The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thitikornLanakham, 2019-10-03 03:07:56

Unit 1

Unit 1

หน่วยท่ี 1

สภาพการผลติ และ
การตลาดสัตว์ปีก

2

หวั ข้อเรอ่ื ง
1. ความหมายของสัตว์ปกี
2. ความสาคัญของการเลยี้ งสตั ว์ปกี
3. ววิ ฒั นาการเลี้ยงสัตว์ปกี ในประเทศไทย
4. สภาวการณ์ผลติ และตลาดสัตวป์ ีก

จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. บอกความหมายของสัตว์ปีกได้
2. บอกความสาคญั ของการเลี้ยงสตั ว์ปีกได้
3. อธิบายถึงววิ ฒั นาการเล้ยี งสัตวป์ กี ในประเทศไทยได้
4. วเิ คราะห์สภาวการณผ์ ลิตและตลาดสัตว์ปีกได้

เนอื้ หาการสอน
สัตว์ปีก (Poultry) หมายถึง สัตว์จาพวกนกหรือสัตว์ประเภทที่มีปีก ทั้งสามารถบินได้และบินไม่ได้

ได้แก่ ไก่ (Chicken) เป็ด (Duck) ห่าน (Geese) นกกระทา (Quail) นกกระจอกเทศ (Ostriches) เป็นต้น
สภาพการเลีย้ งไก่เน้ือในปัจจุบันแตกต่างจากอดีตที่เล้ยี งแบบปล่อยตามธรรมชาติ เลี้ยงเพ่ือการบริโภค

ในครอบครัว ต่อมาได้พัฒนาการเลี้ยงจนเกิดเป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ โดยมีการปรับปรุงพันธุ์ไก่เน้ือ
ใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ ท่ีทันสมัยในการจัดการเล้ียงดู การให้อาหาร การจัดการฟาร์ม จนมีผลผลิตมากเกินความ
ต้องการบริโภค ประเทศไทยจัดได้ว่าเป็นผู้นาระดับแนวหน้าของโลกในด้านการผลิตไก่เน้ือ ท้ังด้านการเล้ียง
และการส่งออกไปต่างประเทศ ซ่ึงผลผลิตจากเนื้อไก่จัดได้ว่าเป็นผลผลิตหลัก เม่ือเปรียบเทียบจากสินค้า
ปศุสัตวท์ ้งั หมดที่ผลิตไดภ้ ายในประเทศ (รศั มี มอี านาจ. 2550)

1. ความหมายและความสาคัญของการเล้ียงสัตวป์ ีก
1.1 ความหมายของสตั วป์ กี
สัตว์ปีก (Poultry) หมายถึง สัตว์จาพวกนกหรือสัตว์ประเภทท่ีมีปีก ท้ังสามารถบินได้และบินไม่ได้

ได้แก่ ไก่ (Chicken) เป็ด (Duck) ห่าน (Geese) นกกระทา (Quail) นกกระจอกเทศ (Ostriches) เป็นต้น
สัตว์ปีกท่นี ิยมเลี้ยงกนั มากที่สดุ คือ ไก่ รองลงมา คือ เป็ด ห่าน และนก

1.2 ความสาคัญของการเลีย้ งสตั วป์ กี
ความสาคัญและประโยชน์ของการเล้ยี งไก่ มีดังน้ี

1.2.1 ทาใหผ้ เู้ ลีย้ งมีอาหารท่ดี มี ีคณุ ภาพไวบ้ ริโภคในราคาถกู
1.2.2 ช่วยใหผ้ ูเ้ ลยี้ งมรี ายไดเ้ พิ่มพนู ข้นึ จากการทาร่วมกับงานเกษตรกรรมชนดิ อนื่ ๆ
1.2.3 สามารถทาเปน็ อาชีพหรอื กงึ่ อาชพี ได้อย่างแน่นอนแขนงหนึ่ง
1.2.4 ได้ผลตอบแทนเร็ว และมีโอกาสขยายงานได้มาก กล่าวคือ คนเลี้ยงไก่กระทงใช้เวลา
ประมาณ 1-9 สปั ดาห์ ก็ขายได้ หรอื เลี้ยงไกไ่ ขใ่ ชเ้ วลาเลีย้ งจากอายุ 1 วันถงึ 22 สปั ดาหก์ เ็ รม่ิ ใหไ้ ข่ เป็นต้น

3

1.2.5 ช่วยฝึกเด็ก คนว่างงาน และบุคคลทุพพลภาพบางประเภทให้มีงานทา เป็นการสร้าง
นิสยั แกเ่ ด็ก ให้เป็นคนเอางานเอาการ และมีจติ ใจรักสัตว์

1.2.6 ช่วยให้ดินซ่ึงไม่เหมาะแก่การปลูกพืชหรือเล้ียงสัตว์อย่างอ่ืนให้เป็นประโยชน์มากข้ึน
1.2.7 มูลไก่สามารถนาไปใช้เป็นปุ๋ยคอกได้เป็นอย่างดี เป็นการลดรายจ่ายในการซื้อปุ๋ยเคมี
สาหรบั ใส่พชื ผลด้วย (วิชาภรณ์ แสงมณ.ี 2557)
2. ววิ ฒั นาการเลย้ี งสัตวป์ กี ในประเทศไทย
การเลี้ยงสัตว์ปีกในประเทศไทยสมัยแรก ๆ เป็นการเล้ียงเพื่อบริโภคในครอบครัวเล็ก ๆ น้อย ๆ โดย
เล้ียงไว้เพื่อกินเน้ือและกินไข่ เหลือก็ขายกันระหว่างเพื่อนบ้านใกล้เคียง เป็นการเลี้ยงแบบปล่อยตามธรรมชาติ
อาศัยอยูต่ ามโรงนา ใต้ถนุ บ้าน หรอื ตน้ ไม้ อาหารทไี่ ก่กนิ เป็นขา้ วเปลือกตกหล่นตามนาโรงนา ใต้ยงุ้ ฉาง หรือกนิ
เศษอาหารท่ีเหลือจากครัวเรือน เมล็ดหญ้า หนอน และแมลงต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2467 หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดา
กร (ภาพท่ี 1.1) ได้นาไก่พันธ์ุเล็กฮอร์นเป็นพันธุ์ท่ีให้ผลผลิตสูง นาเข้ามาเลี้ยงในประเทศไทยครั้งแรกท่ีฟาร์ม
บางเบิด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (ภาพที่ 1.2) เป็นการเลี้ยงโดยอาศัยธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ และเร่ิมมีการ
ต่ืนตัวในการเล้ียงไก่เป็นอาชีพขึ้นบ้าง เร่ิมมีการเลี้ยงไก่แบบการค้าขึ้นขยายไปเลี้ยงตามโรงเรียนเกษตรกรรม
ต่าง ๆ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยมีหลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ (ภาพท่ี 1.3) เป็นผู้ดาเนินการแต่ไม่
ประสบความสาเร็จเท่าที่ควร เพราะในสมัยน้ันยังขาดวัคซีนป้องกันโรค และยารักษาโรคของไก่ ต่อมาปี พ.ศ.
2514 นายธนนิ ทร์ เจียรวนนท์ ไดร้ ว่ มลงทนุ กับบริษทั อารเ์ บอร์เอเคอร์ของสหรัฐอเมริกา ได้นาลูกไกเ่ นือ้ เข้ามา
เลี้ยง ต่อมาได้นาเข้าไก่ปู่ ย่า พันธุ์ ท่ีเรียกว่า Grand Parent Stock เข้ามาเลี้ยงเพ่ือผลิตลูกไก่เน้ือ และ
ประหยัดเงินตราในการนาเข้าลูกไก่เน้ือจึงเร่ิมมีการเล้ียงไก่กระทงข้ึน ซ่ึงไก่กระทงน้ีเป็นไก่ลูกผสมของ
ไกพ่ นั ธุเ์ นือ้ ทมี่ ีการเจริญเติบโตเร็ว ใชเ้ วลาในการเล้ยี งไม่ถึง 10 สัปดาห์กข็ ายได้
ปจั จบุ นั การเลีย้ งสัตว์ปีกของประเทศไทยประสบความสาเร็จได้ผลดี สามารถยดึ เปน็ อาชีพหลกั ท่สี าคัญ
อย่างหน่ึงของคนไทย ผลิตได้พอเพียงกับการบริโภคภายในประเทศ และส่งออกไปจาหน่ายยังต่างประเทศได้
นอกจากน้ียังก่อให้เกิดธุรกิจอ่ืน ๆ ตามมาอีกหลายชนิด เช่น ธุรกิจอาหารสัตว์ เวชภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์เลี้ยง
ไก่ โรงชาแหละไก่ และโรงฟกั ไข่ เปน็ ตน้

ภาพที่ 1.1 หม่อมเจา้ สทิ ธิพร กฤดากร พระบิดาของการเกษตรแผนใหม่ของไทย

4
ภาพท่ี 1.2 ฟาร์มบางเบดิ จังหวดั ประจวบคีรขี ันธ์
ภาพที่ 1.3 หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ บิดาการเลย้ี งไกข่ องไทย

5

3. สภาพการผลติ และการตลาดสัตวป์ กี
3.1 สภาพการผลิตสัตว์ปกี

ภาพท่ี 1 สภาพการเลีย้ งสตั ว์ปีก (รศั มี. 2550)

สภาพการเล้ียงสัตว์ปีกในปัจจุบันแตกต่างจากอดีตท่ีเล้ียงแบบปล่อยตามธรรมชาติ เล้ียงเพื่อการ
บริโภคในครอบครัว ต่อมาได้พัฒนาการเลี้ยงจนเกิดเป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ โดยมีการปรับปรุงพันธ์ุไก่เนือ้
ใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่ทันสมัยในการจัดการเลี้ยงดู การให้อาหาร การจัดการฟาร์ม จนมีผลผลิตมากเกินความ
ต้องการบริโภค ประเทศไทยจัดได้ว่าเป็นผู้นาระดับแนวหน้าของโลกในด้านการผลิตไก่เน้ือ ทั้งของด้านการ
เลี้ยงและการส่งออกไปต่างประเทศ ซึ่งผลผลิตจากเน้ือไก่จัดได้ว่าเป็นผลผลิตหลัก เมื่อเปรียบเทียบจากสินค้า
ปศุสัตว์ทั้งหมดที่ผลิตไดภ้ ายในประเทศ (รศั มี. 2550)

1) แหล่งผลิตสัตว์ปีกในประเทศไทย มีอยู่ท่ัวทุกภาคของประเทศแต่แหล่งผลิตที่สาคัญ ได้แก่
จังหวัดชลบุรี ลพบุรี สระบุรี นครราชสีมา นครปฐม และปัจจุบันจังหวัดฉะเชิงเทราก็เป็นแหล่งผลิตไก่ไข่ และ
เป็ดเนอ้ื ไลท่ ุ่งท่สี าคัญ เพราะมีโรงชาแหล่ะและแปรรปู อยูใ่ กล้ทาให้ประหยัดคา่ ใช้จา่ ยในการขนสง่

เทคโนโลยีในการผลิตสัตว์ปีกในปัจจุบันส่วนมากจะเป็นการเล้ียงในโรงเรือนระบบปิด (Evaporative
Cooling System) และใช้วัสดุและอุปกรณ์ที่ทันสมัย ใช้ระยะเวลาในการเล้ียงส้ัน และเป็นการเลี้ยงแบบธรุ กิจ
การค้า

(1) ไกเ่ น้อื
แหล่งผลิตไก่เนื้อท่ีสาคัญของประเทศไทย โดยในปี 2558 มีเกษตรกรผู้เล้ียงไก่เน้ือท้ังหมด
จานวน 2,359,645 ครัวเรือน ซึ่งจังหวัดนครราชสีมามีจานวนเกษตรกรผู้เล้ียงไก่เน้ือมากท่ีสุด จานวน 3,785
ครัวเรือน (ร้อยละ 10.70) รองลงมาคือจังหวัดสกลนคร อุบลราชธานี นครศรีธรรมราช และขอนแก่น
ตามลาดับ ส่วนจังหวัดท่ีมีการไก่เนื้อมากท่ีสุด คือ จังหวัดลพบุรี มีการเลี้ยงไก่เนื้อมากที่สุด จานวน
48,164,609 ตัว (รอ้ ยละ 18.42) รองลงมาคอื จังหวดั นครราชสมี า สระบุรี กาญจนบุรี และชลบุรี ตามลาดบั

6

(2) ไก่พ้นื เมอื ง
แหล่งผลิตไก่พ้ืนเมืองที่สาคัญของประเทศไทย โดยในปี 2558 มีเกษตรกรผู้เล้ียงไก่พื้นเมือง
ท้ังหมดจานวน 2,359,645 ครัวเรือน ซึ่งจังหวัดนครราชสีมามีจานวนเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่พื้นเมืองมากท่ีสุด
จานวน 146,962 ครัวเรือน (ร้อยละ 6.23) รองลงมาคือ จังหวัดบุรีรัมย์ สุรินทร์ อุดรธานี และอุบลราชธานี
ตามลาดับ ส่วนจังหวัดท่ีมีการไก่พ้ืนเมืองมากท่ีสุด คือ จังหวัดนครราชสีมามีการเล้ียงไก่พื้นเมืองมากที่สุด
จานวน 3,793,843 ตัว (ร้อยละ 5.24) รองลงมาคือจังหวัดอุบลราชธานี เชียงใหม่ เชียงราย และบุรีรัมย์
ตามลาดบั
(3) ไก่ไข่
แหลง่ ผลิตไกไ่ ขท่ ี่สาคัญของประเทศไทย โดยในปี 2558 มเี กษตรกรผ้เู ล้ียงไกไ่ ขท่ ั้งหมดจานวน
57,286 ครัวเรือน ซึ่งจังหวัดสุรินทร์มีจานวนเกษตรกรผู้เล้ียงไก่ไข่มากท่ีสุด จานวน 8,999 ครัวเรือน (ร้อยละ
15.71) รองลงมาคือ จังหวัดนครราชสีมา นครศรีธรรมราช ชัยภูมิ และบุรีรัมย์ ตามลาดับ ส่วนจังหวัดท่ีมีการ
ไก่ไข่มากท่ีสุด คือ จังหวัดฉะเชิงเทรามีการเล้ียงไก่ไข่มากที่สุด จานวน 7,134,791 ตัว (ร้อยละ 12.51)
รองลงมาคอื จงั หวดั นครนายก ชลบรุ ี นครปฐม และเชียงใหม่ ตามลาดบั
(4) เปด็
แหล่งผลิตเป็ดที่สาคัญของประเทศไทย โดยในปี 2558 มีเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดท้ังหมดจานวน
442,366 ครัวเรือน ซึ่งจังหวัดอุบลราชธานีมีจานวนเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดมากท่ีสุด จานวน 25,817 ครัวเรือน
(ร้อยละ 6.11) รองลงมาคือ จงั หวดั อดุ รธานี ศรสี ะเกษ สรุ นิ ทร์ และบรุ รี มั ย์ ตามลาดบั สว่ นจงั หวดั ทมี่ ีการเป็ด
มากท่ีสุด คือ จังหวัดนครปฐมมีการเล้ียงเป็ดมากที่สุด จานวน 2,158,884 ตัว (ร้อยละ 7.51) รองลงมาคือ
จงั หวดั สุพรรณบรุ ีฉะเชิงเทรา นครราชสมี า และลพบรุ ี ตามลาดบั
จากเป็ดท้ังหมดจานวน 28,762,259 ตัว จาแนกเป็นเป็ดเน้ือ จานวน 9,234,511 ตัว (ร้อยละ 32.11)
เป็ดไข่ไล่ทุ่ง จานวน 7,027,178 ตัว (ร้อยละ 24.43) เป็ดไข่ จานวน 6,521,188 ตัว (ร้อยละ 22.67) เป็ดเทศ
จานวน 5,481,712 ตัว (ร้อยละ 19.06) และเป็ดเน้ือไล่ทุ่ง จานวน 497,670 ตัว (ร้อยละ 1.73) ตามลาดับ
- เป็ดเทศ จังหวัดอุบลราชธานี มีการเลี้ยงเป็ดเทศมากท่ีสุด จานวน 380,304 ตัว (ร้อยละ
6.94) รองลงมาคอื จงั หวัดอุดรธานี สงขลา นครศรธี รรมราช และศรสี ะเกษ ตามลาดบั
- เป็ดเน้ือ จังหวัดนครปฐม มีการเล้ียงเป็ดเน้ือมากที่สุด จานวน 1,492,048 ตัว (ร้อยละ
16.16) รองลงมาคอื จงั หวัด ฉะเชิงเทรา นครราชสมี า ลพบรุ ี และสระบรุ ี ตามลาดบั
- เป็ดไข่ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี มีการเลี้ยงเปด็ ไข่มากทสี่ ุด จานวน 995,396 ตัว (ร้อยละ 15.26)
รองลงมาคอื จังหวดั นครปฐม สงขลา ชัยภมู ิ และอ่างทอง ตามลาดบั
- เป็ดเน้ือไล่ทุ่ง จังหวัดฉะเชิงเทรา มีการเลี้ยงเป็ดเน้ือไล่ทุ่งมากที่สุด จานวน 103,327 ตัว
(รอ้ ยละ 20.76) รองลงมาคือจงั หวัดพิษณโุ ลก นครราชสมี า อ่างทอง และสระบรุ ี ตามลาดบั
- เป็ดไข่ไล่ทุ่ง จังหวัดสุพรรณบุรี มีการเล้ียงเป็ดไข่ไล่ทุ่งมากที่สุด จานวน 1,068,548 ตัว
(รอ้ ยละ 15.21) รองลงมาคือจงั หวัดพจิ ิตร นครสวรรค์ อ่างทอง และลพบุรี ตามลาดบั

7

3.2 การตลาดสตั ว์ปกี
ตลาดสัตว์ปีก หมายถึง สถานที่รวบรวมแลกเปลี่ยน ซ้ือขาย สัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก
ตลอดจนวัสดุ อุปกรณ์ที่เก่ียวข้องกับการผลิตสัตว์ปีก ซ่ึงมีองค์ประกอบ 2 ส่วนคือ ผู้ซ้ือและผู้ขาย ได้แก่
เกษตรกรทั้งรายย่อย รายกลาง ผู้ประกอบการรายใหญ่ พ่อค้าคนกลางรวมถึงบริษัทผู้ส่งออก การตลาดเป็น
เร่ืองของการจัดการที่ต้องมีการตัดสินใจ เพ่ือใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างมี
ประสทิ ธิภาพเพือ่ เกดิ ผลกาไร
ตลาดนับว่ามีบทบาทสาคัญและเป็นข้ันตอนสุดท้ายในการเลี้ยงไก่ ซ่ึงจะเป็นตัวช้ีว่าธุรกิจการเลี้ยงไก่
จะประสบความสาเร็จมากน้อยเพียงใด ถ้าผู้เลี้ยงไก่สามารถขายไข่ได้ราคาดี มีผลกาไรมากเท่าไร ก็จะยิ่งได้รับ
ความสาเรจ็ เท่านัน้ โดยท่ัวไปแลว้ ตลาดไกเ่ นื้อแบ่งได้ 3 ประเภท ดงั น้ี

1) การขายปลีก โดยการนาไก่ไปวางขายในตลาดสด และขายตามบ้าน โดยติดพ่วงด้วย
อาหารชนดิ อน่ื ๆ สะดวกแกผ่ ู้บรโิ ภคไม่ตอ้ งออกไปซื้อทตี่ ลาดสด

2) การขายส่ง ลักษณะการขายแบบนี้จะได้ราคาท่ีต่ากว่าการขายปลีก การขายส่งอาจทาได้
โดยการนาไปขายให้กบั ตลาดกลาง หรือสง่ ขายตามร้านค้าขายปลกี หรือร้านคา้ ขายส่งในท้องถิ่น ราคาจะข้ึนอยู่
กับราคาตลาดในกรุงเทพมหานครเป็นผู้กาหนด ส่วนในไก่ไข่ราคาขายจะขึ้นอยู่กับ ล้งไข่ เป็นผู้กาหนดราคา

3) การขายประกันราคา ผู้เลี้ยงไก่บางรายอาจขายไก่ในรูปของการทาสัญญากับบริษัทผลิต
อาหารสัตว์ โดยท่ีบริษัทดังกล่าวขายพันธ์ุไก่ อาหารและยาสัตว์ให้ แล้วบริษัทจะรับซื้อไก่ทั้งหมดในราคา
ประกาศตลอดทั้งปีท่ีผูเ้ ล้ียงมกี าไรพอสมควรและไมต่ ้องเส่ยี งกบั การลงทุนเมื่อราคาไกต่ ก ราคาไกก่ เ็ ชน่ เดียวกับ
ราคาผลิตทางการเกษตรอื่น ๆ ท่ีผู้ผลิตไม่สามารถท่ีจะต้ังราคาได้เอง ราคาจึงขึ้นลงไม่แน่นอนตามปริมาณการ
ผลติ และความตอ้ งการของตลาดมบี ทบาทที่สาคญั ต่อราคาในประเทศเปน็ อยา่ งมาก

สว่ นไก่ไขบ่ ริษัทจะรับซ้ือไข่ไก่เอง ทัง้ หมดในราคาประกันตลอดปี แมร้ าคาไข่จะสูงข้นึ ผูเ้ ลย้ี งแบบนี้จะ
ได้ราคาเทา่ ท่ีทาสัญญาไว้ ผเู้ ลย้ี งไกไ่ ข่ แบบอิสระ จะขายไดร้ าคาสงู กวา่ เมื่อไข่ราคาสูงแตจ่ ะขาดทุนเม่ือราคาไข่
ตกต่า การเล้ียงแบบประกันราคา โดยฟาร์มเลี้ยงไก่ขายไข่ไก่ให้กับบริษัทอาหารสัตว์ ตามราคาประกัน
ตามสัญญาทที่ างบรษิ ัทจะขายพนั ธุ์ไก่ อาหาร ยาและอ่นื ๆ ใหแ้ ล้วรับซ้อื ผลผลติ ทีไ่ ดท้ ้ังหมดในราคาประกันไม่
ว่าราคาไข่ในขณะนนั้ จะข้ึนหรือลงกต็ าม

การจาหน่ายผลผลิตไขไ่ ก่ การจาหน่ายไขใ่ นประเทศไทยแบ่งได้เปน็ 3 ลกั ษณะ คอื
1) ขายไข่คละ เป็นการขายไข่ท่ีสะดวกและประหยัดแรงงานในการคัดไข่ แต่ขายได้ราคาต่า

กวา่ ไข่คัดขนาด
2) ขายไข่โดยชั่งน้าหนัก เป็นการขายท่ียุติธรรม เพราะไม่คานึงถึงขนาดไข่ ผู้ซื้อต้องการ

จานวนฟองมากก็เลอื กซอื้ ฟองเล็ก ๆ แต่ถ้าเลอื กไขฟ่ องโตกจ็ ะไดจ้ านวนฟองไข่น้อยลง

3) ขายไข่โดยคัดขนาด ปัจจุบันการคัดไข่ใช้เครื่องคัดท่ีมีความเท่ียงตรงมากกว่าการใช้
สายตาคัด และยงั รวดเร็วเหมาะกบั ฟารม์ ท่ีมขี นาดใหญจ่ านวนผลผลติ ไข่ต่อวนั มาก

8

ปัจจบุ นั ประเทศไทยยังเปน็ ประเทศผ้สู ่งออกไก่เนื้อทีส่ าคัญประเทศหนึ่งของโลก สามารถนารายได้เข้า
ประเทศปีละหลายล้านบาท โดยมีตลาดต่างประเทศท่ีสาคัญ ได้แก่ สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น สิงคโปร์ ฮ่องกง และ
สปป.ลาว เปน็ ตน้

3.3 สถานการณก์ ารผลิตและตลาดไก่เนอ้ื
3.3.1 สถานการณ์การผลิตไกเ่ นือ้ โลก
(1) การผลติ ปี 2557 - 2561 การผลติ เน้อื ไกข่ องโลกมแี นวโน้มเพ่ิมขึน้ ร้อยละ 1.97

ตอ่ ปี โดยในปี 2561 การผลิตเน้ือไก่ของโลกมีปริมาณ 95.59 ลา้ นตัน เพ่มิ ข้นึ จาก 93.78 ลา้ นตนั ของปี 2560
ร้อยละ 1.94 ซึ่งสหรัฐอเมริกายังคงเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ท่ีสุด มีปริมาณการผลิต 19.35 ล้านตัน รองลงมาได้แก่
บราซลิ 13.55 ลา้ นตัน สหภาพยโุ รป 12.32 ล้านตนั และจนี 11.70 ล้านตัน

ตารางที่ 1.1 ปรมิ าณการผลิตเนอ้ื ไกแ่ ละผลติ ภัณฑ์ของประเทศทีส่ าคญั

ประเทศ 2557 2558 2559 2560 25611/ อัตราเพิม่ หนว่ ย : พนั ตัน
(รอ้ ยละ)
สหรัฐอเมรกิ า 17,542 18,208 18,510 18,938 19,350 25622/
13,612 13,550 2.38
บราซิล 12,946 13,547 13,523 12,060 12,315 0.96 19,709
11,600 11,700 4.40 13,800
สหภาพยโุ รป 10,450 10,890 11,560 4,640 4,855 -3.83 12,470
4,658 4,725 5.58 12,000
จีน 13,156 13,561 12,448 3,400 3,500 4.63 5,100
24,871 25,599 3.67 4,780
อนิ เดยี 3,930 4,115 4,427 93,779 95,594 2.83 3,600
1.97 26,343
รัสเซยี 3,958 4,222 4,328 97,802

เม็กซิโก 3,025 3,175 3,275

ประเทศอืน่ ๆ 22,844 23,619 24,205

รวมทัง้ หมด 87,851 91,337 92,276

หมายเหต:ุ 1/ ข้อมูลเบือ้ งตน้ 2/ คาดคะเน

ทีม่ า : สานกั วจิ ัยเศรษฐกจิ การเกษตร (2560)

(2) การตลาด
1) ความต้องการบริโภค ปี 2557 - 2561 การบริโภคเน้ือไก่ของโลกมีแนวโน้ม

เพ่ิมข้ึนร้อยละ 2.04 ต่อปี โดยในปี 2561 การบริโภคเน้ือไก่ของโลกมีปริมาณ 93.79 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก
92.03 ล้านตัน ของปี 2560 ร้อยละ 1.90 ซ่ึงสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศท่ีมีการบริโภคเนื้อไก่มากท่ีสุด คือ
16.24 ล้านตนั รองลงมา ได้แก่ จีน 11.59 ลา้ นตนั สหภาพยุโรป 11.54 ล้านตัน และบราซลิ 9.87 ล้านตนั

9

ตารางที่ 1.2 ปริมาณการปริโภคเน้ือไกแ่ ละผลิตภณั ฑ์ของประเทศทีส่ าคญั

ประเทศ 2557 2558 2559 2560 25611/ อัตราเพ่ิม หน่วย : พนั ตนั
(รอ้ ยละ)
สหรัฐอเมรกิ า 14,233 15,265 15,510 15,823 16,241 25622/
จีน 12,986 13,428 12,492 11,475 11,590 3.04
11,418 11,540 -3.77 16,531
สหภาพยโุ รป 10,029 10,441 11,047 9,768 9,866 3.77 11,900
บราซลิ 9,391 9,710 9,637 43,550 44,550 1.05 11,650
92,034 93,787 3.23 10,026
ประเทศอ่นื ๆ 39,298 40,743 42,054 2.04 45,867
รวมท้ังหมด 85,937 89,587 90,740 95,974

หมายเหต:ุ 1/ ขอ้ มลู เบอื้ งตน้ 2/ คาดคะเน
ที่มา : สานกั วิจยั เศรษฐกิจการเกษตร (2560)

2) การส่งออก ปี 2557 - 2561 การส่งออกเน้ือไก่ของโลกขยายตัวเพ่ิมขึ้นร้อยละ
1.96 ต่อปี โดยในปี 2561 การสง่ ออกเน้ือไก่ของโลกมีปริมาณ 11.15 ลา้ นตนั เพม่ิ ขนึ้ จาก 11.04 ล้านตัน ของ
ปี 2560 ร้อยละ 2.93 ซึ่งผลจากการระบาดของโรคไขห้ วดั นกต้ังแต่ปี 2547 ทาให้บราซลิ ซง่ึ เปน็ ประเทศปลอด
ไข้หวัดนกก้าวข้ึนมาเป็นประเทศผู้ส่งออกอันดับ 1 ของโลกแทนสหรัฐอเมริกา โดยในปี 2561 บราซิลสามารถ
สง่ ออกเนื้อไก่ไดป้ ริมาณ 3.69 ลา้ นตนั รองลงมาได้แก่ สหรฐั อเมรกิ า 3.16 ล้านตนั สหภาพยโุ รป 1.43 ลา้ นตัน
และไทย 0.85 ล้านตัน ซึ่งไทยได้ก้าวมาเป็นประเทศผู้ส่งออกเนื้อไก่อันดับท่ี 4 ของโลกตั้งแต่ปี 2551 เป็นต้น
มา

ตารางท่ี 1.3 ปริมาณการส่งออกเนอ้ื ไกแ่ ละผลิตภัณฑ์ของประเทศท่ีสาคัญ

ประเทศ 2557 2558 2559 2560 25611/ อัตราเพิม่ หนว่ ย : พันตนั
(รอ้ ยละ)
บราซิล 3,558 3,841 3,889 3,847 3,685 25622/
สหรัฐอเมริกา 3,359 2,932 3,086 3,140 3,158 0.72
สหภาพยโุ รป 1,133 1,179 1,276 1,335 1,425 -0.55 3,775
757 850 6.00 3,248
ไทย 546 622 690 436 460 11.42 1,500
จีน 430 401 386 357 380 2021 900
ตุรกี 348 282 263 262 300 3.84 475
ยูเครน 168 158 236 905 895 18.12 400
ประเทศอน่ื ๆ 930 883 899 11,039 11,153 -0.52 350
รวมทั้งหมด 10,472 10,308 10,725 1.96 971
11,619
หมายเหต:ุ 1/ ขอ้ มูลเบ้ืองตน้ 2/ คาดคะเน
ทมี่ า : สานักวิจยั เศรษฐกิจการเกษตร (2560)

10

3) การนาเข้า ปี 2557 - 2561 การนาเข้าเนื้อไก่ของโลกมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นร้อยละ
2.54 ต่อปี โดยในปี 2561 การนาเขา้ เน้ือไก่ของโลกมีปริมาณ 9.36 ลา้ นตนั เพมิ่ ขึน้ เล็กน้อยจาก 9.35 ลา้ นตัน
ของปี 2560 ร้อยละ 0.13 ซ่ึงญ่ีปุ่นเป็นประเทศที่นาเข้าเนื้อไก่มากเป็นอันดับ 1 ของโลก คือ 1.14 ล้านตัน
รองลงมาได้แก่ เม็กซิโก 0.85 ล้านตัน สหภาพยุโรป 0.65 ล้านตัน ซาอุดิอาระเบีย 0.58 ล้านตัน อิรัก 0.62
ล้านตัน และแอฟรกิ าใต้ 0.54 ล้านตนั

ตารางที่ 1.4 ปรมิ าณการนาเข้าเน้อื ไกแ่ ละผลติ ภณั ฑ์ของประเทศทีส่ าคญั

ประเทศ 2557 2558 2559 2560 25611/ อัตราเพิ่ม หนว่ ย : พันตนั
(รอ้ ยละ)
ญ่ีปุ่น 888 936 973 1,056 1,140 25622/
6.40
เม็กซโิ ก 722 790 791 804 845 3.38 1,175
-2.32 860
สหภาพยโุ รป 712 730 763 693 650 -6.31 680
-1.87 675
ซาอุดอิ าระเบยี 762 863 886 790 575 9.20 640
17.34 545
อิรกั 698 625 661 656 620 7.72 415
-1.37 375
แอฟรกิ าใต้ 369 457 528 524 535 2.84 340
2.54 4,070
USE 225 277 296 417 408 9,775

จีน 260 268 430 311 350

แองโกลา่ 365 221 205 267 310

ประเทศอื่นๆ 3,589 3,474 3,640 3,833 3,930

รวมท้ังหมด 8,590 8,641 9,173 9,351 9,363

หมายเหตุ: 1/ ข้อมลู เบ้อื งตน้ 2/ คาดคะเน

ท่มี า : สานักวจิ ยั เศรษฐกิจการเกษตร (2560)

3.3.2 สถานการณ์การผลิตไกเ่ น้อื ของไทย
(1) การผลิต ปี 2557 - 2561 การผลิตไก่เน้ือของไทยมีแนวโน้มเพิ่มข้ึนร้อยละ 5.23 ต่อปี

โดยในปี 2561 มีการผลิตไก่เนื้อ 1,570.45 ล้านตัว หรือ 2.32 ล้านตัน เพ่ิมขึ้นจาก 1,560.62 ล้านตัว หรือ
2.21 ล้านตัน ของปี 2560 ร้อยละ 5.10 เนื่องจากมีการขยายการผลิตเพื่อตอบสนองต่อความต้องการบริโภค
และการส่งออกที่เพิ่มขึ้น เพราะการผลิตไก่เนื้อของไทยมีการจัดการฟาร์มที่ได้มาตรฐาน และมีระบบการผลิต
ปลอดภยั เป็นท่ียอมรับของผูบ้ ริโภค

(2) การตลาด
1) ความต้องการบริโภค ปี 2557 - 2561 การบรโิ ภคเน้อื ไก่ของไทยเพ่ิมขึ้นในอัตรา

ร้อยละ 5.33 ต่อปี โดยในปี 2561 มีปริมาณการบริโภคเนื้อไก่ 1.50 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.45 ล้านตัน ของปี
2560 รอ้ ยละ 3.52 โดยปริมาณ การบริโภคมสี ดั ส่วนร้อยละ 66.46 ของปรมิ าณการผลิตทง้ั หมด

11

2) การส่งออก ปี 2557 - 2561 ปริมาณการส่งออกเน้ือไก่และผลิตภัณฑ์ของไทยมี
แนวโน้มเพ่ิมข้ึน ในอัตราร้อยละ 10.67 ต่อปี โดยในปี 2561 ไทยส่งออกเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์รวมปริมาณ
820,000 ตัน มูลค่า 820,000 ล้านบาท เพ่ิมข้ึนจากปริมาณ 758,370 ตัน มูลค่า 96,278 ล้านบาท ของปี
2560 ร้อยละ 8.13 และ ร้อยละ 4.90 ตามลาดับ เน่ืองจากความต้องการบริโภคของประเทศคู่ค้าท่ีขยายตัว
เพ่ิมข้ึนท้ังตลาดญ่ีปุ่นและสหภาพยุโรป ซ่ึงถือเป็นตลาดส่งออกหลักของไทย โดยตลาดส่งออกเน้ือไก่และ
ผลติ ภัณฑ์ทีส่ าคญั ได้แก่ ญปี่ ุ่น (ร้อยละ 54.96) สหภาพยุโรป (ร้อยละ 27.24) กลุ่มประเทศในอาเซยี น (ร้อยละ
8.74) และประเทศอน่ื ๆ (ร้อยละ 7.06)

ตารางที่ 1.5 การผลิต การบริโภค และการสง่ ออกเนอ้ื ไกแ่ ละผลติ ภัณฑข์ องไทย

ปี ผลผลิต ผลผลิต บรโิ ภค ไก่สด ส่งออก(ตนั ) รวม
(ล้านตวั ) (ตัน) (ตนั )
146,543 ไกแ่ ปรรูป 545,559
2557 1,302.98 1,786.105 1,240,546 175,758 621,774
2558 1,361.91 1,884,010 1,262,236 213,032 399,016 690,109
2559 1,463.78 2,070,956 1,380,847 225,636 446,016 758,370
2560 1,560.62 2,207,961 1,449,591 280,000 477,077 820,000
25611/ 1,570.45 2,320,628 1,500,628 16.70 532,734 10.67
300,000 540,000 850,000
อตั ราเพิ่มขึ้น(รอ้ ยละ) 5.23 7.06 5.33
1,554,016 8.14
25622/ 1,606.38 2,404,016 550,000

หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบ้อื งตน้ 2/ คาดคะเน

ที่มา : สานักวิจยั เศรษฐกิจการเกษตร (2560)

การส่งออกไก่สดแช่แข็ง ในปี 2561 ส่งออกปริมาณ 280,000 ตัน มูลค่า 25,000 ล้านบาท เพ่ิมข้ึน
จากปริมาณ 225,636 ตัน มูลค่า 20,176 ล้านบาท ของปี 2560 ร้อยละ 24.09 และร้อยละ 23.91 ตามลาดบั
โดยตลาดส่งออกไก่สดแช่แข็งท่ีสาคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น (ร้อยละ 36.43) กลุ่มประเทศในอาเซียน (ร้อยละ 36.07)
ซ่งึ ส่วนใหญ่ส่งไปยังประเทศ สปป.ลาว และมาเลเซีย สหภาพยุโรป (ร้อยละ 21.51) และประเทศอื่นๆ (ร้อยละ
5.99)

การส่งออกเนื้อไก่แปรรูป ส่งออกปริมาณ 540,000 ตัน มูลค่า 76,000 ล้านบาท ปริมาณเพ่ิมข้ึนจาก
532,734 ตัน ของปี 2560 ร้อยละ 1.36 แต่มูลค่าลดลงเล็กน้อยจาก 76,102 ล้านบาท ของปี 2560 ร้อยละ
0.13 ตลาดส่งออกไก่แปรรูปท่สี าคัญ ได้แก่ สหภาพยุโรป (ร้อยละ 47.65) ญ่ีปุ่น (ร้อยละ 41.89) กลุ่มประเทศ
ในอาเซยี น (ร้อยละ 3.41) และประเทศอื่นๆ (ร้อยละ 7.05)

12

ตารางท่ี 1.6 ปรมิ าณสง่ ออกไกส่ ดแช่แข็งและเนื้อไก่แปรรปู

รายการ 2557 2558 2559 2560 25611/ อัตราเพมิ่ 25622/
(รอ้ ยละ)
ไกส่ ดแชแ่ ข็ง ปริมาณ (ตนั ) 146,543 175,758 213,032 255,636 280,000 16.70 300,000
มูลคา่ (ล้านบาท) 12,648 14,320 17,522 20,176 25,000 18.60 27,000
540,000 550,000
เนื้อไก่แปรรูป ปรมิ าณ (ตนั ) 399,016 446,016 477,077 532,734 76,000 8.14 78,000
มลู ค่า (ลา้ นบาท) 61,315 64,500 71,680 76,102 820,000 6.13 850,000
101,000 10.67 105,000
รวมทัง้ หมด ปรมิ าณ (ตนั ) 545,559 621,774 690,109 758,370 8.58
มลู ค่า (ล้านบาท) 73,963 78,820 89,202 96,278

หมายเหตุ : 1/ ข้อมูลเบอ้ื งตน้ 2/ คาดคะเน
ท่ีมา : สานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร (2560)

3) ราคา
ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ ปี 2557 - 2561 ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้มีแนวโน้ม
ลดลงร้อยละ 4.28 ต่อปี โดยในปี 2561 ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.50 บาท ลดลงจาก
กโิ ลกรัมละ 37.28 บาท ของปี 2560 ร้อยละ 7.46 เนอื่ งจากมผี ลผลิตไกเ่ นอื้ ออกสู่ตลาดปรมิ าณมาก
ราคาส่งออก ปี 2561 ราคาส่งออกไกส่ ดแช่แขง็ เฉลี่ยกโิ ลกรัมละ 89.29 บาท ทรงตัว
เมื่อเทียบกับปี 2560 ส่วนราคาส่งออกเน้ือไก่แปรรูปในปี 2561 เฉล่ียกิโลกรัมละ 140.74 บาท ลดลงจาก
กโิ ลกรมั ละ 142.85 บาท ของปี 2560 รอ้ ยละ 1.48

ตารางที่ 1.7 ราคาไก่เนอื้ ท่ีเกษตรกรขายได้ ราคาส่งออกไกส่ ดแช่แขง็ และเน้ือไก่แปรรูป

รายการ 2557 2558 2559 2560 25611/ อตั ราเพ่ิม 25622/
(ร้อยละ)

ราคาไกเ่ นอื้ ที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.) 42.34 38.34 37.34 37.28 34.50 -4.28 35.00

ราคาสง่ ออก

ไกส่ ดแชแ่ ข็ง (บาท/กก.) 86.31 81.48 82.25 89.42 89.29 1.62 90.00

เน้ือไกแ่ ปรรูป (บาท/กก.) 153.67 144.61 150.25 142.85 140.74 -1.86 142.00

หมายเหตุ : 1/ ขอ้ มูลเบื้องตน้ 2/ คาดคะเน

ท่ีมา : สานักวจิ ยั เศรษฐกิจการเกษตร (2560)

13

3.4 สถานการณ์การผลิตและตลาดไกไ่ ข่
3.4.1 สถานการณไ์ ขไ่ กโ่ ลก
สถานการณ์ไข่ไก่ของโลกด้านการผลิต การบริโภค การส่งออก และการนาเข้าไข่ไก่ของ

ประเทศต่าง ๆ ทสี่ าคัญของโลก ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2557 - 2561 มีดังตอ่ ไปนี้
(1) การผลิต ปี 2557 - 2561 การผลิตไข่ไก่ของไทยมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นในอัตราร้อยละ 3.78

ต่อปี ตามความต้องการบริโภคท่ีเพ่ิมข้ึน โดยในปี 2561 มีปริมาณการผลิตไข่ไก่ 14,355.17 ล้านฟอง เพิ่มข้ึน
จาก 14,037.23 ล้านฟอง ของปี 2560 ร้อยละ 2.26 เน่ืองจากมีการขยายการเลี้ยงเพ่ือรองรับความต้องการ
บริโภคทเี่ พมิ่ ข้นึ ประกอบกับเกษตรกรมกี ารจดั การเล้ยี งไก่ไข่ท่มี ปี ระสิทธภิ าพมากข้ึน ทาให้ผลผลติ เพ่ิมขึน้

ตารางที่ 1.1 ปรมิ าณการผลิตไขไ่ กข่ องประเทศตา่ ง ๆ

หนว่ ย:พนั ล้านฟอง

ประเทศ 2555 2556 2557 2558 2559

จีน 484 490 496 502 509

สหรัฐอเมริกา 93 93 94 95 95

อินเดยี 66 68 70 73 75

เมก็ ซโิ ก 48 48 48 49 49

ญี่ปนุ่ 41 41 41 41 40

ไทย* 13.32 13.79 14.26 15.10 15.37

อ่ืนๆ 505 518 532 545 559

โลก 1,250 1,272 1,296 1,319 1,343

ทม่ี า : สมาคมผผู้ ลิต ผูค้ ้าและสง่ ออกไข่ไก่ (2559)

(2) การบริโภค ปี 2557 - 2561 การบริโภคไข่ไก่เฉลี่ยท้ังประเทศมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นในอัตรา
ร้อยละ 3.73 ต่อปี โดยในปี 2561 มีปริมาณการบริโภคไข่ไก่ 14,114.78 ล้านฟอง เพิ่มข้ึนจาก 13,909.97
ล้านฟอง ของปี 2560 ร้อยละ 1.47 เนื่องจากไข่ไก่มีราคาถูกเม่ือเทียบกับอาหารโปรตีนชนิดอื่น และสามารถ
ปรุงอาหารได้ง่าย ประกอบกับภาครัฐและภาคเอกชนมีการรณรงค์ส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ เพ่ือกระตุ้นการ
บรโิ ภคไขไ่ ก่ให้เพ่มิ ข้นึ

14

ตารางที่ 2 ปรมิ าณการบรโิ ภคไข่ไก่ของประเทศต่าง ๆ

หนว่ ย:ฟอง/คน/ปี

ประเทศ 2555 2556 2557 2558 2559

เม็กซิโก 427 427 428 430 430

จนี 357 360 363 366 369

สงิ คโปร์ 236 330 334 338 342

ญ่ีปุน่ 331 332 333 335 336

ไทย* 204 210 215 225 227

ทมี่ า : สมาคมผูผ้ ลิต ผ้คู า้ และส่งออกไข่ไก่ (2559)

(3) การส่งออก ปี 2557 - 2561 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกไข่ไก่สดมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนใน
อัตราร้อยละ 6.53 ต่อปี และร้อยละ 10.17 ต่อปี ตามลาดับ โดยในปี 2561 การส่งออกไข่ไก่สดมีปริมาณ
240.39 ลา้ นฟอง มลู คา่ 898.66 ลา้ นบาท เพมิ่ ขน้ึ จากปรมิ าณ 127.26 ล้านฟอง มลู ค่า 380.57 ลา้ นบาท ของ
ปี 2560 ร้อยละ 88.90 และ 1.36 เท่า ตามลาดับ เน่ืองจากมีการส่งออกไข่ไก่ไปยังต่างประเทศเพื่อระบาย
ผลผลติ ในประเทศ โดยตลาด ส่งออกทสี่ าคญั ของไทย คือ ฮ่องกง (รอ้ ยละ 96.24) และสิงคโปร์ (ร้อยละ 2.60)

ปริมาณและมูลคา่ การสง่ ออกผลิตภณั ฑ์จากไข่ไก่มีแนวโน้มเพมิ่ ข้ึนในอตั รา ร้อยละ 3.50 ต่อปี
และร้อยละ 3.98 ต่อปี ตามลาดับ โดยในปี 2561 มีการส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ปริมาณ 5,351.22 ตัน มูล
ค่า 528.30 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 3,739.21 ตัน มูลค่า 385.03 ล้านบาท ของปี 2560 ร้อยละ 43.11
และ 37.21 เท่า ตามลาดับ ผลิตภัณฑ์ท่ีส่งออกมากที่สุด คือ ไข่เหลวรวม ตลาดส่งออกที่สาคัญ คือ ญ่ีปุ่น ซึ่งมี
สดั ส่วนการส่งออกรอ้ ยละ 47.90 ของปริมาณการส่งออกไข่เหลวรวมทง้ั หมด

ตารางที่ 1.3 ปริมาณการสง่ ออกไข่ไก่ของประเทศต่าง ๆ

หนว่ ย:พันล้านฟอง

ประเทศ 2555 2556 2557 2558 2559 สดั ส่วนโลก

เนเธอรแ์ ลนด์ 7.4 7.3 8.0 8.0 9.0 26%

ตุรกี 4.3 5.3 7.0 9.0 11.0 32%

โปแลนด์ 3.1 3.4 4.0 4.0 4.0 12%

เยอรมนั 2.5 2.8 3.0 3.0 4.0 11%

มาเลเซยี 2.5 2.8 3.0 4.0 4.0 12%

ไทย* 0.27 0.27 0.24 0.34 0.42 1%

อนื่ ๆ 11.8 10.5 10.0 9.0 8.0 22%

โลก 31.8 32.2 33.0 34.0 35.0 100%

ท่มี า : สมาคมผู้ผลติ ผูค้ า้ และสง่ ออกไข่ไก่ (2559)

15

(4) การนาเข้า ปี 2557 - 2561 ปริมาณกรนาเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นใน
อัตราร้อยละ 19.86 ต่อปี แต่มูลค่าการนาเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 0.21 ต่อปี
โดยในปี 2561 มีการนาเข้า ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ปริมาณ 3,940.49 ตัน มูลค่า 647.15 ล้านบาท เพิ่มข้ึนจาก
ปริมาณ 3,245.65 ตัน มลู ค่า 552.27 ลา้ นบาท ของปี 2560 ร้อยละ 21.41 และรอ้ ยละ 17.18 ตามลาดับ โดย
ผลิตภัณฑ์ที่นาเข้าจะใช้เป็น ส่วนผสมในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพ่ือใช้ในประเทศและส่งออก ผลิตภัณฑ์ที่
นาเขา้ มากทสี่ ดุ คือ ไข่ขาวผงโดยนาเข้าจากประเทศอติ าลีมากท่ีสุด คิดเปน็ ร้อยละ 30.42 ของปริมาณนาเข้าไข่
ขาวผงทงั้ หมด รองลงมาได้แก่ เปรู และเนเธอรแ์ ลนด์

ตารางท่ี 4 ปรมิ าณการนาเขา้ ไข่ไก่ของประเทศตา่ ง ๆ
หนว่ ย:พันล้านฟอง

ประเทศ 2555 2556 2557 2558 2559 สดั ส่วนโลก
เยอรมัน 7.2 7.1 7.0 7.0 7.0 23%

อริ กั 3.3 3.4 4.0 4.0 4.0 12%
เนเธอรแ์ ลนด์ 3.0 3.3 4.0 4.0 5.0 15%

ฮอ่ งกง 1.8 1.9 2.0 2.0 2.0 7%
สงิ คโปร์ 1.3 1.3 1.0 1.0 1.0 5%
อนื่ ๆ 12.0 12.0 12.0 12.0 12.0 39%

โลก 28.6 29.1 30.0 30.0 31.0 100%
ทมี่ า : สมาคมผผู้ ลติ ผู้ค้าและสง่ ออกไขไ่ ก่ (2559)

3.2.2 สถานการณไ์ ข่ไกข่ องไทย
สถานการณ์ไข่ไก่ของไทยด้านการผลิต การบริโภค การส่งออก และการนาเข้าไข่ไก่ของไทย
ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2559 โดยจังหวดั ทม่ี กี ารเลี้ยงไก่ไขม่ ากท่ีสุดของไทย มดี ังน้ี ฉะเชิงเทรา นครนายก ชลบรุ ี
อยธุ ยา และอุบลราชธานี
(1) การผลิต ปี 2559 คาดว่าจะมีปริมาณการผลิตไข่ไก่ 12,967.91 ล้านฟอง เพ่ิมขึ้นจาก
12,399.74 ลา้ นฟอง ในปี 2558 ร้อยละ 4.58 เนอื่ งจากมีการขยายการผลิตตามความต้องการบริโภคทเี่ พิ่มขึ้น
ตามจานวนประขากร ประกอบกับเกษตรกรมีการจัดการฟาร์มไก่ไข่ท่ีมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทาให้ผลผลิต
เพิ่มข้ึน รวมท้ังการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในเดือนธันวาคม 2558 เป็นโอกาสให้เกษตรกรขยายการเลี้ยง เพ่ือ
รองรับตลาดสง่ ออกท่ีขยายตัวเพ่มิ ขน้ึ ได้

16

(2) การตลาด
1) ความต้องการบริโภค ปี 2559 คาดว่าปริมาณการบริโภคไข่ไก่จะเพ่ิมข้ึนจากปี

2558 เน่อื งจากภาครฐั และ ภาคเอกชนมกี ารรณรงคส์ ่งเสริมการบรโิ ภคไข่ไก่ ข้งึ เกีย่ วกับคุณประโยชน์ไข่ไก่และ
ปริมาณการบริโภคไข่ไก่ ท่ีเหมาะกับทกุ เพศทุกวัยอย่างต่อเน่ือง

2) การส่งออก ปี 2559 คาดวา่ การสง่ ออกไข่ไก่สดและผลิตภณั ฑจ์ ากไข่ไกจ่ ะเพ่ิมข้ึน
เล็กน้อย เม่ือเทียบกับปี 2558 เน่ืองจากการเข้าสู่ประซาคมอาเซียนไนเดือนธันวาคม 2558 เป็นโอกาสให้ไทย
สง่ ออกไข่ไก่ ไดเ้ พ่มิ ขึ้น

3) การนาเข้า ปี 2559 คาดว่าการนาเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่จะทรงตัวหรือเพิ่มข้ึน
เล็กน้อย เนื่องจากโรงงานแปรรูปไข่ไก่ภายในประเทศยังไม่สามารถผลิตผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ประเภทต่าง ๆ ได้
อย่างเพียงพอ และอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารเพื่อการส่งออกบางประเภทยังต้องไข้ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่จาก
กลุ่มประเทศ ทส่ี หภาพยุโรปไหก้ ารรบั รองไหไ้ ข้เป็นส่วนประกอบได้

4) ราคา ปี 2559 คาดว่าราคาไข่ไก่ท่ีเกษตรกรขายได้เฉล่ียทั้งประเทศจะค่อนข้าง
ทรงตัว หรือปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อย เน่ืองจากเกษตรกร สหกรณ์ และภาคเอกชน มีการวางแผนการผลิตให้
สอดคล้องกับความต้องการบริโภค รวมท้ังมีการรณรงค์ส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ ทาให้ความต้องการบริโภค
ขยายตัวเพม่ิ ข้นึ


Click to View FlipBook Version