หนว่ ยท่ี 5
การบันทกึ งานฟารม์
และการทาบัญชี
61
หัวข้อเรือ่ ง
1. ประโยชนข์ องการจดบันทึกขอ้ มูล
2. การบันทึกงานฟารม์ และการวเิ คราะห์ข้อมลู
3. การทาบัญชีฟาร์มสตั วป์ กี
จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. บอกประโยชนข์ องการจดบนั ทกึ ข้อมูลได้
2. สามารถจดบนั ทึกและวเิ คราะหข์ ้อมูลงานฟาร์มสัตวป์ กี ได้
3. สามารถทาบัญชีฟารม์ สัตวป์ ีกได้
เนื้อหาการสอน
การจัดการข้อมูลของฟาร์มไก่เนื้อเป็นการบันทึกข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการ อาหาร
การใหอ้ าหาร ยา วัคซนี ผลผลิต แล้วนาข้อมลู ที่ได้ไปคานวณค่าต่าง ๆ ลงบนั ทกึ ในกราฟเพื่อเทียบกบั มาตรฐาน
และจัดเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อเป็นประโยชน์ในการจัดการฟาร์ม ทาให้ทราบข้อมูลต่าง ๆ ในการเลี้ยง เช่น
ผลผลิตท่ีได้รับ ผลผลิตท่ีเสียหาย จานวนไก่ตาย ไก่คัดทิ้ง และต้นทุนการผลิต กรณีเกิดการผิดปกติสามารถ
ค้นหาข้อมูลท่ีบันทึกไว้ วิเคราะห์หาสาเหตุ และหาทางแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง ช่วยลดความเสี่ยงจากการ
สญู เสยี นอกจากน้ยี ังใช้เป็นขอ้ มลู ในการวางแผนการผลติ จัดเตรยี มงบประมาณสาหรบั เล้ยี งไก่รุ่นต่อไป
การบันทึกข้อมูลการเล้ียงสัตว์เป็นส่ิงความสาคัญมาก ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อผู้เล้ียงการเก็บ
รวบรวมข้อมลู การเลยี้ งสัตวป์ ีกแตล่ ะรุน่ สามารถใชเ้ ป็นหลักฐานแสดงถึงความสามารถของผู้เลยี้ งว่าเป็นอย่างไร
นอกจากน้ียงั ทาใหท้ ราบถึงการเปลยี่ นแปลงทเี่ กิดขน้ึ ในการเล้ยี งไก่แตล่ ะรุ่นในแต่ละช่วงเวลา
การจดบันทึกข้อมูลเป็นงานท่ีต้องการความละเอียดรอบคอบ ผู้เล้ียงจะต้องจดบันทึกข้อมูลลงใน
แบบฟอร์มท่ีกาหนดไว้ทุกวัน ไม่ควรจดบันทึกข้อมูลย้อนหลังเพราะจะทาให้เกิดความผิดพลาดได้สิ่งสาคัญใน
การบันทึกขอ้ มลู คือ ความถูกตอ้ งและความสมบรู ณข์ องข้อมลู ทีบ่ ันทึกเพราะจะทาให้การสรุปข้อมูลและผลการ
เลีย้ งไม่ผิดพลาด
1. ประโยชน์ของการจดบนั ทึกขอ้ มูล การบันทกึ ข้อมูลการเลย้ี งสัตว์ปกี มปี ระโยชน์ ดังน้ี
1) เป็นการทาประวัติการเล้ียงสตั ว์แต่ละร่นุ
2) สามารถทาให้ต้นทุนการผลิตลดลงได้ เช่น การจดบันทึกสถิติการไข่รายวันของแม่ไก่ไข่แต่ละ ตัว
ทาใหผ้ ู้เล้ียงสามารถคัดไกต่ วั ที่ให้ไขไ่ มด่ ีออกจากฝงู ได้
3) ทาให้ทราบถึงสมรรถภาพการผลิตที่แท้จริงในฟาร์มเม่ือเปรียบเทียบกับมาตรฐานของสายพันธุ์นั้น
ๆ ทีแ่ นะนาโดยบริษัทผู้ผลิต
4) ทาให้เห็นถึงความแตกต่างในการเลี้ยงสัตว์เนื้อแตล่ ะรนุ่ ในแตล่ ะฤดกู าล
5) ทาให้ทราบถึงสภาพการเปลี่ยนแปลงของสัตว์เน้ือที่กาลังเล้ียงอยู่ได้ในทันทีทันใด เช่น การจด
บันทึกการกินอาหารในแต่ละวันของไก่ท่ีเล้ียงในแต่ละโรงเรือน ถ้าพบว่าไก่กินอาหารลดลงแสดงว่า จะต้องมี
62
ความผิดปกติเกิดข้ึน ผู้เลี้ยงจะต้องรีบหาสาเหตุและแก้ไขโดยทันที ทาให้สามารถหลีกเล่ียงหรือบรรเทาปัญหา
ตา่ งๆ ที่จะเกดิ ขนึ้ ได้
6) สามารถติดตามสาเหตุของความผิดปกติท่ีเกิดข้ึนได้จากข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่ เช่น การตรวจสอบ
รายละเอียดของวัคซีนท่บี ันทึกไว้ในกรณีเกดิ โรคชนดิ นนั้ หลังจากทาวัคซีน
7) สามารถประเมินประสทิ ธิภาพการปฏิบตั ิงานของคนงานประจาแตล่ ะโรงเรอื นได้
8) ข้อมูลต่างๆ ที่ได้จากการเลี้ยงสัตว์เนื้อแต่ละรุ่นสามารถใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุง
ประสทิ ธภิ าพการผลติ ในรุน่ ต่อไป
9) ข้อมูลที่ต้องบันทึกทุกวัน ได้แก่ ปริมาณอาหารท่ีกิน ผลผลิตไข่ อัตราการตาย แต่ข้อมูลบาง
ประเภทไม่จาเป็นต้องบันทึกทุกวัน เช่น น้าหนักตัว ข้อมูลท่ีบันทึกในแต่ละวันจะต้องรวบรวมและสรุปเก็บไว้
ทุกๆ สัปดาห์ ข้อมูลต่างๆ ที่ได้บันทึกไว้จะนามาใช้ในการคานวณหาค่าต่างๆ เช่น ประสิทธิภาพการเปล่ียน
อาหาร ปริมาณอาหารทก่ี ินตอ่ 100 ตัว เปอรเ์ ซน็ ต์ไข่ จานวนไขฟ่ ักตอ่ แม่ไกท่ ่มี ีอยใู่ นวันนั้น เป็นต้น
2. การจดบนั ทกึ และการวิเคราะห์ข้อมูลงานฟารม์ สตั ว์ปกี
2.1 ประเภทของการบนั ทึกข้อมูล การบนั ทึกข้อมูลอาจแบง่ ออกเปน็ 4 ประเภท ไดแ้ ก่
1) การบันทึกการเจริญเติบโต เป็นการบันทึกน้าหนักตัวและพฤติกรรมของฝูงตั้งแต่อายุ
1 วัน จนถึงเม่ือโตเต็มวัยหรือจับจาหน่าย ข้อมูลท่ีได้จะต้องนาไปเปรียบเทียบการเจริญเติบโตมาตรฐานของ
สตั ว์ปกี สายพนั ธ์นั้นในแต่ละสัปดาห์ ซ่งึ จะทาใหผ้ ้เู ลย้ี งทราบถึงการเจริญเตบิ โตท่เี ป็นจรงิ ในสภาพฟาร์มของเรา
กับมาตรฐานประจาสายพันธ์ุ ตารางทีใ่ ชใ้ นการจดบันทึกจะต้องประกอบดว้ ย จานวนไกม่ ีชวี ิต จานวนไกท่ ี่ปลด
หรือคัดทิ้ง จานวนไก่ที่ปลดออกสะสม ปริมาณอาหารที่กิน โปรแกรมการทาวัคซีน สภาพอากาศหรืออุณหภูมิ
และปญั หาต่าง ๆ ท่เี กิดขนึ้
2) การบันทึกผลผลิตไข่ ข้อมูลที่จดบันทึกจะต้องประกอบด้วยจานวนสัตว์ปีก ผลผลิตไข่
ทง้ั หมด เปอร์เซ็นต์ไข่ในแต่ละวนั จานวนไข่ฟกั ปรมิ าณอาหารที่กนิ นา้ หนกั ตัว น้าหนักไขเ่ ฉล่ียต่อฟอง ขอ้ มูล
ที่ได้ควรจะมีการเปรียบเทียบข้อมูลผลผลิตมาตรฐานของสัตว์ปีกแต่ละสายพันธุ์ด้วย ข้อมูลสาคัญที่จะต้อง
คานวณออกมาในแต่ละสัปดาห์ ไดแ้ ก่
- ปริมาณอาหารที่กินเฉลย่ี ตอ่ ไก่ 100 ตวั ตอ่ วนั ในแตล่ ะสปั ดาห์
- ปรมิ าณอาหารท่ใี ช้ตอ่ ผลผลิตไข่ 1 โหล ข้อมูลที่คานวณออกมาทั้ง 2 คา่ นี้ จะเปน็ ตัวชีใ้ หเ้ หน็
ถึงปรมิ าณอาหารท่ไี ก่นาไปใช้ในการดารงชีพและใหผ้ ลผลิตไข่
3) การบันทึกอัตราการฟักออก อัตราการฟักออกในแตล่ ะสัปดาห์เป็นตัวชี้ให้เหน็ ถึงประสิทธิภาพการ
ผลิตของพ่อแม่พันธุ์สัตว์ปีก ซึ่งจะต้องประกอบด้วย จานวนไข่ฟัก จานวนไข่ตายโคม จานวนไข่ลม จานวนลูก
สัตว์ปีกที่ฟักออกทั้งหมด อัตราการฟักออก เปอร์เซ็นต์ลูกสัตว์ปีกท่ีขายทั้งหมด ข้อมูลท่ีได้เหล่าน้ีจะต้องนาไป
เปรียบเทียบกับข้อมูลมาตรฐานของสัตว์ปีกแต่ละชนิด เน่ืองจากมีค่าสหสัมพันธ์โดยตรงระหว่างอัตรา การฟัก
ออกกบั ผลผลติ ไข่ การฟักไขเ่ พื่อการค้านนั้ จะฟักไข่จานวนมากในแต่ละครั้ง ถ้าหากความสมบูรณ์หรอื อัตราการ
ฟักออกลดลงเพียงเล็กน้อยย่อมหมายถึงการสูญเสียเงินทุนไปเป็นจานวนมาก ดังนั้นการจดบันทึกข้อมูลที่
63
เกีย่ วขอ้ งกบั ไข่ฟักเพ่ือนามาคานวณหาความสมบูรณ์พนั ธ์ุและอัตราการฟกั ออกจะชว่ ยให้ผู้เลี้ยงทราบถึงสาเหตุ
ของความผิดปกติทเ่ี กดิ ขน้ึ ได้ 4)
การบันทึกการคัดไข่ ผู้เลี้ยงไก่ท่ีต้องการขายไข่ไก่จะต้องทาการประเมินขนาดไข่และคุณภาพไข่ที่ผลิตได้ ควร
บนั ทึก น้าหนักไขท่ กุ สัปดาห์ และเปรยี บเทยี บกับมาตรฐานประจาพนั ธ์ุน้ัน ๆ นอกจากนี้ น้าหนักไข่ และจานวน
ไข่ทั้งหมดท่ีผลิตได้จะนามาคานวณหาน้าหนักไข่เฉลี่ยเพ่ือใช้เป็นเกณฑ์ในการคานวณหาความต้องการโภชนะ
และทาการคานวณหาประสิทธิภาพการเปลีย่ นอาหารโดยคิดจากนา้ หนักอาหารต่อน้าหนักไข่
2.2 การสร้างกราฟ
เพ่ือให้ง่ายต่อการติดตามประสิทธิภาพการผลิตของฝูงสัตว์ปีกท่ีเล้ียง ข้อมูลต่างๆ ท่ีบันทึกจะถูกปรับ
ให้อยู่ในรูปของข้อมูลต่อสัปดาห์ แต่ถึงกระนั้นการวิเคราะห์และติดตามผลยังค่อนข้างยุ่งยาก ดังน้ันเราจึงต้อง
นาข้อมูลดังกล่าวมาสร้างให้อยู่ในรูปของกราฟพร้อมกับทากราฟมาตรฐานสาหรับข้อมูลต่างๆ ท่ีได้บันทึกไว้
เพื่อให้ง่ายต่อการเปรยี บเทียบความแตกต่างระหวา่ งสภาพการผลติ ท่ีเป็นจริงในฟาร์มกับมาตรฐานประจาพนั ธุ์
ซ่ึงจะเป็นตัวชี้ให้เห็นถึงสมรรถภาพการผลิตของผู้เลี้ยง และส่ิงต่างๆ ที่เป็นปัจจัยผันแปรท่ีทาให้ผลผลิตท่ีได้
แตกต่างไปจากมาตรฐานควรทาการบันทกึ ไว้ กราฟท่ีสาคัญๆ ไดแ้ ก่
- กราฟแสดงผลผลิตไข่ เพื่อติดตามดูความสม่าเสมอของผลผลิตไข่ โดยปกติเมื่อฝูงไก่เร่ิมให้
ผลผลติ ได้ 5 % ของฝูงจะกาหนดให้เปน็ สปั ดาหแ์ รกของการใหผ้ ลผลิตไข่
- กราฟแสดงปริมาณอาหารท่ีกิน เป็นการแสดงปริมาณอาหารท่ีไก่กินในแต่ละสัปดาห์ต่อแม่
ไก่ 100 ตวั เพื่อนามาเปรยี บเทยี บกับผลผลิตไข่ท่ไี ด้
- กราฟแสดงน้าหนักตัวไก่ เป็นการแสดงน้าหนักตัวไก่ในแต่ละระยะเริ่มตั้งแต่ลูกไก่อายุ
1 วนั จนถงึ ปลดจาหนา่ ย
2.3 การบันทกึ ขอ้ มลู การเล้ียงไก่เนอื้ ข้อมลู ที่จะต้องบนั ทกึ ประกอบดว้ ย
1) วนั ที่รบั ลกู ไกแ่ ละพนั ธุไ์ กท่ เี่ ล้ยี ง
2) จานวนไกท่ ั้งหมดและนา้ หนกั เฉลยี่ เมื่อเริ่มตน้ เล้ียง
3) จานวนไก่ตายและคัดทิง้ ในแต่ละวัน
4) ปรมิ าณอาหารทกี นิ ในแต่ละวัน
5) การใหย้ าและไวตามนิ
6) การทาวคั ซีน จะต้องบนั ทึกชอ่ื ทางการคา้ บริษัทท่ผี ลติ วนั หมดอายุ วธิ กี ารให้ และวนั ทที่ า
วคั ซนี
7) นา้ หนักไก่ทง้ั หมดทข่ี าย
8) จานวนไกท่ ง้ั หมดทีข่ าย
9) ความยาวแสงท่ีใช้และเวลาให้แสง
10) อุณหภมู ิสูง-ตา่ สดุ ในแต่ละวัน
64
11) ความชนื้ สัมพัทธใ์ นแต่ละวัน
2.3.1 การวิเคราะห์ข้อมูลการเล้ียงไก่เนื้อ จากข้อมูลต่าง ๆ ดังกล่าวนามาคานวณหาค่าต่าง ๆ ดังนี้
1) อัตราการเจริญเติบโต (Average daily gain) หมายถึง เฉล่ียน้าหนักตัวท่ีเพิ่มข้ึนเป็น
กโิ ลกรัมตอ่ ระยะเวลาการเล้ียงเปน็ วนั
2) อัตราการเปล่ียนอาหาร (Feed conversion ratio) หมายถึง ปริมาณอาหารที่ใช้มีหน่วย
เปน็ กโิ ลกรมั ตอ่ การเพม่ิ ของน้าหนกั ตัว 1 กิโลกรัม
(3) ต้นทุนค่าอาหารต่อการเพิ่มน้าหนักตัว 1 กิโลกรัม (Feed cost of production)
คดิ จากประสทิ ธภิ าพการเปลย่ี นอาหารคณู ดว้ ยราคาอาหารท่ีใชเ้ ลี้ยงไก่
4) เฉลี่ยน้าหนักส่งตลาดต่อไก่ 1 ตัว คิดจากน้าหนักไก่ทั้งหมดท่ีขายต่อจานวนไก่ท้ังหมดท่ี
ขาย
5) อัตราการตาย (Mortality) หมายถึง จานวนไก่ตายและคัดทิ้ง ต้ังแต่วันเร่ิมเล้ยี งจนถึงวันท่ี
จับจาหน่ายเปรยี บเทยี บกับจานวนไก่เมอื่ เร่ิมต้นเลย้ี ง
2.3.2 สูตรการคานวณสมรรถภาพการใหผ้ ลผลติ งานฟาร์มไก่เนื้อ
1. น้าหนกั ตวั ที่เพ่มิ /ตัว (Weight gain) = นน. ตัวสิน้ สดุ - นน. ตัวเริม่ ต้น
2. นา้ หนักตัวทเ่ี พ่มิ /วัน (Average daily gain, ADG) = นน. ตัวสนิ้ สุด - นน. ตัวเร่ิมตน้ เล้ยี ง
จานวนวนั ท่ีเลีย้ ง
3. ปริมาณอาหารทีก่ ิน/ตัว (Feed intake) = นน. อาหารที่ให้ - นน. อาหารทีเ่ หลอื
จานวนไกท่ ี่เลย้ี ง
4. อัตราการเปลีย่ นอาหาร (Feed conversion ratio, FCR) = นน. อาหารที่กินทั้งหมด
นน. ตัวทีเ่ พมิ่ ขึ้น
หรือ = นน. อาหารท่กี ินทั้งหมด
นน. ตัวสุดทา้ ย - นน.ตวั ทเี่ รม่ิ เลีย้ ง
5. อัตราการตาย (Mortality rate ; (%) = จานวนไกต่ าย + คดั ทิ้ง X 100
จานวนไก่เริม่ ต้นเล้ียง
หรือ = จานวนไก่เริม่ ตน้ เลย้ี ง – จานวนไกเ่ มื่อสนิ้ สดุ การเลยี้ ง X 100
จานวนไก่เรมิ่ ต้นเลยี้ ง
6. อตั ราการเลยี้ งรอด (Liveability ; (%) = จานวนไกเ่ มื่อสิ้นสดุ การเลยี้ ง X 100
จานวนไก่เริ่มต้นเลีย้ ง
65
7. ค่าประสิทธภิ าพการผลติ = อัตราการเลี้ยงรอด x น้าหนกั ตัวเฉลย่ี (กก.) X 100
(Production Efficiency Factor, PEF) อายุ (วัน) x FCR
8. ตน้ ทุนอาหารต่อการผลติ ไก่ 1 กก. = FCR X ราคาอาหาร (บาท/กก.)
(Feed cost of production)
66
2.4 การบันทึกขอ้ มูลการเลีย้ งไก่ไข่ ขอ้ มูลท่ีจะตอ้ งบันทึกประกอบดว้ ย
1) วนั รบั ลกู ไก่ และพนั ธุไ์ ก่
2) จานวนไกท่ ง้ั หมด
3) จานวนไก่ตายและคดั ทง้ิ ในแตล่ ะวัน
4) จานวนไกท่ เี่ หลือเม่ืออายุ 18 สปั ดาห์ และเมอ่ื สิน้ สดุ การเลยี้ ง
5) อายุเมอื่ โตเตม็ วยั หรือเมอ่ื ให้ไข่ฟองแรก
6) นา้ หนักเมือ่ เร่มิ ตน้ เลีย้ ง และตลอดระยะเวลาการเล้ยี ง
7) ปริมาณอาหารทกี่ ินในแต่ละวัน
8) สถิติการไขร่ ายวนั ของแมไ่ กแ่ ต่ละตวั
9) จานวนไข่รวมในแตล่ ะวัน
10) จานวนไขท่ ่ขี าย
11) จานวนไขผ่ ดิ ปกตหิ รือคดั ทง้ิ
12) ไวตามินและยาต่าง ๆ ที่ใช้ โดยจะต้องบันทึกช่ือยา บริษัทที่ผลิต วันที่ผลิต วันหมดอายุ
ขนาดทใี่ ช้ วนั ที่และระยะเวลาทีใ่ ชย้ า
13) การทาวัคซีนจะต้องบันทึกชื่อทางการค้า บริษัทท่ีผลิต วันหมดอายุ วิธีการให้ และวันท่ี
ทาวัคซีน
14) ความยาวแสง และเวลาให้แสง
15) อุณหภมู สิ งู สุด-ตา่ สุด ในแตล่ ะวัน
16) ความชนื้ สมั พทั ธใ์ นแต่ละวัน
2.4.1 การวิเคราะห์ข้อมูลการเล้ียงไก่ไข่ จากข้อมูลต่าง ๆ ที่บันทึกเอาไว้สามารถนามาคานวณหา
ต่าง ๆ ได้ดงั นี้
1) อัตราการไข่ (Rate of production) หมายถงึ เปอร์เซ็นตก์ ารไขใ่ นระยะเวลาหนึ่ง
2) จานวนไก่เมื่อเร่ิมต้นเลี้ยง (Hen-housed) หมายถึง จานวนไก่ท่ีมีในวันที่ฝูงไก่เร่ิมไข่ได้
5%
3) ผลผลิตไข่คิดจากจานวนแม่ไก่เริ่มต้นเลี้ยง (Hen-housed production) หมายถึง
เปอร์เซ็นต์การไข่ที่คานวณได้จากจานวนแม่ไก่เมื่อเริ่มต้นเลี้ยง เป็นข้อมูลที่แสดงถึงประสิทธิภาพของการเล้ยี ง
และ การจัดการไก่ไข่ในฝูง เนื่องจากจะคิดคานวณผลผลิตไข่โดยใช้จานวนไก่ไข่เมื่อเร่ิมต้นให้ไข่เป็นเกณฑ์
ถา้ ผ้เู ล้ียงมีการจัดการไม่ถกู ต้องจะทาให้มีไก่คัดท้ิงหรือตายจานวนหนึ่งซงึ่ ในการคานวณคา่ น้ี จะไมไ่ ดห้ ักจานวน
ไกค่ ัดทิง้ หรือตายเหล่าน้นั ออกไปกจ็ ะทาใหค้ า่ ท่ีได้น้นั ต่า
4) ผลผลิตไข่คิดจากจานวนแม่ไก่ที่เหลืออยู่ในวันน้ัน (Hen-day production) หมายถึง
เปอร์เซ็นต์การไข่ท่ีคิดจากจานวนแม่ไก่ท่ีเหลืออยู่ในวันน้ัน เป็นค่าที่แสดงถึงประสิทธิภาพการเลี้ยงและ การ
จัดการฝูงไก่ในช่วงเวลาน้ัน ถ้าผู้เล้ียงมีการดูแลเอาใจใส่ดี คอยคัดเลือกไก่ที่ไม่ไข่ออกไปหรือไก่ท่ีป่วย ออกไปก็
67
จะทาให้ช่วยกาจัดไก่ที่ไม่ให้ผลผลิตออกไปทาให้ค่าเปอร์เซ็นต์การให้ไข่สูงข้ึนและลดค่าใช้จ่าย จากไก่ที่ไม่ให้
ผลผลิตแต่ยังคงกินอาหารทุกวัน อย่างไรก็ตามการพิจารณาประสิทธิภาพการเล้ียงนั้นจะต้องพิจารณาร่วมกัน
ระหว่างการใหผ้ ลผลิตไข่คดิ จากจานวนแม่ไก่เริ่มต้นเลี้ยงและการใหผ้ ลผลิตไข่คดิ จากจานวนแม่ไก่ที่เหลืออยู่ใน
วนั น้นั
5) ผลผลิตไข่ต่อปี (Annual production) หมายถึง จานวนไข่ท่ีได้ต่อแม่ไก่ 1 ตัว ใน
ระยะเวลา การไข่ 1 ปี
6) น้าหนักตัว (Body weight) การช่ังน้าหนักตัวทาได้โดยสุ่มช่ังน้าหนักไก่ประมาณ 10%
ของฝูง ทุกสัปดาห์และเฉลี่ยน้าหนักไก่ท้ังหมดที่ช่งั ตอ่ จานวนตัวไก่เพื่อใช้เปรยี บเทียบกับน้าหนักมาตรฐานตาม
อายุไก่ในแตล่ ะสายพันธ์ุ
7) น้าหนักไข่ (Egg weight) คิดจากน้าหนักไข่ทั้งหมดหารด้วยจานวนไข่ท้ังหมด เพ่ือใช้เป็น
เกณฑ์ในการกาหนดน้าหนักไข่เข้าฟกั
8) อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นผลผลติ ไข่ (Feed conversion ratio) หมายถงึ จานวนอาหาร
ท่ใี ช้เป็นกโิ ลกรมั ตอ่ จานวนไขท่ ี่ผลิตได้นา้ หนกั 1 กิโลกรมั
9) ความสม่าเสมอของฝูง (Uniformity) หมายถึง จานวนไก่ทั้งหมดที่มีน้าหนักอยู่ระหว่างค่า
มากกว่าหรอื น้อยกว่า 10% ของน้าหนักเฉลี่ยตอ่ จานวนไก่ทัง้ หมดทีช่ ่ังนา้ หนัก
10) อัตราการเล้ียงรอด (Live ability) หมายถึง จานวนไก่ที่เล้ียงรอดเมื่อเปรียบเทียบกับ
จานวนไกเ่ มื่อเรม่ิ ตน้ เลี้ยงแบง่ ออกเป็น 2 ระยะ คอื
- อัตราการเล้ียงรอดต้งั แต่ระยะแรกเกิดจนถึงอายุ 18 สปั ดาห์
- อตั ราการเลีย้ งรอดในระยะไข่ เร่ิมตงั้ แตอ่ ายุ 18 สัปดาหจ์ นถงึ ปลดจาหนา่ ย
11) จานวนไก่ไข่เฉลี่ย (Average number of layer) คิดจากจานวนไก่ท่ีเริ่มต้นเลี้ยง และ
จานวนไกท่ เี่ หลืออยหู่ ารด้วย 2 เน่อื งจากฝูงไก่ไข่ต้องใช้ระยะเวลาในการเลย้ี งนาน ทาให้จานวนไกต่ าย และคัด
ทิ้งสูง ดังน้ันการประมาณประสิทธิภาพการผลิตของฝูงบางคร้ังจึงต้องคิดจากจานวนไก่เฉลี่ย เช่น การคานวณ
ผลผลิตไข่ หรือการประมาณปรมิ าณอาหารที่กินทาใหค้ า่ ที่ไดใ้ กล้เคียงกบั ความเป็นจริงมากทสี่ ดุ
2.4.2 สูตรการคานวณสมรรถภาพการให้ผลผลิตงานฟารม์ ไกไ่ ข่
1) จานวนไข่สะสมต่อจานวนไก่เร่ิมให้ไข่ (hen-housed egg production) หมายถึง การ
คานวณจานวนไข่ของฝูงจากจานวนไก่ทเี่ ริ่มต้นให้ไข่ ถอื เปน็ ข้อมลู บ่งชี้ถึงคุณภาพของพันธุ์ไก่ไข่และการจัดการ
ฟาร์ม แล้วนาไปเปรียบเทียบกับมาตรฐานของพันธ์ุ ดังน้ี
จานวนไข่สะสมต่อจานวนไก่เริ่มให้ไข่ = จานวนไข่สะสม
จานวนไกเ่ รม่ิ ให้ไข่
68
2) เปอร์เซน็ ต์การไข่ต่อจานวนไก่ทีม่ ชี ีวิต (hen-day egg production) หมายถึง การคานวณ
เปอรเ์ ซ็นต์การไข่ของฝูงจากจานวนไก่ที่มชี วี ติ อยู่จรงิ และเม่ือส้นิ สดุ สปั ดาห์นั้นแล้วให้นาค่าท่ีได้ไปเปรียบเทียบ
กับมาตรฐานของพันธุ์ คานวณได้จากสูตรของ North และ Bell (1990) ดังนี้
เปอร์เซ็นต์การไข่ต่อจานวนไก่ทีม่ ีชีวติ = จานวนไข่ทีผ่ ลิตได้ในสปั ดาห์ (ฟอง) 100
จานวนไก่เมื่อสิ้นสัปดาห์ 7
3) ปริมาณอาหารท่ีกินสัปดาห์น้ี เป็นผลรวมของอาหารท่ีให้ไก่กินทง้ั สปั ดาห์ ส่วนอาหารที่กิน
สะสมเป็นปริมาณอาหารที่กินสัปดาห์นี้รวมกับอาหารท่ีกินสัปดาห์ก่อนหน้า และปริมาณอาหารที่กินต่อตัวต่อ
วันคานวณได้จากสตู รของมานติ ย์ (2536) ดงั นี้
ปริมาณอาหารท่ีกนิ ต่อตวั ต่อวัน = ปรมิ าณอาหารท่ีกินในสัปดาห์ (กก.) 1000
(กรมั /ตัว/วนั ) จานวนไกเ่ ม่ือสนิ้ สัปดาห์ (ตวั ) 7
4) ปรมิ าณอาหารท่ีใช้ในการผลิตไข่ 1 โหล คานวณจากสตู ร (มานติ ย์, 2536)
ปริมาณอาหารทีใ่ ช้ในการผลิตไข่ 1 โหล = ปรมิ าณอาหารทีก่ ินสะสม (กก.) 12
จานวนไข่สะสม (ฟอง)
5) น้าหนักตัวไก่ ในช่วงของการให้ผลผลติ ควรชั่งน้าหนักไก่ทุกสัปดาห์ โดยช่ัง 10 เปอร์เซ็นต์
ของฝูง แล้วนามาหาค่าเฉลี่ย โดยใชส้ ูตรของ มานติ ย์ (2536) ดงั น้ี
น้าหนกั เฉลี่ยของไก่ (กิโลกรมั ) = น้าหนกั ไก่รวมของไกท่ ชี่ ัง่ (กก.)
จานวนไก่ทง้ั หมดทช่ี ่งั (ตัว)
6) นา้ หนกั ไข่ เป็นคา่ เฉล่ียของน้าหนักไข่ทชี่ ่งั ประมาณ 1-10 เปอรเ์ ซน็ ต์ ขน้ึ อยู่กบั จานวนไข่ที่
ผลิตได้ แล้วนามาคานวณค่าเฉลย่ี โดยใช้สตู รของ มานิตย์ (2536) ดังน้ี
น้าหนกั ไข่เฉลยี่ (กรัม) = นา้ หนักไข่รวม (กรมั )
จานวนไขท่ ้ังหมดทช่ี ง่ั ( ฟอง)
การเปลี่ยนอาหารเป็นเน้ือ FCR = อาหารท่ีใช้ท้ังหมด
นา้ หนกั ไก่ท่ีทงั้ หมด
อัตราการตาย (%) = จานวนไก่ตาย + คดั ท้งิ x 100
จานวนไกท่ เี่ ริม่ ตน้ เลีย้ ง
69
อตั ราการเล้ียงรอด (%) = จานวนไก่ทเ่ี หลอื x 100
จานวนไก่ที่เร่ิมตน้ เลย้ี ง
% การใหไ้ ข่ = จานวนไข่ต่อวัน x 100
จานวนไกไ่ ขท่ ี่เลี้ยง
เปอรเ์ ซ็นต์การไข่/วนั (H.D.) = จานวนไข่ท่ีเก็บได้ทัง้ หมดในวนั นน้ั x 100
จานวนไก่ท้งั หมดท่ีมีอยใู่ นวันน้นั
เปอรเ์ ซ็นต์การไข่/จานวนไก่เรมิ่ ต้น (H.H.) = จานวนไข่ท่ีเกบ็ ได้ทง้ั หมดในวนั น้ัน x 100
จานวนไก่ไขเ่ ร่ิมตน้ (5%)
2.4.3 การสรา้ งกราฟบันทึกการเลี้ยงไก่ไข่
เพ่ือให้สะดวกต่อการติดตามประสิทธิภาพการผลิตของฝูงสัตว์ปีกที่เล้ียง ข้อมูลต่าง ๆ ท่ีบันทึกควรจะ
ถูกปรับให้อยู่ในรูปของข้อมูลต่อสัปดาห์ แต่ถึงกระน้ันการวิเคราะห์และติดตามผลยังค่อนข้างยุ่งยาก ดังน้ันจึง
ต้องนาข้อมูลดังกล่าวมาสร้างให้อยู่ในรปู ของกราฟพร้อมกับทากราฟมาตรฐานสาหรับข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้บันทึก
ไว้ เพ่ือให้ง่ายต่อการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างสภาพการผลิตทีเป็นจริงในฟาร์มกับมาตรฐานประจา
สายพันธ์ุ ซ่ึงจะเป็นตัวช้ีให้เห็นถึงสมรรถภาพ การผลิตของผู้เลี้ยงและส่ิงต่าง ๆ ที่เป็นปัจจัยผันแปรที่ทาให้ผล
ผลติ ทไ่ี ด้แตกต่างไปจากมาตรฐาน กราฟที่สาคัญ ๆ ไดแ้ ก่
1) กราฟแสดงผลผลิตไข่ เพ่ือติดตามความสม่าเสมอของผลผลิตไข่ โดยปกติเม่ือฝูงไก่เร่ิมให้
ผลผลติ ได้ 5 % ของฝูงจะกาหนดใหเ้ ปน็ สปั ดาหแ์ รกของการให้ผลผลิตไข่
2) กราฟแสดงปริมาณอาหารท่ีกิน เป็นการแสดงปริมาณอาหารท่ีไก่กินในแต่ละสัปดาห์ต่อ
จานวนไกไ่ ข่ 100 ตัว เพอ่ื นามาเปรียบเทยี บกบั ผลผลติ ไข่ท่ีได้
3) กราฟแสดงน้าหนักตัวไก่ เป็นการแสดงน้าหนักตัวไก่ในแต่ละระยะเริ่มตั้งแต่ลูกไก่อายุ
1 วัน จนถึงปลดจาหน่าย
70
71
72
3. การทาบญั ชีฟาร์มสัตวป์ กี
การบัญชี (Accounting) ศิลปะของการเก็บรวมรวมข้อมูล จาแนกและทาสรุปข้อมูลเกี่ยวกับ
เหตุการณ์ทางเศรษฐกิจในรูปตัวเงิน ผลข้ันสุดท้ายของการทาบัญชีก็คือ การให้ข้อมูลทางการเงินซ่ึงเป็น
ประโยชน์แกบ่ คุ คลหลายฝ่าย และผสู้ นใจในกิจกรรมของกิจการ
การบัญชี หมายถึง ศิลปะการจดบันทึก การจาแนกให้เป็นหมวดหมู่และการสรุปผลที่สาคัญในรูป
ตัวเงิน รายการและเหตุการณ์ต่าง ๆ ซ่ึงเก่ียวข้องกับทางด้านการเงิน รวมทั้งการแปลความหมายของผลการ
ปฏิบัติดงั กล่าว การบัญชีมคี วามหมายทสี่ าคัญ 2 ประการ คอื
1) การทาบัญชี (Bookkeeping) เป็นหน้าที่ของผู้ทาบัญชี (Bookkeeper) ซึ่งมีข้ันตอนการ
ปฏิบัติ ดังน้ี
- การรวบรวมข้อมูล (Collecting) หมายถึง การรวบรวมข้อมูลหรือรายการค้าที่
เกดิ ขน้ึ ประจาวนั และหลักฐานข้อมลู ท่ีเก่ยี วกับการดาเนนิ ธรุ กจิ เช่น หลกั ฐานการซอ้ื และขายเช่อื หลกั ฐานการ
รบั และการจ่ายเงนิ เป็นต้น
- การบันทึก (Recording) หมายถึง การจดบันทึกรายการค้าท่ีเกิดขึ้นในแต่ละคร้ัง
ใหถ้ กู ต้องตามหลักการบัญชีทีร่ บั รองทวั่ ไป พรอ้ มกบั บันทึกขอ้ มลู ใหอ้ ยใู่ นรูปของหน่วยเงนิ ตรา
- การจาแนก (Classifying) หมายถึง การนาข้อมูลที่บันทึกไว้แล้ว มาจาแนก
หมวดหมูข่ องบญั ชปี ระเภทต่าง ๆ เชน่ หมวดทรัพย์สนิ หน้สี นิ สว่ นของเจา้ ของ รายได้ และคา่ ใช้จ่าย
- การสรุปข้อมูล (Summarizing) เป็นการนาข้อมูลที่ได้จาแนกให้เป็นหมวดหมู่
ดังกล่าวแล้ว มาสรุปรายงานทางการเงิน (Accounting report) ซ่ึงแสดงถึงผลการดาเนินงานและฐานะ
ทางการเงนิ ของธุรกจิ ตลอดจนการได้มาและใชไ้ ปของเงนิ สดในรอบระยะเวลาบญั ชหี น่ึง
2) การให้ข้อมูลทางการเงิน เพื่อประโยชน์แก่บุคคลท่ีเก่ียวข้องหลายฝ่าย เช่น ฝ่ายบริหาร
ผู้ใหก้ ู้ เจา้ หนี้ ตวั แทนรฐั บาล
ส่วนการทาบัญชี (Book-keeping) เป็นวิธีการจดบันทึกรายการเปล่ียนแปลงทางด้านการเงินหรือ
ส่ิงของที่กาหนดมูลค่าเป็นเงินไว้เป็นหลักฐาน โดยจัดแยกไว้เป็นหมวดหมู่ตามประเภทของรายการน้ัน และ
เรียงลาดับรายการท่ีเกิดขึ้นก่อนหลังในสมุดบัญชีได้ถูกต้อง และสามารถแสดงผลการดาเนินงานรวมทั้งฐานะ
ทางการเงินของกิจการในระยะเวลาหนึง่ ได้ ซงึ่ ผู้ปฏบิ ัติงานเช่นนี้เรียกว่า “ผูท้ าบญั ชี” ดังน้นั การทาบัญชีจึงเป็น
สว่ นหนึง่ ของการบัญชี
73
3.1 ประโยชน์ของการจดั ทาบัญชี (The benefits of accounting)
การบญั ชีมีประโยชนก์ ับบุคคลหลายๆฝ่ายเช่น ฝา่ ยบริหาร เจ้าหนี้ และนักลงทนุ เปน็ ตน้ ประโยชน์ของ
การบัญชมี ี ดังนี้
1) เจ้าของกจิ การสามารถควบคมุ และดแู ลรกั ษาสนิ ทรัพยข์ องกจิ การทีม่ ีอยู่ไมใ่ หส้ ูญหาย
2) ผู้บริหารกิจการมีข้อมูลเพียงพอท่ีจะนามาใช้ในการตัดสินใจบริหารกิจการได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
3) ฝ่ายบริหารต้องการทราบว่ากิจการมีสินทรัพย์และหนี้สินอยู่เท่าใด อะไรบ้าง มีกาไร
ขาดทุนเป็นอย่างไร เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา ทาให้ทราบผลการดาเนินงาน และฐานะทางการเงินของ
กจิ การได้ถกู ต้อง
4) บุคคลภายนอกกิจการทราบข้อมูลทางการบัญชีของกิจการ เพื่อให้ประโยชน์ในการ
ตัดสินใจเรื่องต่างๆเช่น เจ้าหน้ีต้องการทราบถึงสภาพคล่อง และสามารถในการทากาไรว่าเป็นเช่นไรนักลงทุน
ตอ้ งการทราบว่าควรจะลงทุนกจิ การหรอื ไม่ และตอบผลแทนจากการลงทนุ เป็นเชน่ ไร
3.2 วัตถุประสงคข์ องการบัญชี (The purpose of accounting)
1) เพื่อบันทึกรายการค้าท่ีเกิดข้ึนตามลาดับก่อน-หลังโดยจาแนกประเภทของรายการค้าเพ่ือ
งา่ ยตอ่ การตรวจสอบและค้นหาไดภ้ ายหลงั
2) เพอ่ื เป็นหลกั ฐานต่อการอา้ งอิง โดยการจาแนกและจดั ประเภทของรายการไว้เปน็ หมวดหมู่
3) เพือ่ เป็นขอ้ มลู ในการตดั สนิ ใจวางแผนการดาเนินงานของกิจการ
4) เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการควบคุมสินทรัพย์ของกิจการ โดยให้มีการจดบันทึกการได้มาซ่ึง
สินทรัพยต์ ามวนั เวลาและบนั ทึกราคาทุน เพือ่ คานวณหาคา่ ราคา ตลอดจนอายกุ ารใช้งานของสนิ ทรัพย์
5) เพอ่ื ควบคุมภายในกิจการและการตรวจสอบป้องกันการทุจรติ
6) เพื่อป้องกันและลดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน การบัญชีเป็นการจัดการที่มีระบบโดยใช้
หลักฐาน เอกสาร บันทึกบัญชี มีการตรวจสอบและคุมยอดบัญชีต่างๆด้วยการจัดทางบกระทบยอดซ่ึงสามารถ
ตรวจสอบได้ตลอดเวลา
7) เพ่ือทราบผลการดาเนินงานว่ามีกาไรหรือขาดทุนเท่าใด โดยดูจากงบกาไรขาดทุน เพ่ือใช้
เป็นหลักฐานประกอบการเสียภาษีเงินได้และทราบฐานะการเงินของกิจการ โดยดูจากงบแสดงฐานะทาง
การเงนิ และสามารถนาไปใชป้ ระกอบในโครงการกยู้ มื จากสถาบนั การเงินอย่างถูกต้อง
8) เพื่อรายงานต่อบุคคลหรอื รายงานท่ีเกี่ยวข้องในการกาหนดนโยบายทางเศรษฐกิจและการ
จัดเก็บภาษีอากรของรฐั
74
การทาบัญชฟี าร์มสตั ว์ปกี ทส่ี าคัญ ไดแ้ ก่ บัญชเี จ้าหนี้ บญั ชลี ูกหน้ี บัญชที รพั ยส์ นิ บญั ชคี า่ แรงงาน และ
บัญชีกาไร-ขาดทนุ ดงั ตัวอยา่ งต่อไปนี้
75
76