งิ มชี วี ิตอ่นื เปน็ อาหารและเคล่ือนท่ีได้
และสตั ว์
กลุ่มทไี่ ม่ใช่พืชและสตั ว์ เชน่ เห็ดรา จุลินทรีย์

2. จาแนกพชื ออกเปน็ พชื ดอกและพืช • การจาแนกพชื สามารถใช้การมดี อกเปน็ เกณฑ์
ไม่มีดอกโดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ ในการจาแนก ได้เป็นพืชดอกและพืชไมม่ ดี อก
โดยใช้ข้อมูลทรี่ วบรวมได้
การจาแนกสตั ว์ สามารถใช้การมกี ระดูกสนั หลงั

เปน็ เกณฑ์ในการจาแนก ไดเ้ ปน็ สตั วม์ กี ระดูกสนั หลงั

และสัตวไ์ ม่มีกระดูกสันหลงั

3. จาแนกสตั ว์ออกเปน็ สตั ว์มกี ระดูก • สตั ว์มีกระดูกสนั หลังมหี ลายกลุม่ ไดแ้ ก่ กลมุ่ ปลา
สันหลังและสตั วไ์ มม่ ีกระดูกสันหลัง กลมุ่ สัตวส์ ะเทินนา้ สะเทินบก กลุม่ สัตว์เลอื้ ยคลาน
โดยใชก้ ารมกี ระดูกสันหลงั
กลุ่มนก และกลุม่ สัตวเ์ ลยี้ งลกู ดว้ ยนา้ นม ซงึ่ แต่ละกลุ่ม
เป็นเกณฑ์ โดยใชข้ ้อมูลที่รวบรวมได้ จะมีลักษณะเฉพาะท่ีสงั เกตได้

4. บรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้
ของสตั วม์ ีกระดูกสันหลังในกลุม่ ปลา
กลุ่มสัตวส์ ะเทนิ น้า สะเทนิ บก กลมุ่
สตั ว์เลื้อยคลาน กลมุ่ นก และ
กลุ่มสัตวเ์ ลี้ยงลูกดว้ ยนา้ นม และ
ยกตัวอย่าง สิ่งมชี ีวิตในแต่ละกล่มุ

หลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนอนบุ าลพระสมุทรเจดยี ์ พทุ ธศักราช 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 หนา้ 43

สาระท่ี 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบตั ิของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธร์ ะหว่างสมบัตขิ อง

สสารกบั โครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหวา่ งอนภุ าค หลกั และธรรมชาตขิ อง
การเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี

ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้

1. เปรียบเทยี บสมบตั ทิ างกายภาพ • วสั ดุแต่ละชนิดมีสมบัตทิ างกายภาพแตกต่างกัน

ด้านความแข็ง สภาพยืดหยุน่ การนา วสั ดทุ ่ีมคี วามแข็งจะทนต่อแรงขูดขดี วัสดทุ ีม่ ีสภาพ

ความร้อน และการนาไฟฟา้ ของวสั ดุ ยืดหยนุ่ จะเปลีย่ นแปลงรูปร่างเม่อื มแี รงมากระทา

โดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจกั ษ์จาก และกลบั สภาพเดิมได้วสั ดุที่นาความรอ้ นจะรอ้ นได้

การทดลองและระบกุ ารนาสมบตั เิ ร่อื ง เรว็ เมอื่ ไดร้ ับความร้อน และวัสดุทนี่ าไฟฟ้าได้ จะให้

ความแขง็ สภาพยืดหยุน่ การนาความ กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ ดังน้ันจึงอาจนาสมบัตติ ่าง ๆ

ร้อน และการนาไฟฟ้าของวัสดไุ ปใช้ มาพิจารณาเพื่อใชใ้ นกระบวนการออกแบบชิ้นงาน

ในชวี ิตประจาวนั ผ่านกระบวน เพ่ือใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ประจาวัน

การออกแบบชน้ิ งาน

2. แลกเปลี่ยนความคดิ กบั ผู้อื่นโดย
การอภิปรายเกี่ยวกบั สมบตั ิทาง
กายภาพของวสั ดอุ ย่างมเี หตผุ ลจาก
การทดลอง

3. เปรยี บเทยี บสมบตั ขิ องสสารท้ัง 3 • วัสดเุ ปน็ สสารเพราะมมี วลและตอ้ งการที่อยู่ สสาร
สถานะจากขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการสังเกต มีสถานะเปน็ ของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส ของแขง็
มวล การตอ้ งการที่อยู่ รปู ร่างและ มปี รมิ าตรและรูปร่างคงที่ ของเหลวมีปริมาตรคงที่
ปรมิ าตรของสสาร แตม่ รี ปู รา่ งเปลยี่ นไปตามภาชนะเฉพาะส่วนที่บรรจุ
ของเหลว ส่วนแกส๊ มีปริมาตรและรปู รา่ งเปลย่ี นไป
4. ใชเ้ คร่อื งมือเพ่ือวดั มวล และ ตามภาชนะท่ีบรรจุ
ปรมิ าตรของสสารท้ัง 3 สถานะ

หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นอนุบาลพระสมุทรเจดีย์ พทุ ธศกั ราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 หนา้ 44


Click to View FlipBook Version