The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thitikornLanakham, 2019-10-03 03:13:44

Unit 3

Unit 3

หน่วยท่ี 3

การจดั การเล้ยี งสัตวป์ กี

27

หัวข้อเรอ่ื ง
1. การเตรยี มโรงเรอื นและอุปกรณ์
2. การเลีย้ งสตั วป์ กี ใหเ้ น้อื
3. การเลี้ยงสัตวป์ กี ให้ไข่

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. จัดเตรียมวัสดแุ ละอปุ กรณ์กอ่ นที่ลูกสตั ว์ปีกจะมาถงึ ฟาร์มได้ถูกต้อง
2. อธิบายการเลีย้ งสตั ว์ปกี ให้เนอื้ แตล่ ะระยะได้
3. อธิบายการเลีย้ งสตั วป์ ีกให้ไข่แตล่ ะระยะได้

เนื้อหาการสอน
สัตว์ปีกท่ีเล้ียงเพื่อต้องการเน้ือสาหรับบริโภค ท่ีเลี้ยงเป็นการค้าในปัจจุบันมีมากมายหลายชนิดแต่

สัตว์ปีกให้เน้ือท่ีผู้บริโภคนิยมบริโภคและมีความสาคัญทางเศรษฐกิจของประเทศคือ ไก่เน้ือ และเป็ดเน้ือ
สาหรับสัตวป์ ีกให้ไข่ท่ีเลีย้ งไวเ้ พื่อตอ้ งการไข่สาหรบั บริโภคทส่ี าคญั ได้แก่ ไกไ่ ข่ เป็ดไข่ และนกกระทา ซึ่งสัตวป์ ีก
เหล่าน้ีมีมากมายหลายพันธ์ุ ทั้งสัตว์ปีกพันธ์ุแท้และสัตว์ปีกลูกผสม ซ่ึงในแต่ละพันธุ์มีข้อดีข้อด้อยในการเลี้ยง
และประสิทธิภาพการผลิตท่ีแตกต่างกัน เพ่ือให้สัตว์ปีกท่ีเลี้ยงแสดงขีดความสามารถได้ตามศักยภาพของสาย
พันธุ์ ผูเ้ ล้ียงจงึ ต้องมีการจัดการให้เหมาะสมดังต่อไปนี้

1. จัดสภาพแวดลอ้ มให้เหมาะสม ไดแ้ ก่ อณุ หภูมิ การระบายอากาศ คณุ ภาพอากาศและพ้ืนที่
การเลย้ี ง

2. การสุขาภบิ าล การป้องกนั โรคและการบาดเจ็บตา่ ง ๆ
3. การจัดการอาหารเพื่อให้ไก่ได้รับโภชนะที่เหมาะสม ใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์คุณภาพดีและมี
การจัดการอปุ กรณ์ใหอ้ าหารอย่างเหมาะสม
4. การดูแลสวัสดิภาพสตั ว์ตลอดการเลยี้ ง

ระบบการเลี้ยงสตั ว์ปกี ทีด่ ี คอื การนาสัตว์ปกี เข้าเลยี้ งพรอ้ มกันท้ังโรงเรือน และยา้ ยเข้ากรงตบั หรือขาย
พร้อมกันท้ังหมด (all-in all-out) โรงเรือนเดียวกันจะเริ่มต้นเลี้ยงไก่อายุเท่ากัน ภายหลังจากท่ีจับไก่ออก
หมดแล้ว โรงเรือนจะมีเวลาว่าง ซ่ึงเป็นเวลาที่ผู้เล้ียงจะต้องทาความสะอาดโรงเรือนและอุปกรณ์ต่าง ๆ
ให้สะอาด ทาการฆา่ เช้ือโรคทั้ง ภายในและภายนอกโรงเรือน ฆ่าเชอื้ โรคอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ท่ใี ช้ เชน่ อปุ กรณใ์ ห้น้า
ให้อาหาร ผ้าม่าน ฯลฯ หลังจากทาความสะอาดโรงเรือนและอุปกรณ์แล้ว จะมีการหยุดพักโรงเรือน (Down
time) อยา่ งนอ้ ย 7-14 วันเพ่อื ตัดวงจรการติดต่อของโรคระบาดบางชนิด

การเล้ียงสตั ว์ปีกตา่ งอายุกันในโรงเรอื นเดียวกัน ลกู สตั วป์ กี ควรมาจากพ่อแมพ่ ันธ์ุฟาร์มเดียวกัน พอ่ แม่
พันธุ์ควรมีอายุใกล้เคียงกัน เพื่อให้ได้ลูกไก่ที่ซื้อมาเลี้ยงมีขนาดตัวเท่ากัน ถ้าเลือกลูกไก่ท่ีมาจากฟาร์มเดียวกัน
ไม่ได้ ควรแยกลูกไก่ที่มาต่างฟารม์ อย่ตู ่างหอ้ ง

28

1. การเตรยี มโรงเรอื นและอุปกรณ์
1.1 การทาความสะอาดโรงเรือนและอปุ กรณ์
การทาความสะอาดโรงเรือนและอุปกรณ์ เป็นข้ันตอนท่ีมีความสาคัญในการเตรียมโรงเรือนและ

อุปกรณ์ให้พร้อมก่อนนาไก่รุ่นใหม่เข้าเล้ียงต้องมีการจัดการอย่างดี เพ่ือป้องกันความผิดพลาดซึ่งเป็นสาเหตทุ า
ให้เกิดการระบาดของโรค จากไก่รุ่นเก่ามายังไก่รุ่นใหม่ได้ ข้ันตอนการทาความสะอาดโรงเรือนและอุปกรณ์
ดงั ตอ่ ไปนี้

1) ย้ายไก่ออกจากโรงเรอื นใหห้ มด
2) นาอุปกรณ์ และวัสดุการเล้ียงไก่ท่ีสามารถเคลื่อนย้ายได้ออกจากโรงเรือน เช่น รางอาหาร
รางน้า และถุงอาหาร ส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ติดตั้งตายตัว และอาจเกิดความเสียหายจากการล้างทาความสะอาด
เชน่ มอเตอรพ์ ดั ลม เคร่ืองใหอ้ าหารอตั โนมตั ิ หลอดไฟ ให้ถอดออกและเคลอื่ นยา้ ยไปเก็บไวใ้ นที่ปลอดภยั
3) ขนวัสดุรองพื้นออก ถ้าวัสดุรองพ้ืนแห้งเป็นฝุ่น และอยู่ต้นลมของโรงเรือนอ่ืน ให้พ่นน้าพอ
หมาดเพ่ือป้องกันการฟุ้งกระจาย และจะนาเชื้อโรคไปสู่โรงเรือนใกลเ้ คียง แล้วขนวัสดุรองพ้ืนเก่าไปเก็บไว้ในท่ี
จัดเก็บหรือนาไปทาปุ๋ย ถ้าโรงเรือนมีทางเข้าออก 2 ทาง ให้ขนวัสดุรองพ้ืนเก่าออกทางด้านท้ายของโรงเรือน
เพอ่ื ไม่ให้ผา่ นด้านหนา้ ของโรงเรือนอื่น
4) กวาดหยกั ไย่ ฝนุ่ ละอองออกให้มากทีส่ ุด ทัง้ ดา้ นใน และดา้ นนอกของโรงเรือน รวมทั้งห้อง
เก็บอาหาร เพราะหยักไย่ท่ีติดกับโรงเรือนใช้น้าฉีดล้างออกได้ยาก ดายหญ้าบริเวณรอบโรงเรือนออก ห่างจาก
โรงเรอื นอย่างน้อย 3 เมตร และตดั หญ้าท่ีสงู บรเิ วณรอบโรงเรอื นออกในรัศมี 15-30 เมตร
5) ล้างทาความสะอาดโรงเรือนด้วยน้าผสมผงซักฟอก เพื่อขจัดคราบไขมันที่เกาะอยู่ตาม
โรงเรือนด้วยเคร่ืองฉีดน้าแรงดันต่า 250 - 300 ปอนด์ต่อตารางน้ิว ล้างให้ทั่วทุกซอกทุกมุมโดยเร่ิมล้างหลังคา
ให้เสร็จก่อน เพ่ือให้น้าท่ีล้างหลังคาตกมาบนมูลไก่ที่เกาะอยู่ตามพ้ืน ทาให้หลุดร่อนได้ง่าย เม่ือล้างเสร็จให้ใช้
เครือ่ งฉีดน้าแรงดนั ลา้ งผงซกั ฟอกออก
6) ปล่อยโรงเรือนให้แห้งพอหมาด ฉีดยาฆ่าแมลงให้ทั่วทั้งโรงเรือนด้วยเครื่องฉีดน้าแรงดันที่
ปรับให้มีขนาดของละอองน้าพอเหมาะและทิ้งไว้ 24 ช่ัวโมง แล้วจึงกวาดตัวแมลงท่ีตายออกจากโรงเรือน การ
ใชย้ าฆ่าแมลงควรใชย้ าหลายชนดิ หมุนเวียนกัน เพ่อื ปอ้ งกนั การดอื้ ยาของแมลง
7) พน่ ยาฆา่ เช้อื ใหท้ ่ัวทง้ั โรงเรอื น
8) โรยพืน้ ด้วยปูนขาวหรอื ปนู ดิบหรือโซดาไฟเพื่อกาจดั ไขข่ องแมลง
9) ล้างทาความสะอาดอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้สะอาด พน่ ด้วยยาฆา่ เชื้อแลว้ นาไปเกบ็ ไว้ในห้องเก็บ
อปุ กรณ์
10) ซ่อมแซมโรงเรือน และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ชารุดเสียหาย เช่น ตาข่าย ประตู หลังคา พื้น
รางอาหาร รางนา้ กรงตบั และอดุ รูข้างโรงเรอื นทเ่ี ปน็ รรู ะบายน้าขณะลา้ งโรงเรอื น

29

11) ถ้ามเี ครอื่ งพ่นไฟ ใหใ้ ชเ้ ครื่องพ่นไฟกาจดั ขนไก่ออกให้หมด
12) เชือกแขวนถงั อาหารและรางน้า ควรนามาล้างให้สะอาดและจุม่ นา้ ยาฆ่าเช้ือโรค
13) นาผ้าม่านสะอาดมาขึงให้รอบโรงเรือนโดยเก่ียวกับตะขอท่ียึดกับตาข่ายของโรงเรือน
ให้ใช้เชือกขึงเป็นรูปฟันปลาจากด้านล่างถึงด้านบนให้ผ้าม่านแนบสนิทกับตาข่ายโรงเรือน เพื่อป้องกันไม่ให้ตา
ข่ายกระพือเพราะแรงลมทาให้ผ้าม่านขาดเร็ว และลูกไก่ตกใจ ขึงผ้าม่านด้านบนให้ห่างจากหลังคา
30 เซนตเิ มตร การขึงผา้ มา่ นต้องไม่ใหม้ ชี อ่ งให้ลมเข้าได้ ยกเว้นบรเิ วณดา้ นบน (ภาพที่ 7.1)
14) นาวัสดุรองพ้ืนเข้าโรงเรือน วัสดุรองพ้ืนท่ีนิยมใช้ ได้แก่ แกลบ ข้ีกบ หรืออาจจะใช้ทราย
หยาบ เปลอื กถั่ว ฟางขา้ วสบั โดยพิจารณาจากคุณสมบัติ เบา ฟู ไมจ่ ับตวั เป็นกอ้ นได้ง่าย ดูดซับความชืน้ ได้ดี มี
ขนาดใหญ่พอสมควร คือ รอดตะแกรงขนาด 1/4 น้ิวไม่ได้ ฟาร์มไก่ไข่มักใช้แกลบเพราะหาได้ง่าย แม้จะดูดซับ
ความช้ืนได้ไม่ดีเท่าท่ีควร แกลบมีคุณสมบัติเป็นดา่ งทาใหแ้ ห้งเร็วไม่จับตัวเป็นก้อนงา่ ย ขี้กบมีลักษณะฟู ดูดซับ
ความชน้ื ได้ดีกวา่ แกลบ แตค่ วรระวังอันตรายจากเส้ยี นไม้ หรอื ชนิดของตน้ ไม้ทเี่ ป็นพิษจะเป็นอันตรายต่อลูกไก่
ได้ วัสดุรองพ้ืนโรงเรือนใส่หนา 4.5 เซนติเมตร แต่บริเวณภายในวงล้อมเคร่ืองกกวัสดุรองพ้ืนควรหนา 9
เซนติเมตร เพื่อป้องกันลูกไก่คุ้ยวัสดุรองพื้นออกจนถึงพ้ืนปูน เพราะอาจทาให้ลูกไก่ปอดบวม การคานวณวัสดุ
รองพ้นื เพือ่ สัง่ ซอ้ื คานวณจากวัสดุรองพน้ื 1 ลกู บาศก์เมตร ต่อพ้ืนท่ี 12.5 ตารางเมตร
15) พ่นยาฆ่าเชอ้ื ให้ทัว่ ภายในโรงเรอื นอกี คร้ัง พร้อมกบั คราดเพื่อกลบั วัสดรุ องพื้น
16) บรเิ วณรอบโรงเรือนให้ราดดว้ ยน้ามนั เครือ่ งทใี่ ช้แล้ว หรอื ปูนดิบให้ท่ัว
17) เม่อื ทาความสะอาดเสรจ็ ใหป้ ดิ โรงเรอื นหา้ มคนเขา้ โดยไม่จาเปน็ อยา่ งน้อย 7-14 วัน

ภาพที่ 3.1 การขงึ ผ้ามา่ นกนั ลมในระหว่างการกกลูกสัตวป์ กี

1.2 การจัดเตรียมวัสดแุ ละอุปกรณก์ อ่ นทีล่ ูกสตั ว์ปีกจะมาถงึ ฟารม์
ก่อนเปิดโรงเรือนหลังจากพักโรงเรือน ต้องจัดเตรียมอ่างน้ายาฆ่าเช้ือโรคจุ่มเท้าหน้าโรงเรือนให้
เรียบรอ้ ย และผ้ทู ่ีเขา้ ไปในโรงเรือนควรเป็นบคุ คลที่เก่ยี วข้องเท่านั้น และไมค่ วรเข้าโรงเรือนไก่อายุมากมาก่อน
ถ้าเข้าโรงเรือนไก่อายุมากมาก่อนต้องอาบน้า สระผม เปลี่ยนเส้ือผ้าก่อนเข้าโรงเรือนลูกไก่ จัดเตรียมวัสดุและ
อุปกรณก์ อ่ นทีล่ กู ไก่จะมาถึงฟารม์ 3 วนั เรมิ่ จากตดิ ตั้งอุปกรณต์ ่าง ๆ ทีไ่ ม่ทาใหเ้ กิดความเกะกะ และอุปกรณ์ที่
คาดว่าเมื่อลูกไก่อยู่ในโรงเรือนแล้วไม่สามารถติดตั้งได้สะดวก เช่น หลอดไฟ มอเตอร์พัดลม เชือกแขวนถัง

30

อาหาร รางน้า ให้เรียบร้อยพร้อมใช้งาน ตรวจสอบผ้าม่านอย่าให้มีรูร่ัวลมเข้าได้ จากนั้นจัดเตรียมกกซึ่งมี
ขน้ั ตอนดงั ตอ่ ไปนี้

1) การเตรยี มกน้ั แผงกก โดยใชแ้ ผงกนั้ กกที่ทาดว้ ยแผ่นสังกะสสี งู 0.45 เมตร ยาว 1.20 เมตร จานวน
ประมาณ 7 - 8 แผ่น ตอ่ เคร่อื งกก 1 เครอ่ื ง ใชก้ กลูกไกไ่ ด้ 500 ตวั หรือใชเ้ สยี มไมไ้ ผ่ หรอื แผงลวดตาข่ายขนาด
2.5 x 2.5 เซนติเมตร สูงประมาณ 30 เซนติเมตรซ่ึงเหมาะสาหรับฤดูร้อน ใช้แผงสังกะสีดีที่สุดเพราะช่วย
ประหยัดค่าไฟฟ้าหรือก๊าซหงุ ต้ม แผงกั้นกกต้องวางอย่าให้เกิดเปน็ มุมแหลม เพราะลูกไก่อาจไปซุกตามมุมและ
ทับกันตาย

2) การตดิ ต้ังเคร่อื งกก โดยสารวจสภาพเคร่อื งกก และทดลองวา่ ทางานปกตหิ รือไม่ โดยเสียบไฟทิ้งไว้
ให้เคร่ืองกกทางาน 48 ชั่วโมง หลังจากน้ันค่อยปดิ แล้วเปิดเครอ่ื งอีกครัง้ ก่อนท่ีลูกไก่เดนิ ทางมาถึงฟาร์ม 4 - 6
ช่งั โมง เครอ่ื งกกท่นี ิยมใช้ในประเทศไทยมี 2 ชนดิ คอื เคร่อื งกกไฟฟ้าและเครอ่ื งกกกา๊ ซ เครอ่ื งกกไฟฟ้า ทใี่ ช้ใน
ปัจจุบันเป็นเครื่องกกแบบฝาชี ขนาดเส้นผ่าศูนยก์ ลาง 4 ฟุต สาหรับกกลูกไก่ 500 ตัว โดยติดต้ังให้ขอบเคร่ือง
กกสูงจากวัสดุรองพ้ืน 15.24 เซนติเมตร ขอบเครื่องกกห่างจากแผงกั้น 76.2 เซนติเมตรในฤดูหนาว และ
91.44 เซนติเมตรในฤดูร้อน ไม่ควรใช้เครื่องกก 2 เคร่ืองในแผงกั้นกกอันเดียวกัน การแขวนเครื่องกกต้องไม่ให้
เอียงไปด้านใดด้านหน่งึ

ในการใช้เครื่องกกแก๊ส ควรติดต้ังเคร่ืองกกให้สูงจากพ้ืน 1.20 - 1.50 เมตร ข้ึนกับปริมาณลูกไก่ท่ีกก
เคร่ืองกกแก๊สที่นิยมใช้มี 2 ขนาด คือ ขนาดกกลูกไก่ได้ 500 ตัว และ 1,000 ตัว การแขวนเครื่องกกต้องให้หัว
เคร่ืองกกเชิดขึ้นประมาณ 20 องศา เพ่ือให้ความร้อนลอยออกจากตัวเครื่องกกได้ วัสดุท่ีใช้แขวนตรงบริเวณที่
ติดกับตัวเครื่องกกต้องเป็นโซ่เหลก็ เพื่อป้องกันการละลาย ต่อสายก๊าซออกจากถังก๊าซท่ีมีตัวปรับความดันก๊าซ
ติดอยู่บนสายเมน แล้วแยกสายก๊าซไปตามเครื่องกก โดยการใช้ข้อต่อสามทางเป็นตัวแยก รัดเข็มขัดตรงรอย
ต่อให้แน่นทุกจุด ตรวจสอบว่ามีก๊าซร่ัวหรือไม่ โดยใช้ฟองน้าชุบน้าท่ีละลายผงซักฟอก เปิดก๊าซแล้วนามาหุ้ม
รอยตอ่ ถา้ มีฟองอากาศเกิดขนึ้ แสดงว่ามีกา๊ ซรั่วให้รบี แกไ้ ข

4) การเตรียมพ้ืนท่ีกกลูกไก่ เกณฑ์กาหนดให้ ลูกไก่ 1 ตัว ต้องการพื้นท่ีใต้กก 90 ตารางเซนติเมตร
หรือประมาณ 10 - 11 ตัวต่อตารางเมตร ในการเล้ียงไก่ในโรงเรือนระบบปิด ลูกไก่ต้องการพ้ืนที่ในการกกน้อย
กว่าการเลี้ยงในโรงเรือนระบบเปิด โดยในพืน้ ทกี่ กในโรงเรือนระบบปดิ 1 ตารางเมตร กกลกู ไกไ่ ด้ 20 ตวั

ภาพท่ี 3.2 การจดั เตรียมพ้นื ทกี่ ก

31

5) การเตรียมอุปกรณ์การให้น้า เตรียมน้าสาหรับลูกไก่ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนลูกไก่มาถึงฟาร์ม

1 - 2 ชัว่ โมง โดยใช้กระตกิ น้าขนาด 1 แกลลอน ต่อลูกไก่ 50 ตวั ในระยะการกกลูกไก่ให้พิจารณาถึงความยาว

รางทใ่ี หน้ ้าเป็นหลกั โดยกระติกน้าทน่ี ยิ มใชก้ ันทั่วไป มี 2 ขนาด ดังนี้

- กระตกิ นา้ ขนาด 4 ลิตร มเี ส้นผา่ ศนู ยก์ ลางจานรอง 18 เซนติเมตร

- กระตกิ นา้ ขนาด 8 ลติ ร มีเสน้ ผ่าศูนย์กลางจานรอง 22.5 เซนตเิ มตร

ในกรณที ม่ี กี ระติกน้าไมเ่ พยี งพออนโุ ลมใหใ้ ช้ 1 กระติกต่อลูกไก่ 50 ตวั โดยยดึ หลกั ความจริงทว่ี า่

ลกู ไก่ไม่ได้กนิ นา้ ทกุ ตัวในเวลาเดยี วกัน

6) การจัดเตรยี มนา้ ด่มื ก่อนลกู ไก่มาถึงฟาร์ม 2 ชวั่ โมง ตอ้ งเตรยี มนา้ ดื่มใหเ้ รียบร้อย โดยผสมวติ ามนิ

ในน้าดื่มให้ลูกไก่กิน 3 วันแรก ถ้าลูกไก่เดินทางมาไกลเกิน 50 กิโลเมตร ควรผสมน้าตาลทรายลงไปในน้าดว้ ย

โดยใชน้ ้าตาลทราย 10 เปอรเ์ ซน็ ตโ์ ดยนา้ หนัก เพือ่ ให้ลูกไก่ฟืน้ ตวั เร็วขึ้นและให้ลูกไก่ด่ืมหมดใน 6

ช่วั โมง เพราะน้าตาลเกิดการบูดได้ง่าย

7) การเตรียมอปุ กรณ์ใหอ้ าหาร อุปกรณ์ให้อาหารลูกไกส่ ปั ดาหแ์ รก เปน็ ถาดพลาสติกแบบกลมขนาด

เส้นผ่าศูนย์กลาง 33.75 เซนติเมตร หรือถาดแบบส่ีเหลี่ยม กว้าง 48 เซนติเมตร ยาว 72 เซนติเมตร และสูง

6.5 เซนติเมตร หรืออาจใช้กล่องใส่ลูกไก่ตัดตามรอยปะเอากระดาษกั้นกลาง และกระดาษรองพื้นออก โดยใช้

1 ถาด ต่อลูกไก่ 100 ตัว ถ้าเป็นถาดพลาสติกต้องจัดเตรียมให้พร้อมวางซ้อนกันไว้ข้างแผงล้อมกกแต่ละแผง

(ภาพท่ี 7.2) เตรยี มปลายข้าวหรือขา้ วโพดไวใ้ หล้ ูกไก่กินก่อนเมอ่ื มาถงึ เพราะยอ่ ยได้ง่าย และชว่ ยปอ้ งกันมลู ติด

ก้นลกู ไก่

การจัดวางกระติกน้าและถาดอาหารกระจายหลายจดุ สาหรับเครอ่ื งกก เอส บี เอ็ม และเครื่องกกฝาชี

แบบใช้หลอดไฟฟ้า (ภาพท่ี 7.3) ให้วางตามแนวขอบเคร่ืองกกเป็นวงกลม ห่างจากขอบแผงกั้นกกด้านใน

ประมาณ 33 เซนติเมตร วางกระตกิ น้าคู่กันในแนวขอบเครื่องกกหรือวางขนานกบั ขอบเครื่องกกกไ็ ด้ เมื่อลูกไก่

กินน้าแล้ว 2 ชั่วโมงจึงให้อาหารลูกไก่ การวางถาดอาหารให้ส่วนหน่ึงของถาดอยู่ด้านในของเครื่องกก อีกส่วน

หนึ่งของถาดอยู่ด้านนอกเคร่ืองกกเพื่อให้ลูกไก่กินอาหารได้ท่ัวทุกตัวเพราะลูกไก่ที่อ่อนแอ และหนาว อาจไม่

ออกมานอกเครื่องกก ค่อย ๆ เลื่อนถาดอาหารและน้าออกนอกเคร่ืองกกเมื่อลูกไก่อายุมากข้ึน ในการให้น้าแก่

ลูกไก่อายุ 1 วัน ปริมาณของน้าไม่สาคัญเท่าความยาวของขอบภาชนะให้น้า และเม่ือลูกไก่อายุ 5 - 7 วัน ให๎

เปล่ียนท่ีให้น้าเป็นกระติกน้าขนาดใหญ่ โดยเปล่ียนคร้ังละ 1 - 2 กระติก พร้อมกับเปล่ียนจากถาดอาหารมา

เปน็ ถาดรองของถังอาหาร และเปลี่ยนออกหมดเมื่อลกู ไก่อายุ 10 วัน ในกรณีที่เปลยี่ นจากกระตกิ น้าเปน็ รางน้า

อัตโนมัติ ควรนารางน้าเข้าแทนกระติกน้าในวันท่ี 5 ของการกก แล้วย้ายกระติกน้ามาตั้งไว้ใกล้กับรางน้า วันที่

7 ให้คดั เอากระติกน้าออก วันท่ี 10 นากระตกิ น้าออกทง้ั หมด

32

เคร่ืองกกแก๊ส เครอื่ งกกฝาชแี บบใช้หลอดไฟฟ้า

ภาพท่ี 3.3 การวางกระติกนา้ และถาดอาหาร

การจัดอุปกรณ์การให้แสงสว่าง ให้ตรวจหลอดไฟทุกหลอดว่าใช้งานได้ดี ไม่กะพริบ หลอดและโคมไฟ
ตอ้ งสะอาด เพราะถ้าหลอดและโคมไฟสกปรกจะทาให้ความเข้มของแสงลดลง เมอ่ื ลกู ไก่มาถึงฟาร์มต้องเปิดไฟ
ให้สว่างท้ังโรงเรือนแม้ในเวลากลางวัน เน่ืองจากโรงเรือนมีแสงสลัวเพราะมีผ้าม่านกั้นอยู่ ให้ความเข้มของแสง
เท่ากับ 4 แรงเทียนต่อพ้ืนที่ 1 ตารางเมตร โดยติดหลอดไฟอยู่สูงจากตัวไก่ 2 เมตร หรือใช้หลอดขนาด 40
แรงเทียน 1 หลอดตอ่ พื้นที่ 18 ตารางเมตร

8) การจัดเตรียมอื่น ๆ ก่อนท่ีลูกไก่มาถึงฟาร์ม ต้องจัดเตรียมคนงานเพ่ือนาลูกไก่เข้าเล้ียงให้พร้อม
จัดเตรียมแบบฟอร์มการจดบันทึกต่าง ๆ จัดเตรียมโปรแกรมทางาน ระบุวันที่การปฏิบัติงานต่าง ๆ ใส่แฟ้มให้
เรยี บรอ้ ย จดั เตรยี มโปรแกรมวคั ซนี และควรสัง่ ซื้อวัคซีนไว้กอ่ นถงึ วันทาวคั ซนี

2. การเลี้ยงสัตวป์ กี ใหเ้ น้อื
2.1 การเลี้ยงไก่เนือ้
การจัดการเล้ียงดูไก่เน้ือแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ การจัดการไก่เน้ือระยะแรกเกิดถึงอายุ 2 สัปดาห์

และการจัดการไก่เนื้อระยะรุ่นจนถึงส่งตลาด ซึ่งในแต่ละระยะมีการจดั การในการเล้ียงท่ีแตกตา่ งกัน ต้ังแต่การ
เตรยี มโรงเรือน การเตรยี มอุปกรณ์ให้อาหารและน้า การจดั การอาหาร การจดั การสุขภาพ และการจดั การอ่ืนๆ
เช่น การให้แสงสว่าง การระบายอากาศในโรงเรือน และการจดบันทึกข้อมูล เป็นต้น โดยมีรายละเอียดดังน้ี

1) การเลยี้ งไก่เนอ้ื ระยะแรกเกิดถงึ อายุ 2 สปั ดาห์ การเล้ยี งไกเ่ นอื้ ระยะนตี้ ้องใหก้ ารดูแลเอา
ใจใสเ่ ปน็ อยา่ งดเี น่ืองไก่ยังมีขนาดเลก็ สง่ิ สาคัญในด้านการจดั การการเลย้ี งสาหรับไก่เน้อื ระยะน้ี ได้แก่

(1) การเตรียมโรงเรือนเลี้ยงไก่เนื้อ การเตรียมโรงเรือนนับว่าเป็นขั้นตอนท่ีสาคัญของการ
เลี้ยง ไก่เนื้อ เป็นข้ันตอนที่ต้องให้ความสาคัญ เอาใจใส่และต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัด เพ่ือให้โรงเรือนและ
อุปกรณ์ที่ใช้ เลี้ยงไก่เนื้อมีความสะอาด และปลอดจากเช้ือโรคต่าง ๆ มากท่ีสุด จัดเป็นข้ันตอนที่มีผลกระทบ
โดยตรงต่อ สุขภาพของไก่เนื้อ ถ้าผู้เล้ียงมีการเตรียมโรงเรือนไม่ดีอาจเป็นสาเหตุให้เกิดโรคระบาดขึ้นในฟาร์ม
ได้

33

(2) การจดั การไกเ่ น้อื ในระยะกก ระยะกกจัดเปน็ ระยะทสี่ าคญั ท่ีต้องการดแู ลเอาใจ

ใส่เป็นอย่างมาก เนื่องจากลูกไก่ยังเล็กเกิดปัญหาสุขภาพและตายได้ง่าย ดังนั้นการจัดการในระยะนี้จึงต้อง

ระมัดระวัง และปฏิบัติงานในแต่ละขั้นตอนอย่างเคร่งครัด เริ่มต้ังแต่การเตรียมรับลูกไก่ การจัดการเมื่อลูกไก่

มาถึงฟาร์ม และการจดั การต่างๆ ในระหวา่ งการกกลูกไก่ ได้แก่ การจัดการการให้อาหาร การจัดการการให้น้า

การจัดการเกี่ยวกับพ้ืนท่ีในการกกลูกไก่ การจัดการเก่ียวกับอุณหภูมิในการกกลูกไก่ การจัดการเกี่ยวกับ

ความช้ืนภายในโรงเรือน การจัดการเก่ียวกับการระบายอากาศภายในโรงเรือน การจัดการเก่ียวกับแสงสว่าง

ภายในโรงเรือน การให้วัคซีน และการจดบันทึกข้อมลู

2) การเล้ียงไก่เนื้อระยะรุ่นถึงส่งตลาด การจัดการการเล้ียงไก่เน้ือในช่วงระยะรุ่นจนถึงส่ง

ตลาด (2 สัปดาห์ขึ้นไป) ถือว่ามีความสาคัญเช่นเดียวกับในระยะกก เน่ืองจากไก่เนื้อมีอัตราการเจริญเติบโต

อย่างรวดเร็ว มีความสามารถในการเปล่ียนอาหารเป็นเนื้อสูง จึงเป็นสัตว์ที่เกิดความเครียดได้ง่าย การจัดการ

ไกเ่ น้ือระยะรนุ่ ถึงส่งตลาด ได้แก่ มีพืน้ ทีใ่ นการเล้ยี งไก่เนอ้ื อยา่ งเพยี งพอใหส้ ัตวอ์ ยู่อยา่ งสบาย มอี าหารใหไ้ ก่เนื้อ

กินตลอดเวลา น้าท่ีใช้เล้ียงควรเป็นน้าท่ีสะอาดมีคุณภาพดี ปราศจากสิ่งเจือปน มีการควบคุมอุณหภูมิภายใน

โรงเรือนใหอ้ ยู่ในระดับท่ีเหมาะสม มกี ารระบายอากาศทด่ี ีและเพียงพอ ควบคุมความช้นื สมั พันธ์ภายในโรงเรอื น

ให้อยู่ในช่วงที่เหมาะสม มีแสงสว่างอย่างเพียงพอเพ่ือให้ไก่มองเห็นอาหารอย่างชัดเจน มีการให้วัคซีนไก่เน้ือ

ตามช่วงอายุอย่างเคร่งครัด มีการกาจัดไก่ตายหรือไก่คัดทิ้งอย่างถูกวิธี ควรจดบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ที่

เก่ียวข้อง เมื่อถึงวันจับไก่เนื้อสู่ตลาดต้องมีการอดอาหารไก่เนื้ออย่างน้อย 8 ชั่วโมงก่อนถึงเวลาเชือดไก่

ควรจับไก่เน้ือและบรรทุกไก่เนื้อในเวลากลางคืน หลังจากจับไก่เน้ือออกจากโรงเรือนหมดแล้ว ผู้เลี้ยงต้องขน

วัสดุรองพื้นและมูลไก่ ออกจากโรงเรือนให้หมด ไม่ควรกองทิ้งไว้ภายในฟาร์ม เพราะจะเป็นแหล่งเพา ะและ

แพรก่ ระจายเชอื้ โรคสูไ่ กฝ่ ูงอ่ืน ๆ ในฟารม์ ได้

2.2 การเล้ยี งเปด็ เนือ้
การเลี้ยงเป็ดเนื้อในประเทศไทยในปัจจุบันยังคงมีทั้งการเลี้ยงแบบหลังบ้าน และการเล้ียงในเชิง
อุตสาหกรรม ซึ่งมีรูปแบบการเลี้ยง 3 ลักษณะ คือ การเล้ียงแบบไล่ทุ่ง การเลี้ยงแบบปล่อยลาน และการเลี้ยง
ในโรงเรือน ไม่ว่าผเู้ ลี้ยงเป็ดเนือ้ จะเลยี้ งเปด็ ในระบบใด ผู้เล้ียงควรมกี ารจดั การการเลยี้ งเปด็ ในแตล่ ะระยะอย่าง
ถูกตอ้ ง
การจัดการเลี้ยงดูเปด็ เนือ้ แบ่งออกเปน็ 2 ระยะ คือ การจัดการลูกเปด็ ระยะแรกเกิดถึงอายุ 2 สัปดาห์
และการจัดการระยะเป็ดรุ่นจนถึงส่งตลาด เพื่อให้การเล้ียงประสบผลสาเร็จและได้รับ ผลตอบแทนสูงสุดใด
ผู้เลี้ยงควรมีการจัดการการเล้ียงเป็ดในแต่ละระยะอย่างถูกต้อง ตั้งแต่การเตรียมอุปกรณ์ให้อาหารและน้า
การจดั การอาหาร การจัดการสขุ ภาพ และการจดั การอน่ื ๆ เช่น การให้แสงสวา่ ง การระบายอากาศในโรงเรือน
และการจดบันทึกข้อมลู เปน็ ต้น

1) การเล้ียงลูกเป็ดระยะแรกเกิดถึงอายุ 2 สัปดาห์ การจัดการในระยะน้ีต้องทาด้วยความ
ระมดั ระวัง ตัง้ แตก่ ารเตรียมรับลูกเป็ด การจัดการเมื่อลูกเป็ดมาถึงฟาร์ม และการจัดการต่าง ๆ ในระหวา่ งการ
กกลูกเป็ด มีการให้อาหารคร้ังละน้อย ๆ แต่บ่อยคร้ังประมาณวันละ 4-5 คร้ัง จะช่วยกระตุ้นให้ลูกเป็ดกิน

34

อาหารไดม้ าก และควรเปดิ ไฟใหแ้ สงสวา่ งตลอดเวลา เพอื่ ให้ลูกเปด็ มองเหน็ สิ่งตา่ ง ๆ ในวงกกอยา่ งทว่ั ถึง มกี าร
จัดหาน้าสะอาดและมีคุณภาพดีไวใ้ ห้ลูกเป็ดกินอยา่ งเพียงพอ พื้นที่และอุณหภูมิในการกกลูกเป็ดควรเหมาะสม
กับขนาดลูกเป็ดตามระยะเวลาของการเจริญเติบโต มีการระบายอากาศในโรงเรือนท่ีดี มีการให้วัคซีนลูกเป็ด
ตามโปรแกรม และมกี ารจดบนั ทกึ ข้อมูลตา่ ง ๆ

2) การเลี้ยงเป็ดเนื้อระยะรนุ่ ถึงสง่ ตลาด การเล้ยี งเปด็ ในโรงเรอื นแบบการเล้ียงไกเ่ น้ือจะต้อง
มีพื้นที่ ในการเล้ียงเป็ดอย่างเพียงพอ เป็ดสามารถอยู่ได้อย่างสบายไม่เครยี ด มีอาหารให้เป็ดเน้อื กินตลอดเวลา
ควรให้ อาหารวันละหลายคร้ังเพื่อกระตุ้นให้เป็ดกินอาหาร มีน้าสะอาดและมีคุณภาพดีอย่างเพียงพอ
ตลอดเวลา ภายในโรงเรือนต้องมีการระบายอากาศที่ดี มีแสงสว่างเพียงพอให้เป็ดมองเห็นอาหารและน้าอย่าง
ชัดเจน มีการทาวัคซีนให้กับเป็ดตามช่วงอายุอย่างเคร่งครัด มีการจดบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง เช่น
วันที่รับลูกเป็ด พันธ์ุเป็ดที่เล้ียง จานวนเป็ดที่เลี้ยงท้ังหมด จานวนเป็ดที่ตายและคัดท้ิงในแต่ละวัน น้าหนักเป็ด
เฉลี่ยเม่ือเริ่มต้นเล้ียง ปริมาณอาหารที่เป็ดกินในแต่ละวัน เป็นต้น เม่ือถึงกาหนดจับเป็ดส่งตลาดต้องมีการจับ
และขนส่งเป็ดสู่โรงฆ่าชาแหละเป็ดอย่างเหมาะสม โดยอดอาหารเป็ดอย่างน้อย 8-10 ช่ัวโมงก่อนฆ่า แต่ให้เปด็
ได้กินน้าตามปกติ หลังจากจับเป็ดออกจากโรงเรือนหมดแล้ว ควรทาการขนวัสดุรองพ้ืนและมูลเป็ดออกจาก
โรงเรือน ขนมลู เป็ดออกนอกฟารม์ ทนั ที เพ่ือปอ้ งกันการแพร่กระจายของเชื้อโรคไปยังเป็ดฝูงอน่ื ๆ ในฟาร์ม

3. การเลย้ี งสตั วป์ ีกให้ไข่
การจัดการเลี้ยงดูไก่ไข่แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ การจัดการไก่ไข่ระยะกก การจัดการไก่ไข่ระยะรุ่น

และการจัดการไก่ไข่ระยะ ส่วนการจัดการเลี้ยงดูเป็ดไข่แบ่งออกเป็น 4 ระยะ คือ การจัดการเป็ดไข่ ระยะกก
การจัดการลกู เป็ดเลก็ การจัดการเปด็ ไข่ระยะรนุ่ และการจดั การเปด็ ไข่ระยะไข่ ซง่ึ การ จัดการในการเลี้ยงไก่ไข่
และเป็ดไข่แต่ละระยะ มีการจัดการในการเลี้ยงที่แตกต่างกัน ต้ังแต่การ เตรียมโรงเรือน การเตรียมอุปกรณ์ให้
อาหารและน้า การจัดการอาหาร การจัดการสุขภาพ และการ จัดการอ่ืนๆ เช่น การให้แสงสว่าง การระบาย
อากาศในโรงเรอื น และการจดบันทกึ ข้อมลู เปน็ ต้น

3.1) การเล้ียงไกไ่ ข่
การเล้ยี งไก่ไขใ่ นประเทศไทย ในไกไ่ ขร่ ะยะแรกเกิดจนถึงไก่ไข่ระยะรนุ่ มีทงั้ การเลยี้ งแบบปลอ่ ยพ้ืนและ
การเล้ียงในกรงรวม แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ การจัดการไก่ไข่ระยะกก การจัดการไก่ไข่ระยะรุ่น และ
การจัดการไก่ไข่ระยะไข่ ซ่ึงในแต่ละระยะมีการจัดการในการเล้ียงท่ีแตกต่างกัน ต้ังแต่การ เตรียมโรงเรือน
การเตรียมอุปกรณ์ให้อาหารและน้า การจัดการอาหาร การจัดการสุขภาพ และการ จัดการอ่ืนๆ เช่น การให้
แสงสว่าง การระบายอากาศในโรงเรือน และการจดบันทึกข้อมูล เป็นต้น สาหรับในไก่ไข่ระยะไข่เป็นการเล้ียง
แบบปล่อยพ้นื และเลีย้ งในกรงตบั โดยมีการจัดการการ เลยี้ งไกไ่ ข่ในระยะตา่ ง ๆ ดงั นี้

(1) การเลี้ยงไก่ไข่ระยะกก ก่อนนาลูกไก่ไข่เข้ามาเลี้ยงในฟาร์มแต่ละรุ่น ผู้เล้ียงจะต้องมีการ
จัดเตรียมโรงเรือนและอุปกรณ์ต่าง ๆ ไว้ให้พร้อม ต้ังแต่การทาความสะอาดโรงเรือนและอุปกรณ์ จานวน
อุปกรณ์ต้องมีปริมาณเพียงพอกับปริมาณลูกไก่ไข่ที่นามาเลี้ยง มีการติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ ท่ีจาเป็นให้เรียบร้อย
ก่อนนาลูกไก่เข้าฟาร์ม ขั้นตอนในการทาความสะอาดโรงเรือนและอุปกรณ์สาหรับเล้ียงไก่ไข่มีข้ันตอนต่างๆ

35

เช่นเดียวกับไก่เน้ือ สาหรับการจัดการการเล้ียงไก่ไข่ระยะกก ได้แก่ การกกลูกไก่ การให้อาหารและน้า
มกี ารปรบั อณุ หภมู ใิ นวงกกทเ่ี หมาะสม มกี ารให้วคั ซนี ลูกไกใ่ นระยะกกตามโปรแกรมการใหว้ ัคซีนอยา่ งเคร่งครัด
ทาการตัดปากไก่เพ่ือให้ไก่จิกกินอาหารได้สะดวก ป้องกันการเลือกกินอาหาร และป้องกันอันตรายจากการจิก
กันเอง รวมท้ังมีการจดบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น วันท่ีเข้าไก่ จานวนไก่ที่เร่ิมเลี้ยง อัตราการตายและ
คัดทิ้งในแต่ละวัน ชนิดของอาหารและปริมาณที่กิน อุณหภูมิในแต่ละวัน ประวัติการให้ยาและการเกิดโรค
ประวตั ิการทาวคั ซีน น้าหนกั ตวั ไก่ ต้นทุนคา่ อาหาร พนั ธ์ุ ยาและวัคซนี เป็นตน้

(2) การเลย้ี งไกไ่ ขร่ ะยะร่นุ ไก่ไข่ในช่วงอายุ 4-16 สปั ดาห์ หรอื ไก่ไขร่ ะยะรุน่ จดั เป็นระยะที่มี
ความสาคัญเนื่องจากเป็นช่วงที่มีการเจริญเติบโตของโครงสร้างร่างกาย ผู้เล้ียงต้องมีการจัดการเลี้ยงอย่างมี
ประสิทธิภาพเพ่ือให้ไก่ไข่ระยะน้ีมีการเจริญเตบิ โตของโครงสร้างท่ีสัมพันธ์กับการเพ่ิมน้าหนักตัวตามมาตรฐาน
สายพันธุ์ และให้ไก่ทุกตัวภายในฝูงมีความสมบูรณ์ แข็งแรงและสม่าเสมอ โดยการจัดการเลี้ยงไก่ไข่ระยะรุ่นท่ี
สาคัญ ได้แก่ การจัดการเรื่องความหนาแน่นไก่ไข่ในฝูง การให้อาหารทเ่ี หมาะสมกับอายุ ปริมาณการให้อาหาร
ต้องพิจารณาตามมาตรฐานการให้อาหารของไก่ไข่แต่ละสายพันธ์ุและน้าหนักตัวของฝูงไก่ มีการสุ่มช่ังน้าหนัก
ไก่เพื่อควบคุมความสม่าเสมอของฝูงไก่ไข่ มีการระบายอากาศที่ดี มีการทาความสะอาดโรงเรือนสม่าเสมอ
มีการให้แสงสว่างที่เหมาะสมเพ่ือเตรียมพร้อมสาหรับให้ไข่ มีการทาวัคซีนและการถ่ายพยาธิภายในและ
ภายนอก ตามโปรแกรมอยา่ งเคร่งครดั อาจจะมีการใหห้ ินเกล็ดเพิ่มเติม และต้องมีการบันทึกรายละเอียดต่างๆ
ทเ่ี ก่ยี วกับการเลยี้ งดไู ก่ไข่ เชน่ น้าหนกั ตวั ไก่ ปริมาณอาหารท่ีกิน เปน็ ตน้

(3) การเล้ยี งไกไ่ ขร่ ะยะไข่ กรณที ตี่ อ้ งการเลี้ยงไกไ่ ข่บนกรงตับจะต้องมีการยา้ ยไก่รุ่นขึ้นเลี้ยง
ในกรงตับก่อนที่ไก่จะให้ไข่ประมาณ 2 สัปดาห์ เพ่ือให้ไก่ไข่มีการปรับตัวเน่ืองจากการเปล่ียนที่อยู่ การจัดการ
การเลี้ยงไก่ไข่ระยะไข่ ได้แก่ มีการจัดเตรียมโรงเรือนและอุปกรณ์ โดยทาความสะอาดและฆ่าเชื้อให้เรียบร้อย
กอ่ นทจี่ ะถึงกาหนดลูกไก่ไข่เข้าฟาร์ม กรณเี ล้ยี งไก่ไขแ่ บบปล่อยพื้น ควรมกี ารจดั เตรียมรังไขส่ าหรับให้ไก่วางไข่
มีการให้อาหารไก่ไข่อย่างเต็มที่ ไม่ควรจากัดอาหารโดยพิจารณาจากมาตรฐานของสายพันธ์ุไก่ไข่ ต้องมีน้าให้
ไก่ไข่กินอย่างเพียงพอ โดยทั่วไปถ้าเป็นการเล้ียงระบบกรงตับจะเปิดน้าให้เต็มรางน้าตลอดเวลา การเลี้ยงใน
ระบบฝูง ควรใช้รางน้าอัตโนมัติ น้าที่เล้ียงต้องสะอาดและมีอุณหภูมิต่า และควรทาความสะอาดรางน้าอย่าง
น้อยวันละ 2 คร้ัง การให้แสงสว่างแก่ไก่ไข่ในช่วงไก่สาวก่อนให้ไข่มีความสาคัญมาก จึงต้องมีโปรแกรมการ
ควบคุมแสง โดยมีจุดประสงค์คือเพ่ือควบคุมความเป็นสาวของไก่ไข่และให้ไก่เริ่มให้ผลผลิตในอายุและ
ระยะเวลาท่ีถูกต้อง เพื่อให้ไก่สามารถผลิตไข่ได้สูงสุด เพ่ือควบคุมขนาดของฟองไข่ และเพ่ือกระตุ้นให้กิน
อาหารได้เพ่ิมขึ้น ในระยะไข่จะมีการให้แสงสว่างวันละ 15-17 ช่ัวโมงขึ้นกับสายพันธุ์ของไก่ โดยจะต้องมีความ
เขม้ ของแสงประมาณ 40 ลักซ์ (Lux)

การเก็บไข่ไก่ ควรเก็บให้บ่อยครั้ง กรณีที่เล้ียงแบบปล่อยพ้ืน ควรเก็บไข่อย่างน้อยวันละ 4 ครั้ง
กรณเี ลย้ี งแบบกรงตับ ควรเกบ็ ไข่อย่างน้อยวันละ 3 ครัง้ ท้งั นี้เพ่ือป้องกันไขเ่ สียหายจากการแตก มกี ารคัดไก่ท่ี
ไม่ไข่ออกจากฝูง เพื่อให้ไม่ส้ินเปลืองอาหาร และให้มีผลผลิตของฝูงสูงข้ึน เมื่อไก่ไข่มีอายุประมาณ 80 สัปดาห์
หรือเม่ือมีอัตราการไข่ต่ากว่า 60 เปอร์เซ็นต์ ควรปลดไก่ออกขาย มีการทาวัคซีนไก่ไข่ที่จาเป็นตามโปรแกรม
อย่างเคร่งครัด โดยให้เหมาะสมกับการระบาดของโรคในท้องถิ่นน้ัน ๆ รวมท้ังถ่ายพยาธิทั้งพยาธิภายในและ

36

พยาธิภายนอกอย่างสม่าเสมอ มีการจดบันทึกการเลี้ยงอย่าง ละเอียด เช่น การให้อาหาร จานวนไข่ จานวนไก่
ตาย การใหย้ าและวคั ซีน เปน็ ต้น

3.2) การเลีย้ งเป็ดไข่
การเลย้ี งเป็ดไข่ในประเทศ เป็นการเลย้ี งแบบปล่อยพนื้ ซงึ่ มีท้งั การเล้ยี งแบบปล่อยทุ่ง แบบปลอ่ ยลาน
และเลย้ี งในโรงเรือน โดยการเลยี้ งเป็ดไข่ไม่จาเป็นต้องมีแหล่งน้าสาหรับใหเ้ ป็ดลงเลน่ นา้ การจดั การเลี้ยงดูเป็ด
ไข่แบ่งออกเป็น 4 ระยะ คือ การจัดการเป็ดไข่ระยะกก การจัดการลูกเป็ดเล็ก การจัดการเป็ดไข่ระยะรุ่น และ
การจัดการเป็ดไข่ระยะไข่ ซึ่งในแต่ละระยะมีการจัดการในการเล้ียงที่แตกต่างกัน ต้ังแต่การเตรียมโรงเรือน
การเตรียมอุปกรณ์ให้อาหารและน้า การจัดการอาหาร การจัดการสุขภาพ และการจัดการอื่น ๆ เช่น การให้
แสงสวา่ ง การระบายอากาศในโรงเรอื น และการจดบันทกึ ข้อมลู เป็นตน้ มีรายละเอียดดังน้ี

(1) การเล้ียงลูกเป็ดไข่ระยะกก (อายุ 1 วัน ถึง 3 สัปดาห์) การเล้ียงลูกเป็ดไข่ระยะกกมีการ
จัดการเช่นเดียวกับการเลี้ยงลูกเป็ดเนื้อ โดยมีการกกลูกเป็ดในระยะ 3 สัปดาห์แรก มีการให้อาหารครั้งละ
นอ้ ย ๆ แตบ่ อ่ ยครง้ั ประมาณวนั ละ 4-5 ครัง้ และจัดหาน้าสะอาดและมคี ุณภาพดีไว้ให้ลูกเป็ดกนิ อย่างเพียงพอ
มีการระบายอากาศและแสงสว่างภายในโรงเรือนอย่างเหมาะสม มีการให้วัคซีนแก่ลูกเป็ด และมีการจดบันทึก
ข้อมูลตา่ ง ๆ

(2) การจดั การเลย้ี งดูลูกเป็ดเล็ก (อายุ 3-8 สัปดาห)์ ลูกเป็ดในระยะนีจ้ ะโตเรว็ มาก ตอ้ งขยบั
ขยายท่ีอยู่ให้กว้างข้ึน อุปกรณ์ให้น้าและอาหารต้องเปลี่ยนใหม้ ีขนาดใหญ่และมีจานวนมากขึ้นตามจานวนของ
ลูกเป็ด จัดวางอุปกรณ์ให้นา้ และอาหารให้กระจายทั่วไปในโรงเรือน เพ่ือให้ลูกเป็ดสามารถกินอาหารและนา้ ได้
ตลอดเวลา

(3) การเลี้ยงเป็ดไข่ระยะรุ่น เป็ดไข่ระยะรุ่นหรือเป็ดสาว หมายถึง เป็ดท่ีมีอายุ 3-5 เดือน
เป็ดระยะนี้ จะมีขนแก่ข้ึนเต็มตัว มีความแข็งแรงทนทานต่อโรค การเล้ียงดูในระยะนี้นับว่ามีความสาคัญและ
ต้องมีการเอาใจใส่อย่างมาก เพราะเป็นระยะของการเจริญเติบโต นอกจากนี้ยังต้องมีการควบคุมอาหารและ
น้าหนักตัวอย่าง เคร่งครัด เพื่อไม่ให้เป็ดอ้วนหรือผอมเกินไป เพราะจะมีผลต่อการให้ไข่ของเป็ดในระยะต่อไป

(4) การเลี้ยงเป็ดไข่ระยะไข่ เป็ดจะเริ่มให้ไข่เมื่ออายุ 20-22 สัปดาห์ ท้ังนี้ข้ึนกับความ
สมบูรณ์ของ เป็ดและพันธุ์เป็ดที่เลี้ยง สาหรับการเล้ียงดูเป็ดไข่ เริ่มจากการย้ายเป็ดสาวเข้าเล้าเป็ดไข่ ซึ่งควร
ยา้ ยกอ่ นทเ่ี ป็ดจะเร่ิมไข่ประมาณ 2-3 สัปดาห์ เพื่อให้เปด็ ไดเ้ คยชนิ กับสถานทแ่ี ละรังไข่ การจดั การเป็ดระยะไข่
ได้แก่ จัดเตรียมรังไข่ ให้น้าและอาหารเป็ดระยะไข่อย่างเต็มท่ีเพ่ือให้เป็ดได้รับโภชนะท่ีเพียงพอในการให้ผล
ผลิตไข่ ให้แสงสว่างวันละ 17-18 ชั่วโมง มีการระบายอากาศที่ดี มีการตรวจดูสุขภาพของเป็ดทุกวัน มีการฉีด
วัคซีนป้องกันโรคอหิวาต์และโรคเพลก ถ่ายพยาธิและกาจัดพยาธิภายนอกก่อนเป็ดเริ่มไข่ ดูแลวัสดุรองพื้นอย่า
ให้ช้ืนแฉะหรือแข็งเป็นแผ่น มีการบันทึกข้อมูลต่าง ๆ เช่น ปริมาณอาหารท่ีกิน ผลผลิตไข่ เป็ดคัดทิ้งและ
เป็ดตาย การให้ยาหรือวัคซีน เป็นต้น ในระหว่างเล้ียงเป็ดไข่ต้องคัดเป็ดที่ไม่ไข่หรือให้ไข่น้อยออกจากฝูงอยู่
เสมอ เพราะเป็ดเหล่าน้ีจะกินอาหารทุกวัน ทาให้ต้นทุนการผลิตไข่ต่อฟองสูงขึ้น ปกติเป็ดจะให้ไข่ได้ประมาณ
1 ปี หลังจากนน้ั ไข่กจ็ ะลดลงจนเลี้ยงไม่คมุ้ ค่าอาหาร ควรปลดขายเป็ดทั้งฝงู


Click to View FlipBook Version