The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thitikornLanakham, 2019-06-19 23:50:43

๊Unit 6

Unit 6

บทท่ี 6 ครูคัธรียา มะลิวลั ย์

กฎหมายและ แผนกวิชาสตั วศาสตร์
หน่วยงานท่ี วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชิงเทรา
เกยี่ วขอ้ งกบั
สง่ิ แวดลอ้ ม

กฎหมายและหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ งสง่ิ แวดลอ้ ม 54

บทท่ี 6

กฎหมายและหนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้องกบั สงิ่ แวดลอ้ ม

หวั ขอ้ เรอ่ื ง
1. มาตรฐานสิง่ แวดล้อมในฟาร์มสตั ว์เล้ียง
2. กฎหมายส่ิงแวดล้อมทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั การผลติ สตั ว์
3. หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้องกับการจดั การสง่ิ แวดลอ้ มในการผลติ สัตว์

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้(นาทาง)
1. เพอ่ื ใหม้ ีความรแู้ ละเขา้ ใจเก่ยี วกับมาตรฐานส่ิงแวดลอ้ มในฟาร์มสตั ว์เลยี้ ง
2. เพอ่ื ให้มคี วามรู้และเขา้ ใจเกีย่ วกบั กฎหมายสิ่งแวดล้อมทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั การผลิตสัตว์
3. เพ่อื ใหม้ ีความร้แู ละเขา้ ใจเก่ยี วกับหน่วยงานและหน้าที่เก่ียวข้องกบั ส่ิงแวดลอ้ มในการผลติ

สตั ว์

จุดประสงค์การเรยี นรู้(ปลายทาง)
1. อธิบายมาตรฐานส่ิงแวดลอ้ มในฟารม์ สตั วเ์ ลี้ยงได้
2. อธบิ ายถึงกฎหมายส่ิงแวดล้อมท่เี ก่ยี วขอ้ งกับการผลิตสตั ว์ได้
3. บอกหน่วยงานและหน้าทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั ส่งิ แวดลอ้ มในการผลติ สัตว์ได้

เนื้อหาสาระ
ในการเลี้ยงสัตว์สภาพแวดล้อมเป็นปัจจัยท่ีมีผลต่อสภาพความเป็นอยู่ของสัตว์เป็นอย่างมาก

เน่ืองจากสัตว์จะสามารถรับรู้ถึงความเปล่ียนแปลงของสภาพแวดล้อมได้อย่างรวดเร็วและจะส่งผลต่อ
ตัวสัตว์ เช่น สภาพอากาศร้อน สัตว์จะเกิดความเครียด กินอาหารน้อยลง กินน้าเพ่ิมมากข้ึนเพ่ือ
ชว่ ยระบายความร้อนในร่างกาย นอกจากนี้สัตว์บางตวั ท่ไี มส่ ามารถปรบั ตัวได้ก็จะเกดิ อาการช็อคและ
ตายไปในทส่ี ุด

ดังนัน้ ในการเล้ียงสัตว์ผเู้ ลย้ี งหรือเจ้าของฟาร์มจงึ ควรใหค้ วามสนใจและมีการดูแลในเรื่องของ
การจัดสภาพแวดล้อมภายในฟาร์มให้เหมาะสมกับสัตว์ เพ่ือช่วยให้สัตว์อยู่ได้สบายและไม่ก่อให้เกิด
โรคแกส่ ัตว์ ทา้ ให้ได้ผลผลิตเปน็ ที่นา่ พอใจสา้ หรับผูป้ ระกอบการ

1. มาตรฐานสง่ิ แวดลอ้ มในฟารม์ สตั วเ์ ลยี้ ง
กรมปศุสัตว์ได้ด้าเนินงานเกี่ยวกับการรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรท่ีดีหรือมาตรฐาน

ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทย มาต้ังแต่ปี พ.ศ. 2542 โดยเริ่มจากฟาร์มไก่เนื้อ ไกไ่ ข่ และฟาร์มโคนม
และการผลิตน้านมดิบ ปัจจุบันกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ว่าด้วยการขอรับและออกใบรับรองมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ พ.ศ. 2546 จนถึงปี พ.ศ. 2553

กฎหมายและหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้องสิ่งแวดล้อม 55

มีจ้านวน 16 ฟาร์มปศุสัตว์ เพ่ือให้เป็นไปตามหลักวิชาการด้านการจัดการฟาร์มด้านสุขอนามัยและ
การจดั การด้านสิ่งแวดล้อมให้เป็นรปู แบบมาตรฐานเดียวกัน กรมปศุสัตว์ได้กา้ หนดเกณฑ์เกยี่ วกับการ
จัดการน้าเสยี มูลฝอย ส่ิงปฏิกูล ในฟารม์ เล้ยี งสัตว์ ดงั นี้

1) ต้องมกี ารบ้าบัดนา้ เสยี ให้ไดต้ ามเกณฑ์มาตรฐานนา้ ท้ิง ตามกฎหมายท่เี กย่ี วขอ้ งก่อนปล่อย
ออกส่ภู ายนอกสถานประกอบกิจการและต้องดแู ลทางระบายนา้ ไม่ให้อดุ ตนั

2) กรณีที่ไม่มีการระบายน้าทิ้งออกนอกสถานประกอบการ ผู้ประกอบการจะต้องมีการ
จัดการน้าเสียท่ีเกิดข้ึนท้ังหมดโดยจะต้องมีการป้องกันไม่ให้มีน้าเสีย หรือกลิ่นเหม็นกระทบต่อ
สิ่งแวดลอ้ มภายนอก

3) ต้องมีการจัดการ หรือควบคุมปัญหากลิ่นเหม็น สัตว์ และแมลงพาหะน้าโรค ไม่ให้ส่งผล

กระทบตอ่ ชุมชนโดยรอบ

4) ต้องจัดให้มีภาชนะรองรับมูลฝอยท่ีถูกหลักสุขาภิบาล เหมาะสม เพียงพอ โดยมีการคัด

แยกตามประเภทของมลู ฝอย

5) ต้องมีการรวบรวมมูลฝอยและน้าไปก้าจัดอยา่ งถูกตอ้ งตามหลักสุขาภิบาล และปฏิบตั ิตาม
ข้อก้าหนดของท้องถิ่นว่าด้วยการน้ัน ห้ามน้าไปท้ิงในท่ีสาธารณะหรือแหล่งน้าสาธารณะ ในกรณีท่ีมี
การน้ามูลไก่และวัสดุรองพื้นออกจากสถานประกอบการผู้ประกอบการต้องจัดให้ผู้ด้าเนินการ
เคล่ือนย้าย มีมาตรการเพื่อป้องกันเหตุเดือดร้อนร้าคาญ และไม่เป็นแหล่งเพาะพันธ์ุสัตว์และแมลง
พาหะน้าโรค

6) ต้องมีการจัดการ ก้าจัดภาชนะบรรจุสารเคมี หรือน้ายาฆ่าเช้ือที่ใช้แล้วอย่างถูกต้องตาม
หลักวชิ าการ

7) ต้องมีห้องน้าห้องส้วม อ่างล้างมือ ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล มีการดูแลรักษาความ
สะอาดเปน็ ประจา้ มกี ารบ้าบัดและกา้ จัดส่ิงปฏกิ ลู อยา่ งถูกตอ้ งตามหลักสุขาภิบาล

1.1 การจดั การสงิ่ แวดล้อมตามมาตรฐานฟาร์มสตั วเ์ ลี้ยงของประเทศไทย

เพ่ือเป็นแนวทางในการศึกษาเกี่ยวกับการจัดการส่ิงแวดล้อมในฟาร์มสัตว์เลี้ยง ในท่ีน้ีจะ
กล่าวถึงการก้าจัดของเสีย ส่ิงปฏิกูลต่าง ๆ ตามมาตรฐานฟาร์มไก่ไข่ ฟาร์มสุกร และฟาร์มเป็ด
ซึ่งจะต้องผ่านการก้าจัดอย่างเหมาะสม เพ่ือไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในกรณีท่ีมีน้าทิ้งจาก
ฟารม์ ออกสู่แหล่งน้าสาธารณะ ดงั นี้

1) การจัดการสงิ่ แวดล้อมตามมาตรฐานฟารม์ ไกไ่ ข่ ฟาร์มจะต้องมีระบบการก้าจัดของเสีย
สิ่งปฏิกูลต่างๆ ต้องผ่านการก้าจัดอย่างเหมาะสม เพ่ือไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม ในกรณีท่ีมีน้า
ทิง้ จากฟาร์มออกสู่แหล่งนา้ สาธารณะจะตอ้ งมีการบา้ บัดกอ่ น

(1) เก็บซากไกอ่ อกจากเล้าทันทที ุกครง้ั ทมี่ ีการตรวจพบ โดยใสถ่ ุงพลาสติกกันน้า และ
ปดิ ปากถงุ ใหม้ ดิ ชดิ เพอื่ ป้องกันสัตวพ์ าหะนา้ โรคแล้วนา้ ไปท้าลาย โดยการฝงั หรอื เผา

กฎหมายและหนว่ ยงานท่ีเกีย่ วขอ้ งสงิ่ แวดลอ้ ม 56

(2) การทา้ ลายสตั ว์พาหะนา้ โรค ใหท้ ้าลายโดยการฝงั หรอื เผา
(3) วัสดรุ องพ้นื ท่ีเปยี ก หรอื จับเปน็ ก้อน ใหต้ ักออกจากโรงเรอื นทนั ที
(4) มูลไก่ควรมีการจัดการอย่างเหมาะสม เพ่ือไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของเช้ือโรค
และสัตว์พาหะนา้ โรค
(5) กรณีปลดไก่ วัสดุรองพ้ืนควรได้รับการบ้าบัดด้วยยาฆ่าเชื้อโรค เพื่อป้องกัน
การฟุ้งกระจายก่อนเคล่ือนย้ายรถทบี่ รรทุกต้องมีผา้ ใบคลุมป้องกันการตกหล่นและห้ามน้ากลับมาใช้อีก
(6) น้าท่ีใช้ในการล้างโรงเรือนและอุปกรณ์ในช่วงเตรียมโรงเรือน จะต้องมีการบ้าบัด
กอ่ นท่ีจะปล่อยลงในแหล่งน้าสาธารณะ
(7) พน้ื ทีร่ อบโรงเรือนรัศมีอยา่ งนอ้ ย 3 เมตร ควรสะอาด

2) การจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานฟาร์มสุกร ของเสียจากฟาร์มสุกรมี 2 ประเภทหลัก
คือ ส่วนที่เป็นมูลสุกรและเศษอาหารที่ตกค้างในคอก อีกส่วนหนึ่งเกิดจากการล้างคอกด้วยน้า และ
ปัสสาวะสุกรซึ่งจะกลายเป็นน้าเสีย ดังน้ันฟาร์มจะต้องจัดให้มีระบบก้าจัดหรือบ้าบัดของเสียท่ี
เหมาะสมเพื่อไมใ่ ห้เกิดผลกระทบต่อผ้อู ยอู่ าศยั ข้างเคยี งหรอื ส่ิงแวดลอ้ ม ดังน้ี

(1) การก้าจัดของเสยี

ก. ขยะมูลฝอยต้องท้าการเก็บรวบรวมในภาชนะท่ีมิดชิด และน้าไปก้าจัด
ทง้ิ ในบริเวณทีท่ ้งิ ของเทศบาล สขุ าภบิ าล หรือองค์การบรหิ ารส่วนท้องถน่ิ หรอื รวบรวมและกา้ จัดในท่ี
กา้ จดั ขยะซึง่ จดั ไวเ้ ปน็ สัดส่วนแยกออกจากบริเวณท่เี ลยี้ งสกุ ร

ข. ซากสุกร ก้าจดั ได้ 2 วธิ ี คือ กา้ จดั โดยการฝงั หรือโดยการเผา
ค. มูลสุกร มีการกวาดเก็บและก้าจัดมูลสุกรท่ีเหมาะสมตามมาตรฐานของ
ทางราชการ เพ่ือไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธ์ุของแมลง และก่อให้เกิดกล่ินเหม็นเป็นท่ีร้าคาญต่อผู้อยู่
อาศัยข้างเคียง รวบรวมมูลสุกรในท่ีเฉพาะ เพ่ือให้ง่ายต่อการจัดการและการขนถ่ายไปท้าประโยชน์
ตอ่ ไป เชน่ ใชเ้ ป็นอาหารปลา ตากแหง้ หรือหมกั ทา้ ป๋ยุ หรือน้าไปผลิตก๊าซชีวภาพ
ง. น้าเสยี น้าเสียทเ่ี กิดจากกิจกรรมต่างๆ ของการเลีย้ งสกุ ร ตอ้ งมกี ารก้าจัด
ที่จะไม่ก่อให้เกิดปัญหาต่อสิง่ แวดล้อมได้ โดยมีระบบระบายนา้ เสยี ที่ระบายไดค้ ล่อง ไมเ่ กิดการอุดตัน
ระบายลง กักเก็บในบ่อพัก เพ่ือท้าการบ้าบัดต่อไป จ้านวนและขนาดของบ่อต้องเพียงพอท่ีจะกักเก็บ
น้าเสียจากฟาร์มได้
(2) การบ้าบดั นา้ เสีย

น้าเสียต้องได้รับการบ้าบัดก่อนท่ีจะระบายออกสู่ภายนอก น้าเสียที่ผ่านการบ้าบัด
แล้ว ต้องมีการตรวจสอบคุณภาพน้าท้ิง โดยการตรวจสอบวิเคราะห์ค่า BOD, COD, pH, SS และ
TKN ให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิ้ง หากมีการน้าน้าทิ้งกลับมาใช้ในฟาร์มอีก
ต้องมีการทา้ ลายเชื้อโรค

กฎหมายและหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้องส่ิงแวดล้อม 57

มาตรฐานน้าทิ้งจากฟาร์มสุกร (ตารางที่ 6.1) ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรกั ษา
คุณภาพส่งิ แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เรอ่ื งกา้ หนดให้การเลี้ยงสุกรเป็นแหลง่ ก้าเนิดมลพิษท่ีจะต้อง
ถูกควบคุมการปล่อยน้าเสยี ลงสู่แหล่งน้าสาธารณะหรอื ออกสสู่ ่ิงแวดล้อม ได้กา้ หนดมาตรฐานควบคุม
การระบายน้าทิ้งจากแหล่งก้าเนิดมลพิษประเภทการเลี้ยงสุกร ซึ่งถ้ามีการปล่อยน้าเสียลงสู่แหล่งน้า
สาธารณะ หรือ ออกสู่ส่ิงแวดล้อม จะต้องมีมาตรฐานของน้าทิ้งเป็นไปตามประกาศของ
กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ท้ังนี้ตามประกาศของกรมควบคุมมลพิษน้ีจะมีผล
เร่ิมใช้ในเดือนกมุ ภาพนั ธ์ 2545 เป็นตน้ ไป ซ่งึ มีค่ามาตรฐานน้าทงิ้ ของฟารม์ สุกร ดงั นี้

ตารางท่ี 6.1 คา่ มาตรฐานนา้ ท้งิ ของฟารม์ สุกร

คณุ สมบตั ิทางเคมขี องน้าท้ิง หนว่ ย ขนาดของฟารม์ สกุ ร
(มากวา่ 5,000 ตัว) (500-5,000 ตัว) (50-500 ตัว)

pH 5.5-9 5.5-9 5.5-9

BOD (Biochemical Oxygen Demand) มก./ลิตร 60 100 100

COD (Chemical Oxygen Demand) มก./ลิตร 300 400 400

TSS (Total suspended solids) มก./ลติ ร 150 200 200

TKN (Total Kjeldahl Nitrogen) มก./ลติ ร 120 200 200

ท่ีมา : รุ่งนภา (2544)

3) การจดั การสิง่ แวดลอ้ มตามมาตรฐานฟารม์ เปด็ การก้าจดั ของเสยี สิง่ ปฏิกลู ต่างๆ ต้องผา่ น
การก้าจัดอย่างเหมาะสม เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ในกรณีท่ีมีน้าทิ้งจากฟาร์มออกสู่
แหลง่ นา้ สาธารณะจะตอ้ งมีการบ้าบัดก่อน

(1) เก็บซากเป็ดออกจากเล้าทันทีทุกคร้ังที่มีการตรวจพบ โดยใส่ถุงพลาสติกกันน้า
และปดิ ปากถุงให้มิดชิด เพอ่ื ปอ้ งกนั สตั ว์พาหะน้าโรคแล้วน้าไปทา้ ลายโดยการฝังหรอื เผา

(2) การท้าลายสัตว์พาหะน้าโรค ให้ท้าลายโดยการฝังหรือเผา การท้าลายซากเป็ด
ต้องมีบริเวณเฉพาะส้าหรับท้าลายซากเป็ดท่ีตาย พื้นที่ต้องห่างจากบริเวณโรงเรือนอื่น และสามารถ
ควบคมุ ได้ การทา้ ลายซากมี 2 วธิ ี ดงั นี้

ก. การท้าลายโดยการฝัง ต้องมีเน้ือที่เพียงพอ และอยู่ในบริเวณน้าท่วมไม่
ถึง ฝังซากใต้ระดับผิวดินไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตร ใช้น้ายาฆ่าเชื้อโรคท่ีเหมาะสมราด หรือโรยบน
ส่วนตา่ งๆ ของซากเปด็ จนท่ัว กลบหลุมเหนอื ระดบั ผิวดนิ และป้องกันไม่ให้สัตว์ไปค้ยุ เขย่ี

ข. การท้าลายโดยการเผา มีสถานที่เผาหรือเตาเผา อยู่ในบริเวณที่
เหมาะสมใชไ้ ฟเผาซากจนหมด

กฎหมายและหนว่ ยงานท่ีเกีย่ วขอ้ งสงิ่ แวดลอ้ ม 58

(3) กรณีปลดเป็ด วสั ดุรองพ้ืนควรไดร้ ับการบ้าบัดด้วยยาฆ่าเชอ้ื โรค เพ่ือป้องกันการ
ฟุ้งกระจายก่อนเคล่ือนย้าย รถท่ีบรรทุกต้องมีผ้าใบคลุมป้องกันการตกหล่น และห้ามน้ากลับมาใช้อีก

(4) น้าทใ่ี ช้ในการลา้ งโรงเรือนและอปุ กรณใ์ นช่วงเตรียมโรงเรือน จะต้องมีการบ้าบัด
ก่อนท่จี ะปล่อยลงในแหลง่ นา้ สาธารณะ

(5) พ้นื ทีร่ อบโรงเรือนรศั มีอยา่ งน้อย 3 เมตร ควรสะอาด

4) การจัดการส่ิงแวดลอ้ มตามมาตรฐานฟารม์ โคนม สง่ิ ปฏิกลู ตา่ งๆ รวมถงึ ขยะ ตอ้ งผ่านการ
ก้าจัดอยา่ งเหมาะสม เพ่ือไม่ให้เกดิ ผลกระทบต่อผอู้ ย่อู าศัยข้างเคียงหรือสงิ่ แวดลอ้ ม ในกรณีท่มี นี ้าท้งิ
จากฟาร์มออกสแู่ หล่งน้าสาธารณะ จะต้องมกี ารบ้าบดั ก่อน

(1) ขยะมูลฝอย ต้องมีภาชนะรองรับขยะมูลฝอย ซึ่งมีฝาปิดมิดชิด แล้วท้าการเก็บ
รวบรวมน้าไปท้ิงในบริเวณที่ท้ิงของเทศบาล สุขาภิบาล หรือองค์การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น หรือ
รวบรวมและกา้ จดั ในทท่ี ้งิ ขยะซง่ึ แยกไวเ้ ปน็ สดั ส่วนและแยกออกจากบรเิ วณทีเ่ ลี้ยงโค

(2) ซากสัตว์ กรณีสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์มแนะน้าให้ท้าลายซาก ให้ฝังซากสัตว์ใต้
ระดับผิวดิน ไม่นอ้ ยกวา่ 50 เซนติเมตร ใช้ยาฆ่าเช้ือโรคทเี่ หมาะสมราด หรือ โรยไปบนซากสัตว์น้ันจน
ทั่ว แล้วกลบดินปิดปากหลมุ และพูนดินกลบหลมุ เหนือระดับผวิ ดินไม่นอ้ ยกวา่ 50 เซนตเิ มตร

(3) มูลสัตว์ เก็บกวาดไมใ่ หเ้ กดิ การหมักหมมภายในโรงเรือน หรือที่อย่ขู องโค จนเกิด
กลน่ิ อนั ก่อให้เกิดความร้าคาญแกผ่ อู้ ยอู่ าศยั ข้างเคยี ง

(4) น้าเสีย ในกรณีปล่อยลงแหล่งน้าสาธารณะ ฟาร์มจะต้องจัดให้มีระบบบ้าบัดน้า
เสยี ให้เหมาะสม และมคี ุณภาพนา้ ตามมาตรฐานคุณภาพน้าท้งิ ทรี่ าชการกา้ หนด

2. กฎหมายสง่ิ แวดล้อมที่เกย่ี วข้องกบั การเล้ยี งสตั ว์
กฎหมายมีไว้เพื่อให้ประชาชนทุกคนอยู่อย่างสงบสุข ไม่ให้ผู้หน่ึงผู้ใดเอาเปรียบ เบียดเบียน

รบกวนผู้อ่ืน สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมท้ังป้องกันไม่ให้ส่ิงแวดล้อมเสื่อมทรามลง หากเราประพฤติ
ตามหลักพระพุทธศาสนา กฎระเบยี บเหลา่ นก้ี ไ็ มจ่ า้ เปน็ ต้องมี เนอ่ื งจากพระพุทธศาสนาสอนใหค้ นเรา
คิดถึงแต่ผู้อื่นและสังคม รวมทั้งเลิกคิดถึงตัวเองตามหลักไตรลักษณ์ แต่ก็ยังคงมีผู้คนอีกจ้านวนมากท่ี
ด้ารงชีวิตอยู่โดยไม่เอาใจผู้อ่ืนมาใส่ใจตน ท้าให้ผู้อ่ืนโดยเฉพาะผู้ท่ีรอบข้างเดือดร้อนดังเห็นจากข่าว
ร้องทกุ ขข์ องชาวบ้านตามส่ือโทรทัศน์อยู่เนือง ๆ รฐั หรือสังคมจึงตอ้ งออกกฎระเบยี บเพอื่ ให้คนเหล่าน้ี
ร้จู ักเคารพสทิ ธขิ องผอู้ ่ืน

เน่ืองจากการเลี้ยงสัตว์ในเชิงพาณิชย์ ก่อให้เกิดมลภาวะหลายอย่าง เช่น เสียง กลิ่น มูลสัตว์
น้าเสีย รวมท้ังแมลงวัน ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้ที่อาศัยอยู่โดยรอบ ทั้งอาจท้าให้น้าใน
แม่น้า ล้าคลอง ล้ารางสาธารณะเน่าเสีย จึงต้องมีกฎหมายไว้คุ้มครอง ในช่วงแรกของการตั้งฟาร์ม
ผู้ประกอบการอาจจะคิดว่าเราได้ตั้งฟาร์มในท่ีรกร้าง หรือห่างไกลชุมชน จึงไม่จ้าเป็นต้องมีระบบต่าง
ๆ เพ่ือป้องกันมลภาวะ ซึ่งคิดไม่ถึงว่าเวลาผ่านไปไม่ก่ีปีจะมีผู้จับจองผืนดินท้าที่อยู่อาศัย จนสุดท้าย

กฎหมายและหน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งส่ิงแวดล้อม 59

กลายเป็นชุมชนข้ึนมา กลายเป็นท่านสร้างเหตุร้าคาญให้กับชุมชนถึงขั้นถูกชุมชนขับไล่ ดังนั้น
ผปู้ ระกอบการรายใหมจ่ งึ ตอ้ งคา้ นึงถึงการสรา้ งโรงเรอื นท่ีปลอดมลภาวะด้วย

2.1 กฎหมายสิง่ แวดลอ้ มทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับการเลีย้ งสุกร
ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและส่ิงแวดล้อม ประกาศว่า การเล้ียงสุกร
หมายถึง การเล้ยี งสกุ รพ่อพนั ธุ์แม่พนั ธ์ุ สุกรขนุ หรือลกู สกุ ร ชนิดหนึ่งหรือตั้งแตส่ องชนิดข้ึนไป
พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ใช้ควบคุมมาตรฐานน้าท้ิง
จากฟาร์มสกุ ร ประเภท ก(น้าหนักสุกรรวมทั้งฟาร์มมากกว่า 300,000 กก.) และประเภท ข (น้าหนัก
สุกรรวมท้ังฟาร์ม 30,000 - 300,000 กก.) โดยก้าหนดมาตรฐานน้าเสียท่ีปล่อยออกจากฟาร์ม ดังน้ี

ตารางท่ี 6.2 มาตรฐานนา้ ทิง้ จากฟารม์ สกุ ร

คุณสมบัติทางเคมีของน้าทงิ้ หน่วย ประเภทของฟารม์ สกุ ร

pH มก./ลติ ร ประเภท ก ประเภท ข
BOD (Biochemical Oxygen Demand) มก./ลิตร
COD (Chemical Oxygen Demand) มก./ลิตร 5.5 - 9 5.5 - 9
TSS (Total suspended solids) มก./ลิตร
TKN (Total Kjeldahl Nitrogen) 60 100

300 400

150 200

120 200

หมายเหตุ : 1. ฟารม์ สกุ ร ประเภท ก (น้าหนกั สกุ รรวมทงั้ ฟาร์มมากกวา่ 300,000 กก.)
2. ประเภท ข (นา้ หนกั สกุ รรวมทง้ั ฟาร์ม 30,000 - 300,000 กก.)

2.2 กฎหมายส่ิงแวดลอ้ มทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การเล้ียงสตั ว์ท่ัวไป
1) พ.ร.บ.การสาธารณสขุ พ.ศ. 2535 กรณีมเี หตุอันอาจกอ่ ให้เกดิ ความเดือดร้อนแก่

ผู้อาศัยอยู่ในบริเวณใกล้เคียง ให้ถือว่าเป็นเหตุร้าคาญ และให้อ้านาจกับเจ้าพนักงานห้ามการก่อเหตุ
ร้าคาญและระงับการกอ่ เหตุ ในกรณีมเี หตุร้าคาญในสถานท่สี าธารณะใหเ้ จา้ พนกั งานท้องถ่นิ ออกค้าสัง่
เป็นหนังสือให้บุคคลที่ก่อเหตุระงับและป้องกันเหตุร้าคาญภายในเวลาที่เห็นสมควรได้ หากเกิดเหตุ
ร้าคาญในสถานท่ีส่วนบุคคลให้ส่วนราชการทอ้ งถิ่นสามารถประกาศให้กจิ กรรมบางประเภทอยู่ในการ
ควบคุมภายในท้องถ่ิน และสามารถก้าหนดหลักเกณฑ์และเง่ือนไขการประกอบกิจการได้ ผู้ฝ่าฝืนมี
โทษจา้ คกุ ไม่เกนิ 6 เดอื น หรือปรบั ไมเ่ กนิ 10,000 บาท หรอื ท้งั จ้าทงั้ ปรับ

2) พ.ร.บ.การชลประทานหลวง กรณีห้ามขุดคลอง ทางนา้ เชื่อมชลประทาน ห้ามทิ้ง
ขยะมูลฝอย ซากพืช ซากสัตว์ เถ้าถ่าน สิ่งปฏิกูล ลงในชลประทาน ห้ามท้าให้คันคลอง ท้านบ หมุด
ชลประทานเสียหาย

กฎหมายและหนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วข้องส่งิ แวดลอ้ ม 60

3) พ.ร.บ.การเดินเรือในน่านน้าไทย พ.ศ. 2456 ห้ามท้งิ หิน กรวด ดนิ โคลน ส่ิงของ
ปฏิกลู ลงในแมน่ ้าลา้ คลอง หนอง บงึ อา่ งเกบ็ น้า หรอื ทะเลสาบ ท่ใี ช้สัญจรหรือประชาชนใชร้ ่วมกัน

ในกรณีทีท่ า้ ใหผ้ ู้อ่ืนเกดิ ทรพั ยส์ ินเสยี หาย บุคลากรในครอบครัวหรือสตั ว์เลย้ี งเจ็บปว่ ย การหา
เลยี้ งชีพตดิ ขัดเนอ่ื งจากผลกระทบจากมลภาวะ ผ้เู สยี หายสามารถฟอ้ งเรยี กคา่ สินไหมจากผูท้ ี่
ก่อใหเ้ กดิ มลภาวะได้ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ ให้ทางราชการไดแ้ ต่งต้ังเจา้ พนกั งาน
ควบคุมมลพิษ เพื่อเข้าไปตรวจสถานท่ที ค่ี ดิ ว่าเป็นแหลง่ ก่อให้เกดิ มลพษิ เช่น โรงงานต่าง ๆ อ่ซู อ่ ม
รถยนต์ สถานเลีย้ งสัตว์ เป็นต้น เจา้ พนักงานจะเขา้ ไปตรวจหากไมม่ ีระบบบา้ บัดน้าเสยี หรอื ระบบ
ปอ้ งกันมลภาวะก็จะสง่ั ใหต้ ดิ ตง้ั ในกรณีทีม่ ีแล้วกจ็ ะตรวจส่งิ ทีป่ ล่อยออกสู่สาธารณะ เช่น นา้ เสีย ว่า
ได้มาตรฐานหรอื ไม่ หากไม่ได้มาตรฐานก็จะสัง่ ให้ปรบั ปรงุ หรือซ่อมแซมในเวลาทีก่ ้าหนดให้ และจะ
กลบั มาตรวจใหมจ่ นกว่าระบบจะไดม้ าตรฐาน ดงั นนั้ เพื่อใหก้ ารประกอบกจิ การเลยี้ งสตั ว์ท่ยี งั่ ยนื
ผู้ประกอบการควรจะคา้ นึงส่ิงเหล่านใ้ี ห้รอบคอบก่อนการสร้างฟาร์ม

3. หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การจัดการส่ิงแวดล้อมในการผลิตสตั ว์
3.1 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มีอ้านาจหน้าที่เกี่ยวกับการสงวน

อนุรกั ษ์ และฟ้ืนฟทู รพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม จัดการการใช้ประโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาติ
อยา่ งยงั่ ยืน และดูแลหนว่ ยงานราชการอนื่ ตามท่มี ีกฎหมายกา้ หนดใหเ้ ป็นอ้านาจหนา้ ท่ี ของกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม หรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอ้ ม

กรมควบคุมมลพิษ มีบทบาทและภารกิจโดยท่ัวไปของกรมควบคุมมลพิษ เป็นไปตาม
บทบัญญัติที่เกี่ยวข้องในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
เป็นหลัก อันได้แก่ การประกาศพื้นท่ีเขตควบคุมมลพิษ การก้าหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษจาก
แหล่งก้าเนิด การก้าหนดประเภทของแหล่งก้าเนิดมลพิษที่จะต้องควบคุมการปลอ่ ยอากาศเสีย น้าทิ้ง
หรือขยะมูลฝอย การจัดตั้ง คณะกรรมการควบคุมมลพิษ เพื่อจัดท้านโยบายและแผนงาน
ประสานงานในการลดปัญหามลพิษและเสนอมาตรการในการป้องกันมลพิษ โดยมีปลัดกระทรวง
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเป็นประธาน ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สงิ่ แวดล้อม พ.ศ. 2535 กรมควบคุมมลพิษมีหน้าที่ก้าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขที่จ้าเป็นใน
การจดั การมลพษิ ได้แก่ กา้ หนดหน้าท่ีของเจ้าพนักงานควบคมุ มลพิษ กา้ หนดอัตรา คา่ บรกิ าร ค่าปรบั
และค่าสินไหมทดแทน หรือ ค่าเสียหาย ซึ่งเจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งก้าเนิดมลพิษมีหน้าที่ต้อง
รับผดิ ชอบซ่ึงปรากฏในบทกา้ หนดโทษ ในกรณีทม่ี ผี ู้ฝา่ ฝนื หรือไม่ปฏิบตั ติ าม

กรมส่งเสริมคุณ ภาพสิ่งแวดล้อม มีอ้านาจหน้าท่ีพัฒ นาหลักสูตรฝึกอบรมด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ส้าหรับกลุ่มเป้าหมายท้ังภาครัฐและท้องถิ่น จัดฝึกอบรมและ
พัฒนาบุคลากรด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมแก่ภาคเอกชนและประชาชน การพัฒนา

กฎหมายและหน่วยงานที่เกีย่ วข้องสิ่งแวดล้อม 61

นวัตกรรมและเทคโนโลยีการฝึกอบรมด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการจัดการ
ส่ิงแวดลอ้ มอย่างยัง่ ยนื และปฏิบัติงานอ่ืน ๆ ตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย

3.2 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีอ้านาจหน้าที่เก่ียวกับการเกษตรกรรม การจัดหาแหล่ง
น้าและพัฒนาระบบชลประทาน ส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร ส่งเสริมและพัฒนาระบบสหกรณ์รวม
ตลอดทั้งกระบวนการผลิตและสินค้าเกษตรกรรม และราชการอ่ืนท่ีกฎหมายก้าหนดให้เป็นอ้านาจ
หนา้ ทข่ี องกระทรวงเกษตรและสหกรณ์หรือสว่ นราชการท่สี ังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

กรมปศุสัตว์ ท่ีมีอ้านาจหน้าท่ีดูแลและควบคุมการเล้ียงสัตว์ ท้ังด้านสุขภาพ การบ้าบัดโรค
การบ้ารุงพันธุ์ การควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ สถานพยาบาลสัตว์ โรคระบาดสัตว์ การปศุสัตว์ไป
จนถึงการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ส่วนมาตรฐานสิ่งแวดล้อมด้านการปศุสัตว์ ศึกษา ค้นคว้า
วิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาด้านมาตรฐานส่ิงแวดล้อมการปศุสัตว์ ด้าเนินการเก่ียวกับการก้ากับ ดูแล
สิ่งแวดล้อมด้านการปศุสัตว์ ตามมาตรฐานและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ให้ค้าปรึกษา แนะน้า และ
ถ่ายทอดเทคโนโลยดี า้ นสิง่ แวดลอ้ มการปศุสตั ว์

กฎหมายและหน่วยงานทเี่ กี่ยวข้องสงิ่ แวดลอ้ ม 62

เอกสารอ้างอิง

เกษม จันทรแ์ กว้ . 2547. การจดั การส่งิ แวดลอ้ มแบบผสมผสาน. พมิ พค์ รง้ั ที่ 2. กรงุ เทพฯ :
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์.

เกษม จันทรแ์ กว้ . 2553 .วทิ ยาศาสตร์ส่งิ แวดล้อม พมิ พ์คร้งั ท่ี 8. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

จักรกริศน์ เนอื่ งจา้ นง. 2559. สขุ ศาสตร์ปศสุ ตั ว์. พมิ พ์คร้งั ที่ 2 กรุงเทพฯ :
จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั .

ธวชั ชยั ศภุ ดษิ ฐ์. 2551. การจัดการอนามยั สิ่งแวดลอ้ มในภาคปศุสัตว์. พมิ พ์คร้ังที่ 2.
กรุงเทพมหานคร

นิภาดา สองเมืองสขุ . 2548. การจดั การสิง่ แวดล้อมในฟารม์ สัตวเ์ ลีย้ ง. แพร่.
แผนกวิชาสัตวศาสตร์ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีแพร่. เอกสารคา้ สอน.

แผนกเศรษฐกจิ การเกษตร .2548. การเลีย้ งไกไ่ ขใ่ นระบบโรงเรอื นแบบปิด. กรุงเทพฯ :
กองวชิ าการ ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. (อดั สา้ เนา)

พรสวรรค์ ดิษยบตุ ร. 2544 .ชีวติ กับสงิ่ แวดล้อม. [ออนไลน์]. สืบคน้ ไดจ้ าก :
http://www.tistr.or.th/t/publication/index.asp. 20 เมษายน 2552.

ภาณี คูสวุ รรณ์ และศจีพร สมบูรณ์ทรัพย์ .2546 .ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม .กรงุ เทพฯ :
เอมพนั ธ์ จ้ากดั .

รงุ่ นภา รตั นราชชาตกิ ุล. 2544. “การจัดการของเสยี ในฟาร์มสกุ ร” วารสารสัตวแพทย์.
11 (2): 40-47.

ศริ ลิ กั ษณ์ วงสพ์ เิ ชษฐ. 2543. “ส่ิงแวดลอ้ มกับสขุ อนามยั ของสตั ว์เล้ียง”. วทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพสัตว์.
นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช. หนา้ 39-85.

สีกุน นชุ ชา. มปป. การจดั การสิ่งแวดล้อมในฟาร์มสัตวเ์ ล้ยี ง. ตรงั . แผนกวชิ าสัตวศาสตร์
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีแพร่. เอกสารค้าสอน. [ออนไลน์]. สบื ค้นได้จาก :
www.seekun.net/e-env-all.htm. 20 เมษายน 2553.

สรสชิ ฐ์ ชา้ นาญแทน. มปป. การจัดการส่ิงแวดลอ้ มในฟารม์ สตั วเ์ ลยี้ ง. เชียงใหม่.
แผนกวชิ าสัตวศาสตร์ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเชยี งใหม่. เอกสารค้าสอน.


Click to View FlipBook Version