The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการใช้นวัตกรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by natthasarun, 2022-03-22 22:47:59

รายงานการใช้นวัตกรรม

รายงานการใช้นวัตกรรม

บันทกึ ข้อความ
สว่ นราชการ โรงเรยี นบา้ นวงั ยาง ตาํ บลวงั ยาง อาํ เภอวังยาง จังหวดั นครพนม
ท่ี วันท่ี ๑๔ เดอื น มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๕
เรอื่ ง รายงานการใช้นวัตกรรม
เรยี น ผู้อาํ นวยการโรงเรียนบา้ นหนองโพธว์ิ งั โน

ด้วยข้าพเจา้ นายณัฏฐศรณั ย์ุ กัว้ ประดบั ตาํ แหน่ง ครูผ้สู อน โรงเรยี นบา้ นหนองโพธว์ิ ังโน อําเภอ
วังยาง จังหวดั นครพนมสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑
ได้รบั มอบหมายให้จัดการเรียนการสอน ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๓ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ความดงั แจ้งแลว้ นัน้

ในการนี้ ข้าพเจา้ ได้จัดเตรยี มการสอนโดยการวิเคราะหผ์ เู้ รยี นและพบสภาพทเี่ ปน็ ปัญหาใน การ
เรียนการสอน วชิ าภาษาไทยของนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ เร่อื ง การอ่านการเขียน จงึ ได้วางแผนเพอ่ื
พฒั นาการเรยี นการสอนในสว่ นที่รับผิดชอบ โดยได้จัดทํานวตั กรรมการเรยี นรทู้ เี่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สาํ คัญ เพ่ือพัฒนา

คุณภาพของผเู้ รยี นใหบ้ รรลเุ ป้าหมายของหลกั สตู รต่อไป โดยใชน้ วัตกรรม ชอ่ื นวัตกรรม กาพฒั นาการอ่านออก
เขยี นได้ลายมือสวย โดยใช้ชุดสมดุ นทิ านเลม่ จิ๋วกลมุ่ เปา้ หมาย คือ นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๓ จํานวน ๗

คน ไดน้ ํานวตั กรรมมาใช้กับนักเรียนเปน็ ทเ่ี รยี บร้อยแลว้ น้ัน จึงขอรายงานผลการดําเนินการใช้ นวัตกรรม ดังที่แนบมา
น้ี

จึงเรยี นมาเพอื่ โปรดพิจารณา

ลงช่ือ
( นายณฏั ฐศรณั ยุ์ กวั้ ประดบั )

ตาํ แหน่ง ครูผู้สอน

ความคิดเหน็ ของผู้บังคับบญั ชา
.........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................ .................
.........................................................................................................................................................

ลงชื่อ.....................................
( นางสริ กิ ร ไชยราช)

ตําแหน่ง ผอู้ าํ นวยการโรงเรียนบ้านวงั ยาง



คำนำ

การอ่านการเขียนเป็นทกั ษะพนื้ ฐานที่สาคญั ยงิ่ ในการศึกษาเลา่ เรยี น หากมที กั ษะดกี ารเรียนรูจ้ ะประสบผลสาเรจ็
อยา่ งดยี ง่ิ ในทางตรงขา้ ม หากทกั ษะการอ่านการเขยี นไมด่ กี ารเรียนกจ็ ะไม่ ประสบผลสาเรจ็ เชน่ กนั จากการทดสอบระดบั
ทอ้ งถน่ิ และระดบั ชาติพบวา่ นกั เรียนทงั้ ประเทศมีทกั ษะใน การอ่าน การเขยี นไมเ่ ป็นไปตามที่หลกั สตู รการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
กาหนด สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานจงึ กาหนดเป็นนโยบายให้ นกั เรยี นระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ – ๓
สามารถอ่านออก เขยี นได้ และตงั้ แตป่ ระถมศกึ ษาปีท่ี ๔-๖ เป็นตน้ ไป ตอ้ งอ่านคลอ่ ง เขยี นคลอ่ ง เพื่อพฒั นาการอา่ นออก
เขยี นได้ อ่านคลอ่ งเขยี นคลอ่ ง ครูประจาชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ จึงรวบรวมและจดั ทาชดุ กจิ กรรม กาพฒั นาการอ่านออกเขยี น
ไดล้ ายมอื สวย โดยใชช้ ดุ สมดุ นทิ านเลม่ จ๋วิ กลมุ่ เปา้ หมาย สาหรบั การพฒั นาทกั ษะทางภาษาที่นาไปสกู่ ารเรียนที่สงู ขนึ้ ตาม
ระดบั ชนั้ จากงา่ ยไปหายาก นกั เรียนท่ียงั มพี นื้ ฐานการเรียนภาษาไทยที่ตอ้ งการพฒั นาสามารถนาไปใชเ้ พ่ือการพฒั นาไดท้ กุ
ระดบั ชนั้ ตาม พนื้ ฐานการอ่านและการเขียนของแตล่ ะคน เพือ่ ใหเ้ กดิ ทกั ษะการอา่ นและการเขียน เสรมิ สรา้ งจติ นาการในรายวชิ า
ภาษาไทยท่ีเหมาะสม โดยครู เป็นผดู้ แู ลใหค้ วามชว่ ยเหลืออธิบายชีแ้ จงแนะนา อา่ นใหฟ้ ัง ยกตวั อยา่ งวธิ ีการฝึกฝนสาหรบั
นกั เรียน ชว่ ยเหลอื ในการฝึกอย่างใกลช้ ิด เพือ่ ลดปัญหาการอ่านไมอ่ อกเขียนไมถ่ กู สาหรบั นกั เรยี น

ขอขอบคณุ ผอู้ านวยการโรงเรยี น คณะครูทกุ ท่าน ที่ช่วยเหลือและใหค้ าแนะนา จนทาให้ชดุ กจิ กรรมกาพฒั นาการอา่ น
ออกเขียนไดล้ ายมอื สวย โดยใชช้ ดุ สมดุ นทิ านเลม่ จ๋ิวกล่มุ เปา้ หมายเลม่ นีม้ คี วามสมบรู ณ์ ครูประจาชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี๓หวงั เป็น
อยา่ งยิ่งวา่ คงจะเป็นประโยชนใ์ นการพฒั นานกั เรยี นใหม้ ีทกั ษะการอา่ นและการ เขียนภาษาไทยใหไ้ ปสมู่ าตรฐานการเรียนได้
อย่างเหมาะสม

นายณัฏฐศรณั ยุ์ กวั้ ประดบั
ครูผสู้ อน

รายงานการใช้นวตั กรรม

ผู้ดาเนนิ การ นายณฏั ฐศรัณยุ์ กวั้ ประดบั

ตาแหน่ง พนกั งานราชการ

โรงเรียนบ้านหนองโพธิว์ ังโน ตาํ บลวงั ยาง อาํ เภอวังยาง จงั หวัดนครพนม

สํานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

กลมุ่ เป้าหมาย นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ จาํ นวน ๗ คน โรงเรยี นโรงเรยี นบ้านหนองโพธ์วิ งั โน

๑. ชอื่ นวตั กรรม การพัฒนาการอ่านออกเขียนไดล้ ายมือสวย โดยใชช้ ุดสมดุ นิทานเล่มจ๋วิ

ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๓ โรงเรยี นบา้ นหนองโพธิ์วงั โน

๒. หลักการและเหตผุ ล

ภาษาไทยเป็นอกลักษณ์ของชาติ เปน็ สมบตั ิทางวัฒนธรรมอันก่อใหเ้ กดิ ความเป็น

เอกภาพและเสรมิ สร้างบคุ ลกิ ภาพของคนในชาติให้มคี วามเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการ

ติดต่อส่อื สารเพอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจและความสัมพันธท์ ด่ี ตี ่อกนั

(กระทรวงศกึ ษาธิการ. :๒๕๕๒)หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุง่

พัฒนานกั เรียนทกุ คนซงึ่ เป็นกาํ ลงั ของชาติให้ เปน็ มนษุ ยท์ ม่ี ีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้

คณุ ธรรม มีจิตสาํ นึกในความเปน็ พลเมอื งไทยและ เปน็ พลโลก ยดึ มั่นในการปกครองตามระบอบ

ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ มีความรแู้ ละทกั ษะพน้ื ฐาน รวมท้งั เจตคติท่ี

จําเป็นตอ่ การศึกษาในการประกอบอาชพี และการศกึ ษาตลอดชวี ติ โดยมงุ่ เน้นนกั เรียนเปน็ สําคัญ

บนพืน้ ฐานความเช่ือวา่ ทุกคนสามารถเรียนรแู้ ละพฒั นาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ (สํานักงาน

คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ,๒๕๕๑ ภาษาไทยมคี วามสาํ คัญอยา่ งยง่ิ ในการติดตอ่ ส่อื สาร

เพราะจําเปน็ ต้องใช้ในการดํารงชีวิตประจําวนั ท้งั การฟัง พูด อา่ นและเขียน เพ่ือจะได้สามารถใช้

ภาษาใหถ้ ูกต้องในการติดต่อส่อื สาร แตป่ ัญหาสําคัญของการเรียนภาษาไทยน้นั คือ เด็กนกั เรยี น

บางคนยงั อ่านไมไ่ ด้ เขียนไม่ถกู ตอ้ ง โดยท่ีปัญหามักจะเกิดมาจากความไม่เข้าใจในโครงสร้างของ

คําหรือหลักไวยากรณ์ทางภาษา ซง่ึ จะมกี ฎเกณฑอ์ ย่างชดั เจน ในการเรียนการสอนภาษาไทยนนั้

นักเรยี นตอ้ งเรียนร้แู ละไดร้ บั การพัฒนาทักษะทง้ั ๔ ด้าน คอื การฟงั การพูด การอ่าน และการ

เขียน โดยเฉพาะการเขยี นซึ่งนับว่าเป็นทกั ษะทสี่ ําคัญมากเพราะทักษะการเขียนเป็นทกั ษะหนึง่ ที่

ช่วยให้การเรียนภาษาไทยของนกั เรียนเกดิ ประสิทธผิ ลไดเ้ ป็นอย่างดดี ้วยทกั ษะการเขียนสะกดคาํ

จะเป็นการสะท้อนถงึ ความสามารถด้านการอา่ นและความเข้าใจในดา้ นโครงสร้างทางไวยากรณ์

ของภาษาอย่างชดั เจนว่า แต่ละคาํ ในภาษาไทยนัน้ มโี ครงสร้างทางภาษาเปน็ อย่างไร

การท่ีนักเรยี นจะเขียนสะกดคําไดอ้ ย่างถูกตอ้ งแม่นยาํ ตามหลักเกณฑท์ างภาษา
จําเปน็ จะต้องอ่านสะกดคาํ นนั้ ๆ ไดอ้ ยา่ งถูกต้องแม่นยาํ ก่อน ดังที่สนุ ทรี ทองจิตต์ (๒๕๔๔)
ไดก้ ลา่ วไว้วา่ การเรยี นในระดับพื้นฐานจะเน้นดา้ นการอ่านและการเขียนไดถ้ ูกต้อง เพื่อความ
แมน่ ยําในหลักเกณฑท์ างภาษา อันได้แก่ การสะกดคาํ การผนั เสียงวรรณยุกต์ คาํ ควบกลํ้า
อักษรนาํ เป็นตน้ พบวา่ ในปจั จบุ ันมนี ักเรียนหลายๆ คนไม่สามารถเขยี นสะกดคําได้ถกู ต้อง
เรียกได้ว่ามีความบกพร่องทางการเขียนสะกดคํา สอดคล้องกับท่ีกัลยา ก่อสุวรรณ (๒๕๔๔) ได้
กลา่ วไว้ว่า เดก็ ท่มี ีปัญหาทางการเขยี นน้นั คือ เด็กท่ีไมส่ ามารถมองเห็นว่าจะตอ้ งเขียนเป็นตัวอะไร
ไม่สามารถเขียนได้ถกู ตอ้ ง ซง่ึ จะสังเกตเหน็ ได้ง่ายและชัดเจนว่าลกั ษณะของเด็กทม่ี ี
ความบกพร่องทางการเขยี นน้ัน เดก็ จะมีความยากลาํ บากในการจําพยัญชนะและสระ เขียน
พยญั ชนะ สระ และตวั สะกดไมถ่ ูกตอ้ ง เขียนกลับดา้ น สลับตวั และสลับตําแหนง่ กัน จงึ เปน็
ปัญหาสาํ คญั สาํ หรับการเขียนสะกดคําในภาษาไทย ฉะนัน้ ครผู ู้สอนควรจะส่งเสรมิ และแก้ไข
ปัญหาการอา่ นและเขยี นสะกดคําของเด็กท่ีมีความบกพรอ่ งทางการเรยี นรใู้ หถ้ ูกตอ้ ง (ธริตา
นาคสวัสด์ิ, ๒๕๕๘)

จากปญั หาเหล่านที้ าํ ให้ผู้สอนสนใจทจี่ ะพฒั นาการเขียนสะกดคาํ ทีป่ ระสมดว้ ยสระ
เปล่ียนรูป เพอ่ื แก้ไขความไม่เขา้ ใจของโครงสรา้ งคาํ เมือ่ มีการเปลีย่ นรปู ของเด็กที่มีความ
บกพร่องการทางเขยี นสะกดคํา ซึ่งจากการศกึ ษาวธิ กี ารแกป้ ัญหาดงั กลา่ ว พบว่า นิทาน
ประกอบภาพเปน็ ส่อื ประกอบการเรียนการสอน ท่ีมีภาพนงิ่ ที่สรา้ งเร่อื งราวหรือแสดง
เหตกุ ารณป์ ระกอบเนือ้ หา เพือ่ ชว่ ยใหน้ กั เรียนเขา้ ใจงา่ ยข้นึ เก่ยี วกับเน้ือเรอื่ งของนทิ าน
รวมท้งั ความเพลิดเพลนิ สนุกสนานและเพ่มิ พนู ความรู้ สามารถพัฒนาเด็กไดท้ ้ังทางความคดิ
และสติปัญญา ความสามารถในการรบั รู้ ความสามารถในการมองเห็น การสังเกต การ
เปรียบเทียบ การจัดอันดับความหมายของเร่ืองราวหรือเน้ือหาสาระท่ีปรากฏให้เห็น สามารถใช้
หนังสือนทิ านประกอบภาพที่มขี นาดใหญ่มีสีสนั สะดุดตา มาใหเ้ ดก็ ดูและกระตุ้นใหส้ งั เกตสิ่งที่อยู่ใน
ภาพ สงั เกตความสัมพนั ธข์ องคน สัตว์ สงิ่ ของท่ีปรากฏในภาพ โดยเด็กในวัยต่างๆสามารถพัฒนา
ความสามารถในการสังเกต โดยพิจารณารายละเอยี ดต่างๆ ในภาพได้ทางด้านบุคลิกภาพ ในขณะ
ท่ีเด็กได้ฟังนิทานจากหนังสือนิทานประกอบภาพ เด็กได้มีโอกาสสัมผัสเรียนรู้เกี่ยวกับบุคคลและ
เหตกุ ารณ์ ตลอดจนปญั หาอปุ สรรค ทาํ ใหร้ ูจ้ ักการ
เปรียบเทยี บกบั ตนเอง ท้ังในแงข่ องความคดิ ความรูส้ กึ และการประพฤตปิ ฏิบัติ ทําให้เดก็
เข้าคนอนื่ เข้าใจตนเอง นบั ถือตนเอง รจู้ ักยอมรับและนบั ถอื ผู้อ่นื และทางดา้ นสังคม การได้
ฟังนิทาน ช่วยให้เดก็ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างกนั รู้จักทีจ่ ะปฏิบตั ิตนอยา่ งไรกับผูอ้ น่ื

เข้าใจความรูส้ กึ ของผูอ้ ่ืน ยอมรับความคดิ เหน็ ท่แี ตกตา่ งจากตนเอง รู้วา่ อะไรถกู อะไรผิด
(วนิ ัยรอดจา่ ย, ๒๕๓๔)

ดงั นนั้ ผู้วิจยั จงึ สนใจศกึ ษาผลของการพฒั นากิจกรรมการเรยี นรูโ้ ดยใชน้ ิทานประกอบ
ภาพเพอ่ื พัฒนาความสามารถด้านการเขยี นสะกดคําของเด็กท่ีมคี วามบกพร่องทางการเรยี นรู้
เพอื่ เป็นแนวทางในการปรับปรงุ และพัฒนาการเรยี นการสอนในเรื่องการเขยี นสะกดคาํ ของ
เดก็ ที่มีภาวะบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ ใหม้ ีประสิทธิภาพต่อไป

๓. วัตถุประสงคข์ องการศึกษา
๓.๑ เพอื่ แก้ปญั หาการอ่านคลอ่ ง เขยี นคลอ่ ง ของนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓
๓.๒ เพือ่ พัฒนาทักษะการอา่ นคล่อง เขยี นคล่อง
๓.๓ เพอ่ื พัฒนาทักษะจนิ ตนาการ

๔. วธิ กี ารดาเนนิ การ
ในการดาํ เนินการการใชน้ วตั กรรมในครง้ั นี้ มีจดุ มุ่งหมายเพอ่ื พฒั นาทักษะการอ่านคลอ่ ง

เขียนคลอ่ ง สําหรบั นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ การดาํ เนินการมรี ายละเอียดดงั น้ี
๔.1 วิเคราะห์โครงสรา้ งของสาระการเรียนรู้ภาษาไทยช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๓

เพอื่ ทาํ แบบฝึกทักษะภาษาไทย โดยใชช้ ุดสมดุ นทิ านเล่มจิ๋ว อ่านออกเขยี นไดล้ ายมือสวย
๔.2 ผลติ ส่อื นวตั กรรมการเรียนการสอน ชุดสมุดนิทานเล่มจิ๋วฝึกทกั ษะภาษาไทย อา่ น

คลอ่ ง เขียนคล่อง ลายมอื ตอ้ งสวย
๔.3 ชีแ้ จงใหน้ กั เรียนทราบถงึ วิธกี ารใช้ชดุ สมุดนทิ านเลม่ จวิ๋ ฝึกทักษะภาษาไทย อ่านคล่อง

เขียนคลอ่ ง ลายมอื ต้องสวย เพ่ือใหน้ กั เรียนได้ปฏิบตั แิ ละใชไ้ ด้ถูกต้อง
๔.๔ นักเรยี นทดสอบก่อนเรยี น โดยใช้เครอ่ื งมือคดั กรอง “ความสามารถในการอ่านและ

การเขยี น”(ฉบบั นักเรยี น) ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔
๔.๕ นํานวัตกรรม แบบฝกึ ทกั ษะภาษาไทย อา่ นคลอ่ งเขยี นคลอ่ ง ลายมอื ตอ้ งสวย มาใชใ้ น

การสอนโดยให้นกั เรยี นใช้และปฏบิ ตั ิ
๔.๖ นักเรยี นทดสอบหลังเรยี นโดยใช้เคร่ืองมอื คดั กรอง “ความสามารถในการอ่านและการ

เขียน”(ฉบับนกั เรียน) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔
๔.๗ นาํ คะแนนทดสอบความสามารถในการอ่านและการเขียนทไ่ี ด้วิเคราะห์และแปลผล

๕. นวัตกรรมทีใ่ ช้ ( เครอื่ งมอื / สอ่ื )
ชุดสมดุ นิทานเลม่ จวิ๋ การอ่านออกเขยี นได้ลายมือสวย ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓

๖.ผลที่เกดิ ขน้ึ กบั ผู้เรยี น
๖.1 นกั เรียนมคี วามสามารถในการอา่ นและการเขียนดขี ้ึน
๖.2 นกั เรยี นอา่ นและเขียนคําในภาษาไทยไดถ้ กู ต้องมากขนึ้
๖.3 นกั เรยี นสามารถพัฒนาด้านการอา่ นคลอ่ ง เขียนคลอ่ งได้ดีขนึ้ และลายมอื สวยขึ้น

และสามารถ นาํ ไปใช้ในชวี ติ ประจําวนั ได้

ตารางแสดงผลการทดสอบกอ่ นและหลงั การใชน้ วัตกรรมของนักเรียน

ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๓

จาํ นวนนกั เรียน ระดับ กอ่ นใช้ ผลการทดสอบ รอ้ ยละ
ท้ังหมด คณุ ภาพ นวัตกรรม
รอ้ ยละ หลังใช้ ๕๗.๑๔๒
นวัตกรรม ๑๔.๒๘๕
๒๘.๕๗๑
ดมี าก ๑ ๑๔.๒๘๕ ๔
-
ดี ๔ ๕๗.๑๔๒ ๑
๗ ๑ ๑๔.๒๘๕ ๒

พอใช้

ปรับปรงุ ๑ ๑๔.๒๘๕ -

แผนภมู แิ สดงการเปรียบเทยี บผลการทดสอบของนกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๓

แผนภมู แิ สดงการเปรยี บเทียบผลการทดสอบกอ่ นและหลงั ใชน้ วตั กรรม

60.00 57.14 57.14

50.00

ร้อยละของผู้เรียน 40.00 28.57
30.00
20.00 14.29 14.29 14.29 14.29

10.00 0
0.00

ดมี าก ดี พอใช ้ ปรบั ปรงุ

ระดบั คุณภาพ

ผลการทดสอบกอ่ นใชน้ วตั กรรม ผลการทดสอบหลงั ใชน้ วตั กรรม

นักเรียน จํานวน ๗ คน

ผลการทดสอบความรู้ของผเู้ รียนกอ่ นการใช้นวตั กรรม ได้ผลดงั ตอ่ ไปน้ี

มีผลการทดสอบในระดับ ดีมาก จํานวน ๑ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๘.๑๘

ผลการทดสอบในระดับ ดี จํานวน ๔ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๕๔.๕๕

ผลการทดสอบในระดับ พอใช้ จาํ นวน ๑ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๘.๑๘

ผลการทดสอบในระดับ ปรับปรุง จํานวน ๑ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙.๐๙

ผลการทดสอบความรู้ของผูเ้ รยี นหลังการใช้นวัตกรรม ไดผ้ ลดงั ตอ่ ไปน้ี

นักเรียน จํานวน ๑๑ คน

มีผลการทดสอบในระดบั ดีมาก จํานวน ๔ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๔๕.๔๖

ผลการทดสอบในระดับ ดี จาํ นวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๖.๓๖

ผลการทดสอบในระดับ พอใช้ จํานวน ๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๘.๑๘

ผลการทดสอบในระดบั ปรบั ปรุง จาํ นวน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ -

สรุปผลการใช้นวัตกรรมการอ่านออกเขียนได้ลายมือสวย โดยใช้ชุดสมุดนิทานเล่มจิ๋ว
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ ไดด้ งั นี้

ก่อนการใช้นวัตกรรมนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ๓ จํานวน ๗ คน มี ผลการทดสอบใน
ระดับดขี ้นึ ไป จาํ นวน ๕ คน คดิ เป็นร้อยละ ๗๑.๔๒๘

หลังจากการใชน้ วตั กรรม นกั เรียนมีการพัฒนาทักษะการอ่านคล่องเขียนคล่องและลายมือ
สวยดขี ้ึน ซึง่ นกั เรียนมีผลการทดสอบในระดับดขี ้ึนไปจาํ นวน ๕ คน
คดิ เป็นรอ้ ยละ ๗๑.๔๒๘

พบวา่ การใช้นวตั กรรมสามารถชว่ ยพัฒนาการเรียนการสอนของครูผู้สอนและนักเรียนได้ใน
ระดับดมี าก
๗. ปัญหาและอุปสรรค

การใช้นวัตกรรมไม่สม่ําเสมอต่อเนื่องเพราะโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมด้านอื่นๆและมีการ
จัดการสอนในรูปแบบออนไลน์เน่ืองจากสถานการณ์การระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙
๘. ขอ้ เสนอแนะในการพัฒนา

๘.๑ ในการปฏบิ ตั ิแตล่ ะครั้งควรมกี ารยืดหยุ่นเวลา เพราะนกั เรยี นแตล่ ะคนมีศักยภาพใน
การเรียนรูต้ ่างกัน

๘.๒ ใชน้ วัตกรรมในการจดั การเรียนการสอนอยา่ งสมา่ํ เสมอก็จะทาํ ให้นกั เรียนมพี ัฒนาการ
อ่านทดี่ ีขึ้น

๘.๓ การทจี่ ะฝึกให้นักเรยี นอ่านคลอ่ งเขียนคล่อง ลายมือสวยไดน้ ัน้ ควรให้นักเรยี นฝกึ เปน็
รายบุคคลและครคู อยเปน็ ผูช้ ้ีแนะ เมือ่ นักเรยี นอ่านไมไ่ ด้ เขียนไม่ได้
๙. การเผยแพร่ผลงาน

๙.๑ fb : โรงเรยี นบา้ นบา้ นวงั ยาง
๙.๒ เว็ปไซดโ์ รงเรียนบ้านวงั ยาง

๑๐. ภาพดาเนนิ การใช้นวตั กรรม

การนานวตั กรรมไปใช้ เพ่ือพฒั นาผเู้ รยี น ผเู้ รยี น

การวดั และประเมนิ ผล

ภาคผนวก

ก.ตารางสรปุ ผลการใช้นวัตกรรม
ข.เคร่ืองมือคัดกรองความสามารถในการอา่ นและการเขียน
ค.ชุดสมุดนทิ านเลม่ จ๋ิว
ง.แบบฝกึ ทักษะภาษาไทย อา่ นคลอ่ ง เขียนคลอ่ ง ลายมือตอ้ งสวย

ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓

ผลการทดสอบก
แบบฝกึ ทกั ษะภาษาไทย อ่านคล

ช้นั ประถมศ

ฉบับที่ ๑ การอา่ น

ท่ี ชอ่ื - สกลุ ตอนท่ี ๑ การแปลผล ตอน
การอา่ นออกเสยี ง การอา่
๑. เด็กชายธนภัทร ลาดบาศรี (คะแนนเต็ม ๒๐ (คะแนนเต็ม
๒. เดก็ ชายปยิ วฒั น์ อาจปกั ษา
๓. เด็กชายภานุพงศ์ แสนสามารถ คะแนน) ดี ๙
๔. เดก็ หญิงเนตรชนก พ่อคารัก ๑๒ พอใช้ ๔
๕. เด็กหญงิ วรารตั น์ สวัสดภิ าพ ๗ ดมี าก ๕
๖. เดก็ หญงิ ชลธชิ า พอ่ แก้ว ดมี าก ๙
๗. เดก็ หญิงธญั ญาภรณ์ เทียบฤทธ์ิ ๑๕ ดีมาก ๑
ดมี าก ๑
รวม ๑๕ ดมี าก ๘
๑๕

๑๕

๑๕

ก่อนใช้นวัตกรรม
ล่อง เขียนคลอ่ ง ลายมือตอ้ งสวย
ศึกษาปีท่ี ๓

นที่ ๒ การแปลผล ฉบบั ที่ ๒ การเขยี น การแปลผล รวมทง้ั การแปลผล
านรเู้ รอ่ื ง (คะแนนเตม็ ๑๖ คะแนน) ๒ ฉบบั
ม ๒๐ คะแนน)
พอใช้ ๙ ดี ๓๐ ดี
๙ ปรับปรุง
๔ พอใช้ ๒ ปรับปรงุ ๑๓ ปรบั ปรุง
๕ พอใช้
๙ ดมี าก ๕ พอใช้ ๒๕ พอใช้
๑๕
๑๐ ดี ๑๐ ดี ๓๔ ดี
๘ พอใช้
๑๓ ดมี าก ๔๓ ดีมาก

๑๒ ดีมาก ๓๗ ดี

๗ พอใช้ ๓๐ ดี

ผลการทดสอบห
แบบฝกึ ทกั ษะภาษาไทย อา่ นคล

ชั้นประถมศ

ฉบับที่ ๑ การอา่ น

ท่ี ชอื่ - สกลุ ตอนท่ี ๑ การแปลผล ตอ
การอา่ นออกเสยี ง การอา่
๑. เดก็ ชายธนภทั ร ลาดบาศรี (คะแนนเตม็ ๒๐ (คะแนนเต็ม
๒. เด็กชายปิยวฒั น์ อาจปกั ษา
๓. เดก็ ชายภานพุ งศ์ แสนสามารถ คะแนน) ดมี าก ๑
๔. เดก็ หญิงเนตรชนก พ่อคารกั ๑๘ ดมี าก ๑
๕. เดก็ หญงิ วรารัตน์ สวสั ดภิ าพ
๖. เดก็ หญงิ ชลธชิ า พอ่ แกว้ ๑๖ ดี ๑
๗. เด็กหญิงธญั ญาภรณ์ เทยี บฤทธิ์ ดมี าก ๑
๑๒ ดมี าก ๑
รวม ดมี าก ๑
๑๕ ดมี าก ๑

๑๙

๑๗

๑๘

หลงั ใช้นวตั กรรม
ล่อง เขยี นคลอ่ ง ลายมือต้องสวย
ศกึ ษาปที ี่ ๓

อนท่ี ๒ การแปลผล ฉบบั ท่ี ๒ การเขยี น การแปลผล รวมทง้ั การแปลผล
านรเู้ รอ่ื ง (คะแนนเตม็ ๑๖ คะแนน) ๒ ฉบบั
ม ๒๐ คะแนน)

๑๔ ดี ๙ ดี ๔๑ ดมี าก
๑๑ ดี ๖ พอใช้ ๓๓ พอใช้
๑๐ ดี ๕ พอใช้ ๒๙ พอใช้
๑๑ ดี ๑๐ ดี ๓๖ ดี
๑๙ ดมี าก ๑๓ ดมี าก ๕๑ ดีมาก
๑๓ ดี ๑๔ ดมี าก ๔๔ ดมี าก
๑๒ ดี ๑๒ ดีมาก ๔๒ ดีมาก

การแปลผลการใช้นวตั กรรม
การคดั กรอง ใหร้ วมคะแนนจากการวดั ดงั นี้
ฉบับท่ี ๑ การอา่ น
ตอนท่ี ๑ การอ่านออกเสียง (คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน)
ตอนที่ ๒ การอา่ นรู้เรื่อง (คะแนนเตม็ ๒๐ คะแนน)
ฉบบั ที่ ๒ การเขยี น ไดแ้ ก่ การเขียนเรอื่ งตามจนิ ตนาการ (คะแนนเตม็ ๑๖ คะแนน)
บันทึกผลของคะแนนจากการวัดเป็นรายบุคคล จากน้ันให้นําคะแนนมาเทียบกับเกณฑ์
ดงั นี้

ฉบับท่ี ๑ การอา่ น

เกณฑ์ ตอนท่ี ๑ ตอนท่ี ๒ ฉบับท่ี ๒ รวมทงั้ ๒ ฉบบั การแปลผล
ของระดบั คะแนน การอา่ นออกสยี ง การอา่ นรเู้ รอ่ื ง การเขยี น
(คะแนนเต็ม ดีมาก
รอ้ ยละ ๗๕ - ๑๐๐ (คะแนนเต็ม (คะแนนเตม็ (คะแนนเต็ม ๕๖ คะแนน) ดี
ร้อยละ ๕๐ - ๗๔ ๒๐ คะแนน) ๒๐ คะแนน) ๑๖ คะแนน)
ร้อยละ ๒๕ - ๔๙ ๔๒ - ๕๖ พอใช้
รอ้ ยละ ๐ - ๒๔ ๑๕ – ๒๐ ๑๕ – ๒๐ ๑๒ – ๑๖ ๒๘ – ๔๑ ปรบั ปรงุ
๘ - ๑๑ ๑๔ -๒๗
๑๐ - ๑๔ ๑๐ - ๑๔ ๔- ๗ ๐ - ๑๓
๐–๓
๕- ๙ ๕- ๙

๐–๔ ๐–๔

























































ใหน้ ักเรยี นนาคาศพั ทม์ ารว่ มแตง่ นทิ าน
เรอื่ ง หมาปา่ ในชดุ แกะ

............................................................................................................................. ............................
.........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................
.........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................
.............................................................................................................................. ...........................
.........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................
.........................................................................................................................................................
.นทิ านเรอ่ื งนส้ี อนใหร้ วู้ ่า
............................................................................................................................. ............................
............................................................................................................................. ............................
ใหน้ ักเรยี นแกค้ าทส่ี ะกดผดิ ให้ถกู ตอ้ ง
1. ...................................... 2. ...................................... 3...................................
4. ...................................... 5. ...................................... 6.................................
7. ...................................... 8. ...................................... 9...................................

10. ...................................... 11. ................................... 12.................................

เรอ่ื ง สนุ ขั จง้ิ จอกกบั นกกระสา

.
.
.
.
. ใหน้ ักเรยี นฝกึ อา่ นคาศพั ทท์ ก่ี าหนดให้
. กาลครงั้ หนง่ึ สนุ ขั จง้ิ จอก นกกระสา เรมิ่

คบหา ประจาเพอ่ื น จนกระทงั่ เชญิ รว่ ม รบั ประทานอาหาร
. แกลง้ เลยี้ งตอ้ นรบั นา้ ซปุ จานแบน อยา่ งเดยี ว รสู้ กึ หวิ

ขอโทษ ตอบแทน มอ้ื เยน็ นดั หมาย บรรจุ
เหยอื กทรงสงู ปากแคบ โตะ๊ สามารถ

. ใหน้ กั เรยี นฝกึ คดั ลายมอื คาศพั ท์ทกี่ าหนดให้
. .........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................
......................................................................................................................... ................................
.........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................
.........................................................................................................................................................

...................................................................................................................... ..................

ใหน้ ักเรยี นนาคาศพั ทม์ ารว่ มแตง่ นทิ าน
เรอ่ื ง สนุ ขั จงิ้ จอกกบั นกกระสา

............................................................................................................................. ............................
.........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................
............................................................................................................................. ............................
............................................................................................ .............................................................
............................................................................................................................. ............................
.........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................
............................................................................................................................. ............................
............................................................................................ .............................................................
............................................................................................................................. ............................
.........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................

นิทานเรอื่ งนส้ี อนใหร้ วู้ า่
............................................................................................................................. ............................
.......................................................................................................
ใหน้ กั เรยี นแกค้ าทสี่ ะกดผดิ ให้ถกู ตอ้ ง
1. ...................................... 2. ...................................... 3.................................
4. ...................................... 5. ...................................... 6....................................
7. ...................................... 8. ...................................... 9. .................................
10. ...................................... 11. ................................... 12................................


Click to View FlipBook Version