ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
กรอบการประเมนิ ของ PISA
PISA ใหค้ วามสำ� คญั กบั ความสามารถของนกั เรยี นในการประยกุ ตใ์ ชค้ วามรใู้ นสถานการณ์
ตา่ ง ๆ ทนี่ กั เรียนอาจไดพ้ บเจอในการด�ำเนินชีวติ ซ่ึง PISA เรียกความสามารถในการประยุกตใ์ ช้
ความรนู้ ว้ี า่ “การรเู้ รอ่ื ง” (Literacy) และถอื วา่ การรเู้ รอ่ื งการอา่ น (Reading Literacy) การรเู้ รอ่ื ง
คณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy)
เป็นความสามารถพื้นฐานที่ทุกคนต้องมี จึงก�ำหนดเป็นความสามารถหลักส�ำหรับการประเมินใน
แตล่ ะครั้ง และกำ� หนด นิยามการประเมิน และ กรอบโครงสร้างการประเมิน แตล่ ะดา้ น ดงั นี้
1. นิยามการประเมิน เป็นเกณฑค์ ุณภาพท่ี PISA ใชใ้ นการประเมนิ ได้แก่ ความสามารถ
พฤตกิ รรม กระบวนการคดิ กลยทุ ธ์ วธิ กี ารหรอื กระบวนการแกป้ ญั หา รวมถงึ ลกั ษณะของสอื่ หรอื
สถานการณข์ องแบบประเมนิ ทน่ี ำ� มาใชเ้ ปน็ องคป์ ระกอบการประเมนิ โดย PISA กำ� หนดนยิ ามดา้ น
การรู้เรื่องการอ่าน การรเู้ รือ่ งคณติ ศาสตร์ และการร้เู รื่องวิทยาศาสตร์ ไว้ดังนี้
1.1 การรเู้ รอื่ งการอา่ น หมายถงึ ความสามารถทจี่ ะทำ� ความเขา้ ใจสง่ิ ทไี่ ดอ้ า่ น สามารถ
น�ำไปใช้ในการประเมิน การสะท้อน และมีความรักและผูกพันกับถ้อยความเพ่ือพัฒนาความรู้
ความสามารถและศักยภาพและการมสี ว่ นร่วมในสงั คม (PISA 2015)
1.2 การรเู้ รอ่ื งคณติ ศาสตร์ หมายถงึ ความสามารถของบคุ คลในการคดิ ใช้ และตคี วาม
คณิตศาสตร์ในสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีหลากหลาย รวมถึงการให้เหตุผลอย่างเป็นคณิตศาสตร์
ใชแ้ นวคดิ และกระบวนการทางคณติ ศาสตรใ์ นการอธบิ าย และทำ� นายปรากฏการณต์ า่ งๆ (PISA 2015)
1.3 การรเู้ ร่ืองวิทยาศาสตร์ หมายถงึ ความสามารถในการเช่ือมโยงส่งิ ตา่ ง ๆ เขา้ กบั
ประเดน็ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับวิทยาศาสตร์ และแนวคิดทางวทิ ยาศาสตร์ไดอ้ ย่างไตร่ตรอง (PISA 2015)
2. กรอบโครงสรา้ งการประเมิน หมายถงึ ขอบเขต ความครอบคลมุ ของเกณฑ์คณุ ภาพที่
PISA นำ� มาใชเ้ ป็นส่วนประกอบของการประเมนิ ในแตล่ ะดา้ น
2.1 กรอบโครงสร้างการประเมินการรู้เรื่องการอ่าน PISA ให้ความส�ำคัญกับการ
เตรียมเยาวชนให้สามารถเรียนรู้ตลอดชีวิต ความสามารถด้านการอ่านจัดเป็นเครื่องมือที่ส�ำคัญ
ของกระบวนการเรียนรู้ตั้งแต่เร่ิมต้นจนถึงการขยายความรู้ ถือเป็นทักษะและกลยุทธ์ท่ีทุกคน
ต้องมีและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ได้ก�ำหนดกรอบการประเมินการรู้เรื่องการอ่าน ประกอบด้วย
3 สว่ น ไดแ้ ก่ สถานการณ์ (Situation) เนอ้ื เรือ่ ง (Text) และกลยุทธ์การอา่ น (Aspect) โดย
ปีที่ 21 ฉบับที่ 4 : ตลุ าคม - ธนั วาคม 2561 49
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
สถานการณ์ เป็นเหตุการณ์ หรือเร่ืองราวต่างๆ ที่นักเรียนอาจพบเจอได้ท่ัวไป
ถูกน�ำมาก�ำหนดเป็นจุดประสงค์ของการอ่าน 4 ด้าน คือ สถานการณ์หรือบริบทส่วนตัว เช่น
จดหมายส่วนตัว นิทาน บริบททางสังคมหรือสาธารณะ เช่น ประกาศ แผนผังเดินทาง ข่าว
บรบิ ทการงานอาชีพ เช่น วธิ ที ำ� /คมู่ ือ กำ� หนดการ และบริบทการอา่ นเพอื่ การศกึ ษา เชน่ กราฟ
ตาราง หนังสอื เรยี น
เน้ือเร่ือง เป็นลักษณะของสิ่งท่ีเขียนหรือการเรียบเรียงเพื่อน�ำเสนอให้อ่าน
ทั้งในรูปของสื่อส่ิงพิมพ์หรือสื่อดิจิตอล ส�ำนวนภาษา ความยากง่ายของเหตุการณ์หรือเร่ืองราว
รวมถงึ รูปแบบของการนำ� เสนอเรื่องราว
กลยุทธ์การอ่าน เป็นวิธีการหรือกระบวนการคิดเพื่อแก้ปัญหาด้านการอ่าน
5 กลยทุ ธ์ ไดแ้ ก่ การคน้ หาสาระ การสรา้ งความเขา้ ใจในภาพรวม การตคี วามเนอ้ื เรอื่ ง การสะทอ้ น
และประเมินเนือ้ หาสาระ และการสะทอ้ นและประเมินรปู แบบและวิธีการเขยี น
การท�ำแบบประเมินด้านการรู้เร่ืองการอ่านนักเรียนต้องใช้ 5 กลยุทธ์ในการอ่าน
เน้ือเร่ืองตามบริบทหรือสถานการณ์ที่ก�ำหนดให้ แล้วสะท้อนออกมาเป็นความสามารถด้าน
การอ่าน 3 ด้าน คือ การเข้าถึงและค้นคืนสาระ (Access and Retrieve) การบูรณาการและ
ตคี วาม (Integrate and Interpret) และการสะทอ้ นและประเมนิ (Reflect and Evaluate)
2.2 กรอบการประเมินการรู้เร่ืองคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) PISA
เนน้ การประเมนิ การนำ� ความรคู้ ณติ ศาสตรท์ ไี่ ดเ้ รยี นมาประยกุ ตใ์ ชแ้ กป้ ญั หาในสถานการณต์ า่ ง ๆ
ในบรบิ ทของชวี ติ จรงิ กำ� หนดกรอบ การประเมนิ การรเู้ รอ่ื งคณติ ศาสตร์ 3 สว่ น ไดแ้ ก่ สถานการณ์
หรือบริบท (Context) เน้ือหาคณิตศาสตร์ (Content) และกระบวนการทางคณิตศาสตร์
(Process) โดย
สถานการณห์ รอื บรบิ ท เปน็ เรอ่ื งราวหรอื เหตกุ ารณท์ อี่ าจพบเจอหรอื เกดิ ขนึ้ ไดใ้ น
การด�ำเนินชีวิตและมีปัญหาคณิตศาสตร์เกี่ยวข้องอยู่ ซ่ึง PISA จัดสถานการณ์หรือบริบท
คณติ ศาสตรเ์ ปน็ 4 กลมุ่ ไดแ้ ก่ บรบิ ทสว่ นตวั (Personal) บรบิ ททางการงานอาชพี (Occupational)
บริบททางสงั คม (Societal) และบรบิ ททางวทิ ยาศาสตร์ (Scientific)
เนื้อหาคณิตศาสตร์ เป็นความรู้คณิตศาสตร์ต่าง ๆ ท้ังความคิดรวบยอด กฎ
ทฤษฎี หลักการ กระบวนการ บทนิยาม สูตร หรือโครงสร้างอ่ืน ๆ ทางคณิตศาสตร์ที่จะน�ำมา
ประยุกต์ใช้เม่ือเจอสถานการณ์ในชีวิตจริง ซึ่ง PISA แบ่งเน้ือหาคณิตศาสตร์ เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่
การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์ (Change and Relationships) ปริภูมิและรูปทรง (Space
and Shape) ปริมาณ (Quantity) และความไม่แนน่ อนและขอ้ มลู (Uncertainty and Data)
50 ปที ี่ 21 ฉบบั ท่ี 4 : ตลุ าคม - ธนั วาคม 2561
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ เปน็ วธิ กี ารหรอื ขน้ั ตอนการใชค้ ณติ ศาสตรเ์ พอื่ เปน็
เคร่ืองมือในการแก้ปัญหาในชีวิตจริงของแต่ละคน โดยในกระบวนการแก้ปัญหาเริ่มจากการมอง
หาคณติ ศาสตรท์ มี่ คี วามเกย่ี วขอ้ งกบั สถานการณป์ ญั หานนั้ แลว้ แปลงปญั หาในสถานการณใ์ หเ้ ปน็
ปัญหาคณิตศาสตร์ เรียกว่า กระบวนการคิดสถานการณ์ของปัญหาในเชิงคณิตศาสตร์ แล้วจึงใช้
โครงสรา้ งความร้ทู างคณติ ศาสตรน์ ้นั แกป้ ญั หา เรียกว่า กระบวนการใชห้ ลกั การและกระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหา เมื่อได้ค�ำตอบซ่ึงเป็นค�ำตอบของปัญหาคณิตศาสตร์ ต้องการ
ประเมินว่า ค�ำตอบน้ันมีความสมเหตุสมผลและสามารถไปใช้ตอบปัญหาในชีวิตจริงได้หรือไม่
เรยี กวา่ กระบวนการตีความและประเมินผลลพั ธ์ทางคณติ ศาสตร์
2.3 กรอบการประเมินการรู้เรื่องวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Literacy) PISA ใหค้ วาม
ส�ำคัญกับการประเมินว่า นักเรียนรู้เรื่องวิทยาศาสตร์และพร้อมท่ีจะใช้ความรู้วิทยาศาสตร์
ในสถานการณ์ที่พบเจอได้หรือไม่ อย่างไร กรอบการประเมินการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ ครอบคลุม
4 องค์ประกอบ ได้แก่ บริบทและสถานการณ์ของวิทยาศาสตร์ สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์
ความร้ทู างวิทยาศาสตร์ และเจตคตติ อ่ วิทยาศาสตร์ โดย
บรบิ ทและสถานการณ์ เปน็ เหตกุ ารณ์ เรอื่ งราว หรอื สถานการณใ์ นชวี ติ ประจำ� วนั
ท่ีเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ ได้แก่ เร่ืองราวของสุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ สุขภาพแวดล้อม
อนั ตรายหรอื พษิ ภยั ตา่ ง ๆ รวมทง้ั ความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ทเี่ กดิ ขนึ้ ทง้ั ระดบั
ส่วนตวั ระดบั ทอ้ งถิน่ /ระดบั ชาติ และระดบั โลก
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เป็นความรูค้ วามเข้าใจในข้อเทจ็ จริง แนวคดิ หลัก และ
ทฤษฎีส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย ความรู้เก่ียวกับธรรมชาติ
ได้แก่ ความรู้เก่ียวกับระบบทางกายภาพ ส่ิงมีชีวิต โลกและอวกาศ และเทคโนโลยี และความรู้
เก่ียวกบั วิทยาศาสตร์ เปน็ ความรู้เชิงกระบวนการท่ใี ช้ในการแสวงหาความรทู้ างวิทยาศาสตรแ์ ละ
การอธิบายเชงิ วิทยาศาสตร์
สมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ เป็นความสามารถในการใช้ความรทู้ างวิทยาศาสตร์
3 ลกั ษณะ คอื ใชอ้ ธบิ ายปรากฏการณใ์ นเชงิ วทิ ยาศาสตร์ ใชป้ ระเมนิ และออกแบบกระบวนการสบื เสาะ
หาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ และใช้แปลความหมายขอ้ มลู และเชิงประจกั ษ์พยานเชิงวทิ ยาศาสตร์
เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ เป็นการแสดงการตอบสนองต่อวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีด้วยความสนใจ ให้ความส�ำคัญกับกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
และรับรแู้ ละตระหนกั ถึงปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม
ปที ี่ 21 ฉบับที่ 4 : ตลุ าคม - ธันวาคม 2561 51
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
เครือ่ งมอื ประเมนิ ของ PISA
PISA ใชเ้ คร่อื งมือประเมินทีเ่ รียกว่า “แบบทดสอบ” (Test) ท่คี รอบคลุมกรอบโครงสรา้ ง
การประเมินแต่ละด้าน มีลักษณะเป็นแบบทดสอบอิงสถานการณ์ การท�ำแบบทดสอบนักเรียน
จะไดอ้ า่ นสถานการณอ์ ยา่ งหลากหลาย 1 สถานการณ์ ประกอบดว้ ยขอ้ คำ� ถามทกี่ ระตนุ้ ใหน้ กั เรยี น
ใช้ความรู้และทักษะท่ีมีแก้ปัญหาเพ่ือหาค�ำตอบแบบทดสอบของ PISA ต้องการให้นักเรียนแสดง
ค�ำตอบของข้อค�ำถาม 4 ลักษณะ คือ แบบเลือกค�ำตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว แบบเลือกตอบ
เชงิ ซ้อน แบบเขยี นตอบแบบปดิ และแบบเขียนตอบอสิ ระ
ตวั อยา่ งแบบทดสอบดา้ นการรเู้ รอื่ งการอา่ น
ทีม่ า : ตัวอยา่ งขอ้ สอบประเมนิ ผลนกั เรียนนานาชาติ : การอา่ น (2560 : 88)
“ตึกสูง” เป็นบทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่อยู่ในนิตยสารของนอร์เวย์ เม่ือปี ค.ศ. 2006
เปน็ บทความทจี่ ดั อยใู่ นสถานการณห์ รอื บรบิ ทดา้ น “การอา่ นเพอื่ การศกึ ษา” เพราะนำ� เสนอขอ้ มลู
เพอื่ ใหค้ วามรหู้ รอื สารสนเทศเกยี่ วกบั “จำ� นวนตกึ ทส่ี งู 30 ชน้ั ขนึ้ ไปในเมอื งตา่ ง ๆ” และ “ชอื่ ตกึ ”
ท่ีมคี วามสูงมากทีส่ ุดบางตึก ในลักษณะของสือ่ ตพี มิ พ์ สำ� นวนภาษาเป็นการอธิบายประกอบภาพ
แบบไม่ต่อเน่อื ง
52 ปีท่ี 21 ฉบับท่ี 4 : ตลุ าคม - ธนั วาคม 2561
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
คำ� ถามท่ี 1 ขณะท่บี ทความนีต้ ีพิมพ์ในนิตยสาร ตึกใดในรูปที่ 2 สร้างเสรจ็ แล้วและสูงที่สดุ
ค�ำถามท่ี 1 ต้องการให้นักเรียนใช้ความสามารถด้านการอ่าน อ่านเพ่ือหา “ข้อมูลหรือ
ข้อความ” ในบทอ่านท่ีสอดคล้องกับ “ข้อมูลหรือข้อความ” ท่ีข้อค�ำถามต้องการ เมื่อได้ข้อมูล
ท่ีต้องการให้นักเรียนพิมพ์ค�ำตอบลงในช่องว่างท่ีก�ำหนด การหาค�ำตอบนักเรียนต้องใช้วิธีการ
หรือกลยุทธ์การอ่านเพื่อค้นหาสาระส�ำคัญ คือ ตึกที่มีความสูงที่สุดและสร้างเสร็จแล้วขณะท่ี
นิตยสารตีพิมพ์ ค�ำถามท่ี 1 จึงเป็นค�ำถามท่ีต้องการประเมินความสามารถด้าน “การเข้าถึง
และค้นคนื สาระ” และต้องการการตอบแบบ “เขียนตอบแบบปดิ ” คือ หอคอยซีเอน็ ทาวเวอร์
ค�ำถามท่ี 2 รูปที่ 1 ใหข้ อ้ มูลอะไร
1. การเปรียบเทียบความสงู ของตึกตา่ ง ๆ
2. จ�ำนวนตึกทงั้ หมดในเมอื งตา่ ง ๆ
3. จ�ำนวนตึกที่มคี วามสงู มากกว่าความสงู ระดบั หน่ึงของเมอื งตา่ ง ๆ
4. ข้อมูลเกีย่ วกบั รูปแบบของตกึ ในเมอื งต่าง ๆ
ค�ำถามที่ 2 ต้องการให้นักเรียนอ่านและการสร้างความเข้าใจในภาพรวมของข้อมูล
หรอื สารสนเทศของรูปท่ี 1 กระบวนการหาคำ� ตอบนักเรียนตอ้ งอ่านเชิงวิเคราะห์ สรุป และสร้าง
ข้อสรุปที่ครอบคลุมสาระท้ังหมดของรูปท่ี 1 แล้วเปรียบเทียบข้อสรุปของนักเรียนกับตัวเลือก
ที่ก�ำหนดเพื่อเลือกข้อความท่ีมีความหมายสอดคล้องกันมากท่ีสุด ดังนั้น ค�ำถามท่ี 2 ต้องการ
ประเมนิ ความสามารถดา้ น “การบรู ณาการและตคี วาม” และตอ้ งการการตอบแบบ “เลอื กคำ� ตอบ
ทถ่ี ูกตอ้ ง” คอื ขอ้ 3
ปที ี่ 21 ฉบบั ท่ี 4 : ตลุ าคม - ธันวาคม 2561 53
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
ค�ำถามท่ี 3 ตึกเรดิสัน SAS พลาซา่ ในเมอื งออสโล ประเทศนอร์เวย์ สงู เพยี ง 117 เมตร
ทำ� ไมจงึ น�ำตกึ นีม้ าใส่ในรูปท่ี 2
คำ� ถามท่ี 3 ต้องการประเมนิ ความสามารถด้าน “การสะทอ้ นและประเมนิ ” กระบวนการ
หาคำ� ตอบนกั เรยี นตอ้ งวเิ คราะหข์ อ้ เทจ็ จรงิ ทป่ี รากฏในบทอา่ นและขอ้ คำ� ถามเพอ่ื สรา้ งขอ้ สรปุ ตาม
ความเขา้ ใจของนกั เรยี นและส่ือสารข้อสรปุ เปน็ คำ� ตอบ ตัวอยา่ งการวิเคราะห์
ข้อเทจ็ จริงท่ีได้จากบทอา่ น คอื
- “ตึกสูง”เปน็ บทความทตี่ พี ิมพ์ในนิตยสารของประเทศนอรเ์ วย์
- ชือ่ ตกึ ทปี่ รากฏในรปู ที่ 2 ของบทอา่ นตึกเป็นตกึ ทมี่ คี วามสงู ทสี่ ุดในโลก
- “ตึกเรดสิ นั SAS พลาซ่า” สูงเพยี ง 117 เมตร แตอ่ ยูใ่ นรปู ที่ 2
- “ตึกเรดสิ นั SAS พลาซ่า” อยู่ในเมืองออสโล ประเทศนอรเ์ วย์
บทวิเคราะห์ คือ เนื่องจากนิตยสารที่ตีพิมพ์บทความ “ตึกสูง” เป็นของประเทศนอร์เวย์
แสดงว่าผู้อ่านนิตยสารน้ีส่วนใหญ่จึงเป็นชาวนอร์เวย์ ดังนั้น ถึงแม้ “ตึกเรดิสัน SAS พลาซ่า”
จะไมใ่ ชต่ กึ ทม่ี คี วามสงู ทสี่ ดุ ในโลกขณะทนี่ ติ ยสารนตี้ พี มิ พ์ แตเ่ พอื่ ใหช้ าวนอรเ์ วยร์ บั รวู้ า่ ในประเทศ
ของตนตกึ ทมี่ คี วามสงู มากทส่ี ดุ สงู เทา่ ไร ดงั นน้ั ในการตอบนกั เรยี นตอ้ งใชค้ วามสามารถในการอา่ น
เชิงวิเคราะห์และเสนอแนวคิดของนักเรียนเกี่ยวกับบทอ่าน โดยใช้ข้อเท็จจริงในบทอ่านเป็น
ข้อมูลอ้างอิง ค�ำตอบที่ได้คะแนนเต็ม คือ ค�ำตอบท่ีอ้างอิงถึงข้อเท็จจริงเพราะเป็นนิตยสารของ
ประเทศนอร์เวย์ รูปแบบค�ำตอบที่ต้องการ คือ การเขียนตอบอิสระตามข้อมูลที่นักเรียนสรุปได้
เชน่ เพราะเป็นนิตยสารของประเทศนอร์เวย์ คนอา่ นนติ ยสารเปน็ คนนอรเ์ วย์ เปน็ ตน้
ตัวอย่างแบบทดสอบด้านการรเู้ ร่อื งคณติ ศาสตร์
ท่มี า : ตวั อย่างข้อสอบคณติ ศาสตร์ PISA 2012 (2560 : 56)
54 ปีที่ 21 ฉบบั ท่ี 4 : ตุลาคม - ธนั วาคม 2561
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
ค�ำถาม เส้นทางเดินโกเทมบะ เป็นทางเดินขึ้นภูเขาฟูจิ มีระยะทางประมาณ
9 กโิ ลเมตร การเดินขึ้นภเู ขาไปและกลับคดิ เป็นระยะทาง 18 กม. โดยต้องกลบั มาถึงก่อน
เวลา 20.00 น. โตชคิ าดวา่ เขาสามารถเดนิ ขึน้ ภเู ขาได้ในอัตราเร็ว 1.5 กิโลเมตร ตอ่ ชั่วโมง
และเดนิ ลงดว้ ยอตั ราเร็วเป็นสองเทา่ ทอ่ี ตั ราเร็วนี้รวมเวลาพักรับประทานอาหารและหยุด
พกั แล้ว
จงใชอ้ ตั ราเรว็ เฉลยี่ ทโ่ี ตชปิ ระมาณไว้ เพอื่ หาวา่ เขาควรเรม่ิ ออกเดนิ ทางอยา่ งชา้ ทสี่ ดุ
ในเวลาใด เพอ่ื จะกลับมาใหท้ นั เวลา 20.00 น.
โครงสรา้ งตามกรอบการประเมนิ การรเู้ รอื่ งคณติ ศาสตรข์ องขอ้ สอบ คอื เปน็ บรบิ ททางสงั คม
เนื้อหาหรือความรู้ทางคณิตศาสตร์เก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์ (ความสัมพันธ์
ระหวา่ งระยะทางกบั เวลา) เจตนาของคำ� ถามตอ้ งการใหห้ าเวลาเดนิ ทางรวมจากอตั ราเรว็ สองอตั รา
ที่แตกต่างกันและใช้เวลารวมวางแผนการเดินทางให้สอดคล้องกับเงื่อนไขเวลาที่ก�ำหนด
เป็นข้อสอบท่ีใช้ในการประเมินกระบวนการคิดสถานการณ์ของปัญหาในเชิงคณิตศาสตร์
และให้เขยี นค�ำตอบแบบอสิ ระ
กระบวนการหาคำ� ตอบของนกั เรยี นขนึ้ อยกู่ บั ความสามารถของนกั เรยี นในการทจี่ ะมองเหน็
วา่ จะใชค้ วามรู้ แนวคดิ หลกั การหรอื วธิ ที างคณติ ศาสตรเ์ รอ่ื งใดมาใชใ้ นการแกป้ ญั หา และจะทำ� ให้
ปัญหาในข้อสอบเป็นปัญหาทางคณิตศาสตร์เพื่อให้ง่ายต่อการแก้ปัญหาได้อย่างไร ดังนั้น ในการ
ทำ� ขอ้ สอบนกั เรยี นตอ้ งใชก้ ระบวนการอา่ นเพอ่ื ทำ� ความเขา้ ใจสถานการณข์ องปญั หาและแปลงหรอื
จ�ำลองสถานการณใ์ ห้อยู่ในรปู ทีเ่ ขา้ ใจได้ง่ายตามแบบทีถ่ นัด เชน่ การจ�ำลองให้เปน็ ภาพ ดงั รปู
ขาขึ้นด้วยอัตราเรว็ 1.5 กโิ ลเมตรตอ่ ชั่วโมง
เชิงเขา เส้นทางโกเทมบะ 9 กโิ ลเมตร ยอดเขา
ขากลบั ดว้ ยอัตราเร็วสองเทา่ ของขาขน้ึ
จากรูปสามารถต้ังค�ำถามเชิงคณิตศาสตร์ที่สามารถน�ำไปสู่การหาค�ำตอบของปัญหา
ในสถานการณ์ เช่น โตชิ ใช้เวลาในการเดินทางไป-กลับกี่ช่ัวโมง และเพื่อให้กลับมาถึงเชิงเขา
ในเวลา 20.00 น. เขาต้องเร่มิ เดินทางจากเชิงเขาในเวลาใด
ปีท่ี 21 ฉบบั ที่ 4 : ตุลาคม - ธันวาคม 2561 55
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
การหาคำ� ตอบ นกั เรยี นตอ้ งเขา้ ใจความหมายของอตั ราเรว็ สองอตั ราทปี่ รากฏในสถานการณ์
คือ 1.5 กิโลเมตรต่อช่ัวโมง หมายถึง “1 ชั่วโมงเดินทางได้ 1.5 กิโลเมตร” และอัตราที่สอง
ซึ่งมีความสัมพันธ์กับอัตราที่หน่ึง คือ สองเท่าของอัตราท่ีหน่ึง หมายถึง “1 ช่ัวโมงเดินทางได้
3 กิโลเมตร” แล้วหาจ�ำนวนช่ัวโมง ที่ใช้ในการเดินทางไปและกลับ ซึ่งระยะทาง 9 กิโลเมตร
ขาขึ้นใช้เวลาเดินทาง 6 ชั่วโมง และขากลับใช้เวลาเดินทาง 3 ชั่วโมง รวมเวลาไปและกลับ
9 ชัว่ โมง ดังนน้ั เพ่ือให้กลับมาถงึ เชิงเขาในเวลา 20.00 น. เขาต้องเร่ิมเดนิ ทางจากเชิงเขาอยา่ งชา้
เวลา 11.00 น.
กระบวนการหาค�ำตอบของข้อสอบน้ี นักเรียนแต่ละคนอาจมีวิธีคิดหรือใช้เน้ือหาความรู้
คณติ ศาสตรต์ า่ งกนั แตส่ ดุ ทา้ ยนกั เรยี นจะไดค้ ำ� ตอบเดยี วกนั ลกั ษณะของขอ้ สอบเชน่ นเี้ ปน็ ขอ้ สอบ
ท่ีใช้ในการประเมินกระบวนการคิดสถานการณ์ของปัญหาเชิงคณิตศาสตร์ ไม่เจาะจงว่านักเรียน
ต้องใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เร่ืองใดในการแก้ปัญหา แต่ข้ึนอยู่กับว่านักเรียนสามารถมองเห็น
หรอื นำ� คณติ ศาสตร์เรอ่ื งใดมาประยกุ ต์ใช้ในการแก้ปญั หาในสถานการณ์นั้น ๆ ได้
ตวั อย่างแบบทดสอบดา้ นการรเู้ รอ่ื งวิทยาศาสตร์
ทีม่ า : ตัวอย่างขอ้ สอบการประเมินนานาชาติ PISA และ TIMSS (2560 : 74)
56 ปที ี่ 21 ฉบับท่ี 4 : ตลุ าคม - ธันวาคม 2561
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
ววิ ัฒนาการ “PISA” ใช้เปน็ บทอ่านเพ่อื ประเมินความสามารถดา้ นการร้เู รื่องวิทยาศาสตร์
มีลักษณะข้อสอบตามกรอบโครงสร้างการประเมินการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ คือ สถานการณ์เก่ียว
กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยใี นบรบิ ทระดบั โลกเกีย่ วกับการสูญพนั ธข์ุ องสงิ่ มีชีวิต
คำ� ถามท่ี 1 ข้อสนเทศใดในตารางที่แสดงว่า ม้าในยุคปัจจุบันมีวิวัฒนาการมาจาก
ซากฟอสซิลทงั้ สามชนดิ ในตาราง จงอธบิ าย
โครงสร้างข้อสอบตามกรอบโครงสร้างการประเมิน คือ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ด้าน
กระบวนการ สืบเสาะหาความรู้เชิงวิทยาศาสตร์ เจตนาของค�ำถามต้องการให้นักเรียนศึกษา
ความสมั พนั ธด์ ว้ ยการแปลความตคี วามจากหลกั ฐานทางวทิ ยาศาสตรท์ ป่ี รากฏ (ขอ้ มลู จากตาราง)
และสร้างข้อสรุปโดยอ้างอิงจากหลักฐานทางวิทยาศาสตร์คือรูปภาพ เพ่ือตอบค�ำถามทาง
วิทยาศาสตร์ จึงจัดเป็นข้อสอบที่ประเมินสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ด้านการใช้ความรู้แปล
ความหมายขอ้ มลู และเชงิ ประจกั ษพ์ ยานเชิงวทิ ยาศาสตร์ คำ� ตอบทไี่ ด้คะแนน คือ คำ� ตอบที่มีการ
อ้างอิงการเปลย่ี นแปลงของโครงกระดกู ขาของม้า เช่น กระดูกขายาวขน้ึ กีบเท้ามา้ เปล่ยี นแปลง
จำ� นวนนิ้วเทา้ ม้าลดลง และความรูด้ า้ นเนื้อหาเกีย่ วกับการศกึ ษาทฤษฎวี ิวฒั นาการของสิ่งมีชีวติ
ค�ำถามที่ 2 นกั วทิ ยาศาสตรส์ ามารถทำ� วจิ ยั ตอ่ ในเรอื่ งใดเพอ่ื หาวา่ มา้ มวี วิ ฒั นาการมา
อย่างไร ในช่วงเวลาท่ีผ่านมา จงคลิก “ใช่” หรือ “ไม่ใช่” ในแต่ละข้อ
งานวิจัยนี้จะช่วยให้ค้นพบได้ว่า ม้ามีวิวัฒนาการมาอย่างไรในช่วงเวลา
ท่ผี ่านมา ใชห่ รือไม่
ก. เปรียบเทยี บจ�ำนวนของมา้ ทีม่ ชี วี ติ อยู่ในช่วงเวลาทต่ี า่ งกนั
❑ ใช่ ❑ ไม่ใช่
ข. ค้นหาโครงกระดูกของบรรพบุรษุ ม้าท่มี ชี วี ติ ในช่วง 50 - 40 ล้านปีกอ่ น
❑ ใช ่ ❑ ไมใ่ ช่
โครงสร้างข้อสอบตามกรอบโครงสร้างการประเมิน คือ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ด้าน
กระบวนการสบื เสาะหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตรเ์ กย่ี วกบั การตง้ั คำ� ถามเพอื่ คน้ หาหรอื สบื คน้ ขอ้ มลู
ที่ต้องการ ดังน้ัน ค�ำถามต้องการประเมินความสามารถด้านการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
ปที ี่ 21 ฉบบั ที่ 4 : ตุลาคม - ธนั วาคม 2561 57
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
เพื่อประเมินและออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ การเลือกค�ำตอบ
นักเรียนต้องใช้ความรู้เก่ียวกับลักษณะของการตั้งค�ำถามทางวิทยาศาสตร์มาพิจารณาว่าตัวเลือก
ทง้ั 2 ขอ้ สามารถหาคำ� ตอบไดด้ ว้ ยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรห์ รอื ไม่ รปู แบบคำ� ตอบทตี่ อ้ งการ
คอื การเลอื กตอบแบบเชงิ ซอ้ น คือ ต้องตอบทงั้ 2 ขอ้ (ก.และ ข.) วา่ ใชห่ รอื ไม่ใช่
คำ� ถามที่ 3 ข้อความใดต่อไปนท้ี ่ีน�ำมาประยกุ ต์ใชไ้ ดด้ ที ่สี ุดกบั ทฤษฎีวิวัฒนาการ
ก. ทฤษฎีไมส่ ามารถเช่ือถอื ได้ เพราะเปน็ ไปไม่ได้ทส่ี ามารถเหน็ การเปล่ยี นแปลงของสปชี สี ์
ข. ทฤษฎวี ิวฒั นาการของสัตว์เปน็ ไปได้ แตไ่ มส่ ามารถนำ� มาประยุกต์ใชก้ ับมนษุ ยไ์ ด้
ค. ววิ ัฒนาการเปน็ ทฤษฎวี ทิ ยาศาสตรท์ ีป่ ัจจุบนั ตั้งอยู่บนพนื้ ฐานของประจกั ษพ์ ยานท่มี ากพอ
ง. ววิ ัฒนาการเปน็ ทฤษฎที ่ีไดร้ ับการพสิ ูจนแ์ ล้ววา่ ถกู ต้องโดยการทดลองทางวทิ ยาศาสตร์
โครงสรา้ งขอ้ สอบตามกรอบโครงสรา้ งการประเมนิ คอื ความรทู้ างวทิ ยาศาสตรด์ า้ นเนอ้ื หา
เพอื่ อธบิ ายปรากฏการณใ์ นเชงิ วทิ ยาศาสตร์ ในการทำ� ขอ้ สอบนกั เรยี นตอ้ งรแู้ ละเขา้ ใจแนวคดิ ของ
ทฤษฎีวิวัฒนาการและใช้เพ่ือการอ้างอิงในการเลือกค�ำตอบที่มีความสอดคล้องกับทฤษฎี
ววิ ฒั นาการมากทสี่ ดุ รปู แบบค�ำตอบท่ตี ้องการ คอื การเลอื กตอบแบบธรรมดา
ผลการประเมิน PISA กบั คุณภาพนักเรยี นไทย
PISA รายงานผลการประเมนิ ใน 2 ลกั ษณะ คอื รายงานผลเปน็ คา่ เฉลยี่ ของแตล่ ะประเทศ
เปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยนานาชาติซ่ึงเป็นคะแนนมาตรฐาน และรายงานตามระดับความสามารถ
(การรู้เร่ือง) PISA 2015 แบ่งระดับความสามารถด้านการรู้เรื่องการอ่าน และวิทยาศาสตร์
เป็น 7 ระดับ จากต่�ำสุด คือ ระดับ 1b จนถึงสูงสุด คือระดับ 6 และแบ่งระดับความสามารถ
ด้านการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ เป็น 6 ระดับ จากต่�ำสุด คือ ระดับ 1 จนถึงสูงสุด คือระดับ 6
ท้ังการอา่ น วทิ ยาศาสตร์ และคณติ ศาสตร์ ถือว่าระดับ 2 เป็นระดบั พื้นฐานคณุ ภาพของนกั เรยี น
ในระดับพ้ืนฐาน คือ นักเรียนเริ่มแสดงว่ารู้และพอจะใช้ประโยชน์จากความรู้ได้ ระดับ 3
และ 4 เปน็ ระดบั ปานกลาง ระดบั 5 ขน้ึ ไป เปน็ ระดบั สงู ตงั้ แต่ PISA 2000 - 2015 ประเทศไทย
มีผลการประเมนิ ดังนี้
1. ผลการประเมนิ เปรยี บเทียบกบั ค่าเฉลย่ี นานาชาติ ตัง้ แต่ PISA 2000 - 2015 ปรากฏ
ดังตารางที่ 1
58 ปีที่ 21 ฉบบั ท่ี 4 : ตลุ าคม - ธนั วาคม 2561
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
ตารางที่ 1 คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนไทยเปรียบเทียบกับค่าเฉล่ียนานาชาติ ตั้งแต่
PISA 2000 - 2015
รอบการประเมิน การอ่าน คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์
PISA 2000
PISA 2003 คะแนนเฉล่ยี (OECD) คะแนนเฉลีย่ (OECD) คะแนนเฉล่ยี (OECD)
PISA 2006
PISA 2009 431* (500) 433 (500) 436 (500)
PISA 2012 420 (500) 417* (500) 429 (500)
PISA 2015 417 (492) 417 (500) 421* (500)
421* (493) 419 (496) 425 (501)
441 (493) 427* (494) 444 (493)
409 (493) 415 (490) 421* (493)
* หมายถึง ด้านทเ่ี ปน็ จดุ เนน้ ในการประเมนิ ในรอบการประเมนิ น้นั ๆ
ตารางท่ี 1 คะแนนผลการสอบตง้ั แต่ PISA 2000 – PISA 2015 ของนกั เรยี นตำ่� กวา่ คะแนน
เฉลี่ยนานาชาติ และมีคะแนนห่างกันค่อนข้างมาก ซ่ึงคะแนนที่แตกต่างกันนี้ PISA แสดงถึง
จ�ำนวนปีของการจดั การศึกษาท่ีแตกต่างกนั เช่น
PISA 2009 เน้นการประเมินผลนักเรียนด้านการรู้เร่ืองการอ่าน วิเคราะห์ความแตกต่าง
ของคะแนนเฉลยี่ นกั เรยี นไทย (421) กบั คะแนนเฉลย่ี OECD (493) จะพบวา่ ตา่ งกนั ถงึ 72 คะแนน
PISA ประมาณวา่ คะแนนต่างกัน 42 คะแนน เทยี บกบั เวลาเรยี นในโรงเรยี นตา่ งกันประมาณ 1 ปี
หมายความว่า การจดั การศกึ ษาของไทยตามหลงั ประเทศอนื่ ๆ เกือบ 2 ปี
PISA 2012 เนน้ การประเมนิ ผลนกั เรยี นดา้ นการรเู้ รอื่ งคณติ ศาสตร์ วเิ คราะหค์ วามแตกตา่ ง
ของคะแนนเฉลี่ยนักเรียนไทย (427) กับคะแนนเฉล่ีย OECD (494) จะพบว่าต่างกันถึง 67
คะแนน PISA ประมาณว่า คะแนนตา่ งกนั 41 คะแนน เทียบกบั เวลาเรยี นในโรงเรยี นตา่ งกัน 1 ปี
หมายความวา่ การจดั การศกึ ษาของไทยตามหลงั ประเทศอน่ื ๆ เกอื บ 2 ปี เชน่ เดยี วกบั PISA 2009
PISA 2015 เน้นการประเมินผลนักเรียนด้านการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์ความ
แตกต่างของคะแนนนักเรียนไทย (421) กับคะแนนเฉลี่ย OECD (493) จะพบว่าต่างกันถึง
72 คะแนน PISA ประเมินว่าคะแนนต่างกัน 35 คะแนน เทียบกับเวลาเรียนในโรงเรียนต่างกัน
1 ปี หมายความว่า การจัดการศึกษาของไทยตามหลงั ประเทศอนื่ ๆ มากกวา่ 2 ปี
2. รายงานผลตามระดบั ความสามารถ (การรเู้ รอื่ ง) ซงึ่ PISA 2015 กำ� หนดคะแนนตำ่� สดุ
ของแต่ละด้านการประเมนิ ดงั ตารางที่ 2
ปที ี่ 21 ฉบบั ที่ 4 : ตลุ าคม - ธนั วาคม 2561 59
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
ตารางที่ 2 คะแนนตำ่� สดุ ของแตล่ ะระดับในแต่ละดา้ นการประเมิน PISA 2015
การรเู้ รอื่ ง คะแนนตำ�่ สุดทร่ี ะดับ นกั เรยี นไทย OECD
1b 1a 2 3 4 5 6
การอ่าน 262 335 407 482 553 626 689 409 493
คณติ ศาสตร์ - 358 420 482 545 607 669 415 494
วทิ ยาศาสตร์ 261 335 410 484 559 633 708 421 493
เมอ่ื วเิ คราะหร์ ะดบั ความสามารถของนกั เรยี นไทยและ OECD ใน PISA 2015 แตล่ ะดา้ นพบวา่
ความสามารถด้านการรู้เรื่องการอ่านของ OECD อยู่ในระดับ 3 หรือระดับปานกลาง
นักเรียนไทยอยู่ในระดับ 2 หรือระดับพื้นฐาน ต่างกัน 1 ระดับ PISA 2015 อธิบายลักษณะ
ความสามารถด้านการอ่านท่ีระดับ 2 ว่า นักเรียนต้องสามารถดึงสาระหน่ึงหรือสองอย่างภายใต้
เงอ่ื นไขทีก่ ำ� หนดหลายเง่ือนไข เขา้ ใจแนวคิดใหญข่ องเนื้อหา เขา้ ใจความสัมพันธ์และความหมาย
ของส่วนท่ีก�ำหนดให้ในเนื้อเร่ืองท่ีไม่ได้แสดงไว้อย่างเด่นชัด เปรียบเทียบหรือบอกความแตกต่าง
เพยี งอยา่ งเดยี ว เปรยี บเทยี บหรอื นำ� ความรทู้ ว่ั ไปจากภายนอกมาสรา้ งการเชอื่ มโยงกบั สง่ิ ทไ่ี ดอ้ า่ น
ในเรือ่ งแล้วสะทอ้ นออกมาเปน็ แนวคิดของตนเองได้
ความสามารถด้านการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ OECD อยู่ในระดับ 3 หรือระดับปานกลาง
และนักเรียนไทยอยู่ในระดับ 1 ซ่ึงต่�ำกว่าระดับพื้นฐาน ต่างกัน 2 ระดับ แสดงว่านักเรียนไทยมี
ความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์ในระดับต่�ำ คือ สามารถตอบค�ำถามท่ี
เกยี่ วขอ้ งในบรบิ ททเ่ี คยพบหรอื คนุ้ เคย มขี อ้ มลู ใหอ้ ยา่ งชดั เจน และคำ� ถามตรง ๆ สามารถทำ� โจทย์
แบบที่คุ้นเคย มีวิธีการท�ำหรือสถานการณ์ก�ำหนดให้ชัดเจน หรือสามารถท�ำโจทย์ตามตัวอย่างที่
กำ� หนดใหไ้ ดเ้ ท่านนั้
ความสามารถด้านการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ OECD อยู่ในระดับ 3 หรือระดับปานกลาง
และนักเรยี นไทยอยใู่ นระดับ 2 หรือระดับพ้นื ฐาน ตา่ งกนั 1 ระดับ PISA 2015 อธิบายลกั ษณะ
ความสามารถดา้ นการเรยี นรเู้ รอื่ งวทิ ยาศาสตรท์ รี่ ะดบั 2 วา่ นกั เรยี นสามารถดงึ เอาความรดู้ า้ นเนอ้ื หา
จากชีวิตประจ�ำวันและความรู้ด้านกระบวนการพื้นฐานมาใช้เพ่ือสร้างค�ำอธิบายทางวิทยาศาสตร์
ตีความข้อมูล และต้ังปัญหาของเรื่อง เพื่อออกแบบการทดลองอย่างง่ายได้ สามารถใช้ความรู้
ทางวิทยาศาสตร์ท่ัวไปเพื่อบอกข้อสรุปจากข้อมูลชุดที่ไม่ซับซ้อน มีความรู้เกี่ยวกับการได้มา
ของความรู้หรือวธิ หี าความร้เู พื่อระบปุ ัญหาท่ีสามารถตรวจสอบไดโ้ ดยวิธที างวิทยาศาสตร์ได้
60 ปที ี่ 21 ฉบบั ที่ 4 : ตลุ าคม - ธันวาคม 2561
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
จากผลการประเมินที่ปรากฏ ถ้าพิจารณาด้วยการเปรียบเทียบและแปลความหมายของ
คะแนนเฉลี่ยจะเห็นว่า คุณภาพการจัดการศึกษาของไทยมีความแตกต่างกับ OECD ค่อนข้างสูง
แตถ่ ้าพจิ ารณาจากระดบั คณุ ภาพของนักเรยี นที่เข้าสอบ พบว่า นกั เรียนไทยส่วนใหญแ่ สดงความ
สามารถอยู่ในระดับพื้นฐาน ขณะที่นักเรียน OECD แสดงความสามารถอยู่ในระดับปานกลาง
เมือ่ สะทอ้ นผลการประเมินกลบั ไปทีว่ ตั ถุประสงคข์ องการประเมิน นักเรียนไทยส่วนใหญส่ ามารถ
ประยุกต์ความรู้เพื่อการแก้ปัญหาในชีวิตจริงได้ในขั้นพื้นฐาน ในขณะที่นักเรียน OECD สามารถ
ประยุกต์ความรู้เพื่อการแก้ปัญหาในชีวิตจริงได้ในระดับปานกลาง นอกจากนี้ การรายงานผล
ตามระดับความสามารถของนักเรียนยังสะท้อนให้เห็นถึงกระบวนการพัฒนานักเรียนในระดับ
สถานศกึ ษา โดยเฉพาะการพฒั นาดา้ นคณิตศาสตร์ซ่ึงจากลกั ษณะของความสามารถของนกั เรยี น
ตามผลการสอบ PISA ท�ำให้มองเห็นภาพของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียนอย่างชัดเจน
คอื การทค่ี รอู ธบิ าย ใหต้ วั อยา่ งและใหน้ กั เรยี นทำ� แบบฝกึ หดั ทมี่ ลี กั ษณะตามตวั อยา่ ง ทำ� ใหน้ กั เรยี น
ขาดทักษะในการเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิตประจ�ำวัน ผลการ
ประเมินของนักเรียนจึงอยู่เพียงระดับ 1 คือ สามารถท�ำโจทย์ท่ีมีลักษณะตามตัวอย่างที่นักเรียน
คุ้นเคยและไมซ่ ับซอ้ นตอ่ การแก้ปญั หาเทา่ นั้น
ปีที่ 21 ฉบับท่ี 4 : ตลุ าคม - ธนั วาคม 2561 61
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
PISA ถึงแม้จะประเมินกับนักเรียนส่วนน้อยของประเทศ แต่ผลการสอบของ PISA
กลับส่งผลกระทบในภาพรวม ผลการสอบ PISA ไม่ว่าจะเป็นการรายงานผลการประเมิน
ลักษณะใด ล้วนสะท้อนคุณภาพการศึกษาไทยที่ต้องเร่งพัฒนา ดังนั้นเพ่ือการพัฒนาท่ีก่อเกิด
การเปล่ียนแปลงอย่างย่ังยืนและเห็นผล หน่วยงานทางการศึกษาทุกระดับควรใช้ผลการประเมิน
เป็นเป้าหมายหน่ึงของการจัดการศึกษา เปลี่ยนมุมมองผลการประเมินของ PISA ท่ีรับรู้เพียงว่า
ประเทศไทยมคี ะแนนเฉลยี่ ตำ่� กวา่ ประเทศอนื่ ๆ มาทำ� ความเขา้ ใจ วา่ “PISA ประเมนิ อะไร ประเมนิ
อย่างไร ลักษณะของนักเรียนที่มีความสามารถสูงของ PISA เป็นอย่างไร และจะพัฒนานักเรียน
ให้ไปสู่ระดับท่ีสูงข้ึนได้อย่างไร ปัจจัยที่จะท�ำให้เกิดการเปล่ียนแปลงที่ส�ำคัญมีอะไรหรือใครบ้าง
และจะตอ้ งทำ� อยา่ งไร” จงึ เปน็ การใชผ้ ลจากการประเมนิ PISA เพอ่ื การยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา
อย่างแท้จริง และน�ำพาผลการทดสอบโครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA)
สูงขน้ึ เป็น 530 ในปที ่ี 16 - 20 ของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 ได้
เอกสารอา้ งอิง
ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 –
พ.ศ. 2579. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั พริกหวานกราฟฟคิ จ�ำกัด.
_______(2560). สภาวการณก์ ารศกึ ษาไทยในเวทโี ลก พ.ศ.2559/2560. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั พรกิ หวาน
กราฟฟิค จำ� กัด.
สุนีย์ คล้ายนิล. (2547). ความรู้และทักษะของเยาวชนไทยส�ำหรับโลกวันพรุ่งน้ี : รายงานการวิจัยโครงการ
ประเมินผลนักเรียนนานาชาติ PISA 2000 และ PISA Plus. กรุงเทพมหานคร : บริษัทเซเว่น
พร้นิ ติ้ง กรุ๊ป จ�ำกดั .
PISA Thailand สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี .(2550). รายงานผลการวิเคราะห์ข้อมลู
เบอื้ งตน้ โครงการ PISA 2006. กรงุ เทพมหานคร : สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี
_______ .(2554). ผลการประเมนิ PISA 2009 การอ่าน คณติ ศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์. กรงุ เทพมหานคร :
ห้างห่นุ สว่ นจำ� กดั อรุณการพิมพ์.
_______.(2555). ตัวอย่างข้อสอบประเมินผลนักเรียนนานาชาติ : การอ่าน. กรุงเทพมหานคร : สถาบัน
ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี
_______.(2555). ตัวอย่างข้อสอบการประเมินนานาชาติ PISA และ TIMSS. กรุงเทพมหานคร : สถาบัน
ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี.
_______.(2556). ผลการประเมิน PISA 2012 คณิตศาสตร์ การอ่าน และวิทยาศาสตร์ นักเรียนรู้อะไร
และทำ� อะไรได้. กรุงเทพมหานคร : หา้ งห่นุ ส่วนจำ� กดั อรณุ การพิมพ.์
_______.(2557). ตัวอย่างข้อสอบคณิตศาสตร์ PISA 2012. กรุงเทพมหานคร : สถาบันส่งเสริมการสอน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี
_______.(2561). ผลการประเมิน PISA 2015 วิทยาศาสตร์ การอ่าน และคณิตศาสตร์ ความเป็นเลิศ
และความเท่าเทยี มทางการศึกษา. กรงุ เทพมหานคร : บริษัท ซคั เซคพลิเคชัน่ จำ� กดั .
62 ปที ่ี 21 ฉบบั ที่ 4 : ตลุ าคม - ธนั วาคม 2561
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา
• กลุม่ พฒั นาหลกั สตู รและมาตรฐานการเรียนรู้ ส�ำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สพฐ.
หลังจากกระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ส�ำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ได้ขับเคล่ือนการใช้หลักสูตร
ผ่านกระบวนการจัดการเรียนการสอน และการวัดผลและประเมินผล ตลอดจนได้มีการติดตาม
และประเมินผลการใชห้ ลักสตู รผ่านชอ่ งทางตา่ ง ๆ เพ่อื นำ� มาใชใ้ นการพัฒนาหลักสูตรตอ่ ไป
ในช่วงระหว่างการใช้หลักสูตร มีการปรับปรุง พัฒนาให้สอดคล้องกับนโยบายการพัฒนา
ประเทศไปสู่การเป็นประเทศไทย 4.0 โดยปรับปรุงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดกลุ่มสาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม ส�ำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ นอกจากปรับปรุงมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชวี้ ดั แล้ว ยงั ได้ผนวกรวมสาระเทคโนโลยี ซ่ึงเปน็ สาระหนงึ่ ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้การงาน
อาชีพและเทคโนโลยีไว้ดว้ ยกนั ทง้ั นี้ เพื่อเอือ้ ตอ่ การจัดการเรยี นการสอนที่บรู ณาการและต่อยอด
ความรนู้ ำ� มาสร้างสรรค์นวัตกรรม
นอกจากน้ัน กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายให้ยืดหยุ่นการบริหารจัดการหลักสูตร
สถานศึกษาให้มากขึ้น ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงได้มีแนวปฏิบัติส�ำหรับ
สถานศึกษาน�ำไปใช้อยู่หลายเรื่อง ได้แก่ การปรับปรุงโครงสร้างเวลาเรียน การจัดรายวิชา
หน้าที่พลเมืองเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองดีของชาติ การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3
แนวปฏิบัติเรื่องต่าง ๆ ข้างต้น ได้จัดท�ำเป็นประกาศและค�ำส่ังของกระทรวงศึกษาธิการ
และของส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ดังตอ่ ไปนี้
ปีท่ี 21 ฉบบั ที่ 4 : ตุลาคม - ธันวาคม 2561 63
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
คำ� สง่ั สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
ที่ 922/2561
เร่อื ง การปรบั ปรงุ โครงสรา้ งเวลาเรยี น ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
พุทธศักราช 2551
อนสุ นธิคำ� สัง่ กระทรวงศึกษาธกิ าร ที่ สพฐ. 1239/2560 ส่ัง ณ วนั ท่ี 7 สงิ หาคม 2560 เรือ่ ง
ใหใ้ ชม้ าตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ดั กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภมู ศิ าสตร์
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และค�ำส่ังส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขนั้ พืน้ ฐาน ท่ี 30/2561 ส่ัง ณ วนั ท่ี 5 มกราคม 2561 เรื่อง ให้เปล่ยี นแปลงมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละ
ตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 เพ่ือให้สถานศึกษาพัฒนาผู้เรียนใหม้ ีศกั ยภาพในการ
แขง่ ขนั และด�ำรงชีวติ อย่างสร้างสรรค์ในประชาคมโลก ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ฉะน้ัน อาศัยอ�ำนาจตามค�ำสั่งกระทรวงศึกษาธิการท่ี สพฐ. 293/2551 เรื่อง ให้ใช้หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ให้เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน มอี ำ� นาจในการยกเลกิ เพมิ่ เตมิ เปลยี่ นแปลง
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและวิธีการ
จัดการศึกษา ดังน้ัน เพ่ือให้สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการเวลาเรียนได้เหมาะสมกับบริบทและ
จุดเน้นของสถานศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ในคราวประชุม
คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน คร้งั ท่ี 4/2561 เมอื่ วนั ท่ี 20 เมษายน 2561 จงึ ปรบั ปรงุ โครงสร้าง
เวลาเรยี นให้มคี วามยืดหยนุ่ ดงั น้ี
1. ระดบั ประถมศึกษา
1) ปรบั เวลาเรยี นพนื้ ฐานของแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรยี นรไู้ ดต้ ามความเหมาะสม สอดคลอ้ ง
กับบริบท จุดเน้นของสถานศึกษา และศักยภาพของผู้เรียน โดยจัดเวลาเรียนพ้ืนฐานส�ำหรับสาระ
ประวัติศาสตร์ 40 ช่วั โมงต่อปี ท้ังน้ี ตอ้ งมเี วลาเรียนพนื้ ฐานรวม จ�ำนวน 840 ช่ัวโมงต่อปี และผเู้ รียน
ต้องมคี ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชวี้ ดั ทก่ี ำ� หนด
2) จดั เวลาเรยี นเพม่ิ เตมิ โดยจดั เปน็ รายวชิ าเพมิ่ เตมิ หรอื กจิ กรรมเพม่ิ เตมิ ใหส้ อดคลอ้ งกบั
จุดเน้นและความพร้อมของสถานศึกษา และเกณฑ์การจบหลักสูตร เฉพาะระดับช้ันประถมศึกษา
ปที ่ี 1 - 3 สถานศกึ ษาอาจจดั ใหเ้ ปน็ เวลาสำ� หรบั สาระการเรยี นรพู้ นื้ ฐานในกลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
และกลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์
64 ปีที่ 21 ฉบบั ที่ 4 : ตุลาคม - ธันวาคม 2561
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
3) จดั เวลาส�ำหรับกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น จ�ำนวน 120 ช่วั โมงตอ่ ปี
4) จดั เวลาเรยี นรวมทง้ั หมด ใหเ้ ปน็ ไปตามความเหมาะสมของสถานศกึ ษา ทงั้ น้ี ควรคำ� นงึ
ถงึ ศักยภาพและพฒั นาการตามช่วงวัยของผเู้ รยี นและเกณฑก์ ารจบหลกั สูตร
2. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
1) ปรบั เวลาเรยี นพน้ื ฐานของแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรยี นรไู้ ดต้ ามความเหมาะสม สอดคลอ้ ง
กับบริบท จุดเน้นของสถานศึกษา และศักยภาพของผู้เรียน โดยจัดเวลาเรียนพ้ืนฐานส�ำหรับสาระ
ประวตั ิศาสตร์ 40 ชว่ั โมงต่อปี หรอื 1 หน่วยกติ ตอ่ ปี ท้ังนี้ ต้องมเี วลาเรยี นพื้นฐานรวม จ�ำนวน 880
ช่ัวโมงต่อปี หรือ 22 หน่วยกิตต่อปี และผู้เรียนต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
ท่กี �ำหนด และสอดคล้องกบั เกณฑ์การจบหลักสูตร
2) จดั เวลาเรยี นเพมิ่ เตมิ โดยจดั เปน็ รายวชิ าเพมิ่ เตมิ หรอื กจิ กรรมเพมิ่ เตมิ ใหส้ อดคลอ้ งกบั
จดุ เนน้ และความพร้อมของสถานศกึ ษา และเกณฑ์การจบหลกั สตู ร
3) จัดเวลาสำ� หรับกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน จำ� นวน 120 ชั่วโมงต่อปี
4) จดั เวลาเรยี นรวมทง้ั หมด ใหเ้ ปน็ ไปตามความเหมาะสมของสถานศกึ ษา ทง้ั นี้ ควรคำ� นงึ
ถงึ ศกั ยภาพและพัฒนาการตามชว่ งวัยของผู้เรียนและเกณฑ์การจบหลกั สตู ร
3. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
1) ปรบั เวลาเรยี นพนื้ ฐานของแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรยี นรไู้ ดต้ ามความเหมาะสม สอดคลอ้ ง
กับบริบท จุดเน้นของสถานศึกษา และศักยภาพของผู้เรียน โดยจัดเวลาเรียนพ้ืนฐานส�ำหรับสาระ
ประวัติศาสตร์รวม 3 ปี จ�ำนวน 80 ช่ัวโมง หรือ 2 หน่วยกิต ท้ังนี้ ต้องมีเวลาเรียนพ้ืนฐานรวม 3 ปี
จำ� นวน 1,640 ช่ัวโมง หรอื 41 หนว่ ยกติ และผ้เู รียนตอ้ งมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ช้วี ัด
ทก่ี �ำหนด และสอดคลอ้ งกบั เกณฑ์การจบหลกั สูตร
2) จดั เวลาเรยี นเพม่ิ เตมิ โดยจดั เปน็ รายวชิ าเพมิ่ เตมิ หรอื กจิ กรรมเพมิ่ เตมิ ใหส้ อดคลอ้ งกบั
จดุ เนน้ และความพร้อมของสถานศึกษา และเกณฑก์ ารจบหลักสตู ร
3) จัดเวลาส�ำหรับกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน รวม 3 ปี จ�ำนวน 360 ชว่ั โมง
4) จดั เวลาเรยี นรวมทงั้ หมด ใหเ้ ปน็ ไปตามความเหมาะสมของสถานศกึ ษา ทงั้ น้ี ควรคำ� นงึ
ถึงศักยภาพและพฒั นาการตามชว่ งวยั ของผเู้ รียนและเกณฑก์ ารจบหลกั สตู ร
ทงั้ น ้ี ตงั้ แตบ่ ัดนเ้ี ป็นต้นไป
ส่ัง ณ วันที ่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
บุญรักษ์ ยอดเพชร
(นายบญุ รกั ษ ์ ยอดเพชร)
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน
ปที ่ี 21 ฉบับท่ี 4 : ตลุ าคม - ธันวาคม 2561 65
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
ค�ำสั่งสำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
ท่ี 921/2561
เร่อื ง ยกเลกิ มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชีว้ ดั สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี
และสาระที่ 3 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551 และเปลี่ยนชือ่ กลุ่มสาระการเรียนรู้
อนุสนธิค�ำสัง่ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ท่ี สพฐ. 1239/2560 ส่งั ณ วันท่ี 7 สงิ หาคม 2560 เร่อื ง
ใหใ้ ชม้ าตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภมู ศิ าสตร์
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และค�ำส่ังส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขัน้ พืน้ ฐาน ที่ 30/2561 ส่ัง ณ วนั ท่ี 5 มกราคม 2561 เรื่อง ให้เปลย่ี นแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และ
ตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เพ่ือให้สถานศึกษาพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพ
ในการแข่งขนั และด�ำรงชวี ติ อยา่ งสร้างสรรคใ์ นประชาคมโลก ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ฉะน้ัน อาศัยอ�ำนาจตามค�ำส่ังกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ. 293/2551 เร่ือง ให้ใช้หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ให้เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน มอี ำ� นาจในการยกเลกิ เพมิ่ เตมิ เปลยี่ นแปลง
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและวิธีการ
จดั การศกึ ษา ดงั นนั้ เพอ่ื เปน็ การลดความซำ้� ซอ้ นของเนอ้ื หาสาระเกยี่ วกบั เทคโนโลยี โดยความเหน็ ชอบ
ของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ในคราวประชุมคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน คร้ังท่ี
4/2561 เมอ่ื วันท่ี 20 เมษายน 2561 จงึ ให้ดำ� เนินการดงั น้ี
1. ยกเลิกมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี และสาระ
ที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 คงเหลอื 2 สาระ คอื สาระที่ 1 การดำ� รง
ชวี ติ และครอบครัว และสาระท่ี 4 การอาชีพ
2. เปล่ียนชอ่ื สาระท่ี 4 การอาชพี เป็น สาระที่ 2 การอาชพี ในกลุม่ สาระการเรยี นรกู้ ารงาน
อาชพี และเทคโนโลยี ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
66 ปีท่ี 21 ฉบับท่ี 4 : ตลุ าคม - ธันวาคม 2561
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
เงือ่ นไขและระยะเวลาการยกเลกิ และเปลี่ยนชอ่ื สาระ ตามขอ้ 1 และ ข้อ 2 ให้เปน็ ไปดังนี้
1. ปีการศึกษา 2561 ให้ยกเลิกและเปล่ียนชื่อสาระในช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 และ 4
และชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 และ 4
2. ปีการศึกษา 2562 ให้ยกเลิกและเปล่ียนช่ือสาระในช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 2 4 และ 5
และช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 2 4 และ 5
3. ตงั้ แตป่ ีการศึกษา 2563 เป็นตน้ ไป ใหย้ กเลกิ และเปลยี่ นชอื่ สาระทกุ ชน้ั เรยี น
4. ต้งั แต่ปกี ารศึกษา 2563 ให้เปลีย่ นชื่อกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ดังน้ี
4.1 กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี เปน็ กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี
4.2 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เปน็ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ทงั้ น ี้ ต้งั แต่บดั นีเ้ ปน็ ต้นไป
สง่ั ณ วันท ่ี 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
บญุ รักษ์ ยอดเพชร
(นายบุญรกั ษ์ ยอดเพชร)
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
ปีท่ี 21 ฉบับที่ 4 : ตุลาคม - ธันวาคม 2561 67
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
ประกาศส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน
เรื่อง การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา
กลุม่ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการได้มีค�ำสั่ง ที่ สพฐ. 1239/2560 ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2560 เรื่อง
ใหใ้ ชม้ าตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ดั กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภมู ศิ าสตร ์
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ได้มีค�ำสงั่ ที่ 30 /2561 ลงวันที่ 5 มกราคม 2561 เรื่อง ใหเ้ ปลยี่ นแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชว้ี ัด
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)
เพอ่ื ใหส้ ถานศกึ ษานำ� มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ดั ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ใิ นการจดั การเรยี นการสอน
ในช้ันเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความยืดหยุ่น เหมาะสมกับบริบท จุดเน้นของสถานศึกษา
และศักยภาพของผู้เรียน สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน จงึ มแี นวทางการบริหารจดั การ
หลักสตู รสถานศึกษา ตามที่แนบท้ายประกาศนี้
ประกาศ ณ วันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2561
บุญรกั ษ์ ยอดเพชร
(นายบุญรักษ ์ ยอดเพชร)
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
เอกสารแนบท้ายประกาศฯ
68 ปที ่ี 21 ฉบบั ท่ี 4 : ตลุ าคม - ธันวาคม 2561
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
คำ� ส่ังส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
ที่ 30 /2561
เรือ่ ง ใหเ้ ปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรยี นร้แู ละตัวช้วี ัดกล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
และวทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
พทุ ธศักราช 2551
อนุสนธิค�ำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. 1239/2560 ส่ัง ณ วันที่ 7 สิงหาคม 2560
เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระ
ภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 โดยค�ำส่ังดังกล่าวให้เลขาธิการ
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีอ�ำนาจในการยกเลิก เพ่ิมเติม เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวช้ีวดั กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมศิ าสตร์ ในกล่มุ สาระการเรยี น
รู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551
เพ่ือให้สถานศกึ ษาสามารถน�ำมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชว้ี ดั กลุม่ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์
และวทิ ยาศาสตร์ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ ง
มปี ระสทิ ธภิ าพ และบรหิ ารจดั การหลกั สตู รใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ กบั ผเู้ รยี น จงึ ใหเ้ ปลย่ี นแปลงมาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวช้ีวัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ดังปรากฏแนบท้ายค�ำสั่งนี้ ส�ำหรับ
มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ดั สาระภมู ศิ าสตร์ ในกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ยังคงเดมิ
ทัง้ นี้ ต้งั แตบ่ ดั น้ีเป็นตน้ ไป
สง่ั ณ วันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2561
บุญรักษ ์ ยอดเพชร
(นายบญุ รกั ษ์ ยอดเพชร)
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
เอกสารแนบทา้ ยคำ� ส่ังฯ 69
ปีที่ 21 ฉบบั ที่ 4 : ตุลาคม - ธันวาคม 2561
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
ค�ำสงั่ กระทรวงศึกษาธิการ
ท่ี สพฐ. 1239/2560
เรอื่ ง ให้ใช้มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ัด กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์
และสาระภูมศิ าสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
เพอื่ ใหก้ ารจดั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานสอดคลอ้ งกบั การเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม
สภาพแวดลอ้ ม และความรทู้ างวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที เี่ จรญิ กา้ วหนา้ อยา่ งรวดเรว็ เปน็ การพฒั นา
และเสริมสร้างศักยภาพคนของชาติให้สามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
การยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล สอดคล้องกับ
ประเทศไทย 4.0 โลกในศตวรรษท่ี 21 และทัดเทียมกับนานาชาติ ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขัน
และด�ำรงชวี ติ อยา่ งสรา้ งสรรคใ์ นประชาคมโลก ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ฉะน้ัน อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
และท่แี ก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 และมาตรา 12 แห่งพระราชบญั ญตั ริ ะเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กล่มุ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภมู ิศาสตร์ ในกลุม่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551 ดงั ปรากฏแนบทา้ ยคำ� สงั่ นี้ แทนมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ดั กลมุ่ สาระการเรยี น
รู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 1551
เงื่อนไขและระยะเวลาการใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ให้เป็นไป ดงั น้ี
1. ปกี ารศึกษา 2561 ใหใ้ ช้ในชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 และ 4 และชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 และ 4
2. ปกี ารศกึ ษา 2562 ใหใ้ ชใ้ นช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1 2 4 และ 5 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2 4
และ 5
3. ตงั้ แต่ปกี ารศกึ ษา 2563 เปน็ ตน้ ไป ใหใ้ ช้ในทุกช้นั เรียน
70 ปีที่ 21 ฉบับที่ 4 : ตลุ าคม - ธนั วาคม 2561
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
ให้เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีอ�ำนาจในการยกเลิก เพิ่มเติม เปลี่ยนแปลง
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
ท้งั นี้ ตง้ั แตบ่ ัดนี้เปน็ ตน้ ไป
สง่ั ณ วันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2560
ธีระเกียรติ เจรญิ เศรษฐศลิ ป์
(นายธรี ะเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป)์
รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
เอกสารแนบท้ายคำ� สั่งฯ
ปีท่ี 21 ฉบบั ท่ี 4 : ตุลาคม - ธันวาคม 2561 71
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร
เรื่อง การบรหิ ารจัดการเวลาเรียนของสถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
เพอื่ ใหส้ ถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานสามารถบรหิ ารจดั การเวลาเรยี น และนำ� หลกั สตู ร
สู่การปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความยืดหยุ่น เหมาะสมกับบริบท
จุดเน้นของสถานศึกษา และผู้เรียนมีคุณภาพตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศกั ราช 2551
อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 จึงให้สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการเวลาเรียนได้
ตามท่ีสถานศึกษาก�ำหนด โดยให้สอดคล้องกับโครงสร้างเวลาเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และแนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนของสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ตามทแ่ี นบท้ายประกาศนี้
ทัง้ นี้ ต้ังแตบ่ ัดนีเ้ ป็นต้นไป
ประกาศ ณ วนั ท ี่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
ธรี ะเกยี รติ เจรญิ เศรษฐศิลป์
(นายธรี ะเกียรติ เจริญเศรษฐศลิ ป)์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
เอกสารแนบทา้ ยประกาศฯ
72 ปที ่ี 21 ฉบบั ที่ 4 : ตลุ าคม - ธนั วาคม 2561
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร
เรือ่ ง การบริหารจดั การเวลาเรยี นภาษาองั กฤษ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 - 3
ในสถานศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการก�ำหนดให้มีการพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ เป็นยุทธศาสตร์
ส�ำคัญของการปฏิรูปการศึกษา โดยมีนโยบายยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
เพื่อส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร
เปน็ เครอื่ งมอื ในการเขา้ ถงึ องคค์ วามรเู้ พอ่ื กา้ วทนั โลก และเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ
ตามโครงสร้างหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ให้สอดคล้องกับนโยบาย
ความเหมาะสม ความตอ้ งการ ความพร้อม และบริบทของสถานศกึ ษา
อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
และท่ีแก้ไขเพิม่ เตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 และมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัตริ ะเบียบบรหิ ารราชการ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2546 รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร จงึ ประกาศใหส้ ถานศกึ ษาบรหิ าร
จดั การเวลาเรียนภาษาองั กฤษ ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1 - 3 ในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ดังนี้
1. การบรหิ ารจัดการเวลาเรียน
ให้สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานทุกแห่ง เพิ่มเวลาเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
(ภาษาองั กฤษ) ในชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1 - 3 จาก 40 ชวั่ โมงตอ่ ปี เปน็ 200 ชว่ั โมงต่อปี หรอื 1 ช่ัวโมง
ตอ่ สัปดาห์ เป็น 5 ช่ัวโมงตอ่ สปั ดาห์
2. การจดั การเรียนรู้
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
ใหด้ ำ� เนนิ การพฒั นาผเู้ รยี นอยา่ งเตม็ ศกั ยภาพตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ดั ของหลกั สตู รแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สถานศึกษาสามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามบริบท
ความตอ้ งการ ความเหมาะสมและความพรอ้ มของสถานศกึ ษา เนน้ การสอนภาษาองั กฤษเพอื่ การสอื่ สาร
โดยให้ความส�ำคัญกับการใช้ภาษา (Use) มากกว่าวิธีใช้ภาษา (Usage) ให้ความส�ำคัญกับความ
คล่องแคล่ว ในการใช้ภาษา (Fluency) และความถูกต้องของการใช้ภาษา (Accuracy) ดังน้ี
(1) การทบทวนคำ� ศพั ทก์ อ่ นเรยี น
(2) การใชภ้ าษาองั กฤษในชวี ติ ประจ�ำวนั โดยผ่านกิจกรรมท่ีสนุกสนานและพฒั นาการเรียนรู้
(3) การใช้ส่ือเสริมแอพพลเิ คชั่นและเทคโนโลยี สง่ เสริมการสอนและสร้างแรงจงู ใจ
(4) การใชห้ นังสอื เรียน โดยเน้นทักษะฟัง พดู อ่าน และเขียน
ปที ี่ 21 ฉบับท่ี 4 : ตุลาคม - ธนั วาคม 2561 73
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
(5) การสอนเสริมผู้เรียนที่ต้องการความช่วยเหลือ และจัดหาสื่อ/แหล่งเรียนรู้ เพ่ือเพิ่ม
ศักยภาพของผู้เรยี น
3. การวัดและประเมนิ ผล
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้สถานศึกษาด�ำเนินการด้วยวิธีการและ
เครอื่ งมอื ทห่ี ลากหลาย สอดคลอ้ งกบั ลกั ษณะของกจิ กรรมการเรยี นรู้ และสะทอ้ นคณุ ภาพตามมาตรฐาน
การเรยี นรู้และตวั ช้วี ดั ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551
อน่ึง กระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดท�ำแนวทางการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ชั้นประถมศึกษา
ปีท่ี 1 - 3 ในสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน เพือ่ ใหส้ ถานศกึ ษาด�ำเนินการตามแนวทางที่แนบทา้ ยประกาศนี้
ทั้งน้ี ต้ังแตภ่ าคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2559 เปน็ ต้นไป
ประกาศ ณ วนั ที่ 31 ตลุ าคม พ.ศ. 2559
พลเอกดาวพ์ งษ์ รตั นสวุ รรณ
(ดาวพ์ งษ์ รัตนสวุ รรณ)
รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ
เอกสารแนบทา้ ยประกาศฯ
74 ปีที่ 21 ฉบับท่ี 4 : ตลุ าคม - ธันวาคม 2561
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เร่อื ง การบริหารจดั การเวลาเรียนของสถานศึกษาข้ันพ้นื ฐานในโครงการลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารู้
กระทรวงศึกษาธิการก�ำหนดนโยบายลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ เพื่อให้ผู้เรียนมีความสุขกับการ
เรียนรู้ และพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ีศักยภาพ มคี วามรพู้ ื้นฐาน ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะชีวิต ทกั ษะการ
ท�ำงาน สรา้ งเสริมคณุ ลกั ษณะและคา่ นยิ มท่ีดงี าม และอยรู่ ว่ มกันในสงั คมได้อยา่ งมีความสขุ ครอบคลุม
หลักองค์ 4 แห่งการศึกษา คือ พุทธิศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษา และพลศึกษา รวมท้ัง เพ่ือให้สถาน
ศกึ ษาในโครงการลดเวลาเรยี น เพมิ่ เวลารู้ สามารถบรหิ ารจดั การเวลาเรยี น ตามโครงสรา้ งหลกั สตู รแกน
กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ให้สอดคล้องกับนโยบาย เหมาะสมกับความต้องการ
ความพร้อมและบรบิ ทของสถานศึกษา
อาศยั อ�ำนาจตามความในมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และที่
แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 และมาตรา 8 แหง่ พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวง
ศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศให้สถานศึกษาบริหารจัดการ
เวลาเรียนของสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐานในโครงการลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้ ดงั น้ี
1. การบรหิ ารจดั การเวลาเรยี น
1.1 ระดับประถมศึกษา จัดเวลาเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน 840 ช่ัวโมงต่อปี และรายวิชา/
กจิ กรรมทส่ี ถานศกึ ษาจดั เพม่ิ เตมิ ตามความพรอ้ มและจดุ เนน้ 40 ชว่ั โมงตอ่ ปี และกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น
120 ชั่วโมงต่อปี รวมเวลาเรียนตอ่ ปี ไมเ่ กิน 1,000 ช่วั โมง
1.2 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จดั เวลาเรยี นรายวชิ าพน้ื ฐาน 880 ชวั่ โมงตอ่ ปี และรายวชิ า/
กจิ กรรมทส่ี ถานศกึ ษาจดั เพมิ่ เตมิ ตามความพรอ้ มและจดุ เนน้ 200 ชวั่ โมงตอ่ ปี และกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น
120 ชว่ั โมงต่อปี รวมเวลาเรยี นตอ่ ปี ไมเ่ กิน 1,200 ชั่วโมง
2. การจัดการเรยี นรู้ และการวัดและประเมินผล
2.1 การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เป็นการลดเวลาของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีผู้เรียน
เปน็ ผรู้ บั ความรู้ ปรบั บทบาทของครใู นการบรรยาย การอธบิ ายความรู้ เปน็ ผอู้ ำ� นวยความสะดวก สง่ เสรมิ
การเรียนรู้ ต้ังค�ำถามท่ีท้าทายความสามารถ และกระตุ้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น โดยมี
เป้าหมายเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดของหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยด�ำเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
ด้วยวิธีการและเคร่ืองมือท่ีหลากหลาย และสะทอ้ นคณุ ภาพของผเู้ รยี นตามหลักสูตร
ปีท่ี 21 ฉบับท่ี 4 : ตลุ าคม - ธนั วาคม 2561 75
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
2.2 การจัดกจิ กรรมเพมิ่ เวลารู้ เป็นการจัดกจิ กรรมทเี่ น้นให้ผเู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้ ผา่ นการ
ลงมอื ปฏิบตั จิ ริง มีประสบการณต์ รง คิดวิเคราะห์ ท�ำงานเปน็ ทีม และเรยี นรู้ดว้ ยตนเองอยา่ งมีความสขุ
จากกิจกรรมสร้างสรรค์ท่ีหลากหลาย โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาสมอง (Head) พัฒนาจิตใจ (Heart)
พฒั นาทกั ษะการปฏบิ ตั ิ (Hand) และพัฒนาสุขภาพ (Health) ให้เชอื่ มโยงกบั มาตรฐานการเรียนรู้และ
ตวั ชว้ี ดั ของหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 โดยดำ� เนนิ การวดั และประเมนิ ผล
การเรียนรู้ความก้าวหน้าของผู้เรียน และน�ำผลการประเมินไปใช้เป็นส่วนหนึ่งของการประเมินการผ่าน
ตัวช้ีวัดตามหลักสูตรสถานศึกษาประเมินความพึงพอใจของผู้เรียน/ผู้ปกครอง/ชุมชนและผู้เก่ียวข้อง
เพอ่ื รายงานผลใหผ้ เู้ รยี น ผปู้ กครอง และผเู้ กยี่ วขอ้ งทราบ และมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาผเู้ รยี น รวมทงั้ ครู
น�ำผลการประเมินมาปรับการจดั กจิ กรรมใหม้ ปี ระสิทธิภาพ
ประกาศ ณ วันที่ 31 ตลุ าคม พ.ศ. 2559
พลเอกดาวพ์ งษ์ รัตนสวุ รรณ
(ดาว์พงษ์ รัตนสวุ รรณ)
รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
76 ปที ่ี 21 ฉบบั ท่ี 4 : ตลุ าคม - ธันวาคม 2561
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
เร่ือง การเพ่มิ วชิ าหนา้ ทพ่ี ลเมอื งเป็นรายวิชาเพิ่มเตมิ
ในหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ตามนโยบายคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ (คสช.) และนโยบายรฐั บาลทต่ี อ้ งการใหม้ กี ารสง่ เสรมิ
เด็กและเยาวชนของชาติ ได้มีความรู้ความเข้าใจในเร่ืองประวัติศาสตร์ความเป็นไทย รักชาติ ศาสนา
และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ และเป็นพลเมืองท่ีดีในระบอบประชาธิปไตย มีความปรองดอง
สมานฉันท์ เพ่อื สนั ติสุขในสังคมไทย นน้ั
อาศยั อำ� นาจตามความในมาตรา 5 และมาตรา 12 แหง่ พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2546 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จงึ ประกาศกำ� หนดให้สถานศึกษาทกุ สงั กัดเพิม่
“วิชาหน้าท่ีพลเมือง” ลงในหลักสูตรสถานศึกษา โดยจัดเป็นรายวิชาเพ่ิมเติม ในกลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ทกุ ระดบั ช้นั และทุกช่วงชัน้ ของการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
อนึ่ง กระทรวงศึกษาธิการ โดยส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ได้จัดท�ำกรอบ
ค�ำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม “วิชาหน้าที่พลเมือง” และแนวปฏิบัติเก่ียวกับเรื่องดังกล่าว ส�ำหรับให้
สถานศกึ ษาท่ีจดั การเรียนรู้ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 น�ำไปจดั ทำ�
รายละเอยี ดในหลกั สูตรสถานศึกษา โดยมรี ายละเอยี ดแนบทา้ ยประกาศน้ี
ทง้ั น้ี ต้ังแตภ่ าคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2557 เป็นตน้ ไป
ประกาศ ณ วนั ท่ี 28 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2557
พลเรือเอกณรงค์ พิพฒั นาศยั
(ณรงค์ พิพัฒนาศยั )
รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร
เอกสารแนบท้ายประกาศฯ
ปีที่ 21 ฉบบั ที่ 4 : ตุลาคม - ธันวาคม 2561 77
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
ค�ำส่ังสำ� นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
ที่ 110 /2555
เร่อื ง การแก้ไขโครงสรา้ งเวลาเรยี นและเกณฑก์ ารจบการศึกษา
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
อนุสนธิค�ำส่ังส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ท่ี 683/2552 เร่ือง การปรับปรุง
โครงสร้างเวลาเรียนและเกณฑ์การจบการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551
โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขโครงสร้างเวลาเรียนและเกณฑ์การจบการศึกษาตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขึ้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ให้เหมาะสมกับบริบทและจุดเน้นของสถานศึกษา
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงให้มีการแก้ไขโครงสร้างเวลาเรียนและเกณฑ์การ
จบการศึกษา ดงั ต่อไปน้ี
1. ใหย้ กเลกิ ขอ้ กำ� หนดเวลาเรยี นในรายวชิ า/กจิ กรรมทส่ี ถานศกึ ษาจดั เพมิ่ เตมิ ตามความพรอ้ ม
และจุดเน้น ระดบั ประถมศกึ ษา “ปลี ะไมเ่ กิน 40 ช่วั โมง” และระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น “ปีละไมเ่ กิน
200 ชั่วโมง” ของโครงสร้างเวลาเรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
และให้ใช้ขอ้ กำ� หนดเวลาเรยี นต่อไปนีแ้ ทน
“ระดับประถมศกึ ษา ปลี ะไม่นอ้ ยกวา่ 40 ช่วั โมง
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ปีละไมน่ อ้ ยกว่า 200 ช่วั โมง”
2. ให้ยกเลกิ ขอ้ กำ� หนดเวลาเรียนรวมทงั้ หมด ระดบั ประถมศึกษา “ไมเ่ กิน 1,000 ช่ัวโมง/ป”ี
และระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ “ไม่เกิน 1,200 ชั่วโมง/ปี” ของโครงสรา้ งเวลาเรยี น หลกั สตู รแกนกลาง
การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 และให้ใช้ข้อกำ� หนดเวลาเรยี นต่อไปน้ีแทน
“ระดบั ประถมศกึ ษา ไม่น้อยกวา่ 1,000 ช่วั โมง/ปี
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ไมน่ ้อยกว่า 1,200 ชั่วโมง/ปี”
3. ใหย้ กเลกิ ความในขอ้ 1) ของเกณฑก์ ารจบระดบั ประถมศกึ ษา หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่ว่า “ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม
ตามโครงสร้างเวลาเรียนทห่ี ลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานกำ� หนด” และใหใ้ ชค้ วามตอ่ ไปน้แี ทน
78 ปที ี่ 21 ฉบับท่ี 4 : ตุลาคม - ธันวาคม 2561
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
“1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและรายวิชา/กิจกรรมเพ่ิมเติม โดยเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน
ตามโครงสรา้ งเวลาเรยี นทห่ี ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานกำ� หนด และรายวชิ า/กจิ กรรมเพมิ่ เตมิ
ตามที่สถานศกึ ษากำ� หนด”
4. ให้ยกเลิกความในข้อ 1) ของเกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่ว่า “ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพิ่มเติมไม่เกิน
81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน 66 หน่วยกิต และรายวิชาเพ่ิมเติมตามท่ีสถานศึกษาก�ำหนด”
และให้ใชค้ วามต่อไปน้ีแทน
“1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิต
และรายวชิ าเพิม่ เติมตามทส่ี ถานศึกษาก�ำหนด”
5. ใหย้ กเลกิ ความในขอ้ 1) ของเกณฑก์ ารจบระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หลกั สตู รแกนกลาง
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ท่ีว่า “ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพ่ิมเติมไม่น้อยกว่า
81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน 41 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษาก�ำหนด”
และใหใ้ ช้ความตอ่ ไปนี้แทน
“1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน 41 หน่วยกิต
และรายวชิ าเพ่ิมเตมิ ตามทีส่ ถานศกึ ษากำ� หนด”
ท้งั นี้ ต้ังแต่บัดน้เี ปน็ ตน้ ไป
ส่งั ณ วันท่ี 25 มกราคม พ.ศ. 2555
ชนิ ภทั ร ภมู ิรัตน
(นายชนิ ภทั ร ภูมิรตั น)
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
ปีท่ี 21 ฉบบั ที่ 4 : ตลุ าคม - ธนั วาคม 2561 79
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
คำ� สงั่ สำ� นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
ที่ 683/2552
เร่อื ง การปรบั ปรงุ โครงสร้างเวลาเรียนและเกณฑ์การจบการศกึ ษาตามหลกั สูตรแกนกลาง
การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551
อนุสนธคิ ำ� สัง่ กระทรวงศึกษาธกิ าร ท่ี สพฐ. 293/2551 เรื่องใหใ้ ช้หลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ลงวนั ที่ 11 กรกฎาคม 2551
กระทรวงศึกษาธิการเห็นสมควรปรับปรุงโครงสร้างเวลาเรียนและเกณฑ์การจบการศึกษา
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เพ่ือให้สอดคล้องกับนโยบาย
ของกระทรวงศึกษาธิการท่ีต้องการเน้นการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ จึงให้มีการปรับปรุงโครงสร้าง
เวลาเรยี น และเกณฑก์ ารจบการศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายทแี่ นบ
ทงั้ นี้ ตั้งแตบ่ ัดนเ้ี ป็นต้นไป
สง่ั ณ วันท่ี 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา
(คุณหญงิ กษมา วรวรรณ ณ อยธุ ยา)
เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน
เอกสารแนบท้ายคำ� สงั่ ฯ
80 ปีที่ 21 ฉบบั ท่ี 4 : ตลุ าคม - ธนั วาคม 2561