The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กิตติวรา นุ่นชูผล 1159 ห้อง 2 วิจัยแนวทางการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kittiwara Nunchuphon, 2021-03-30 12:34:48

กิตติวรา นุ่นชูผล 1159 ห้อง 2 วิจัยแนวทางการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด

กิตติวรา นุ่นชูผล 1159 ห้อง 2 วิจัยแนวทางการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด

รายงานการวจิ ยั
แนวทางการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัตงิ าน ของพนักงานบรษิ ัทซฟี ดู้ จำกดั

อำเภอเมอื ง จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี

โดย
นางสาวกิตตวิ รา นุน่ ชผู ล

รายงานการวจิ ยั
แนวทางการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัตงิ าน ของพนักงานบรษิ ัทซฟี ดู้ จำกดั

อำเภอเมอื ง จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี

โดย
นางสาวกิตตวิ รา นุน่ ชผู ล



ชื่อการคน้ ควา้ บทคดั ย่อ

แนวทางการพัฒนาคุณภาพการปฏิบตั งิ านของ

พนักงานบรษิ ทั ซฟี ู้ด จำกัด อำเภอเมือง

จงั หวัดสุราษฎร์ธานี

ผจู้ ัดทำ นางสาวกิตติวรา นุน่ ชผู ล

วิชาเอก การบริหารทรัพยากรมนษุ ย์

อาจารยท์ ี่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนายุ ภู่วทิ ยาธร

ปกี ารศกึ ษา 2563

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน ของพนักงานบริษัทซีฟู้ด
จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถาม จำนวน 59 คน สุ่มตัวย่างโดยใช้
ตาราง Krejci Morgan และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, ค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D.), Independent Sampies Test One – way ANOVA กลุ่มตัวอย่างการวิจัยครั้งนี้ ส่วนใหญ่
พบว่า เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 84.7 จำนวน 50 คน ระดับการศึกษา ส่วนใหญ่พบว่า เป็นระดับปริญญาตรี
คิดเปน็ รอ้ ยละ24.78 จำนวน 42 คน

ผลจากการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นเกี่ยวกับองค์ประกอบของการพัฒนาแนวทางการ
พัฒนาคุณภาพการปฏบิ ัตงิ านโดยรวม อยูใ่ นระดับ มากท่สี ดุ (ค่าเฉล่ียโดยรวมเท่ากบั 4.33) เรยี งลำดับคา่ เฉล่ยี จาก
มากไปน้อย อันปรักอบด้วย ด้านกระบวนการปฏิบัติงาน (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.47) ด้านการจัดกาและการใช้ปัจจัย
ทรัพยากร (ค่าเฉลี่ยเทา่ กับ 4.37) และดา้ นการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จ (คา่ เฉลยี่ เท่ากบั 4.17)

ผลลพั ธท์ ี่ไดจ้ ากการวจิ ัยในครั้งนี้ สามารถนำไปใชเ้ ปน็ แนวทางในการวางแผน สร้างเสริมการพัฒนาคุณภาพ
การปฏิบัติงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านกระบวนการปฏิบัติงาน องค์กรควรส่งเสริมและสนับสนุนให้พนักงานมี
การพฒั นาตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื ง เพ่ือใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพในการทำงานและองคก์ รมีความกา้ วหนา้ ตอ่ ไป

คำสำคญั : คณุ ภาพในการปฏบิ ตั งิ าน พนักงานบรษิ ัทซีฟูด้ จำกัด อำเภอเมอื ง จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี



กติ ติกรรมประกาศ

วิจัยฉบับนี้สำเร็จสมบูรณ์ด้วยดีโดยได้รับความกรุณาจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนายุ ภู่วิทยาธร เป็นท่ี
ปรึกษาวิจัยเล่มนี้ พร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะ ข้อพิจารณาในการแก้ไข จนทำให้วิจัยฉบับนี้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ผู้วิจัยขอ
กราบขอบพระคุณทุกทา่ นเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้

ผู้วิจัยขอขอบพระคุณ คณาจารย์สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ
ราษฎร์ธานี ทุกท่านที่กรุณาให้การอบรม สั่งสอน มอบความรู้และประสงการณ์ที่ดีงามมาตลอดหลักสูตร
ขอขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ และบุคคลในครอบครัวทุกคนทีใ่ ห้การสนับสนุนและส่งเสริมการศกึ ษาต่อปรญิ ญา
ตรี และขอบคณุ เพือ่ น ๆ ในชน้ั เรยี นทกุ คน ทคี่ วามช่วยเหลือในการทำการศกึ ษาคน้ ควา้ มาตลอด

หากวิจัยฉบับนี้ก่อให้เกิดความรู้และข้อคิดที่มีประโยชน์อันควรแก่การศึกษา และนำไปพัฒนาให้มี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นต่อไปในภายภาคหน้า ผู้จัดทำขอมอบคุณความดีนี้ให้แก่บิดา มารดา และท่านอาจารย์
ตลอดจนผแู้ ตง่ หนงั สอื ตำราทุกท่าน ซ่ึงผู้จัดทำไดอ้ ้างอิงในรายงานฉบับ

กิตตวิ รา นุน่ ชูผล
ผู้วจิ ยั



สารบญั

เนือ้ หา
บทคัดย่อ .....................................................................................................................................................ก
กิตติกรรมประกาศ ......................................................................................................................................ข
สารบญั ........................................................................................................................................................ค
สารบัญตาราง.............................................................................................................................................. ง
สารบัญภาพ ................................................................................................................................................ฉ
บทท่ี 1 บทนำ .............................................................................................................................................9
ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา................................................................................................9
วัตถปุ ระสงค์..........................................................................................................................................2
ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ บั ....................................................................................................................2
กรอบแนวคิด.........................................................................................................................................2
สมมตุ ฐิ าน .............................................................................................................................................3
นิยามศพั ท์เฉพาะ ..................................................................................................................................3
บทที่ 2 เอกสารและงานทเี่ กีย่ วข้อง.............................................................................................................4
บรบิ ทของบริษทั ซฟี ้ดู ............................................................................................................................4
แนวคิดและทฤษฎขี องผลการดำเนินงาน...............................................................................................5
ความหมายของคุณภาพการปฏบิ ัตงิ าน............................................................................................7
ความหมายของคณุ ภาพการปฏบิ ตั ิงาน ด้านการบรรลเุ ป้าหมายความสำเรจ็ ...................................7
ความหมายของคุณภาพการปฏบิ ัตงิ าน ดา้ นการจัดหาและการใช้ปัจจยั ทรัพยากร ..........................8
ความหมายของคณุ ภาพการปฏบิ ัตงิ าน ด้านกระบวนการปฏบิ ตั งิ าน ...............................................8
บทที่ 3 วิธีการดำเนินวจิ ยั ..........................................................................................................................10
ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง..................................................................................................................10



เคร่ืองมือท่ีใช้ในงานวิจยั ......................................................................................................................12
วธิ กี ารทดสอบคุณภาพของเครอื่ งมือ ...................................................................................................13
การเก็บรวบรวมข้อมลู .........................................................................................................................13
สถติ ิท่ีใช้ในการวจิ ัย .............................................................................................................................13
บทที่ 4 สรปุ การวจิ ัย .................................................................................................................................14
บทท่ี 5 สรุปอภิปรายผล ขอ้ เสนอแนะการวจิ ัย..........................................................................................21
สรปุ ผลการวิจัย ...................................................................................................................................21
อภปิ รายผลการวิจัย ............................................................................................................................22
ข้อเสนอแนะการวิจัย...........................................................................................................................23
บรรณานุกรม.............................................................................................................................................24
ภาคผนวก ก เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการวิจัย.......................................................................................................25

คณุ ภาพการปฏบิ ตั งิ าน ดา้ นการบรรลเุ ป้าหมายความสำเรจ็ .........................................................25
คณุ ภาพการปฏิบตั ิงาน ดา้ นการจัดหาและการใชป้ จั จยั ทรพั ยากร.................................................26
คณุ ภาพการปฏิบตั งิ าน ด้านกระบวนการปฏิบตั ิงาน......................................................................27
ภาคผนวก ข แบบสอบถาม .......................................................................................................................28
ภาคผนวก ค ตารางวิเคราะห์คา่ IOC ของแบบทดสอบความเท่ยี งตรงเชิงเนื้อหาของแบบสอบถาม ..........37
ภาคผนวก ง ..............................................................................................................................................39



สารบญั ตาราง
ตารางที่ 1 ตารางสงั เคราะห์ตัวแปรคณุ ภาพการปฏิบัตงิ าน .........................................................................6
ตารางท่ี 2 จำนวนและร้อยละของปัจจยั ส่วนบคุ คลของผตู้ อบแบบสอบถาม .............................................14
ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐานของระดับแนวทางการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัตงิ าน ของ
พนกั งานบริษัทซีฟดู้ จำกัด อำเภอเมอื ง จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี ...............................................................................15
ตารางที่ 4 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตราฐานของระดับแนวทางการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัตงิ าน ด้าน
การบรรลเุ ป้าหมายความสำเร็จ ของพนักงานบริษทั ซีฟดู้ จำกดั อำเภอเมอื ง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ..................16
ตารางที่ 5 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับแนวทางการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน ด้าน
การจดั หาและการใชป้ จั จยั ทรัพยากร ของพนกั งานบริษทั ซีฟูด้ จำกัด อำเภอเมือง จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี...............17
ตารางที่ 6 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐานของระดับแนวทางการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน ด้าน
กระบวนการปฏิบตั งิ าน ของพนักงานบริษัทซีฟดู้ จำกัด อำเภอเมืองจังหวดั สรุ าษฎร์ธานี ..........................................18
ตารางที่ 7 การวิเคราะห์เปรียบเทียบแนวทางการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน ของพนักงานบริษัทซีฟู้ด
จำกดั อำเภอเมือง จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี จำแนกตามเพศ ......................................................................................19
ตารางที่ 8 การวิเคราะห์เปรียบเทียบความผูกพันองค์การของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง
จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี .............................................................................................................................................19



สารบัญภาพ

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจยั ...................................................................................................................2

บทท่ี 1 บทนำ

ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา

การเตรียมความพร้อมของประเทศสมาชิกอาเซียนเพื่อก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ท่ามกลาง
สภาวะทางเศรษฐกจิ การคา้ และการลงทุนระหวา่ งประเทศท่ีมีการแข่งขันสูงขึน้ ส่งผลให้ประเทศไทยต้องปรับตัว
เพื่อให้ได้รับประโยชนจ์ ากการเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ ซึ่งปัจจุบันพบว่ามีการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจมาก
ขึ้น การรวมกลุ่มที่สำคัญและส่งผลโดยตรงต่อการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ได้
ระบุไว้ คือ การรวมกลุ่มของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งมุ่งเน้นให้ความสำคัญกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ว่าด้วยมาตรฐานคุณภาพการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ โดยต้องอาศัยการวางแผนปฏิบัติงาน ความรู้ ความ
ชํานาญ เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้มีความยัง่ ยืนและแข่งขนั กับ ประเทศอื่น ๆ ได้ ดังนั้น การที่จะทำ
ให้องคก์ รมีประสิทธิภาพในการดําเนนิ งานหรือการบริหารจัดการที่ดีน้ันต้องขน้ึ อยกู่ ับปัจจัยท้ังภายในและภายนอก
องค์กร ซึ่งปัจจัยสำคัญอย่างยิ่งต่อการบริหารจัดการองค์กรใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพและสง่ ผลต่อการดําเนินงานได้คือ
"ทรพั ยากรมนษุ ย"์ น่นั เอง

คุณภาพการปฏิบัติงาน (Working Quality) เป็นผลลัพธ์ในการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล ด้วยความตั้งใจปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถ ใช้เทคนิคการทำงานที่จะสร้างผลงานได้มากและมี
คุณภาพงานเปน็ ทน่ี ่าพอใจ ใชท้ รพั ยากรและค่าใชจ้ า่ ยอยา่ งคุ้มค่า ทนั ต่อเวลา และเพิม่ ปริมาณผลงานมากขึน้ หรือ
คิดค้น คัดแปลงวิธีการปฏิบัติงานให้ได้ผลดียิ่งขึ้น เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการทำงานของตนเองให้ดีขึ้น อยู่
เสมอ ซึ่งพนักงานจำเป็นต้องมีการพัฒนาตนเองให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงเพื่อนําไปสู่การพัฒนางานให้บรรลุ
เป้าหมาย ซงึ่ องค์กรจะต้องสนบั สนนุ และส่งเสริมการเรียนรู้ให้พนักงานในองค์กร ดว้ ยเทคนคิ วิธีการต่าง ๆ เพ่ือให้
พนักงานในองค์กรมีความรู้ความสามารถ และมีทัศนคติในการทำงานที่ดี และเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไป
ในทางที่ดีขึ้นกว่าเดิม ดังนั้น วิธีการที่ผู้บริหารจะชว่ ยทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพ การปฏิบัติงานของพนักงานใน
องค์กร ประกอบด้วย การมุ่งผลสัมฤทธ์ิ (Achievement) การบริการที่ดี (Good Service) การสั่งสมความ
เชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise) จริยธรรม (Ethics) และการทำงานเป็นทีม (Teamwork) ซึ่งหากองค์กรมี
พนักงานที่มีการปฏบิ ตั ิงานทีม่ ีคณุ ภาพแล้ว ย่อมส่งผลให้ประสบความสำเรจ็ ในการบริหารจัดการองคก์ รและสร้าง
ความได้เปรียบทางการแข่งขันได้ โดยเฉพาะ สถาบนั อุดมศกึ ษาทีจ่ ะต้องพฒั นาทรัพยากรมนุษยใ์ หเ้ กิดคุณภาพการ
ปฏิบัติงาน เพื่อสนับสนุนพันธกิจของสถาบันให้เป็นเลิศทางวิชาการ และเป็นแบบอยา่ งที่ดตี ่อการผลิตบัณฑิตให้มี
คุณภาพต่อไป โดยการมุ่งสร้างผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติงาน การอบรมพนักงานให้มีความรู้ความเข้าใจใน
จรรยาบรรณวิชาชีพเพอ่ื ให้พนกั งานทุกคนปฏบิ ตั งิ าน อย่างมีประสิทธิภาพภายใต้พนั ธกจิ ของสถาบนั การศกึ ษา

จากเหตุผลที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาวิจัยคุณภาพการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทซีฟู้ด
จำกดั โดยมี วตั ถปุ ระสงคเ์ พือ่ ศึกษาคณุ ภาพการปฏิบตั งิ านของพนักงงานซีฟ้ดู จำกัด อำเภอเมืองสุราษฎรธ์ านี

2

จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี จากการวจิ ยั สามารถนาํ ไปใช้เปน็ แนวทางสำหรับผบู้ รหิ าร และหน่วยงานในการบริหาร
องค์กรในการเพิ่ม คุณภาพการปฏิบัติงาน หรือเทคนิคการปฏิบัติงาน เพื่อปรับปรุงพฤติกรรมในการปฏิบัติงานทำ
ใหพ้ นักงานบริษัทซฟี ดู้ มปี ระสทิ ธภิ าพมากย่ิงขนึ้ ต่อไป

วัตถปุ ระสงค์

1. เพื่อศึกษาข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานซฟี ูด้ จำกัด อำเภอเมอื ง จังหวัดสุราษฎรธ์ านี
2. เพือ่ ศกึ ษาคุณภาพการปฏบิ ัตงิ านของพนักงานซีฟดู้ จำกดั อำเภอเมือง จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี
3. เพื่อศึกษาเปรยี บเทยี บขอ้ มลู สว่ นบคุ คลกบั คุณภาพการปฏิบตั งิ าน
4. เพอ่ื เปน็ แนวทางในการพฒั นา ปรบั ปรุงแก้ไขคุณภาพการปฏิบัติงานของพนักงงานซีฟ้ดู จำกัด

ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รับ

1. ได้ทราบถงึ ขอ้ มูลส่วนบคุ คลของพนกั งานซฟี ู้ด จำกัด อำเภอเมอื ง จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี
2. แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพการปฏบิ ตั งิ านของพนักงานซีฟูด้ จำกดั
3. ปรับปรุงคณุ ภาพการปฏบิ ตั ิงานของพนักงานซีฟดู้ จำกัด
4. นำไปเผยแพร่ให้หน่วยงาน/องค์กรอื่น ๆ เพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุง พัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน

ในแผนกต่าง ๆ ของหน่วยงาน/องคก์ ร

กรอบแนวคิด ประสทิ ธิภาพการทำงาน

ขอ้ มูลสว่ นบคุ ล - ด้านการทำงานต้องเชื่อถือ
- เพศ ได้
- ระดบั การศึกษา
- ดา้ นการทำงานเสร็จทนั เวลา
- ดา้ นผลงานได้ตามมาตรฐาน

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจยั

3

สมมตุ ิฐาน

การพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ยเ์ ชงิ กลยุทธ์ มีความสมั พนั ธ์และผลกระทบเชิงบวกกบั คณุ ภาพการปฏบิ ัติงาน

นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ

คุณภาพการทำงาน หมายถึง ผลลัพธ์ในการปฏิบัติงานที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ความสามารถในการปฏิบตั ิงานใหส้ ำเรจ็ ตามระยะเวลาท่ีกำหนด ใช้ความร้คู วามสามารถของตนเองเพ่ือปฏิบัติงาน
ใหบ้ รรลุผลเปา้ หมายขององค์กรทีไ่ ดก้ ำหนดไว้ โดยมอี งค์ประกอบ 3 ดา้ นดงั น้ี ดา้ นการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จ
ดา้ นการจัดหาและการใช้ปัจจยั ทรพั ยากร ดา้ นกระบวนการปฏิบตั งิ าน

คุณภาพการทำงาน ด้านการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จ ความหมายว่า ความสามารถในการปฏิบัติงาน
บรรลตุ ามเปา้ หมายท่ีองคก์ รได้กำหนดไวห้ รือคาดหวงั ไว้ ตามระยะเวลาที่กำหนด หรือตามวัตถปุ ระสงคท์ อ่ี งค์กรได้
กำหนดไว้ การปฏิบัตงิ านต้องมีผลการปฏิบัติงานทีด่ กี วา่ เปา้ หมายทีอ่ งคก์ ร

คุณภาพการทำงาน ด้านการจัดหาและการใช้ปัจจัยทรัพยากร ความหมายว่า การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง
เพียงพอในการปฏิบัติงาน สามารถจัดสรรทรัพยากรอยา่ งถูกต้อง เหมาะสม และใช้ทรัพยากรนั้นให้เกิดประโยชน์
สงู สดุ รวมถงึ ใช้ทรัพยากรในการดำเนินงานให้คุ้มค่าและมีประโยชน์ต่อองค์กร เพอื่ ทำให้การปฏิบัติงานสำเร็จตาม
เปา้ หมายขององคก์ รทีก่ ำหนดไว้

คุณภาพการทำงาน ด้านกระบวนการปฏิบัติงาน ความหมายว่า การปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ ตาม
มาตรฐานในการปฏิบัติงาน มีการส่งต่อกันของงานอย่างมีประสิทธิภาพการทำงานได้ การปฏิบัติงานสามารถ
ทำงานเป็นทมี ได้ มีความสมั พันธ์ระหวา่ งบคุ คลอยา่ งราบร่ืน ไม่มคี วามขัดแย้งกัน

บทที่ 2 เอกสารและงานท่เี กี่ยวขอ้ ง

บรบิ ทของบริษทั ซฟี ้ดู

พนั ธกจิ (Mission)

1. มุ่งเน้นการบริการด้านโรงแรมและสปาด้วย ความทันสมัย โดดเด่น แปลกใหม่ อย่างมี
เอกลกั ษณท์ ่ยี อดเยย่ี มทส่ี ุดในภาคใต้

2. มีการบรกิ ารที่สะดวกสบาย และสร้างความ ประทบั ใจแก่ลกู คา้ เป็นสำคัญ

3. ดำเนนิ ธุรกจิ ไปดว้ ยความซอ่ื สตั ยม์ ีคุณธรรม จริยธรรมตอ่ ลกู คา้ และธรุ กจิ

วิสัยทัศน์ (Vision)

ผู้นำด้านโรงแรมและสปาในภาคใต้ ด้วยการ บริการที่เป็นเลิศใส่ใจลูกค้าเป็นสำคัญ และยึด มั่น
คณุ ธรรมจริยธรรมทางธุรกจิ

5

แนวคิดและทฤษฎีของผลการดำเนนิ งาน

(กนกพัชร มาวชิ ยั , 2558) คุณภาพการปฏิบตั ิงาน หมายถงึ ความสามารถในการปฏิบัติงานท่ีได้รับ
มอบหมายให้สำเร็จตามระยะเวลาทก่ี ำหนด ตามมาตรฐานทต่ี ้ังไว้ คุณภาพของงานทส่ี ำเรจ็ มีความถกู ต้อง
เรียบร้อยและสมบรู ณ์ ครบถว้ น เชื่อถือได้ และตอบสนองความต้องการไดต้ รงประเด็น

(ชนัญชิดา แคนไธสง, 2557) คุณภาพการทำงาน หมายถึง ความเหมาะสมของการปฏิบัติงานต้อง
ใช้ความรู้ความสามารถด้านวิชาชีพต่อผลสำเร็จของงานเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ ที่ต้องพึงปฏิบัติอย่าง
ระมัดระวังรอบคอบ เป็นไปตามวัตถุประสงคข์ องงานภายใต้จรรยาบรรณผู้ประกอบวชิ าชพี

(ปรารถนา หวานเหย, 2558) คุณภาพการทำงาน หมายถึง ความสามารถในการใช้ความรู้
ความสามารถของตนเอง เพื่อที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายหรือได้กำหนดเป้าหมายให้บรรลุผล มีการ
ปฏิบตั งิ านไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและทำงานได้สมบรู ณ์อย่างมีประสิทธภิ าพ

(เพทาย เพียรทอง, 2558) คุณภาพการทำงาน หมายถึง การที่บุคคลตั้งใจทำงานอย่างถูกวิธีและ
ปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถมีการดึงศักยภาพที่มีอยู่ออกมาใช้ เพื่อให้งานนั้นบรรลุเป้าหมายของ
องคก์ รท่ีไดก้ ำหนดไวซ้ ึ่งการปฏบิ ัตงิ านดงั กลา่ วมุ่งหวงั ถงึ ผลสำเรจ็

(ศรัญญา มูลจันทร์, 2558) คุณภาพการปฏิบัติงาน หมายถึง ผลลัพธ์ในการปฏิบัติงานให้เกิด
ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผล ด้วยความตั้งใจปฏบิ ตั ิงานอยา่ งเต็มความสามารถ ใช้เทคนิคการทำงานที่จะ
สร้างผลงานได้มากและมีคุณภาพงานเป็นที่น่าสนใจ ใช้ทรัพยากรและค่าใช้จ่ายอย่างคุ้มค่า ทันต่อเวลา
และเพิ่มปริมาณผลงานมากขึ้นหรือคิดค้น ดัดแปลงวิธีการปฏิบัติงานให้ได้ผลดียิ่งขึ้น เพื่อเพิ่มขีด
ความสามารถในการทำงานของตนเองใหด้ ีขน้ึ อยเู่ สมอ

ผู้วิจัยสามารถสรุปความหมายคุณภาพการทำงาน หมายถึง ผลลัพธ์ในการปฏิบัติงานที่มีคุณภาพ
ประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล ความสามารถในการปฏิบัตงิ านให้สำเร็จตามระยะเวลาท่ีกำหนด ใช้ความรู้
ความสามารถของตนเองเพื่อปฏิบตั ิงานให้บรรลุผลเป้าหมายขององคก์ รท่ีได้กำหนดไว้โดยมีองคป์ ระกอบ
3 ด้าน ด้านการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จ ด้านการจัดหาและการใช้ปัจจัยทรัพยากร ด้านกระบวนการ
ปฏบิ ัติงาน

6

ตารางที่ 1 ตารางสังเคราะห์ตวั แปรคณุ ภาพการปฏบิ ตั ิงาน

ลำดบั (กนก (ชนัญชิ (ปรารถนา (เพทาย (ศรญั ญา ผ้วู จิ ยั
พัชร มา ดา แคน หวานเหย, เพียรทอง มลู จนั ทร์,
ด้านการม่งุ ผลสมั ฤทธ์ิ วชิ ยั , ไธสง, 
ด้านการบรกิ ารที่ดี 2558) 2557) 2558) , 2558) 2558) 
ด้านการส่งั สมความ  
เชีย่ วชาญในงานอาชีพ  
ดา้ นจริยธรรม  
ดา้ นการทำงานเป็นทีม  
ด้านการใชค้ วามรู้และ  
ทกั ษะในการปฏบิ ตั งิ าน
ดา้ นการใชไ้ หวพริบใน 
การปฏิบัติงาน 
ดา้ นการสรา้ งมนุษย์ 
สัมพันธแ์ ละการปรบั ตวั 
ดา้ นการสรา้ งมนุษย์
สมั พนั ธแ์ ละการปรบั ตัว
ในการปฏิบัตงิ าน
ด้านการบรรลุเป้าหมาย
ความสำเรจ็
ดา้ นการจัดหาและการใช้
ปจั จยั ทรัพยากร
ด้านกระบวนการ
ปฏบิ ตั งิ าน
ด้านความพอใจของทกุ
ฝ่าย

7

ลำดบั (กนก (ชนญั ชิ (ปรารถนา (เพทาย (ศรัญญา ผวู้ ิจัย
พัชร มา ดา แคน หวานเหย, เพยี รทอง มลู จนั ทร์,
ด้านคุณภาพผลงาน วิชัย, ไธสง, , 2558) 2558)
ด้านความรับผิดชอบ 2558) 2557) 2558)
ด้านความชำนาญ
ด้านความคิดสรา้ งสรรค์ 







ความหมายของคุณภาพการปฏบิ ตั ิงาน
(ปรารถนา หวานเหย, 2558) คุณภาพการทำงาน หมายถึง ความสามารถในการใช้ความรู้
ความสามารถของตนเอง เพื่อที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมายหรือได้กำหนดเป้าหมายให้บรรลุผล มีการ
ปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและทำงานได้สมบรู ณ์อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

(เพทาย เพียรทอง, 2558) คุณภาพการทำงาน หมายถึง การที่บุคคลตั้งใจทำงานอย่างถูกวิธีและ
ปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถมีการดึงศักยภาพที่มีอยู่ออกมาใช้ เพื่อให้งานนั้นบรรลุเป้าหมายของ
องคก์ รท่ีไดก้ ำหนดไว้ซ่งึ การปฏิบัติงานดังกล่าวมุ่งหวังถงึ ผลสำเรจ็

ผู้วิจัยสามารถสรุปความหมายคุณภาพการทำงาน หมายถึง ผลลัพธ์ในการปฏิบัติงานที่มีคุณภาพ
ประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล ความสามารถในการปฏบิ ัตงิ านให้สำเรจ็ ตามระยะเวลาท่ีกำหนด ใช้ความรู้
ความสามารถของตนเองเพื่อปฏิบตั งิ านใหบ้ รรลผุ ลเป้าหมายขององค์กรที่ได้กำหนดไว้

ความหมายของคุณภาพการปฏิบัติงาน ด้านการบรรลเุ ป้าหมายความสำเร็จ
(ปรารถนา หวานเหย, 2558) ให้ความหมายว่า ความสามารถในการปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับ
เป้าหมายที่ได้กำหนดไว้หรือนโยบายที่ผู้บริหารองค์กรคาดหวังไว้ ซึ่งการเปรียบเทียบ ที่เกิดขึ้นนั้นการ
ปฏบิ ตั งิ านต้องมีผลการปฏบิ ตั งิ านที่ดีกว่าเปา้ หมายทีอ่ งค์กรไดค้ าดหวงั ไว้

(เพทาย เพียรทอง, 2558) ให้ความหมายว่า ด้านการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จ หมายถึง
ความสามารถในการปฏิบัติงาน เปรียบเทียบกับเป้าหมายที่องค์กรได้กำหนดหรือนโยบายที่ผู้บริหาร
องคก์ รคาดหวังไว้ซึ่งการเปรียบเทียบทเ่ี กิดขนึ้ นั้น การปฏบิ ัตงิ านต้องมผี ลการปฏิบัติงานท่ีดีกว่าเป้าหมาย
ท่อี งคก์ รได้คาดหวังไว้

8

ผู้วิจัยให้ความหมายว่า ความสามารถในการปฏิบัติงานบรรลุตามเป้าหมายที่องค์กรได้กำหนดไว้
หรือคาดหวังไว้ ตามระยะเวลาท่ีกำหนด หรอื ตามวัตถุประสงค์ที่องค์กรได้กำหนดไว้ การปฏิบัติงานต้องมี
ผลการปฏิบตั ิงานทด่ี ีกว่าเป้าหมายท่ีองค์กรคาดหวงั ไว้

ความหมายของคุณภาพการปฏบิ ัติงาน ดา้ นการจัดหาและการใช้ปจั จัยทรพั ยากร
(ปรารถนา หวานเหย, 2558) ให้ความหมายว่า ด้านการจดั หาและการใช้ปัจจัยทรพั ยากร หมายถึง
ความสามารถในการใช้ทรัพยากรในลักษณะที่มีอย่างเพียงพอสำหรับการดำเนินการตามแผนปฏิบัติและ
จัดสรรอย่างถูกต้อง เหมาะสม ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้การปฏิบัติงานสำเร็จ
ตามเป้าหมาย รวมถึงการใช้ทรัพยากรใน การดําเนินงานให้คุ้มค่าและมีประโยชน์ต่อองค์กรให้มากที่สุด
โดยบรรลุเปา้ หมายขององคก์ รท่กี ำหนดไว้

(เพทาย เพียรทอง, 2558) ให้ความหมายว่า ด้านการจัดหาและการใช้ปัจจัยทรัพยากร หมายถึง
ความสามารถใน การใช้ทรัพยากรในลักษณะท่มี เี พยี งพอสำหรบั การดำเนนิ การตามแผนปฏบิ ตั ิและจัดสรร
อย่างถูกต้อง เหมาะสม เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้การปฏิบัติงานสำเร็จตามเป้าหมาย รวมถึงการใช้
ทรัพยากรในการดาํ เนนิ งานใหค้ มุ้ คา่ และมปี ระโยชนต์ อ่ องค์กรให้มากทสี่ ุด โดยบรรลเุ ปา้ หมายขององค์กร
ที่ตง้ั ไว้

ผู้วิจัยให้ความหมายว่า การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างเพียงพอในการปฏิบัติงาน สามารถจัดสรร
ทรัพยากรอย่างถูกต้อง เหมาะสม และใช้ทรัพยากรนั้นให้เกิดประโยชน์สูงสุด รวมถึงใช้ทรัพยากรในการ
ดำเนินงานให้คุ้มค่าและมีประโยชน์ต่อองค์กร เพื่อทำให้การปฏิบัติงานสำเร็จตามเป้าหมายขององค์กรที่
กำหนดไว้

ความหมายของคณุ ภาพการปฏบิ ัติงาน ด้านกระบวนการปฏบิ ัติงาน
(ปรารถนา หวานเหย, 2558) ให้ความหมายว่า ด้านกระบวนการปฏิบัติงาน หมายถึง
ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาทของแต่ละกลุ่มงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน การส่งต่อ
กันของงาน การมีประสิทธิภาพการทำงานได้ อย่างครบถ้วน ใช้เวลาน้อย ประหยัดต้นทุน มีการใช้
เทคโนโลยีช่วยปฏิบตั ิงานบุคคลทำงานอย่างเต็มศักยภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและระหว่างกล่มุ มี
ความราบรื่นไม่มีความขัดแยง้

(เพทาย เพียรทอง, 2558) ให้ความหมายว่า ความสามารถในการปฏิบตั ิหน้าท่ีตามบทบาทของแต่
ละกลุ่มงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน การไหลส่งต่อของงานอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้เวลาน้อย ต้นทุน
น้อย มีการใช้เทคโนโลยีช่วยปฏิบัติงานบุคคลทำงานเต็มศักยภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ
ระหวา่ งกล่มุ มคี วามราบร่ืน ไม่มีความขัดแย้ง

9

ผูว้ ิจัยให้ความหมายว่า การปฏบิ ตั งิ านตามบทบาทหน้าที่ ตามมาตรฐานในการปฏิบตั ิงาน มีการส่ง
ตอ่ กนั ของงานอย่างมีประสิทธิภาพการทำงานได้ การปฏิบตั ิงานสามารถทำงานเป็นทีมได้ มีความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคลอย่างราบรน่ื ไม่มีความขัดแยง้ กัน

10

บทท่ี 3 วิธีการดำเนินวจิ ยั

ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง

ประชากร คอื พนักงานบรษิ ทั ซีฟดู้ จำกัด อำเภอเมอื ง จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี จำนวน 66 คน

กลมุ่ ตวั อย่าง ขนาดกลุ่มตัวอยา่ งโดยใช้ตาราง Krejci Morgan จำนวน 59 8น

วธิ กี ารสมุ่ ตวั อยา่ ง แบบอยา่ งง่าย โดยใช้วธิ ีการจบั ฉลาก

สาขา ประชากร กลุ่มตวั อยา่ ง

A 32 30

B 34 29

รวม 66 59

สาขา A สาขา B
1. นางสาวณฐั รุจี แซ่ลมิ่ 1. นางสาวอญั ชรียา พลบั แกว้
2. นางสาวพรศริ ิ พลจรัส 2. นางสาวศศินา เสืออินโท
3. นางสาวนฎา เล่ียนเซ่ง 3. นางสาวรวงข้าว สดุ ตา
4. นางสาวทพิ ทวิ า มากจิต 4. นางสาวอนันดา เรอื งแท้
5. นางสาววิลาวรรณ ทองพรหมดี 5. นายสหัสวรรษ ศรีสวสั ด์ิ
6. นางสาวรมณี โรมินทร์ 6. นางสาวณฐั ภรณ์ มณเฑยี ร
7. นางสาวรชั ฎาภรณ์ บวั อนิ ทร์ 7. นางสาวกาญจนา บตุ รเล่ียม
8. นางสาววรรณกานต์ หวานทอง 8. นายอาทติ ย์ ศิริลาภา
9. นางสาวศิรนิ ญา คงมาก 9. นางสาวอนัดดา เพชรคง
10. นางสาวกนกกาญจน์ นุ่นแก้ว 10. นางสาวพรพมิ ล ทองปรงุ
11. นางสาวเกศรา แก้วเกิด 11. นายณฏั ฐนันท์ เขาทอง

สาขา A 11
12. นางสาวนุชนาถ ทองสัมฤทธิ์
13. นางสาวรตั นาพร ศรประดษิ ฐ์ สาขา B
14. นายพงศธ์ ร ยุวบตุ ร 12. นางสาวดวงกมล ภู่มณี
15. นางสาวจนั ทมิ า คำเอยี ด 13. นางสาวศิริรตั น์ ทองออ่ น
16. นายนฐั พล ลม้ิ สุวรรณ 14. นายเจษฎา สมบรู ณ์
17. นางสาวกนกวรรณ เรืองวเิ ศษ 15. นางสาวณัฐทริกา ทวิชศรี
18. นางสาวณิชากร เจริญรักษ์ 16. นางสาวกิตตวิ รา นุน่ ชูผล
19. นางสาวนนั ทิยา นมุ่ นวล 17. นางสาวเกตนุ ภา สขุ ขวด
20. นางสาวสจุ นิ นั ท์ พษิ ครุฑ 18. นางสาวอาภาพร หอมรืน่
21. นางสาวภาสนิ ี เกษสี ม 19. นางสาวจารุวรรณ ถวัลธรรม
22. นายกรณด์ นยั ไชยพยนั ต์ 20. นางสาวสรุ ยิ าพร กรยุ ะ
23. นางสาวสุชานันท์ ชาวชลี อง 21. นางสาวเบญจมาศ อาจหาญ
24. นางสาวรัชชิดา เจริญแพทย์ 22. นางสาวอมราวดี วโิ รจน์
25. นางสาวกชามาส ทองเสมยี น 23. นายจริ วัฒน์ ธรรมนาวาศ
26. นางสาวเกศกนก มณรี ตั น์ 24. นายณฐพณ ทองรกั ทอง
27. นางสาวลดาภรณ์ ชปู ัน 25. นางสาวศศธิ ร ฉิมรักษ์
28. นางสาววิภารตั น์ เพ็งสวสั ดิ์ 26. นางสาวจริยา เตียซวิ
29. นางสาวจิติมา ตันสกลุ 27. นางสาวจุฑารัตน์ ถงึ เสียบญวน
30. นางสาวประภัสสร ไตรมาศ 28. นางสาวอาภาพร ชนมท์ วี
29. นางสาวธนภรณ์ สวุ รรณมณี

12

เครื่องมือท่ใี ช้ในงานวจิ ยั

เครือ่ งมือการวจิ ัยครงั้ นี้ คอื แบบสอบถาม มีจำนวน 2 ตอน ไดแ้ ก่
ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย เพศ และระดับการศึกษา โดยใช้
ระดบั การวดั ขอ้ มลู แบบตรวจสอบรายการ (Check – List)
ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับการวัดระดับองค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์ต่าง ๆ ประกอบด้วย
ประสิทธิภาพการทำงาน จำนวน 10 ข้อ ลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) เป็น
การวัดความคดิ เหน็ 5 ตวั เลือก ตามวิธขี องลิเคิรท์ (Likert) ดงั น้ี
ระดับคะแนน 5 หมายถึง มากที่สดุ
ระดบั คะแนน 4 หมายถงึ มาก
ระดับคะแนน 3 หมายถึง ปานกลาง
ระดบั คะแนน 2 หมายถึง นอ้ ย
ระดับคะแนน 1 หมายถงึ น้อยท่ีสุด
ประกอบด้วย ด้านการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จ ด้านการจัดหาและการใช้ปัจจัยทรัพยากร และด้าน
กระบวนการปฏบิ ัตงิ าน โดยนำคะแนนท่ีได้กำหนดเกณฑ์การแปลความหมายข้อมลู ของประสิทธิภาพการ
ทำงาน เพ่อื จัดระดบั คา่ เฉล่ยี โดยกำหนดคะแนน ดังนี้
ค่าเฉล่ีย 4.50 – 5.00 หมายถึง ระดบั ความไว้วางใจมากที่สดุ
คา่ เฉลี่ย 3.50 – 4.49 หมายถงึ ระดบั ความไวว้ างใจมมาก
ค่าเฉลย่ี 2.50 – 3.49 หมายถงึ ระดับความไว้วางใจปานกลาง
ค่าเฉลย่ี 1.50 – 2.49 หมายถึง ระดับความไว้วางใจน้อย
คา่ เฉลย่ี 1.00 – 1.49 หมายถึง ระดบั ความไวว้ างใจนอ้ ยทส่ี ุด

13

วธิ กี ารทดสอบคุณภาพของเคร่ืองมอื

1. สร้างแบบสอบถามและนำเสนอคณะกรรมการที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระและผู้เชี่ยวชาญ
จำนวน 3 คน
1. นางสาวดวงกมล ภมู่ ณี
2. นางสาวจฑุ ารตั น์ ถึงเสียบญวน
3. นางสาวอมราวดี วิโรจน์

เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหา ความสมบูรณ์ถูกต้องของเนื้อหาและการใช้ภาษา นำ
แบบสอบถามมาปรบั ปรงุ แกไ้ ขตามข้อเสนอแนะ

2. นำแบบสอบถามที่ได้ปรับปรุงแก้ไขแล้ว ไปทดลองใช้กับพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด จังหวัดสุ
ราษฎร์ธานี จำนวน 59 คนเพื่อหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถาม โดยวิธี
สัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha – Coefficient) ตามวิธีของครอนบาค โดยถ้าค่าความเชื่อมั่นได้
เท่ากับหรือมากกว่า 0.7 ซึ่งถือว่าแบบสอบถามมีระดับความเชื่อมั่นได้ ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้
ประสิทธิภาพการทำงาน ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.919 และค่า
อำนาจจำแนกรายข้ออยู่ทรี่ ะหวา่ ง 0.700 - 0.8135

การเก็บรวบรวมข้อมูล

วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ดงั นี้

1. ทำแบบสอบถาม
2. ทดสอบคุณภาพเครอื่ งมือ โดยผู้เชี่ยวชาญ
3. ส่งแบบสอบถามให้กลุ่มดว้ ยตัวอยา่ ง โดยใช้ Google Forms
4. นำข้อมลู มาวิเคราะห์และสรปุ ผล

สถติ ิที่ใชใ้ นการวจิ ยั

1. ข้อมูลส่วนบุคคลโดยใช้สถิตคิ วามถีแ่ ละร้อยละ

2. คณุ ภาพการปฏิบัติงาน ใช้สถิตคิ วามถี่ ร้อยละ ค่าเฉลีย่ และค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน

3. ขอ้ มูลส่วนบุคคลด้านเพศกับคณุ ภาพการปฏบิ ัติงานใชส้ ถติ ิ Independent Sampies T Test

4. ข้อมูลส่วนตวั ด้านระดับการศึกษากับการปฏบิ ตั งิ านใชส้ ถิติ One way ANOVA และ Pest hoc

บทที่ 4 สรุปการวจิ ัย

การศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน ของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง
จังหวดั สุราษฎร์ธานี โดยแบ่งการวเิ คราะหข์ ้อมลู เปน็ 4 ขน้ั ตอน ดังนี้

1. ขอ้ มลู ส่วนบุคคลโดยใชส้ ถิติความถแ่ี ละรอ้ ยละ

2. คุณภาพการปฏบิ ัตงิ าน ใช้สถิตคิ วามถ่ี รอ้ ยละ คา่ เฉลย่ี และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน

3. ข้อมูลส่วนบุคคลดา้ นเพศกบั คุณภาพการปฏิบัตงิ านใช้สถติ ิ Independent Sampies T Test

4. ข้อมลู สว่ นตัวดา้ นระดบั การศกึ ษากบั การปฏบิ ัติงานใชส้ ถติ ิ One way ANOVA และ Pest hoc

การเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล

เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ตามลำดบั ดังนี้

ตอนท่ี 1 การวิเคราะหข์ ้อมูลปจั จยั สว่ นบคุ คลบรษิ ทั ซีฟู้ด จำกดั อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธ์ านี

การวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคลบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ประกอบด้วยเพศและระดับการศึกษา โดยการแจกแจงความถี่ (Frequency) และร้อยละ (Percentage)
แสดงผลการวิเคราะหด์ ว้ ยตาราง 4.1

ตารางท่ี 2 จำนวนและรอ้ ยละของปจั จยั สว่ นบคุ คลของผตู้ อบแบบสอบถาม

ปจั จยั ส่วนบคุ คล จำนวน (N=59) ร้อยละ

เพศ

ชาย 9 15.3

หญิง 50 84.7

วุฒกิ ารศกึ ษา

ตำ่ กว่าปริญญาตรี 10 16.94

ปริญญาตรี 42 24.78

สูงกว่าปรญิ ญาตรี 7 4.13

15

จากตารางที่ 2 ผลการศึกษาข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคลพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศ
หญิง จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 84.7 และระดับการศึกษาส่วนใหญ่อยู่ในระดับปริญญาตรี จำนวน
42 คน คิดเปน็ ร้อยละ

ตอนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลแนวทางการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติ ของพนักงานบริษัทซีฟู้ด
จำกดั อำเภอเมอื ง จังหวัดสุราษฎร์ธานี

การวเิ คราะหข์ ้อมลู ระดับการพัฒนาคุณภาพการปฏิบตั ิงาน ของพนักงานบริษัทซีฟูด้ จำกัด อำเภอ
เมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยหาค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation :
S.D.) แสดงผลการวิเคราะห์ ดังตาราง

ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐานของระดับแนวทางการพัฒนาคุณภาพการ
ปฏบิ ตั งิ าน ของพนักงานบริษทั ซีฟู้ด จำกดั อำเภอเมอื ง จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี

คุณภาพการปฏบิ ตั งิ าน ระดับความไว้วางใจ
S.D. แปลผล

1. ด้านการบรรลุเป้าหมาย 4.17 0.62 มากที่สุด
ความสำเรจ็

2. ด้านการจดั หาและการใชป้ จั จัย 4.37 0.55 มากทส่ี ดุ
ทรพั ยากร

3. ดา้ นกระบวนการปฏิบัติงาน 4.47 0.60 มากท่ีสุด

รวม 4.33 0.59 มากทส่ี ุด

จากตารางท่ี 3 ค่าเฉลย่ี และส่วนเบ่ยี งเบนมาตราฐานของระดบั การพัฒนาคณุ ภาพการปฏิบัตงิ าน
ของพนกั งานบรษิ ทั ซฟี ู้ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวดั สุราษฎรธ์ านี ด้านองค์ประกอบคุณภาพการปฏบิ ตั ิงาน
โดยภาพรวม พบว่าอยใู่ นระดับ มากทส่ี ุด ( = 4.33, S.D. = 0.59)

เมอ่ื พจิ ารณารายด้านอยใู่ นระดับมากท่สี ุด จำนวน 3 ด้าน เรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่
ดา้ นกระบวนการปฏิบัติงาน ด้านการจัดหาและการใช้ปจั จัยทรพั ยากร และด้านการบรรลเุ ปา้ หมาย
ความสำเร็จ

16

ตารางที่ 4 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐานของระดับแนวทางการพัฒนาคุณภาพการ
ปฏิบัติงาน ด้านการบรรลเุ ปา้ หมายความสำเรจ็ ของพนักงานบรษิ ัทซฟี ู้ด จำกดั อำเภอเมือง จังหวัด
สุราษฎร์ธานี

ดา้ นการบรรลุเปา้ หมายความสำเร็จ ระดบั ความไว้วางใจ
S.D. แปลผล

ท่านสามารถทำงานตามหนา้ ท่ี 4.36 0.58 มากทส่ี ดุ
1. ในการปฏิบัตงิ านบรรลุตาม

เปา้ หมาย

2. ท่านสามารถทำงานตาม 4.22 0.59 มากทสี่ ดุ
ระยะเวลาที่กำหนดได้

ท่านสามารถทำงานได้ตาม 3.92 0.70 มากท่ีสุด
3. วตั ถุประสงค์ที่องคก์ รกำหนดไว้

ได้

ทา่ นสามารถทำงานตามหนา้ ที่ 4.17 0.56 มากทีส่ ดุ
4. ให้ผลการปฏบิ ัตงิ านทด่ี ีกวา่

เปา้ หมายได้

รวม 4.16 0.60 มากท่สี ดุ

จากตารางที่ 4 ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐานระดับแนวทางการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน
ด้านการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จ ของพนักงานบริษัทซีฟูด้ จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
โดยภาพรวมพบวา่ อย่ใู นระดับมากท่สี ุด ( = 4.16, S.D. = 0.60)

เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 4 ข้อ เรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย
ได้แก่ ท่านสามารถทำงานตามหน้าที่ในการปฏิบัติงานบรรลุตามเป้าหมาย ท่านสามารถทำงานตาม
ระยะเวลาที่กำหนดได้ ท่านสามารถทำงานตามหน้าที่ให้ผลการปฏิบัติงานที่ดีกว่าเป้าหมายได้ และท่าน
สามารถทำงานไดต้ ามวัตถปุ ระสงคท์ ่อี งคก์ รกำหนดไวไ้ ด้

17

ตารางที่ 5 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับแนวทางการพัฒนาคุณภาพการ
ปฏิบัติงาน ด้านการจัดหาและการใช้ปัจจัยทรัพยากร ของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง
จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี

ด้านการจดั หาและการใช้ปจั จัย ระดับความไว้วางใจ
ทรพั ยากร S.D. แปลผล

ท่านสามารถทำงานตามหนา้ ที่ 4.36 0.52 มากทส่ี ุด
1. ได้โดยใชท้ รัพยากรที่มีอยู่อย่าง

เพยี งพอ

ท่านสามารถทำงานตามหน้าท่ี 4.39 0.59 มากที่สดุ
2. ไดโ้ ดยใช้ทรัพยากรนัน้ ใหเ้ กดิ

ประโยชน์สงู สุด

3. ท่านสามารถทำงานสำเร็จตาม 4.37 0.55 มากท่ีสุด
เป้าหมายขององค์กร

รวม 4.37 0.55 มากท่ีสดุ

จากตารางที่ 5 ค่าเฉลย่ี และคา่ เบ่ียงเบนมาตราฐานระดบั แนวทางการพัฒนาคุณภาพการปฏบิ ัติงาน
ด้านการจัดหาและการใช้ปัจจยั ทรัพยากร ของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี
โดยภาพรวมพบวา่ อยู่ในระดบั มากทส่ี ุด ( = 4.37, S.D. = 0.55)

เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 3 ข้อ เรียงตามละดับจากมากไปน้อย
ได้แก่ ท่านสามารถทำงานตามหน้าที่ได้โดยใช้ทรัพยากรนั้นให้เกิดประโยชน์สูงสุด ท่านสามารถทำงาน
สำเร็จตามเป้าหมายขององค์กร และท่านสามารถทำงานตามหน้าที่ได้โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง
เพยี งพอ

18

ตารางที่ 6 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐานของระดับแนวทางการพัฒนาคุณภาพการ
ปฏิบัติงาน ด้านกระบวนการปฏิบัตงิ าน ของพนักงานบริษัทซีฟูด้ จำกดั อำเภอเมอื ง จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี

ด้านกระบวนการปฏบิ ตั ิงาน ระดับความไว้วางใจ
S.D. แปลผล

1. ท่านสามารถปฏิบัติงานตาม 4.47 0.54 มากท่สี ดุ
บทบาทหนา้ ที่ได้

ทา่ นสามารถทำงานตามหน้าท่ี 4.20 0.69 มากที่สุด
2. ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพการ

ทำงาน

3. ทา่ นสามารถทำงานเป็นทมี 4.75 0.44 มากที่สุด
รว่ มกับบุคคลในองคก์ รได้

รวม 4.47 0.55 มากท่ีสุด

จากตารางที่ 6 ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตราฐานของระดับแนวทางการพัฒนาคุณภาพการ
ปฏิบัติงาน ด้านกระบวนการปฏิบัติงาน ของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
โดยภาพรวมพบวา่ อยู่ในระดับมากทสี่ ดุ ( = 4.47, S.D. = 0.55)

เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 3 ข้อ เรียงตามลำดับจากมากไปน้อย
ได้แก่ ท่านสามารถทำงานเปน็ ทีมร่วมกับบุคคลในองค์กรได้ ท่านสามารถปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าทีไ่ ด้
และทา่ นสามารถทำงานตามหนา้ ทีไ่ ด้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพการทำงาน

19

ตารางที่ 7 การวิเคราะห์เปรียบเทียบแนวทางการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน ของพนักงาน
บริษัทซฟี ูด้ จำกดั อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธ์ านี จำแนกตามเพศ

(N=59)

เพศ n S.D. T P - value

ชาย 9 4.5340 .33787 2.143 57

หญิง 50 4.3022 .29169

มนี ยั สำคญั ทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 7 แสดงให้เห็นว่า แนวทางการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัตงิ านของพนกั งานบริษัทซฟี ู้ด
จำกดั อำเภอเมือง จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ในภาพรวม มีคา่ Sig. เทา่ กบั .366 ซ่งึ มากกวา่ ระดับนยั สำคัญ
ทางสถิติทรี่ ะดบั 0.05 หมายความวา่ เพศท่ีแตกตา่ งกันทำให้การพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานโดย
ภาพรวมของพนักงานบรษิ ัทซีฟูด้ จำกดั อำเภอเมือง จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี ไมแ่ ตกต่างกนั และไมเ่ ป็นไป
ตามสมมติฐานการวิจัยทตี่ ้งั ไว้

ตารางที่ 8 การวิเคราะห์เปรียบเทียบความผูกพันองค์การของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด
อำเภอเมอื ง จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี

คุณภาพการ แหล่งความ ss df MS F P - value
ปฏิบัติงาน แปรปรวน

ระหว่างกลุ่ม .273 2 .137 1.607 .219

ภาพรวม ภายในกลมุ่ 2.294 27 .085

รวม 2.567 29

มนี ยั สำคญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดับ 0.05

20

จากตารางที่ 8 แสดงผลการทดสอบความแตกต่างโดยใช้สถิติ One – way ANOVA ด้วยการ
วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดยี ว ทร่ี ะดับนัยสำคญั 0.05 ระหว่างระดับการศกึ ษากับการพัฒนาคุณภาพ
การปฏิบตั งิ านของพนักงานบริษัทซีฟ้ดู จำกดั อำเภอเมอื ง จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างมา
3 กลุ่ม ตามระดับการศึกษา ต่ำกว่าปริญญาตรี 10 คน ปริญญาตรี 42 คน และสูงกว่าปริญญาตรี 7 คน
ในดา้ นภาพรวมพบว่า มคี ่า Sig. เท่ากับ .219 ซงึ่ มากกว่า 0.05 สรปุ ผลการทดลองไดว้ ่าระดับการศึกษาที่
แตกตา่ งกัน ทำให้การพัฒนาคุณภาพการปฏบิ ัตงิ านของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกดั อำเภอเมือง จังหวัดสุ
ราษฎร์ธานี แตกต่างกันเปน็ ไปตามสมมติฐานการวจิ ัยทต่ี ั้งไว้

บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รายผล ขอ้ เสนอแนะการวิจยั

การศึกษาวิจัยเรื่องแนวทางการพัฒนาคุณภาพการทำงานของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง
จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาหาข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง
จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี 2) เพื่อศึกษาคุณภาพการทำงานของพนักงานบรษิ ัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์
ธานี 3) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบข้อมูลส่วนบุคคลกับคุณภาพการปฏิบัติงาน 4) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนา
ปรับปรุงแกไ้ ขคุณภาพการปฏิบตั ิงานของพนกั งานบรษิ ทั ซีฟดู้ จำกดั อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย โดยได้
กำหนดสมมตฐิ านการวิจัยไว้ ดังนี้ 1) ปัจจยั สว่ นบคุ คล ไดแ้ ก่ เพศ และระดับการศึกษา 2) คุณภาพการทำงานของ
พนกั งานบรษิ ัทซฟี ดู้ จำกดั อำเภอเมอื ง จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
จำนวน 59 คน

เครอื่ งมอื ทใี่ ช้ในการวิจัยคร้ังนี้เป็นแบบสอบถามทีผ่ วู้ จิ ัยสร้างขึน้ มาจากการทบทวนแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัย
ที่เกี่ยวข้อง โดยผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง หลังจากนั้นนำแบบสอบถามมาตรวจสอบความถูกต้องและ
ครบถ้วนของข้อมูลโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเรจ็ รูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่
(Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) การ
ทดสอบค่าเฉลี่ยของกลุ่ม (Independent Sampies Test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One way
ANOVA)

สรปุ ผลการวิจัย

จากการวิเคราะห์ขอ้ มลู ผลการวิจัยสรปุ ประเดน็ สำคญั ดงั นี้

1. การวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี พบว่า
พนกั งานบรษิ ัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมอื ง จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี สว่ นมากเปน็ เพศหญิง จำนวน 50 คน คิด
เปน็ รอ้ ยละ 84.7 และวุฒิการศึกษาส่วนมากเป็นปรญิ ญาตรี จำนวน 42 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 24.78

2. แนวทางการพฒั นาคุณภาพการปฏิบตั ิงานของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกดั อำเภอเมอื ง จังหวัดสุราษฎร์
ธานี โดยรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับ มากที่สุด 3 ด้าน คือ
ด้านการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จ ด้านการจัดหาและการใช้ปัจจัยทรัพยากร และด้านกระบวนการ
ปฏิบัติงาน

22

อภปิ รายผลการวิจยั

ในการวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน ของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง
จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี สามารถอภิปรายผลการวจิ ยั ได้ ดังน้ี

วัตถุประสงคใ์ นการวจิ ยั

5. เพ่อื ศึกษาข้อมลู ส่วนบุคคลของพนักงานซฟี ้ดู จำกดั อำเภอเมือง จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี
6. เพื่อศกึ ษาคุณภาพการปฏิบตั ิงานของพนักงานซีฟูด้ จำกัด อำเภอเมือง จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
7. เพอ่ื ศึกษาเปรยี บเทียบข้อมลู สว่ นบุคคลกับคุณภาพการปฏิบตั งิ าน
8. เพ่อื เป็นแนวทางในการพฒั นา ปรับปรุงแกไ้ ขคณุ ภาพการปฏิบัตงิ านของพนักงงานซีฟู้ด จำกัด

สมมุติฐาน

การพฒั นาทรพั ยากรมนุษยเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ มคี วามสมั พันธแ์ ละผลกระทบเชิงบวกกบั คณุ ภาพการปฏบิ ัตงิ าน

การวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน ของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง
จังหวัดสุราษฎร์ธานี จะเป็นเพศหญิง จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 84.7 เพศชาย จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ
15.3 และวุฒิการศึกษา จะเป็นปริญญาตรี จำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 24.78 ต่ำกว่าปริญญาตรี 10 คน คิด
เป็นร้อยละ 16.94 สูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 4.13 ซึ่งแนวทางการพัฒนาคุณภาพการ
ปฏิบัติงานของพนักงาน อยู่ในระดับ มากที่สุด โดยมีองค์ประกอบ 3 ด้าน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยด้านที่มี
คา่ เฉลยี่ มากท่สี ดุ คอื ด้านกระบวนการปฏบิ ัตงิ าน รองลงมาคือ ดา้ นการจัดหาและการใช้ปจั จยั ทรัพยากร และดา้ น
ท่มี ีค่าเฉล่ียน้อยท่ีสดุ คือ ดา้ นการบรรลุเปา้ หมายความสำเรจ็

1. การพฒั นาคณุ ภาพการปฏบิ ตั ิงาน ดา้ นกระบวนการปฏบิ ตั งิ าน จากการวจิ ัยพบวา่ อย่ใู นระดับ มาก
ทส่ี ุด ( = 4.47, S.D. = 0.55) เมื่อพิจารณารายข้อพบวา่ อยู่ในระดับมากทส่ี ุด จำนวน 3 ขอ้ เรียง
ตามลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ท่านสามารถทำงานเป็นทีมรว่ มกบั บุคคลในองค์กรได้ ท่านสามารถ
ปฏบิ ตั ิงานตามบทบาทหนา้ ที่ได้ และท่านสามารถทำงานตามหนา้ ทีไ่ ด้อยา่ งมีประสิทธภิ าพการทำงาน

2. การพฒั นาคณุ ภาพการปฏบิ ัติงาน ดา้ นการจัดหาและการใชป้ จั จัยทรัพยากร จากการวจิ ยั พบวา่ อยู่ใน
ระดบั มากทสี่ ุด ( = 4.37, S.D. = 0.55) เม่ือพิจารณารายข้อพบว่า อยู่ในระดบั มากทสี่ ุด จำนวน 3
ข้อ เรยี งตามละดับจากมากไปนอ้ ย ได้แก่ ทา่ นสามารถทำงานตามหนา้ ที่ได้โดยใช้ทรัพยากรนนั้ ให้เกดิ
ประโยชน์สงู สุด ทา่ นสามารถทำงานสำเร็จตามเป้าหมายขององคก์ ร และทา่ นสามารถทำงานตาม
หนา้ ท่ีได้โดยใชท้ รัพยากรท่ีมีอย่อู ย่างเพยี งพอ

23

3. การพฒั นาคณุ ภาพการปฏิบัติงาน ดา้ นการบรรลเุ ปา้ หมายความสำเรจ็ จากการวิจัยพบว่าอย่ใู นระดับ
มากท่ีสดุ ( = 4.33, S.D. = 0.59) เม่ือพิจารณารายข้อพบวา่ อย่ใู นระดับมากทสี่ ุด จำนวน 4 ข้อ
เรียงตามลำดบั จากมากไปหาน้อย ไดแ้ ก่ ทา่ นสามารถทำงานตามหนา้ ที่ในการปฏิบัตงิ านบรรลตุ าม
เปา้ หมาย ท่านสามารถทำงานตามระยะเวลาที่กำหนดได้ ท่านสามารถทำงานตามหนา้ ท่ีให้ผลการ
ปฏิบตั งิ านทด่ี กี ว่าเปา้ หมายได้ และทา่ นสามารถทำงานได้ตามวตั ถปุ ระสงคท์ ี่องค์กรกำหนดไว้ได้

ข้อเสนอแนะการวจิ ยั

จากการวิจัยเรื่องแนวทางการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน ของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมือง
จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี มีขอ้ เสนอแนะ ดังนี้

1. ข้อเสนอแนะทั่วไป
1.1 จากผลการวจิ ัยเรื่องแนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการปฏิบตั ิงาน ของพนักงานบรษิ ัทซฟี ดู้ จำกัด

อำเภอเมือง จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี พบวา่ พนักงานมีคณุ ภาพการปฏบิ ัตงิ าน ดา้ นการบรรลุเป้าหมาย
ความสำเร็จ มคี ่าเฉลยี่ น้อยที่สุด ดงั นัน้ พนกั งานควรพัฒนาการปฏิบตั ิงานด้านนี้ โดยเปดิ โอกาสให้
พนกั งานปฏิบัติงานนอกกรอบ แสดงความสามารถในการปฏบิ ัติงานอยา่ งเต็มที่ ซึง่ ส่งิ เหล่านจี้ ะเป็น
ตวั กระตนุ้ การทำงานเกดิ ความกระตือรือร้นและสามารถปฏิบตั ิงานใหบ้ รรลเุ ป้าหมายความสำเร็จได้
1.2 จากการวจิ ัย ผลการวจิ ยั เรื่องแนวทางการพฒั นาคุณภาพการปฏิบตั งิ าน ของพนักงานบริษทั ซีฟู้ด
จำกดั อำเภอเมือง จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี พบวา่ พนักงานมีคุณภาพการปฏบิ ตั ิงาน ดา้ นการจัดหาและ
การใชป้ จั จยั ทรัพยากร มีค่าเฉลีย่ รองลงมา ดงั น้นั พนักงานควรใช้ทรพั ยากรในลกั ษณะท่ีมีอย่าง
เพยี งพอสำหรบั ใช้ในการปฏิบัตงิ านตามแผนปฏบิ ตั แิ ละเพ่ือให้ทรัพยากรท่ีนำไปใช้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ
แก่องคก์ ร
1.3 จากการวิจยั ผลการวจิ ยั เรือ่ งแนวทางทางการพัฒนาคุณภาพการปฏบิ ตั ิงาน ของพนักงานบรษิ ทั ซีฟู้ด
จำกดั อำเภอเมือง จงั หวดั สุราษฎร์ธานี พบวา่ พนกั งานมคี ุณภาพการปฏิบตั ิงาน ดา้ นกระบวนการ
ปฏบิ ตั ิงาน มีคา่ เฉลย่ี มากท่สี ุด จากการปฏบิ ัติงาน 3 ดา้ น ดังนน้ั พนกั งานควรปฏบิ ัตงิ านตามบทบาท
หน้าทตี่ ามมาตราฐานการปฏิบัติงาน ทำงานเปน็ ทมี การส่งตอ่ กนั ของงาน และความสมั พันธร์ ะหว่าง
บุคคลและระหวา่ งกลุ่มมคี วามราบร่นื ไม่ขดั แยง้ ภายในองค์กร

24

บรรณานุกรม

กัญญมน วทิ ยาภมู ิ และไพลิน นิลนยิ ม ชนัญชิดา แคนไธสง. (2557). ผลกระทบของแรงจงู ใจในวชิ าชพี บัญชี
ที่มีต่อคุณภาพการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบบัญชีภาษีอากรในเขตกรุงเทะมหานคร. วารสารการบัญชีและการ
จัดการ, 34-43.

ณัฐวุฒิ ตนั ตเิ ศรษฐ และนิกร ยาสมร เพทาย เพียรทอง. (2558). ผลกระทบของความสุขในการปฏิบัติงานท่ี
มีต่อคุณภาพการทำงานขงนักบัญชีในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในประเทศไทย.
วารสารการบัญชีและการจดั การ, 87-95.

ณฐั วฒุ ิ วิทยาภมู ิ และนิกร ยาสมร ปรารถนา หวานเหย. (2558). ผลกระทบของการวางแผนการปฏิบัติงาน
ทางการบัญชีที่ดีที่มีต่อคุณภาพการทำงานของนักบัญชรบริษัทในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน. วารสารการ
บัญชแี ละการจัดการ, 67-75.

สุมิตรา จิระวุฒินันท์ และธนชาติ เราประเสริฐ ศรัญญา มูลจันทร์. (2558). ผลกระทบของการพัฒนา
ทรพั ยากรมนุษย์ที่มีต่อคุณภาพการปฏิบัตงิ านของพนักงานปฏบิ ัติการมหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารการบัญชี
และการจดั การ, 27-37.

อัครเดช ฉวีรักษ์ และขจิต ก้อนทอง กนกพัชร มาวิชัย. (2558). ผลกระทบของประสิทธิภพการจัดการ
ความเครยี ดทีม่ ตี ่อคุณภาพการปฏิบัติงานของฝ่ายบัญชีของบริษัทจดทะเบยี นในตลาดหลักทรัพย์แหง่ ประเทศไทย.
วารสารการบญั ชแี ละการจดั การ, 69-80.

25

ภาคผนวก ก เคร่ืองมอื ท่ใี ช้ในการวจิ ยั

คุณภาพการปฏิบตั งิ าน ดา้ นการบรรลุเปา้ หมายความสำเรจ็
ผู้วิจัยให้ความหมายว่า ความสามารถในการปฏิบัติงานบรรลุตามเปา้ หมายที่องค์กรได้กำหนดไว้
หรือคาดหวังไว้ ตามระยะเวลาท่ีกำหนด หรอื ตามวัตถปุ ระสงค์ท่ีองค์กรได้กำหนดไว้ การปฏิบัติงานต้องมี
ผลการปฏบิ ัตงิ านทด่ี ีกวา่ เปา้ หมายทอี่ งค์กร
1. ท่านสามารถทำงานตามหน้าทใี่ นการปฏิบัตงิ านบรรลตุ ามเปา้ หมาย
2. ท่านสามารถทำงานตามระยะเวลาทีก่ ำหนดได้
3. ทา่ นสามารถทำงานไดต้ ามวตั ถปุ ระสงค์ท่อี งคก์ รกำหนดไวไ้ ด้
4. ท่านสามารถทำงานตามหน้าท่ใี ห้ผลการปฏิบตั งิ านทดี่ กี ว่าเป้าหมายได้

ด้านการบรรลุเป้าหมาย มากทีส่ ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยที่สุด
ความสำเร็จ

1. ทา่ นสามารถทำงานตาม

หนา้ ท่ีในการปฏบิ ัติงานบรรลุ

ตามเปา้ หมาย

2. ทา่ นสามารถทำงานตาม

ระยะเวลาที่กำหนดได้

3. ท่านสามารถทำงานไดต้ าม

วตั ถปุ ระสงค์ท่อี งค์กรกำหนด

ไว้ได้

4. ท่านสามารถทำงานตาม

หนา้ ท่ใี ห้ผลการปฏิบตั ิงานท่ี

ดกี วา่ เป้าหมายได้

26

คณุ ภาพการปฏบิ ัตงิ าน ดา้ นการจดั หาและการใชป้ ัจจยั ทรัพยากร
ผู้วิจัยให้ความหมายว่า การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างเพียงพอในการปฏิบัติงาน สามารถจัดสรร
ทรัพยากรอย่างถูกต้อง เหมาะสม และใช้ทรัพยากรนั้นให้เกิดประโยชน์สูงสุด รวมถึงใช้ทรัพยากรในการ
ดำเนินงานให้คุ้มค่าและมีประโยชน์ต่อองค์กร เพื่อทำให้การปฏิบัติงานสำเร็จตามเป้าหมายขององค์กรที่
กำหนดไว้
1. ทา่ นสามารถทำงานตามหนา้ ทไ่ี ดโ้ ดยใช้ทรพั ยากรทม่ี ีอยู่อยา่ งเพียงพอ
2. ท่านสามารถทำงานตามหน้าทไี่ ดโ้ ดยใชท้ รัพยากรนนั้ ให้เกิดประโยชน์สงู สุด
3. ท่านสามารถทำงานสำเรจ็ ตามเปา้ หมายขององคก์ ร

ดา้ นการจัดหาและการใชป้ ัจจยั มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยที่สดุ
ทรัพยากร

1. ท่านสามารถทำงานตาม

หน้าที่ได้โดยใช้ทรัพยากรที่มี

อยอู่ ย่างเพียงพอ

2. ท่านสามารถทำงานตาม

หน้าที่ได้โดยใช้ทรัพยากรนั้น

ให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ

3. ท่านสามารถทำงานสำเร็จ

ตามเป้าหมายขององคก์ ร

27

คณุ ภาพการปฏบิ ัตงิ าน ด้านกระบวนการปฏิบตั งิ าน
ผู้วิจัยให้ความหมายว่า การปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าท่ี ตามมาตรฐานในการปฏิบัติงาน มีการ
ส่งต่อกันของงานอย่างมีประสิทธิภาพการทำงานได้ การปฏิบัติงานสามารถทำงานเป็นทีมได้ มี
ความสมั พันธร์ ะหวา่ งบุคคลอยา่ งราบร่ืน ไม่มีความขัดแย้งกนั
1. ทา่ นสามารถปฏิบตั งิ านตามบทบาทหนา้ ที่ได้
2. ทา่ นสามารถทำงานตามหน้าท่ีไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพการทำงาน
3. ทา่ นสามารถทำงานเปน็ ทีมรว่ มกับบคุ คลในองค์กรได้

ด้านกระบวนการปฏิบตั ิงาน มากท่สี ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่ีสดุ

1. ท่านสามารถปฏบิ ัติงานตาม
บทบาทหนา้ ท่ีได้

2. ท่านสามารถทำงานตาม
หน้าทไ่ี ด้อย่างมี
ประสิทธภิ าพการทำงาน

3. ทา่ นสามารถทำงานเป็นทีม
รว่ มกบั บุคคลในองคก์ รได้

28

ภาคผนวก ข แบบสอบถาม

แบบสอบถาม

คำชีแ้ จง

แบบสอบถามนจี้ ัดทำข้นึ เพื่อหาข้อมูลประกออบการวิจยั เรอ่ื งแนวทางการพัฒนาประสทิ ธิภาพการ
ทำงาน ของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผู้วิจัยจึงใคร่ขอ
ความร่วมมือมายังทา่ นเพอ่ื ตอบแบบสอบถามฉบับนต้ี ามความเปน็ จริง ท้ังนเี้ พื่อนำขอ้ มูลมาวเิ คราะห์ซ่ึงจะ
เปน็ ประโยชนเ์ ชิงวิชาการแก่ผูส้ นใจต่อแบบสอบถามน้ี ประกอบดว้ ย 2 ตอน จำนวน 13 ข้อ 3 ดา้ น คอื

ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ส่วนบุคคลจำนวน 2 ข้อ

ตอนท่ี 2 ประสทิ ธิภาพการทำงานจำนวน 13 ข้อ

สำหรับข้อมูลที่ท่านได้ตอบในแบบสอบถามฉบับนี้ใช้สำหรับการศึกษาวิจัยเท่านั้น การตอบ
แบบสอบถามนี้จะไม่มีผลกระทบต่อท่านแต่อย่างใด แต่จะเป็นประโยชน์ในทางวิชาการเชิงสังคมศาสตร์
และนำไปใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ โดยผู้วิจัยจะใช้ข้อมูลเพื่อการศึกษาวิจัย และขอขอบคุณทุกท่านมา
ณโอกาสนี้

ตอนที่ 1 ข้อมูลสว่ นบุคคล

คำช้แี จง โปรดทำเคร่ืองหมาย ในช่อง () หนา้ คำตอบที่ตรงกับความเปน็ จรงิ

1. เพศ ( ) หญิง ( ) สูงกว่าปรญิ ญาตรี
( ) ชาย ( ) ปริญญาตรี

2. ระดับการศกึ ษา
( ) ตำ่ กว่าปริญญาตรี

ตอนท่ี 2 ประสิทธิภาพการทำงาน

คำช้ีแจง โปรดทำเครอื่ งหมายลงในช่องท่ีตรงกบั ความเปน็ จรงิ ของท่านมากท่ีสุด โดยกำหนดเกณฑ์การ
ให้คะแนน ดังนี้ คะแนน 5 หมายถึง มากที่สุด คะแนน 4 หมายถึง มาก คะแนน 3 หมายถึง ปานกลาง
คะแนน 2 หมายถึง นอ้ ย คะแนน 1 หมายถงึ น้อยทสี่ ุด

29

ตวั อย่าง ระดบั ความคดิ เหน็
คณุ ภาพการปฏบิ ัตงิ าน
xxxxxxxxxxxxx มากท่ีสุด 5 มาก 4 ปานกลาง 3 น้อย 2 นอ้ ยท่สี ดุ
1



คุณภาพการปฏบิ ตั ิงาน ระดบั ความคดิ เหน็ นอ้ ยท่สี ดุ
มากทสี่ ดุ 5 มาก 4 ปานกลาง 3 นอ้ ย 2 1

ด้านการบรรลุเป้าหมาย
ความสำเร็จ

1. ทา่ นสามารถทำงานตามหน้าท่ี
ในการปฏิบัติงานบรรลตุ าม
เปา้ หมาย

2. ทา่ นสามารถทำงานตาม
ระยะเวลาท่ีกำหนดได้

3. ทา่ นสามารถทำงานได้ตาม
วัตถุประสงค์ที่องค์กรกำหนดไว้
ได้

4. ทา่ นสามารถทำงานตามหน้าที่
ให้ผลการปฏบิ ตั ิงานทีด่ ีกวา่
เป้าหมายได้

30

คุณภาพการปฏิบัตงิ าน ระดบั ความคดิ เหน็ น้อยท่สี ุด
มากทสี่ ดุ 5 มาก 4 ปานกลาง 3 น้อย 2 1

ด้านการจัดหาและการใช้ปัจจัย
ทรัพยากร

1. ทา่ นสามารถทำงานตามหนา้ ท่ี
ได้โดยใช้ทรพั ยากรทม่ี ีอยู่อย่าง
เพียงพอ

2. ท่านสามารถทำงานตามหนา้ ท่ี
ไดโ้ ดยใช้ทรัพยากรน้นั ใหเ้ กดิ
ประโยชนส์ ูงสุด

3. ทา่ นสามารถทำงานสำเร็จตาม
เปา้ หมายขององค์กร

ด้านกระบวนการปฏบิ ตั ิงาน

1. ทา่ นสามารถปฏบิ ัติงานตาม
บทบาทหน้าที่ได้

2. ทา่ นสามารถทำงานตามหน้าท่ี
ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพการ
ทำงาน

3. ทา่ นสามารถทำงานเป็นทมี
รว่ มกบั บุคคลในองคก์ รได้

ขอบคุณค่ะ
กิตติวรา นุ่นชูผล

31

แบบสอบถามนส้ี ามารถใชเ้ ป็น
เคร่ืองมอื ในการวิจัย

 ได้

 ได้ แต่ตอ้ งปรบั ปรงุ บางส่วน

❑ ไม่ไดท้ ง้ั ฉบับ

ลงช่อื
...........................................................

ผเู้ ชี่ยวชาญ/ ผู้ทรงคุณวุฒิ
…....…..……../…..….....….…./………

แบบทดสอบความเทยี่ งตรงเชงิ เนือ้ หา IOC ของแบบสอบถาม

ชื่อเรื่อง แนวทางการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน ของพนักงานซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมืองสุ
ราษฎรธ์ านี จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี

ช่ือผู้วิจัย นางสาวกติ ตวิ รา นนุ่ ชผู ล
นักศึกษาหลกั สูตร การบรหิ ารธรุ กจิ (วชิ าเอกการบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย)์ บรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑิต

หมายเลขโทรศัพท์ 0839696984 email [email protected]

อาจารย์ทปี่ รกึ ษา ผู้ช่วยศาสาตราจารย์ ดร.ธนายุ ภูว่ ทิ ยาธร

วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจัย
1. เพื่อศึกษาข้อมูลส่วนบคุ คลของพนกั งงานซีฟดู้ จำกัด อำเภอเมอื ง จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี
2. เพอ่ื ศึกษาคณุ ภาพการปฏิบตั งิ านของพนักงานซีฟดู้ จำกัด อำเภอเมือง จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี
3. เพื่อศึกษาเปรียบเทยี บขอ้ มลู ส่วนบุคคลกับคุณภาพการปฏบิ ัตงิ าน
4. เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนา ปรับปรุงแก้ไขคุณภาพการปฏิบัติงานของพนักงงานซีฟู้ด
จำกัด

32

คำชีแ้ จง
กรุณาทาเครื่องหมาย ✓ ลงในช่อง โดยที่ (1) ถา้ คาถามสอดคลอ้ งกบั นิยามศพั ทล์ งในช่อง (0)
ถา้ ไม่แน่ใจว่าคาถามสอดคลอ้ งกบั นิยามศพั ท์หรือไม่และลงในช่อง (-1) ถา้ คาถามไม่สอดคลอ้ งกบั
นิยามศพั ท์

ตอนท่ี 1 แบบสอบถำมข้อมูลทว่ั ไป

กรุณาตอบคาถามให้ครบทุกข้อ โดยทาเครื่องหมาย ลงใน  หรือเติมข้อความลงใน
ช่องวา่ งใหต้ รงกบั ขอ้ มูลของตวั ทา่ นตามความเป็นจริง

ความคดิ เห็นของกรรมการ

คาถาม สอดคลอ้ ง ไม่แน่ใจ ไม่ คาแนะนา
1. เพศ 1 0 สอดคลอ้ ง เพมิ่ เติม

-1

 หญิง  ชาย

2. ระดบั การศึกษา
 ต่ากวา่ ระดบั ปริญญาตรี
ปริญญาตรี
สูงกวา่ ปริญญาตรี

33

ตอนท่ี 2 ความคิดเห็นของ.............. (ประชากร) ต่อคณุ ภาพการปฏบิ ัติงาน

กรุณาตอบคำถามให้ครบทุกข้อ โดยทำเคร่ืองหมาย  ลงใน  เพอ่ื เลอื กระดบั ความคิดเหน็ ทตี่ รงกับความคิดเหน็ ของทา่ นมากท่สี ดุ
หลังจากทที่ า่ นอา่ นคำถามแต่ละข้อแล้ว โดยในแตล่ ะข้อใหเ้ ลอื กเพยี งคำตอบเดยี ว

ระดับความคดิ เห็นของผู้สอบถาม ความคิดเห็นของ คำแนะนำ
ผูเ้ ชย่ี วชาญ

นิยามศพั ท/์ วัตถุประสงค์ ขอ้ คำถาม มาก ปาน นอ้ ย สอด ไม่ ไม่
ทสี่ ุด กลาง ทีส่ ุด คลอ้ ง แนใ่ จ
มาก น้อย สอด

คล้อง

5 4 3 2 1 1 0 -1

ด้านการบรรลเุ ป้าหมายความสำเร็จ 1 ท่านสามารถทำงานตามหน้าที่ในการ
ปฏบิ ัตงิ านบรรลตุ ามเปา้ หมาย
ความหมายว่า ความสามารถในการ
ปฏบิ ตั งิ านบรรลตุ ามเป้าหมายท่อี งคก์ รได้ 2 ท่านสามารถทำงานตามระยะเวลาท่ี
กำหนดไวห้ รือคาดหวงั ไว้ ตามระยะเวลาท่ี กำหนดได้
กำหนด หรือตามวัตถปุ ระสงค์ทอ่ี งคก์ รได้
3 ท่านสามารถทำงานได้ตามวัตถปุ ระสงค์
ที่องค์กรกำหนดได้

34

ระดับความคิดเหน็ ของผู้สอบถาม ความคิดเหน็ ของ คำแนะนำ
ผเู้ ชย่ี วชาญ

นิยามศัพท/์ วตั ถปุ ระสงค์ ข้อ คำถาม มาก ปาน นอ้ ย สอด ไม่ ไม่
ที่สุด กลาง ทสี่ ดุ คลอ้ ง แน่ใจ
กำหนดไว้ การปฏบิ ตั งิ านต้องมีผลการ ทา่ นสามารถทำงานตามหน้าที่ให้ผล มาก น้อย สอด
ปฏบิ ตั งิ านที่ดกี วา่ เป้าหมายที่องค์กร 4 ปฏิบตั งิ านทด่ี กี ว่าเปา้ หมาย
คลอ้ ง

5 4 3 2 1 1 0 -1

35

ระดบั ความคดิ เห็นของผู้สอบถาม ความคิดเห็นของ คำแนะนำ
ผ้เู ชย่ี วชาญ

นยิ ามศัพท์/วัตถปุ ระสงค์ ขอ้ คำถาม มาก ปาน นอ้ ย สอด ไม่ ไม่
ทสี่ ุด กลาง ที่สดุ คลอ้ ง แนใ่ จ
มาก น้อย สอด

คลอ้ ง

5 4 3 2 1 1 0 -1

ด้านการจัดหาและการใชป้ ัจจัยทรัพยากร 1 ท่านสามารถทำงานตามหนา้ ทไี่ ด้โดยใช้
ความหมายว่า การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง ทรพั ยากรท่มี ีอยอู่ ยา่ งพอเพยี ง

เพียงพอในการปฏิบัติงาน สามารถจัดสรร 2 ทา่ นสามารถทำงานตามหนา้ ที่ได้โดยใช้
ทรัพยากรอย่างถูกต้อง เหมาะสม และใช้ ทรัพยากรนั้นใหเ้ กิดประโยชน์

ทรัพยากรนั้นให้เกิดประโยชน์สูงสุด รวมถึง ท่านสามารถทำงานสำเรจ็ ตาม
ใช้ทรัพยากรในการดำเนินงานให้คุม้ ค่าและมี เปา้ หมายขององค์กร
ประโยชน์ตอ่ องค์กร เพื่อทำใหก้ ารปฏิบัติงาน 3
สำเรจ็ ตามเปา้ หมายขององคก์ รท่กี ำหนดไว้

36

ระดับความคิดเหน็ ของผู้สอบถาม ความคดิ เหน็ ของ คำแนะนำ
ผูเ้ ชย่ี วชาญ

นยิ ามศพั ท์/วัตถุประสงค์ ข้อ คำถาม มาก ปาน นอ้ ย สอด ไม่ ไม่
ท่สี ุด กลาง ทีส่ ุด คลอ้ ง แน่ใจ
มาก นอ้ ย สอด

คลอ้ ง

5 4 3 2 1 1 0 -1

ด้านกระบวนการปฏบิ ตั ิงาน 1 ท่านสามารถปฏิบัตงิ านตามบทบาท
ความหมายว่า การปฏิบัติงานตามบทบาท หนา้ ที่ได้

หนา้ ที่ ตามมาตรฐานในการปฏิบัติงาน มีการ 2 ท่านสามารถทำงานตามหน้าที่ได้อยา่ ง
สง่ ต่อกันของงานอย่างมีประสิทธภิ าพการ มปี ระสทิ ธิภาพการทำงาน

ทำงานได้ การปฏิบัติงานสามารถทำงานเปน็ ท่านสามารถทำงานเป็นทีมรว่ มกับ
ทีมได้ มีความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลอยา่ ง 3 บุคคลในองค์กรได้
ราบรื่น ไม่มีความขัดแย้งกนั

37

ภาคผนวก ค ตารางวิเคราะห์ค่า IOC ของแบบทดสอบความเท่ยี งตรงเชงิ เนื้อหาของแบบสอบถาม

คณุ ภาพการปฏบิ ตั ิงาน ความคิดเหน็ รวม IOC ผล
คนท่ี 1 คนท่ี 2 คนที่ 3

ดา้ นการบรรลุเปา้ หมายความสำเร็จ

1. ท่านสามารถทำงานตามหนา้ ท่ใี นการปฏิบตั ิงานบรรลุเป้าหมาย 0 +1 +1 2 0.66 ใช้ได้

2. ทา่ นสามารถทำงานตามระยะเวลาทก่ี ำหนดได้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

3. ทา่ นสามารถทำงานได้ตามวตั ถุประสงค์ท่ีองค์กรกำหนดไว้ได้ +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้

4. ท่านสามารถทำงานตามหน้าทใี่ ห้ผลการปฏบิ ตั งิ านที่ดีกวา่ เปา้ หมาย +1 0 +1 2 0.66 ใชไ้ ด้
ได้

ด้านการจัดหาและการใชป้ ัจจยั ทรัพยากร

1. ทา่ นสามารถทำงานตามหนา้ ท่ไี ด้โดยใชท้ รัพยากรท่ีมอี ยู่อย่าง +1 +1 0 2 0.66 ใชไ้ ด้
เพยี งพอ

2. ท่านสามารถทำงานตามหนา้ ที่ได้โดยใช้ทรัพยากรนั้นให้เกิด +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้
ประโยชนส์ ูงสดุ

3. ท่านสามารถทำงานสำเร็จตามเปา้ หมายขององค์กร 0 +1 +1 2 0.66 ใช้ได้

38

คุณภาพการปฏิบัตงิ าน ความคดิ เห็น รวม IOC ผล
คนที่ 1 คนท่ี 2 คนที่ 3

ดา้ นกระบวนการปฏิบตั งิ าน

1. ท่านสามารถปฏบิ ัติตามบทบาทหนา้ ที่ได้ +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้

2. ท่านสามารถทำงานตามหนา้ ทไี่ ด้อย่างมีประสทิ ธภิ าพการทำงาน +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

3. ท่านสามารถทำงานเป็นทมี รว่ มกับบุคคลในองค์กรได้ +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

39

ภาคผนวก ง

Case Processing Summary

N%

Cases Valid 61 89.7

Excludeda 7 10.3

Total 68 100.0

a. Listwise deletion based on all variables in the
procedure.

Reliability Statistics

Cronbach's N of Items
Alpha

.919 10

40

Item Statistics

Mean Std. Deviation N
61
ด้านการบรรลุเปา้ หมาย 4.294035140587304 .747749796530856 61
ความสำเร็จ [ทา่ นสามารถทำงาน 61
ตามหน้าที่ในการปฏิบัติงานบรรลุ 61
ตามเป้าหมาย] 61
61
ดา้ นการบรรลเุ ป้าหมาย 4.160812236346067 .742793826244903
ความสำเรจ็ [ทา่ นสามารถทำงาน
ตามระยะเวลาทีก่ ำหนดได้]

ดา้ นการบรรลุเปา้ หมาย 3.862576657720927 .803456132700044
ความสำเร็จ [ท่านสามารถทำงาน
ได้ตามวัตถุประสงคท์ อ่ี งค์กร
กำหนดไวไ้ ด้]

ดา้ นการบรรลุเปา้ หมาย 4.110348832313190 .720037563473687
ความสำเร็จ [ทา่ นสามารถทำงาน
ตามหน้าทีใ่ หผ้ ลการปฏิบตั ิงานท่ี
ดีกวา่ เปา้ หมายได้]

ด้านการจดั หาและการใช้ปัจจัย 4.293005080938018 .707323298987726
ทรัพยากร [ท่านสามารถทำงาน
ตามหน้าที่ไดโ้ ดยใชท้ รัพยากรทมี่ ี
อย่อู ยา่ งเพยี งพอ]

ด้านการจดั หาและการใชป้ ัจจัย 4.327500789533696 .755567952432437
ทรัพยากร [ท่านสามารถทำงาน
ตามหนา้ ท่ีได้โดยใชท้ รพั ยากรน้นั ให้
เกิดประโยชน์สูงสดุ ]

41

Item Statistics

Mean Std. Deviation N
.731914311609630 61
ดา้ นการจัดหาและการใชป้ จั จัย 4.310275590989533 .729884498283261 61
ทรพั ยากร [ท่านสามารถทำงาน .813486099318100 61
สำเร็จตามเปา้ หมายขององค์กร] .700346848982480 61

ด้านกระบวนการปฏบิ ตั ิงาน [ท่าน 4.410022277089254
สามารถปฏิบัตงิ านตามบทบาท
หน้าทไ่ี ด]้

ด้านกระบวนการปฏิบัติงาน [ท่าน
สามารถทำงานตามหนา้ ที่ได้อยา่ งมี 4.145782112462623
ประสิทธภิ าพการทำงาน]

ดา้ นกระบวนการปฏบิ ัติงาน [ทา่ น 4.675162819732229
สามารถทำงานเป็นทีมรว่ มกบั
บุคคลในองค์กรได้]

Item-Total Statistics

Scale Mean if Item Scale Corrected Cronbach's
Deleted Variance if Item-Total Alpha if
Correlation Item
Item Deleted
Deleted

ด้านการบรรลเุ ป้าหมาย 38.295486397125530 26.779 .639 .915
ความสำเร็จ [ท่านสามารถทำงาน
ตามหนา้ ที่ในการปฏิบัติงานบรรลุ
ตามเปา้ หมาย]

42

Item-Total Statistics

Scale Mean if Item Scale Corrected Cronbach's
Deleted Variance if Item-Total Alpha if
Correlation Item
Item Deleted
Deleted

ดา้ นการบรรลุเปา้ หมาย 38.428709301366766 26.061 .747 .909
ความสำเร็จ [ท่านสามารถทำงาน
ตามระยะเวลาที่กำหนดได้] 38.726944879991905 26.246 .654 .914

ด้านการบรรลเุ ปา้ หมาย 38.479172705399640 26.636 .690 .912
ความสำเร็จ [ท่านสามารถทำงาน
ไดต้ ามวัตถุประสงคท์ ี่องค์กร 38.296516456774820 26.076 .789 .906
กำหนดไวไ้ ด้]
38.262020748179140 26.005 .740 .909
ด้านการบรรลเุ ป้าหมาย
ความสำเรจ็ [ท่านสามารถทำงาน
ตามหนา้ ทใ่ี ห้ผลการปฏิบัติงานท่ี
ดีกว่าเป้าหมายได้]

ดา้ นการจัดหาและการใชป้ ัจจัย
ทรัพยากร [ทา่ นสามารถทำงาน
ตามหนา้ ท่ีไดโ้ ดยใชท้ รพั ยากรที่มี
อยอู่ ยา่ งเพียงพอ]

ด้านการจดั หาและการใช้ปัจจัย
ทรัพยากร [ท่านสามารถทำงาน
ตามหนา้ ที่ได้โดยใชท้ รพั ยากรน้ัน
ใหเ้ กิดประโยชน์สงู สุด]


Click to View FlipBook Version