คู่มือครูที่ปรึกษา งานครูที่ปรึกษา ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา
คู่มือครูที่ปรึกษา งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา ค ำน ำ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 จะพบว่าการศึกษาในปัจจุบันให้ความส าคัญกับการพัฒนาผู้เรียน โดยยึดผู้เรียนเป็นส าคัญมากขึ้น มุ่งหวังให้ผู้เรียน มีพัฒนาการแบบองค์รวม กล่าวคือ ให้เป็นคนดี คนเก่ง คนมีความสุข อีกทั้งสภาพสังคมที่มีความเป็นสากลและ สลับซับซ้อนมากขึ้น ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการและเทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ฉับพลัน จึงมีเหตุการณ์ที่เป็นปัญหาเข้ามาเกี่ยวข้องกับผู้เรียนของเราอย่างมากมายด้วยเหตุนี้ หน่วยงานต่าง ๆ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งหน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษา จึงก าหนดให้มีการด าเนินงานเกี่ยวกับระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ซึ่งถือเป็นการเน้นบทบาทของครูที่ปรึกษาอย่างเด่นชัดมากขึ้น เอกสารคู่มือฉบับนี้จัดท าขึ้นโดย งานครูที่ปรึกษา ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา หวังไว้อย่างยิ่งว่าคู่มืองานครูที่ปรึกษาฉบับนี้ จะเอื้อประโยชน์แก่ครูที่ปรึกษาและ ส่งเสริมการพัฒนาการด าเนินงานครูที่ปรึกษาให้ประสบความส าเร็จ ตลอดจนสามารถช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษา ของวิทยาลัยฯ ที่ต้องการค าปรึกษา และสามารถผ่านอุปสรรคต่าง ๆ ไปด้วยดี ส่งผลให้นักเรียน นักศึกษาส าเร็จ การศึกษาตามเวลาที่ก าหนด เป็นนักเรียน นักศึกษา ที่มีคุณภาพ มีคุณธรรมและจริยธรรมต่อไป งานครูที่ปรึกษา ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา
คู่มือครูที่ปรึกษา งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา ค ำชี้แจง คู่มือครูที่ปรึกษาเล่มนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ครูที่ได้รับมอบหมายให้มีบทบาทและภาระหน้าที่เป็นครูที่ ปรึกษา เห็นแนวทางการปฏิบัติงานตามระบบดูแลผู้เรียนได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเพื่อให้มีความ สอดคล้องหลักเชิงแนะแนวจิตวิทยาอีกด้วย ซึ่งมีผลท าให้ผู้เรียนเดการพัฒนา ศักยภาพของตนเองได้มากยิ่งขึ้น สาระในคู่มือเล่มนี้ชี้ให้เห็นบทบาทหน้าที่และภารกิจของครูที่ปรึกษา ซึ่งได้กล่าวถึงบทบาทหน้าที่ที่ปฏิบัติทั่วไป และบทบาทหน้าที่เชิงแนะแนว เครื่องมือและเทคนิคในการรู้จักผู้เรียน ได้แก่ การสังเกต การสัมภาษณ์ การเยี่ยม บ้าน การเยี่ยมหอพัก การบันทึก และการบรรยาย แบบสอบถาม แบบทดสอบและแบบประเมิน การศึกษาเป็น รายกรณี แบบแสดงผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ แบบรายงาน ผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคล สมุดบันทึกผลการเรียน แบบฟอร์มครูที่ปรึกษา ตัวอย่าง กิจกรรมโฮมรูม (Home room) ในการแก้ปัญหา ช่วยเหลือผู้เรียนในกรณีต่าง ๆ สาระในคู่มือครูที่ปรึกษาของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทราเล่มนี้ จึงเป็น เพียงแนวทางปฏิบัติอย่างกว้าง ๆ เท่านั้น ครูควรพิจารณาเลือกสาระและวิธีการที่น าเสนอเพื่อน าไปใช้ตามความ เหมาะสมกับสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนทุกคนที่เกิดขึ้นในกลุ่ม ให้เหมะสมกับทรัพยากรที่มีอยู่ในสถานศึกษา และสอดคล้องกับสภาพท้องถิ่นต่อไป
คู่มือครูที่ปรึกษา งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา บทน ำ ควำมส ำคัญและควำมจ ำเป็นของระบบกำรดูแลช่วยเหลือนักเรียน การพัฒนานักเรียนให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีวิถีชีวิตที่เป็นสุขตามที่สังคมมุ่งหวัง โดยผ่านกระบวนการทางการศึกษานั้น นอกจากจะด าเนินการ ด้วยการสิงเสริม สนับสนุนนักเรียน นักศึกษาแล้ว การป้องกันและการช่วยเหลือ แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับ นักเรียน นักศึกษา ก็เป็นสิ่งส าคัญประการหนึ่งของการพัฒนา เนื่องจากสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ภาพความส าเร็จที่เกิดจากการพัฒนานักเรียน นักศึกษา ให้เป็นไปตามความมุ่งหวังนั้นจึงต้องอาศัยความร่วมมือ จากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทุกคน โดยเฉพาะบุคลากรครูทุกคนในวิทยาลัยฯ ซึ่งมีครูที่ปรึกษาเป็นหลักที่ส าคัญในการ ด าเนินการต่าง ๆ เพื่อการดูแลช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษา อย่างใกล้ชิดด้วยความรักและเมตตาที่มีต่อศิษย์และ ความภาคภูมิใจในบทบาทที่มีส่วนส าคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเยาวชนให้เติบโต งอกงาม เป็นบุคคลที่มี คุณค่าของสังคมต่อไป พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ได้ก าหนดความมุ่งหมายและหลักการจัด การศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการด ารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข (มาตรา 6) และแนวการจัด การศึกษายังได้ให้ความส าคัญแก่ผู้เรียนทุกคน โดยยึดหลักว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และ ถือว่าผู้เรียนมีความส าคัญที่สุด ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ (มาตรา 22) ในการจัดการศึกษาต้องเน้นความส าคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความเหมาะสม ของแต่ละระดับการศึกษา ซึ่งเรื่องหนึ่งที่ก าหนดให้เนินการ คือเรื่องความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพและ การด ารงชีวิตอย่างมีความสุข (มาตรา 23 ข้อ 5) ทั้งนี้การจัดกระบวนการเรียนให้ค านึงถึงความแตกต่างระหว่าง บุคคล ให้ผู้เรียนรู้จักประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาให้รู้จักคิดเป็น ท าเป็น รวมทั้งปลูกฝัง คุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในทุกวิชา อีกทั้งมีการประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครองและบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพในการปฏิรูปวิชาชีพครู ซึ่งเป็นการพัฒนาครูให้เป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถมีคุณลักษณะที่ได้คุณภาพ และมาตรฐานวิชาชีพ ตามการประกันคุณภาพการศึกษา เกี่ยวข้องกับบทบาทหน้าที่ของครูในการพัฒนานักเรียน คือ การมี ความรัก เอื้ออาทร เอาใจใส่ ดูแลผู้เรียนอย่างสม่ าเสมอ การมีมนุษย์สัมพันธ์และสุขภาพจิตที่ดี พร้อมที่จะแนะน า และร่วมกันแก้ปัญหาของผู้เรียน แสดงให้เห็นว่าครูต้องพัฒนาตนเองให้เป็นมืออาชีพ คือ นอกจากจะท าหน้าที่ครูผู้ ที่มีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนให้แก่นักเรียน นักศึกษาแล้ว ยังต้องท าหน้าที่อื่น ๆ ที่เป็นการ สนับสนุนหรือพัฒนาให้นักเรียน นักศึกษามีคุณภาพ ทั้ง ดี เก่ง มีสุข ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานด้านผลผลิต คือ นักเรียน ในการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรฐานที่ 4 ที่มุ่งให้นักเรียนมีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึง ประสงค์ มาตรฐานที่ 5 มีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา มาตรฐานที่ 6 รู้จักตนเองได้ และ บุคลิกที่ดี มาตรฐานที่ 7 มีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ปลอดจากสิ่งเสพติดให้โทษ ซึ่งการดูแล ช่วยเหลือนักเรียนจะเป็นปัจจัยส าคัญประการหนึ่ง ที่ช่วยให้นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานดังกล่าวได้
คู่มือครูที่ปรึกษา งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา โดยผ่านกระบวนการท างานที่เป็นระบบ ซึ่งมีความสอดคล้องกับมาตรฐานด้านกระบวนการของการประกัน คุณภาพการศึกษา มาตรฐานที่ 1 ที่ให้โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ มาตรฐานที่ 4 มีการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง มาตรฐานที่ 7 ส่งเสริมความสัมพันธ์ และความร่วมมือ ระหว่างโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรภาครัฐและเอกชนในการจัดและพัฒนาการศึกษา ดังนั้นระบบการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษาจึงเป็นระบบที่สามารถด าเนินการเพื่อรับการประกันคุณภาพได้ ซึ่งครอบคลุมทั้งด้าน ปัจจัยด้านผลผลิตและด้านกระบวนการ วัตถุประสงค์ของระบบกำรดูแลช่วยเหลือนักเรียน 1. เพื่อให้การด าเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษาของวิทยาลัยฯ เป็นไปอย่างมีระบบและ มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อให้โรงเรียน ผู้ปกครอง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือชุมชน มีการท างานร่วมกัน โดยผ่านกระบวน การที่ชัดเจน พร้อมเอกสาร หลักฐานการปฏิบัติงาน สามารถตรวจสอบหรือรับการประเมินได้ ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 1. นักเรียน นักศึกษา ได้รับการดูแลช่วยเหลืออย่างทั่วถึงและตรงตามสภาพปัญหา 2. สัมพันธภาพระหว่างครูและนักเรียน นักศึกษา เป็นไปด้วยดีและอบอุ่น 3. นักเรียน นักศึกษา รู้จักตนเองและควบคุมตนเองได้ 4. นักเรียน นักศึกษา เรียนรู้อย่างมีความสุขและมีการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์
คู่มือครูที่ปรึกษา งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา ระบบกำรดูแลช่วยเหลือนักเรียน ควำมหมำยของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็นกระบวนการด าเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างมีขั้นตอน พร้อมด้วยวีการและเครื่องมือการท างานที่ชัดเจน โดยมีครูที่ปรึกษาเป็นบุคลากรหลักในการด าเนินงานดังกล่าว และมีการประสานความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับครูที่เกี่ยวข้อง หรือบุคคลภายนอก รวมทั้งการสนับสนุน ส่งเสริม จากโรงเรียน การดูแลช่วยเหลือ หมายถึง การส่งเสริม การป้องกัน และการแก้ไขปัญหา โดยวิธีการและเครื่องมือ ส าหรับครูที่ปรึกษาและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการด าเนินงานพัฒนานักเรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และปลอดภัยจากสารเพสติด กระบวนกำรด ำเนินงำนตำมระบบดูและช่วยเหลือนักเรียน กระบวนการด าเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีองค์ประกอบส าคัญ 5 ประการ คือ 1. การรู้จักนักเรียน นักศึกษาเป็นรายบุคคล 2. การคัดกรองนักเรียน 3. การส่งเสริมนักเรียน 4. การป้องกันและแก้ไขปัญหา 5. การส่งต่อ รำยละเอียดของแต่ละองค์ประกอบในระบบกำรดูแลช่วยเหลือนักเรียน ดังนี้ 1. การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล เป็นข้อมูลที่จ าเป็นเกี่ยวกับตัวของนักเรียนที่จะช่วยให้ครูที่ปรึกษาน า ข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อการคัดกรองนักเรียน เป็นประโยชน์ในการส่งเสริม การป้องกันและแก้ปัญหาของนักเรียนได้ อย่างถูกต้อง 2. การคัดกรองนักเรียน เพื่อจัดกลุ่มนักเรียน มีประโยชน์ต่อครูที่ปรึกษาในการหาวิธีการเพื่อดูแล ช่วยเหลือนักเรียนได้อย่างถูกต้อง คือ เป็นการแก้ไขปัญหาที่ตรงเป้าหมายและเกิดความรวดเร็วในการแก้ไขปัญหา นั้น ในการคัดกรองนักเรียนนั้น จัดนักเรียนเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มมีปัญหาผลการคัดกรองนักเรียน ครูที่ ปรึกษาต้องระมัดระวังอย่างยิ่งที่จะไม่ ท าให้นักเรียนได้รับรู้ว่าตนจัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยง / มีปัญหา โดยเฉพาะนักเรียน วัยรุ่นที่มีความไวต่อการรีบรู้แม้นักเรียนจะรู้ตัวดีว่า ตนมีพฤติกรรมอย่างไร หรือประสบปัญหาใดก็ตาม เพื่อเป็น การป้องกันการล้อเลียนในหมู่เพื่อน ดังนั้น ครูที่ปรึกษาต้องเก็บผลการคัดกรองนักเรียนเป็นความลับ 3. การส่งเสริมนักเรียน เป็นการสนับสนุนให้นักเรียนทุกคน ไม่ว่าเป็นกลุ่มปกติหรือกลุ่มเสี่ยง / มีปัญหา ให้มีคุณภาพมากขึ้น มีความภาคภูมิใจในตนเอง ป้องกันไม่ให้นักเรียนที่เป็นกลุ่มปกติ กลายเป็นกลุ่มเสี่ยง / มีปัญหา และช่วยให้นักเรียนกลุ่มเสี่ยง / มีปัญหา หลับมาเป็นนักเรียนกลุ่มปกติ วิธีการหรือกิจกรรมหลักส าคัญที่ ส่งเสริมนักเรียน คือ
คู่มือครูที่ปรึกษา งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา 1) การจัดกิจกรรมโฮมรูม (Home room) ช่วยให้ครูที่ปรึกษารู้จักนักเรียนมากขึ้น สามารถ ส่งเสริมป้องกัน และแก้ปัญหาของนักเรียนได้อีกด้วย 2) การจัดประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน (Classroom meeting) เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกัน และความร่วมมือดูแลนักเรียนระหว่างบ้าน โรงเรียน และผู้ปกครองด้วยกัน 4. การป้องกันและแก้ไขปัญหา เป็นภาระงานที่ยิ่งใหญ่และมีคุณค่ามาก และทุกครั้งของการช่วยเหลือ นักเรียน ควรมีการบันทึกไว้เป็นหลักฐานด้วย เทคนิคและวิธีการในการแก้ปัญหาที่ครูที่ปรึกษาจ าเป็นต้อง ด าเนินการ มี 2 ประการ คือ 1) การให้ค าปรึกษาเบื้องต้น เป็นการช่วยผ่อนคลายให้ลดน้อยลง 2) การจัดกิจกรรมเพื่อป้องกันและแก้ปัญหา ท าให้การช่วยเหลือมีประสิทธิภาพ ครูที่ปรึกษา สามารถคิดพิจารณากรรมเพื่อแก้ไขปัญหานักเรียน ดังนี้ - การใช้กิจกรรมเสริมหลักสูตร การใช้กิจกรรมในห้องเรียน - การใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน - การใช้กิจกรรมซ่อมเสริม - การใช้กิจกรรมการสื่อสารกับผู้ปกครอง กิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาทั้ง 5 ด้านดังกล่าว มีรายละเอียดในภาคผนวกหน้า การส่งต่อ เป็นการส่งต่อ นักเรียนไปยังผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เพื่อให้ปัญหาของนักเรียนได้รับการช่วยเหลืออย่างถูกต้อง และรวดเร็วขึ้น การส่งต่อมี 2 แบบ คือ 1) การส่งต่อภายใน เช่น ส่งต่อครูแนะแนว ครูพยาบาล ครูประจ าวิชาหรือหัวหน้าระดับหรืองาน ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2) การส่งต่อภายนอก ครูแนะแนวหรือฝ่ายปกครองด าเนินการส่งต่อไปยังผู้เชี่ยวชาญภายนอก ตัวอย่างบันทึกการส่งต่อและแจ้งผลการช่วยเหลือ
คู่มือครูที่ปรึกษา งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา แผนภูมิแสดงกระบวนกำรด ำเนินงำน ตำมระบบกำรดูแลช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษำ ของครูที่ปรึกษำ รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล คัดกรองนักเรียน กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง / มีปัญหา ส่งเสริมนักเรียน ป้องกันและแก้ไขปัญหา ป้องกันและแก้ไขปัญหา ดีขึ้น ไม่ดีขึ้น ส่งต่อ ภายในปกครอง / แนะแนว ภายนอก ผู้เชี่ยวชาญ
แผนภูมิกำรช่วย การช่วยเห การส่งเสริม การป้องกัน โฮมรูม Classroom meeting กิจกรรมใน ชั้นเรียน การให้ค าปรึกษา กิจกรรมเสริม กิจกรรมช หลักสูตร
คู่มือครูที่ปรึกษา งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา ยเหลือนักเรียน หลือนักเรียน นและแก้ไข ภายนอก การส่งต่อ ภายใน ช่วยเหลือ กัลยาณมิตร เยี่ยมบ้าน สื่อสาร อื่น ๆ ผู้ปกครอง
คู่มือครูที่ปรึกษา งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา
คู่มือครูที่ปรึกษา งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา
คู่มือครูที่ปรึกษา งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา
คู่มือครูที่ปรึกษา งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา
คู่มือครูที่ปรึกษา งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา
คู่มือครูที่ปรึกษา งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา แนวทำงกำรปฏิบัติงำนของครูที่ปรึกษำ ******************* 1. ครูที่ปรึกษาพบนักเรียน นักศึกษา ทุกวันหลังกิจกรรมหน้าเสาธง (กิจกรรมโฮมรูมสั้น) 2. ครูที่ปรึกษาพบนักเรียน นักศึกษา สัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง (กิจกรรมโฮมรูมยาว) 3. ดูแลการเข้าร่วมกิจกรรมหน้าเสาธงของนักเรียน นักศึกษา เป็นประจ าทุกวัน 4. ตรวจสอบรายชื่อนักเรียน นักศึกษา ที่เข้าร่วมกิจกรรมโฮมรูมทุกครั้ง 5. ส่งแบบรายงานผลการปฏิบัติงานของครูที่ปรึกษาที่หัวหน้าแผนกวิชา และน าส่งงานครูที่ปรึกษา ทุกเดือน 6. ให้ความคิดเห็นและข้อมูลเกี่ยวกับการก าหนดรายวิชา ในการลงทะเบียนเรียน ให้ความเห็นชอบแก่ นักเรียน นักศึกษา ในการลงทะเบียนรายวิชา การลงทะเบียนเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ การขอเปลี่ยน ขอเพิ่ม และถอนรายวิชา ขอพักการเรียน การโอนย้าย การลาออก การขอผ่อนผัน หรือยกเว้นการช าระค่าลงทะเบียนรายวิชา ติดตาม แนะน า ให้ค าปรึกษาเกี่ยวกับการเรียน การค านวณ หาค่าระดับคะแนนเฉลี่ย (GPA) แก่นักเรียน นักศึกษา และอื่น ๆ 7. ให้ค าปรึกษาเกี่ยวกับการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ แก่นักเรียน นักศึกษา 8. ให้ค าปรึกษา แนะน า ป้องกัน ตักเตือน ดูแลและปรับปรุงแก้ไขความประพฤติของนักเรียน นักศึกษา ประสานงาน และรายงานผลการเรียนและพฤติกรรมของนักเรียน นักศึกษา ให้กับผู้ปกครองทราบ 9. จัดท า จัดเก็บ รวบรวมประวัติ ข้อมูลการเรียน และพฤติกรรมของนักเรียน นักศึกษา
คู่มือครูที่ปรึกษา งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา
คู่มือครูที่ปรึกษา งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา ค ำสั่ง วิทยำลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรำ ที่ 264 /2566 เรื่อง แต่งตั้งครูที่ปรึกษำนักเรียน นักศึกษำ ประจ ำปีกำรศึกษำ ๒๕๖6 -------------------------------- ตามที่วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา ได้เปิดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) นั้น เพื่อให้การควบคุม ส่งเสริม การจัดท า จัดเก็บ รวบรวม ข้อมูลประวัติ ข้อมูลการเรียนและพฤติกรรมของนักเรียน นักศึกษา และการด าเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน รวมทั้งให้ค าปรึกษากับนักเรียน นักศึกษา อาศัยอ านาจระเบียบส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาว่าด้วยการบริหาสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒ ข้อ ๔๘ วิทยาลัยฯ จึงขอแต่งตั้งครูที่ปรึกษา ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖6 ดังนี้ ระดับประกำศนียบัตรวิชำชีพ (ปวช.) ปวช.๑/๑ (สาขางานการผลิตพืช) นายอภิชาติแพนลิ้นฟ้า ปวช.๑/2 (สาขางานการผลิตสัตว์) นางสาวพัชราภรณ์ วารีศรี นายพงษ์ศักดิ์ พวงอุดม ปวช.1/3 (สาขางานอุตสาหกรรมเกษตร) นายสืบพงษ์ สดใส ปวช.1/4 (สาขางานคอมเตอร์ธุรกิจ) นายอาณกร ประนันวงศ์ นายธนากร กดมงคล ปวช.1/5 (อศ.กช. สาขางานการเกษตร) นางรุ่งทิพย์ จีนะกาญจน์ ศูนย์การเรียนวิทยาลัยฯ ปวช.1/6 (ทวิศึกษา สาขางานคอมเตอร์ธุรกิจ) นายทรงพล เจริญบุตร รร. มัธยมพระราชทานนายาว ปวช.1/7 (ทวิศึกษา สาขางานอุตสาหกรรมเกษตร) นายนัฐวุฒิ วิเศษโสภา รร. สนามชัยเขต ปวช.2/๑ (สาขางานการเกษตร) นางสาวพัชยา เพ็ชร์พิชัย ปวช.2/2 (สาขางานการเกษตร) นางสาวณัฏฐพร ผาแก้ว ปวช.2/3 (สาขางานอุตสาหกรรมเกษตร) นายสืบพงษ์ สดใส ปวช.2/4 (อศ.กช. สาขางานการเกษตร) นางรุ่งทิพย์ จีนะกาญจน์ ศูนย์การเรียนวิทยาลัยฯ ปวช.3/๑ (สาขางานการเกษตร) นางสาวเพชรา เลิศศรี ปวช.3/๓ (อศ.กช. สาขางานการเกษตร) นางรุ่งทิพย์ จีนะกาญจน์ ศูนย์การเรียนวิทยาลัยฯ
คู่มือครูที่ปรึกษา งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา ปวช.3/๔ (อศ.กช. สาขางานการเกษตร) นายสุพจน์ เพ็งก าแหง ศูนย์การเรียนบ้านหนองยาว ปวช.3/5 (อศ.กช. สาขางานการเกษตร) นายอานนท์ เอื้อเฟื้อ ศูนย์การเรียนบ้านหนองแหน ปวช.3/6 (อศ.กช. สาขางานการเกษตร) นางสาวทัศนีย์ คชสีห์ ศูนย์การเรียนบ้านซ่อง ปวช.3/7 (อศ.กช. สาขางานการเกษตร) นางสาวคีตา ทวันเวช ศูนย์การเรียนบ้านดอนขี้เหล็ก ปวช.3/8 (อศ.กช. สาขางานการเกษตร) นางสาวดารุณี ยินดี ศูนย์การเรียนบ้านห้วยพลู ปวช. (ตกค้าง) นายอภิชาติแพนลิ้นฟ้า ระดับประกำศนียบัตรวิชำชีพชั้นสูง (ปวส.) ปวส.๑/๑ (สาขางานพืชสวน) นางสาวคีตา ทวันเวช ปวส.๑/2 (สาขางานการผลิตสัตว์) นางสาวชนิตา ทองคุ้ม นางสาววิลาวรรณ์ เจ้าวันนะ ปวส.๑/๓ (ทวิภาคี สาขางานอุตสาหกรรมเกษตร) นางฐปนิดา ตั้งสุวรรณกูล ปวส.๑/4 (สาขางานธุรกิจดิจิทัล) นางสาวศศิราภัคญ์ วศิรวงศ์ ปวส.1/๕ (ภาคสมทบ สาขางานการเกษตร) นางคัธรียา มะลิวัลย์ ศูนย์การเรียนวิทยาลัยฯ ปวส.๑/6 (ภาคสมทบ สาขางานการผลิตสัตว์) นางคัธรียา มะลิวัลย์ ศูนย์การเรียนวิทยาลัยฯ ปวส.1/7 (ภาคสมทบ สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร) นางฐปนิดา ตั้งสุวรรณกูล ศูนย์การเรียนวิทยาลัยฯ ปวส.๑/8 (ภาคสมทบ สาขางานธุรกิจดิจิทัล) นางสาวศศิราภัคญ์ วศิรวงศ์ ศูนย์การเรียนวิทยาลัยฯ ปวส.๑/9 (สาขางานการเกษตร) นางศิโรรัตน์ ธรรมดา ศูนย์การเรียนโรงเรียนทหารการสัตว์ ปวส.2/๑ (สาขางานพืชสวน) นางสาวรพีพรรณ ชัยโย นางสาวชญาดา ไตรสินธ์ ปวส.๒/2 (สาขางานการผลิตสัตว์) นายศุภโชค พันธุ์สุข ปวส.๒/๓ (สาขางานอุตสาหกรรมเกษตร) นายนัฐวุฒิ วิเศษโสภา ปวส.๒/๕ (ภาคสมทบ สาขางานการเกษตร) นางคัธรียา มะลิวัลย์ ศูนย์การเรียนวิทยาลัยฯ ปวส.๒/6 (ภาคสมทบ สาขางานการผลิตสัตว์) นางคัธรียา มะลิวัลย์ ศูนย์การเรียนวิทยาลัยฯ ปวส. (ตกค้าง) นายอภิชาติแพนลิ้นฟ้า
คู่มือครูที่ปรึกษา งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา มีหน้ำที่รับผิดชอบดังนี้ 1. ให้ค าปรึกษา แนะน าแก่นักเรียน นักศึกษา และตรวจสอบหลักฐานสัญญาการเป็นนักเรียน นักศึกษา ๒. ปฐมนิเทศนักเรียน นักศึกษาในความรับผิดชอบให้ความรู้และเข้าใจ ในด้านการเรียน ความ ประพฤติ ระเบียบวินัย และข้อบังคับ รวมทั้งสวัสดิการและบริการต่าง ๆ ของสถานศึกษาที่นักนักศึกษา มีสิทธิขอรับบริการ 3. ให้ความเห็นชอบแก่นักเรียน นักศึกษาในการลงทะเบียนรายวิชาลงทะเบียนเรียน ลงทะเบียนสอบเทียบความรู้หรือประสบการณ์ การขอเปลี่ยน ขอเพิ่ม และขอถอนรายวิชา 4. ให้ค าปรึกษาและให้ความเห็นชอบในการขอผ่อนผันช าระค่าลงทะเบียนรายวิชาของ นักเรียน นักศึกษาที่อยู่ในความรับผิดชอบ ติดตาม แนะน า และช่วยแก้ปัญหา พร้อมทั้งรายงานให้ผู้บังคับบัญชา ทราบ ๕. จัดท า เก็บ รวบรวมประวัติ ข้อมูลการเรียน และพฤติกรรมของนักเรียน นักศึกษา ที่อยู่ในความรับผิดชอบ เพื่อเป็นข้อมูลในการออกหนังสือรับรองต่าง ๆ ๖. ติดตาม ช่วยเหลือ และให้ค าปรึกษาเกี่ยวกับการเข้าร่วมกิจกรรมการชมรม ตามที่ก าหนดไว้ ในระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการประเมินผลการเรียนในแต่ละระดับแก่นักเรียน นักศึกษา ที่อยู่ในความรับผิดชอบ 7. ให้ค าปรึกษาเกี่ยวกับการเรียน การค านวณหาค่าระดับคะแนนเฉลี่ยนักเรียน นักศึกษา ที่อยู่ในความรับผิดชอบ ๘. แนะน า หาทางป้องกันและติดตามนักเรียน นักศึกษาที่ขาดเรียน 9. ให้ความคิดเห็นและข้อมูลเกี่ยวกับการก าหนดรายวิชาในการลงทะเบียนเรียน แต่ละภาคเรียนแก่นักเรียน นักศึกษา 10. ติดต่อประสานงานกับผู้ปกครอง พร้อมทั้งรายงานผลการเรียน และพฤติกรรม ของนักเรียนนักศึกษาที่อยู่ในความรับผิดชอบให้ผู้ปกครองทราบ 11. ให้ค าปรึกษา ตักเตือน ดูแล และปรับปรุงแก้ไขความประพฤติของนักเรียน นักศึกษา ที่อยู่ในความรับผิดชอบ ๑๒. ประสานงานและให้ความร่วมมือกับแผนกวิชา ศูนย์ และงานต่าง ๆ ในสถานศึกษา ๑3. เสนอโครงการปฏิบัติงานตามล าดับชั้น ๑๔. รายงานผลการปฏิบัติงานตามล าดับชั้น ๑๕. ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย โดยให้คณะกรรมการที่ได้รับแต่งตั้ง ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายโดยเคร่งครัด เพื่อให้เกิดผล ดีแก่ นักเรียน นักศึกษา และทางราชการต่อไป ค าสั่งใดที่ขัดแย้งกับค าสั่งนี้ ให้ใช้ค าสั่งนี้แทน ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑5 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖6 เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ 9 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖6 (นางสาวศศิราภัคญ์ วศิรวงศ์) ครู ช านาญการพิเศษ รักษาการในต าแหน่ง ผู้อ านวยการวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา
คู่มือครูที่ปรึกษา งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา
คู่มือครูที่ปรึกษา งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา เดือน งำนที่ปฏิบัติ หมำยเหตุ พ.ค. 66 1. โครงการประชุมผู้ปกครองนักเรียน นักศึกษา และปฐมนิเทศนักเรียน นักศึกษา เข้าใหม่ 2. ให้ค าปรึกษาการลงทะเบียน การเพิ่ม ถอน ซ่อมเสริมรายวิชา และ การรักษารักษาสภาพการเป็นนักเรียน นักศึกษา 3. จัดท าประวัตินักเรียน นักศึกษา ที่รับผิดชอบ/จัดใส่แฟ้มงานครูที่ปรึกษา 4. ประชาสัมพันธ์ให้นักเรียน นักศึกษา ทราบ เรื่อง การขอรับทุนการศึกษา 5. ติดตามผลการสอบแก้ตัว (0) , มส. ภาคเรียนที่ผ่านมา 6. พบนักเรียน นักศึกษา ในชั่วโมงโฮมรูมและหลังเลิกแถว 7. ตรวจสอบผลการเรียนภาคฤดูร้อน แจ้งผู้ปกครองทราบ 8. ติดตามนักเรียน นักศึกษา ที่ขอผ่อนผันการช าระค่าลงทะเบียน 10. รับทราบเวลาเรียนในแต่ละรายวิชา เพื่อติดตามนักเรียน นักศึกษา ในกรณีที่ขาดเรียน 11. รายงานการพบนักเรียน นักศึกษา ต่อหัวหน้าสถานศึกษา ยกเว้น ปวช.1/ปวส.1 ยกเว้น ปวช.1/ปวส.1 มิ.ย. 66 1. ประสานงานเพื่อตรวจสอบเวลาเรียนของนักเรียน นักศึกษา และ ตรวจสอบรายชื่อนักเรียน นักศึกษา ที่ยังไม่ลงทะเบียนและขอพักการเรียน 2. ตรวจสอบและแจ้งพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน นักศึกษา ที่มีปัญหาให้ ผู้ปกครองทราบ 3. ดูแลการเรียนและแนะน าพฤติกรรมระหว่างเรียน 4. ติดตามเวลาเรียนในแต่ละรายวิชา เพื่อช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษา ที่ขาดเรียน 5. พบนักเรียน นักศึกษา ในชั่วโมงโฮมรูมและหลังเลิกแถว 6. รายงานการพบนักเรียน นักศึกษา ต่อหัวหน้าสถานศึกษา 7. โครงการเยี่ยมบ้านนักเรียน นักศึกษา ภาคเรียนที่ 1/2566 และรวบรวมข้อมูลที่ได้ด าเนินการเยี่ยมบ้านนักเรียน 8. รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน นักศึกษา ต่อหัวหน้าสถานศึกษา ก.ค. 66 1. ตรวจสอบและแจ้งพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน นักศึกษา ที่มีปัญหาให้ ผู้ปกครองทราบ 2. ดูแลการเรียนและแนะน าพฤติกรรมระหว่างเรียน 3. ติดตามเวลาเรียนในแต่ละรายวิชา เพื่อช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษา ที่ขาดเรียน 4. พบนักเรียน นักศึกษา ในชั่วโมงโฮมรูมและหลังเลิกแถว 5. รายงานการพบนักเรียน นักศึกษา ต่อหัวหน้าสถานศึกษา
คู่มือครูที่ปรึกษา งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา เดือน งำนที่ปฏิบัติ หมำยเหตุ ส.ค. 66 1. ประสานงานเพื่อตรวจสอบเวลาเรียนของนักเรียน นักศึกษา และ ตรวจสอบรายชื่อนักเรียน นักศึกษา ที่ยังไม่ลงทะเบียนและขอพักการเรียน 2. ตรวจสอบและแจ้งพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน นักศึกษา ที่มีปัญหาให้ ผู้ปกครองทราบ 3. ดูแลการเรียนและแนะน าพฤติกรรมระหว่างเรียน 4. ติดตามเวลาเรียนในแต่ละรายวิชา เพื่อช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษา ที่ขาดเรียน 5. พบนักเรียน นักศึกษา ในชั่วโมงโฮมรูมและหลังเลิกแถว 6. รายงานการพบนักเรียน นักศึกษา ต่อหัวหน้าสถานศึกษา ก.ย. 66 1. ประสานงานเพื่อตรวจสอบเวลาเรียนของนักเรียน นักศึกษา และ ตรวจสอบรายชื่อนักเรียน นักศึกษา ที่ยังไม่ลงทะเบียนและขอพักการเรียน 2. ตรวจสอบและแจ้งพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน นักศึกษา ที่มีปัญหาให้ ผู้ปกครองทราบ 3. ดูแลการเรียนและแนะน าพฤติกรรมระหว่างเรียน 4. ติดตามเวลาเรียนในแต่ละรายวิชา เพื่อช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษา ที่ขาดเรียน 5. พบนักเรียน นักศึกษา ในชั่วโมงโฮมรูมและหลังเลิกแถว 6. รายงานการพบนักเรียน นักศึกษา ต่อหัวหน้าสถานศึกษา 7. จัดท าสรุปบันทึกรายงานผลการจัดกิจกรรโฮมรูมนักเรียน นักศึกษา ปะจ าภาคเรียนที่ 1/2566 ต.ค. 66 ปิดภำคเรียน 1/2566 พ.ย. 66 1. ตรวจสอบผลการเรียนภาคเรียนที่ 1/2566 และแจ้งรายละเอียด การลงทะเบียนเรียน ภาคเรียนที่ 2/2566 ให้ผู้ปกครองและนักเรียน นักศึกษา ทราบ 2. ให้ค าปรึกษาการลงทะเบียน การเพิ่ม ถอน ซ่อมเสริมรายวิชา และ การรักษารักษาสภาพการเป็นนักเรียน นักศึกษา 3. จัดท าประวัตินักเรียน นักศึกษา ที่รับผิดชอบ/จัดใส่แฟ้มงานครูที่ปรึกษา 4. ประชาสัมพันธ์ให้นักเรียน นักศึกษา ทราบ เรื่อง การขอรับทุนการศึกษา 5. ติดตามผลการสอบแก้ตัว (0) , มส. ภาคเรียนที่ผ่านมา 6. พบนักเรียน นักศึกษา ในชั่วโมงโฮมรูมและหลังเลิกแถว 7. ติดตามนักเรียน นักศึกษา ที่ขอผ่อนผันการช าระค่าลงทะเบียน 8. รับทราบเวลาเรียนในแต่ละรายวิชา เพื่อติดตามนักเรียน นักศึกษา ในกรณีที่ขาดเรียน 9. รายงานการพบนักเรียน นักศึกษา ต่อหัวหน้าสถานศึกษา
คู่มือครูที่ปรึกษา งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา เดือน งำนที่ปฏิบัติ หมำยเหตุ ธ.ค. 66 1. ประสานงานเพื่อตรวจสอบเวลาเรียนของนักเรียน นักศึกษา และ ตรวจสอบรายชื่อนักเรียน นักศึกษา ที่ยังไม่ลงทะเบียนและขอพักการเรียน 2. ตรวจสอบและแจ้งพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน นักศึกษา ที่มีปัญหาให้ ผู้ปกครองทราบ 3. ดูแลการเรียนและแนะน าพฤติกรรมระหว่างเรียน 4. ติดตามเวลาเรียนในแต่ละรายวิชา เพื่อช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษา ที่ขาดเรียน 5. พบนักเรียน นักศึกษา ในชั่วโมงโฮมรูมและหลังเลิกแถว 6. รายงานการพบนักเรียน นักศึกษา ต่อหัวหน้าสถานศึกษา 8. โครงการเยี่ยมบ้านนักเรียน นักศึกษา ภาคเรียนที่ 2/2566 และรวบรวมข้อมูลที่ได้ด าเนินการเยี่ยมบ้านนักเรียน 9. รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน นักศึกษา ต่อหัวหน้าสถานศึกษา ม.ค. 67 1. ประสานงานเพื่อตรวจสอบเวลาเรียนของนักเรียน นักศึกษา และ ตรวจสอบรายชื่อนักเรียน นักศึกษา ที่ยังไม่ลงทะเบียนและขอพักการเรียน 2. ตรวจสอบและแจ้งพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน นักศึกษา ที่มีปัญหาให้ ผู้ปกครองทราบ 3. ดูแลการเรียนและแนะน าพฤติกรรมระหว่างเรียน 4. ติดตามเวลาเรียนในแต่ละรายวิชา เพื่อช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษา ที่ขาดเรียน 5. พบนักเรียน นักศึกษา ในชั่วโมงโฮมรูมและหลังเลิกแถว 6. รายงานการพบนักเรียน นักศึกษา ต่อหัวหน้าสถานศึกษา ก.พ. 67 1. ตรวจสอบและแจ้งพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน นักศึกษา ที่มีปัญหาให้ ผู้ปกครองทราบ 2. ดูแลการเรียนและแนะน าพฤติกรรมระหว่างเรียน 3. ติดตามเวลาเรียนในแต่ละรายวิชา เพื่อช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษา ที่ขาดเรียน 4. พบนักเรียน นักศึกษา ในชั่วโมงโฮมรูมและหลังเลิกแถว 5. รายงานการพบนักเรียน นักศึกษา ต่อหัวหน้าสถานศึกษา 6. จัดท าสรุปบันทึกรายงานผลการจัดกิจกรรโฮมรูมนักเรียน นักศึกษา ปะจ าภาคเรียนที่ 1/2566 มี.ค. 67 ปิดภำคเรียน 2/2566