หน่วยท่ี 3
ประเภทและพนั ธ์ุสัตวป์ กี
31
หวั ขอ้ เรอ่ื ง
1. การจาแนกประเภทของสตั วป์ กี
2. พนั ธส์ุ ัตว์ปีกทนี่ ยิ มเลีย้ งเปน็ สตั วเ์ ศรษฐกจิ
จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. อธิบายการจาแนกประเภทของสัตวป์ ีกได้
2. อธิบายพนั ธ์สุ ัตว์ปีกทน่ี ยิ มเลีย้ งเปน็ สตั ว์เศรษฐกิจได้
เน้ือหาการสอน
มนษุ ย์ไดร้ จู้ กั นาเอาสตั วป์ ีกมาเปน็ อาหารหรือผลิตผลท่ีได้จากสัตว์ปีก เช่น ไข่มาเปน็ อาหารมานานแลว้
จากหลักฐานเชื่อกันว่ามีต้นตระกูลมาจากไก่ป่า คือไก่ป่าสีแดง (Red Jungle Fowl; Gallus gallus) ซึ่งมีถิ่น
กาเนิดและการแพร่กระจายพนั ธ์ุอยู่แถบเอเชีย กระจายพันธุ์ตั้งแต่ทางตอนเหนือและทางะวันออกเฉียงเหนอื
ของประเทศอินเดีย และ บริเวณเชิงเขาหิมาลัยตอนใต้เร่ือยไปจนถึงหมู่เกาะสุมาตรา ชวาและบาหลี ได้ถูก
นามาเล้ียงเป็นไก่บ้านในประเทศอินเดียมาตั้งแต่เมื่อประมาณ 3,200 ปีก่อนคริสตศักราช และในประเทศจีน
และอียิปต์เมื่อประมาณ 1,500 ปีก่อนคริสตศักราช ปัจจุบันน้ีประมาณว่ามีไก่พันธุ์ต่าง ๆ ที่มนุษย์ได้พยายาม
ผสมพันธ์ุและคัดเลือกสายพันธ์ุให้มีพันธุ์ต่าง ๆ ออกมามากกว่า 60 สายพันธุ์ เ์ พ่ือที่จะให้เนื้อ ไข่และผลิตผล
อย่าง อ่ืน เช่น ขน ฯลฯ นอกจากไก่แล้วยังมีสัตว์ปีกอ่ืนอีกหลายชนิดท่ีมนุษย์ได้นาเอามาเป็นสัตว์เลี้ยงและ
ได้ผลดี เช่น ไก่งวง ไก่ต๊อก เปด็ หา่ น และนกกระทา ฯลฯ
1. การจาแนกประเภทของสัตวป์ กี
ไก่ (Chickens) ท่ีเลีย้ งกนั อยู่ในปัจจุบันเชือ่ กนั ว่ามตี ้นตระกูลมาจากไก่ปา่ ซ่งึ ไกป่ า่ สแี ดง (Red Jungle
Fowl; Gallus gallus) ซ่ึงมีถ่ินกาเนิดและการแพร่กระจายพันธุ์อยู่ แถบเอเชีย กระจายพันธุ์ต้ังแต่ทางตอน
เหนอื และทางตะวันออกเฉยี งเหนอื ของประเทศอนิ เดีย และ บรเิ วณเชิงเขาหมิ าลัยตอนใต้เร่อื ยไปจนถงึ หมู่เกาะ
สุมาตรา ชวาและบาหลี
ไก่เป็นสัตว์ปีกท่ีมนษุ ย์เล้ียงเป็นสัตว์เล้ียงมานานแล้ว มีการคัดเลือกพันธ์ุ ผสมพันธุ์ และปรับปรงุ พนั ธ์ุ
เพื่อให้ได้ลักษณะดีเด่นตามที่ต้องการ ซึ่งประเภทและพันธ์ุสัตว์ปีกอาจจะมีการจัดแบ่งกลุ่มไก่ออกตาม
วัตถุประสงค์ของการเล้ียงได้เป็น 3 พวก ได้แก่ ไก่ไข่ (Egg type) ไก่เน้ือ (Meat type) และไก่ทวิประสงค์
(Dual purpose) หรืออาจจะมีการจัดแบ่งกลุ่มไกอ่ อกตามถ่ินกาเนิดได้เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ ไก่เมดิเตอร์เรเนยี น
(Mediterranean class) ไก่เอเชีย (Asiatic class) ไก่อังกฤษ (English class) และไก่อเมริกัน (American
class)
32
1.1 การจัดแบ่งไก่ตามวัตถุประสงค์ของการเลี้ยง สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 จาพวก ได้แก่
1) ไก่เนื้อ (Meat type) เป็นไก่พันธ์ุท่ีเลี้ยงเพอื่ เอาเนอ้ื เป็นหลัก ได้แก่ พันธ์ุคอร์นชิ
นิวแฮมเชียร์ ไก่พน้ื เมืองไทย
2) ไก่ไข่ (Egg type) เปน็ ไก่พนั ธุ์ทีเ่ ลี้ยงเพ่อื เอาผลผลติ ไข่เป็นหลัก ซง่ึ ปจั จุบันมี เพยี ง
พนั ธ์ุเดียว ไดแ้ ก่ พันธุ์เลก็ ฮอรน์
3) ไก่ทวิประสงค์ หรือก่ึงเน้ือกึ่งไข่ (Dual purpose) เป็นไก่ที่ให้ไข่ดกพอสมควร
ในขณะเดียวกันเป็นไก่ที่มีลาตัวใหญ่ซ่ึงเมื่อปลดไขแล้วจะให้เน้ือได้ดีพอสมควรเช่นกัน ไก่ทวิประสงค์ ได้แก่
พันธโุ์ รดไอสแ์ ลนด์ บารพ์ ลมี ัทรอ๊ ค ฯลฯ
1.2 การจัดแบ่งไกต่ ามถ่นิ กาเนิด แบ่งได้เป็น 4 กลุ่ม ไดแ้ ก่
1) ไก่เมดิเตอร์เรเนียน (Mediterranean class) ไก่ในกลุ่มน้ีมีถิ่นกาเนิดแถบเมดิ
เตอรเ์ รเนียน เป็นไกท่ ม่ี ีขนาดลาตัวเล็กทสี่ ุด จัดอยใู่ นจาพวกไกไ่ ข่ ลักษณะเฉพาะของไก่ประเภทนี้ได้แก่ เปลอื ก
ไข่สีขาว ตุ้มหูสีขาว แข้งไม่มีขน นิสัยขี้ตื่นตกใจ ไม่มีนิสัยฟักไข่ ไก่ในกลุ่มเมดิเตอร์เรเนียนมีอยู่ด้วยกันหลาย
สายพันธุ์ แต่ปัจจุบันน้ีคงเหลือเพียง 3 พันธุ์เท่าน้ันท่ียังคงมีความสาคัญทางเศรษฐกิจ ได้แก่ พันธุ์เล็กฮอร์น
(Leghorn) พนั ธ์ุแอนโคนา (Ancona) และพันธุ์มินอร์กา (Minorca)
2) ไกเ่ อเชีย (Asiatic class) ไกใ่ นกลมุ่ น้ีมถี ิน่ กาเนิดทางเอเชยี เป็นไก่ที่มีขนาดลาตัว
ใหญม่ าก ทัง้ น้ีเพราะคนทางทางเอเชยี สว่ นใหญ่จะเลี้ยงไก่ไว้บรโิ ภคเน้ือมากกว่าบริโภคไข่ ลักษณะเฉพาะของไก่
กลมุ่ นไ้ี ดแ้ ก่ โครงร่างใหญ่ แขง้ มีขน ต้มุ หูสีแดง ไก่พันธแุ์ ทใ้ นกลุม่ เอเชียเร่มิ จะหมดความสาคัญในด้านการผลิต
เพ่ือการค้าแล้ว ยังคงเลี้ยงกันอยู่บ้างก็เป็นไปในลักษณะงานอดิเรก หรือเป็นส่วนประกอบของไร่นาสวนผสม
พันธุ์ไก่ทสี่ าคญั ในกลมุ่ เอเชยี นี้ ไดแ้ ก่ พันธุ์โคชิน (Cochin) พนั ธแุ์ ลงชาน (Langchan)
ต่อมาเม่ือมีความต้องการบริโภคเพม่ิ มากขึน้ ทง้ั เนื้อไก่และไข่ไก่ จงึ ได้ทาการผสมข้ามพันธร์ุ ะหวา่ งไก่ทัง้
2 กลุ่มน้ี โดยมีวัตถุประสงค์ในเบื้องต้นว่าจะทาการผลิตไกพ่ นั ธุ์ใหม่ ๆ ข้ึนมาเพอ่ื สามารถบรโิ ภคได้ท้ังเนื้อและ
ไข่ ท้งั นเ้ี นอื่ งจากว่าไก่เมดิเตอรเ์ รเนยี นนั้นใช้ไดเ้ ฉพาะด้านการผลิตไข่ ใช้บริโภคเนือ้ ไดไ้ มด่ นี ักเนอ่ื งจากมีขนาด
เล็ก ทาให้มีเน้ือน้อยมาก ส่วนไก่ในกลุ่มเอเชียน้ันถึงแม้ว่าจะให้เน้ือมากเพราะมีลาตัวใหญ่ แต่ก็ให้ไข่น้อย
เปอร์เซ็นตก์ ารฟักออกไมด่ ี ทาใหข้ ยายพนั ธ์ุได้ช้า นอกจากน้กี ารเจรญิ เติบโตยังชา้ มากอกี ด้วย ทาให้ตน้ ทุนการ
ผลิตเนอื้ สูงขน้ึ ยังผลิตไดไ้ มท่ ันกับความตอ้ งการในการบรโิ ภค การผสมข้ามพันธรุ์ ะหวา่ งไก่ 2 กล่มุ นสี้ ามารถทา
ไดห้ ลาย ๆ แห่งพร้อมกัน เมอื่ ผสมพนั ธใ์ุ หม่ขึน้ มาไดแ้ ลว้ กต็ ัง้ เปน็ ไกก่ ลมุ่ ใหม่ขนึ้ มาตามแหล่งกาเนิด หรือแหล่ง
ที่ทาการผสมพันธ์ุ ในท่ีน้ีจะกล่าวถึงเพียง 2 กลุ่มเท่าน้ันท่ียังคงมีความสาคัญมาจนกระท่ังปัจจุบัน ได้แก่
ไก่ อังกฤษ (English class) และไก่อเมริกนั (American class)
ระยะต้น ๆ ของการผสมพันธุ์ข้ามกลุ่ม จะได้ลูกผสมที่เป็นทั้งไก่ที่ให้ทั้งเน้ือและไข่ ต่อมาได้ทาการ
คัดเลอื กและปรับปรุงพันธุ์ใหเ้ กิดเป็นไก่สายพันธไ์ุ ข่ (Egg type) และสายพันธุ์เนือ้ (Meat type) อยา่ งไรก็ตาม
ในช่วงแรกไก่พันธ์ุใหม่ท่ีเลี้ยงไวเ้ พ่อื ผลิตไข่ยังให้นอ้ ยกวา่ ไก่เมดิเตอร์เรเนยี นแท้ ๆ แต่จะมีขนาดตัวโตขึน้ ทาให้
ไดเ้ น้อื มากข้ึน สว่ นไก่ที่ผสมพนั ธุเ์ พอื่ เป็นไกพ่ นั ธ์เุ นอ้ื สาหรบั ผลิตเน้อื นัน้ จะมขี นาดลาตัวใหญข่ ึน้ แต่กย็ ังเล็กกว่า
ไก่เอเชีย การให้เน้ือก็ยังน้อยกว่าแต่ก็มีข้อดีคือ ไก่สายพันธ์ุใหม่น้ีจะให้ไข่ดกขึ้น ทาให้การขยายพันธ์ุทาได้
33
รวดเรว็ ข้ึน และใชเ้ วลาเลยี้ งสน้ั ลง คอื มกี ารเจรญิ เตบิ โตเรว็ ข้ึนทาใหต้ น้ ทุนการผลติ ต่าลง
การคัดเลือกและการปรบั ปรุงพนั ธ์ุยงั คงทาตอ่ เน่ืองตลอดเวลา จนกระทั่งสามารถพฒั นาไก่ท่ี เป็นสาย
พันธ์ุไข่จนสามารถให้ไข่ดีเท่าเทียมกับไก่เมดิเตอร์เรเนียน สาหรับไก่ที่คัดให้เป็นพันธุ์เนื้อก็ได้รับการปรับปรุง
พันธ์ุต่อไปเรอ่ื ย ๆ จนการะท่ังมีการเจรญิ เติบโตรวดเร็วข้ึน ประสิทธิภาพการเปล่ียนอาหารดีข้ึน ให้ไข่มากขน้ึ
อตั ราการฟกั ออกดขี น้ึ จนทาให้ไกเ่ อเชยี หมดความสาคญั ในการผลติ เป็นการค้าลงไป
ไกล่ ูกผสมท่ีเกดิ ขนึ้ มาใหม่น้เี ป็นไก่ลูกผสมท่ีเกิดขึ้นจากการผสมข้ามของไก่ 2 กล่มุ แรก ดงั นนั้ ไก่พันธุ์ที่
เกดิ ใหม่จงึ ไม่มีลักษณะเฉพาะของกลมุ่ แตจ่ ะเกิดเป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละพันธ์ขุ นึ้ มา
3) ไก่องั กฤษ (English class) เปน็ ไก่พันธ์ใุ หม่ท่ีไดร้ บั การปรับปรุงพนั ธุใ์ นประเทศองั กฤษ ไก่
ในกลุ่มน้ีที่เคยมีชื่อเสียงในการผลิตเป็นการค้า ได้แก่ ออสตราลอป (Australop) คอร์นิช (Cornish) ซัสเซ็ก
(Sussex)
4) ไก่อเมริกัน (American class) เป็นไก่พันธุ์ใหม่ที่ได้รับการผสมและปรับปรุง พันธุ์ขึ้นใน
ประเทศอเมริกา ไก่ท่ีมีช่ือเสียงในกลุ่มน้ี ได้แก่ โรดไอส์แลน (Rhode Island) นิวแฮมเชียร์ (New Hamshire)
พลมี ทั ร๊อค (Plymouth Rock) วายยันดอท (Wyandotte) เจอรซ์ ไี่ จแอนท์ (Jersey Giant)
2. พนั ธุส์ ัตวป์ ีกที่นิยมเลย้ี งเปน็ สัตวเ์ ศรษฐกจิ
สัตว์ปีกที่เล้ียงเพื่อต้องการเนื้อสาหรับบริโภค ที่เลี้ยงเป็นการค้าในปัจจุบันมีมากมายหลายชนิดแต่
สัตว์ปีกให้เน้ือท่ีผู้บริโภคนิยมบริโภคและมีความสาคัญทางเศรษฐกิจของประเทศคือ ไก่เน้ือ และเป็ด เน้ือ ซ่ึง
สัตวป์ ีกเหล่านมี้ มี ากมายหลายพันธุ์ ท้ังสตั วป์ ีกพันธแ์ุ ท้และสตั ว์ปีกลกู ผสม ซงึ่ ในแตล่ ะพันธ์มุ ีข้อดีข้อดอ้ ยในการ
เลี้ยงและประสิทธิภาพการผลิตท่ีแตกต่างกัน ดังน้ันในการเลือกพันธ์ุใดมาเลี้ยง ผู้เล้ียงจาเป็นต้องพิจารณาถึง
คุณสมบตั หิ รือขอ้ ดขี ้อดอ้ ยของแตล่ ะพันธ์ุ และความตอ้ งการของตลาด และผู้บริโภคอีกดว้ ย
2.1 พนั ธ์ุไกเ่ น้ือ
ปัจจุบันพันธ์ุไก่เนื้อได้พัฒนาไปมากแล้ว ไม่เหมือนในอดีตที่นาไก่พ้ืนเมืองมาเลี้ยงเ ป็นไก่เน้ือ
พันธุ์ไก่เน้ือท่ีเลี้ยงในเมืองไทยแบ่งออกเป็น 2 พันธ์ุด้วยกัน คือ ไก่เนื้อพันธุ์แท้และไก่เน้ือพันธ์ุลูกผสม
นับเป็นปัจจัยที่สาคัญในการผลิตไก่เน้ือ เล้ียงไก่เน้ือจะต้องมีความรู้และความเข้าใจในลักษณะประจาพันธุ์
เพอื่ ทจี่ ะสามารถเลือกพนั ธุ์ไกเ่ นื้อมาเลยี้ งได้อยา่ งเหมาะสม
ไก่กระทง (Broilers) หมายถึง ไก่ที่เลี้ยงเพ่ือบริโภคเน้ือเป็นหลักและมีอายุการเล้ียงสั้น ปัจจุบันไก่
กระทงได้ถูกปรับปรุงพนั ธใ์ุ ห้มีการเจรญิ เติบโตเร็ว ให้เน้อื มาก อายุการเลย้ี งสน้ั ลง คือ สามารถนามา บริโภคได้
ตั้งแตอ่ ายุ 28-60 วนั
ไก่เนื้อ (Meat type chickens) หมายถึง ไก่ท่ีเลี้ยงขุนเพ่ือบริโภคเนื้อเป็นหลัก ไก่เน้ือเป็นคาที่ เรียก
รวมๆ ซึง่ จะประกอบดว้ ย ไก่กระทง ไก่ไขต่ วั ผู้ขนุ และไกพ่ นื้ เมืองขนุ ฯลฯ ดงั น้ัน ไกก่ ระทงจงึ หมายถงึ ไก่เนอ้ื
แตไ่ ก่เน้อื มไิ ด้หมายถงึ ไกก่ ระทงเสมอไป
34
2.2 ไกเ่ นอื้ พนั ธแุ์ ท้ (Meat type chickens)
ไก่เน้ือที่ได้รับการคัดเลือกและปรับปรุงพันธ์ุมาอย่างต่อเนื่องและมีลักษณะประจาพันธ์ุที่คงที่ โดย
ไก่เน้ือในรุ่นลูกหลานจะมีลักษณะเช่นเดียวกับรุ่นพ่อและแม่พันธุ์ ไก่เนื้อพันธุ์แท้ท่ีนิยมเลี้ยงในสมัยแรกของ
อุตสาหกรรมการเล้ียงไก่เน้ือท้ังในและต่างประเทศ ได้แก่ พันธ์ุพลีมัทร็อคขาว (White Plymouth Rock)
พันธ์คุ อร์นชิ (Cornish) พันธุ์ซสั เซก็ (Sussex) และพนั ธ์ุนวิ แฮมเชยี ร์ (New Hampshire)
1) ไก่พันธุ์ไวท์พลีมัทร็อค (White Plymouth Rock) มีขนสีขาวทั้งตัว หงอนจักร ผิวหนังมี
เหลือง ให้ไข่เปลือกสีน้าตาล นิยมเลี้ยงเป็นไก่เนื้อเพราะมีขนสีขาวเมื่อชาแหละแล้ว จะได้ซากไก่ที่ผิวสะอาด
กว่าไก่เนอื้ ทมี่ ขี นสอี น่ื ๆ สายพนั ธุด์ ัง้ เดิมเป็นพวกขนงอกช้าแต่ในปัจจุบนั ไดร้ บั การผสมคัดเลือกพนั ธุ์ใหม้ ีขนงอก
เรว็ ขนาดใหญ่ เตบิ โตเร็ว นยิ มใช้เป็นพนั ธ์ุเรม่ิ ต้นในการผสมข้ามเพ่ือผลิตแมพ่ นั ธไ์ุ กก่ ระทง
ภาพที่ 3.1 ไกพ่ นั ธไุ์ วทพ์ ลีมัทรอ็ ค (White Plymouth Rock)
2) ไก่พันธุ์คอร์นิช (Cornish) มีหงอนแบบหงอนถ่ัว ไข่เปลือกสีน้าตาลให้ไข่ปีละประมาณ
150 ฟอง ผิวหนังสีเหลือง ขาสั้น ลาตัวกว้าง อกกว้าง กล้ามเนื้อเต็ม จัดเป็นพวกไก่เน้ือ น้าหนักเม่ือโตเต็มที่
เพศผู้จะหนักประมาณ 4.4 กิโลกรัม เพศเมียหนักประมาณ 3.3 กิโลกรัม ให้ไข่ฟองเล็ก จะเริ่มให้ไข่เมื่ออายุ
ประมาณ 6.5-7 เดือน เปอร์เซ็นต์การฟักออกต่า ปัจจุบันใช้เป็นพนั ธุ์เร่ิมต้นในโปรแกรมการผสมพันธ์ุเพ่ือผลติ
ไกก่ ระทงเปน็ การคา้ เม่ือนาเอาไก่พนั ธ์ุคอร์นิชเพศผู้ผสมกับไก่พันธุ์บาร์พลีมัทรอ็ คเพศเมยี หรือไก่พนั ธน์ุ วิ แฮม
เชียร์หรือไก่พันธุ์ไวท์พลีมัทร็อค ไก่ลูกผสมเพศเมียที่ได้จะเป็นไก่ไข่ท่ีให้ไข่ฟองใหญ่ เปอร์เซ็นต์ฟักออกดี และ
คณุ ภาพเนอ้ื ดดี ว้ ย
ภาพที่ 3.2 ไก่พันธ์ุคอรน์ ิช (Cornish)
35
3) ไก่พันธ์ุนิวแฮมเชียร์ (Newhampshire) ขนมีสีน้าตาลอ่อน ผิวหนังสี เหลือง
หงอนจักร เป็นพันธุ์ท่ีให้ไข่ดกและให้เนื้อคุณภาพดี มักนิยมใช้เป็นพันธ์ุเร่ิมต้นในการผลิตไก่กระทง โดยใช้ไก่
พันธ์นุ วิ แฮมเชยี รเ์ พศเมยี ผสมกับไกเ่ พศผู้ของไกพ่ นั ธุ์อืน่ เนอื่ งจากเป็นไก่พันธ์ุทใ่ี ห้ไข่ดกและมีอัตราการฟักออก
สูง
ภาพท่ี 3.3 ไก่พันธน์ุ วิ แฮมเชียร์ (Newhampshire)
4) ไก่พันธุ์ซัสเซ็ก (Sussex) เป็นไก่พันธ์ุท่ีนิยมเล้ียงในประเทศอังกฤษ มีหลายสายพันธุ์
จัดเป็นไก่พันธ์ุเนื้อ ผิวหนังสีขาว เปลือกไข่สีน้าตาล ให้เน้ือคุณภาพดี ประชาชนในประเทศอังกฤษและบาง
ประเทศในทวีปยุโรปจะนิยมบริโภคไก่ที่มีผิวหนังสีขาวมากกว่าสีเหลือง ตัวผู้โตเต็มที่มีนา้ หนัก 4 กิโลกรัม ตัว
เมียมีน้าหนกั เฉลีย่ 3.2 กิโลกรมั
ภาพท่ี 3.4 ไก่พนั ธซ์ุ ัสเซก็ (Sussex)
2.3 ไกเ่ น้อื ลกู ผสม (Hybrid chicken) คือ ไกเ่ นือ้ ที่ไดร้ บั การปรับปรุงพนั ธใุ์ ห้มีประสทิ ธิภาพการผลิตท่ี
สูงขึ้นมากกว่าร่นุ พอ่ แม่พันธ์ุ ไก่เนื้อลูกผสมเกิดจากการนาเอาไกเ่ นื้อรุ่นพ่อพนั ธ์แุ ละแม่พนั ธ์แุ ท้ตั้งแต่สองพนั ธ์ุ
มาผสมรว่ มกนั ซ่งึ ลักษณะท่แี สดงออกของพนั ธุกรรมทไี่ ดใ้ นร่นุ ลูกน้ี อาจจะมีลักษณะที่เหมอื นหรอื แตกต่างจาก
รุ่นพอ่ แม่พนั ธ์ไุ ด้ แต่โดยปกตริ ุ่นลกู ผสมท่ีเกดิ ข้ึนจะไดล้ ักษณะที่ดจี ากพอ่ และแมพ่ ันธุร์ วมกัน รวมทง้ั มีลักษณะท่ี
36
แตกต่างโดด เดน่ กว่าร่นุ พอ่ แมพ่ นั ธ์ุ ลักษณะดงั กลา่ วนี้ เรียกว่า Hybrid vigor ปั จ จุ บั น ไ ก่
เนอื้ ทเ่ี ลี้ยงเพอ่ื การคา้ ในประเทศไทยเป็นไก่เนอ้ื ลกู ผสมทงั้ หมด ไก่เน้ือลกู ผสมที่มีขาย มีชือ่ ทางการค้า
มากมายขึ้นกับบริษัทผู้ผลิตไก่แต่ละพันธุ์ เช่น พันธุ์อาร์เบอร์เอเคอร์ (Arbor Acres) พันธุ์รอส (Ross) พันธ์ุ
คอบบ์ (Cobb) และพนั ธ์ฮุ ับบารด์ (Hubbard) เป็นตน้
ภาพท่ี 3.5 ไก่เนอื้ ลูกผสมพนั ธ์รุ อส (Ross) ภาพที่ 3.6 ไกเ่ นื้อลูกผสมพนั ธค์ุ อบบ์ (Cobb)
2.4 ไกไ่ ขพ่ ันธแุ์ ท้ (Egg type chickens)
1) ไก่พันธ์ุเล็กฮอร์นขาวหงอนจักร (Single Comb White Leghorn) เป็นหน่ึงในหลาย ๆ
สายพนั ธุ์ของไกเ่ ล็กฮอร์น จัดเปน็ ไก่ที่เล้ียงเพอ่ื ใหไ้ ข่เป็นหลกั เป็นพันธุท์ ีม่ ขี นาดเล็ก ขนสขี าว ใหไ้ ขด่ ก ให้ไขเ่ รว็
เริ่มใหไ้ ข่เมอ่ื อายุ 4.5-5 เดือน ใหไ้ ข่ปีละประมาณ 300 ฟอง ไขเ่ ปลือกสี ขาว ปัจจบุ ันนยิ มเลยี้ งไกพ่ นั ธ์ุนสี้ าหรับ
ผลิตไข่เป็นการค้า โดยใช้ในโปรแกรมการผสมพันธ์ุเพ่ือผลิตไก่ ไข่ลูกผสมทางการค้า น้าหนักตัวเมื่อโตเต็มที่
เพศผู้หนัก 2.2-2.9 กิโลกรมั เพศเมยี หนัก 1.8-2.2 กิโลกรมั บางสายพนั ธุไ์ ดร้ บั การปรับปรงุ พันธมุ์ าจนสามารถ
แยกเพศลกู ไกแ่ รกเกิดได้โดยอาศยั การงอกของขน (Feathered sexing)
ภาพที่ 3.7 ไกพ่ ันธุเ์ ล็กฮอรน์ ขาวหงอนจกั ร
2.2.4 ไก่พนั ธ์ุกงึ่ เนอ้ื กึ่งไข่ (Dual purpose chickens)
เป็นพันธุ์ท่ีมีขนาดลาตัวใหญ่ โตเร็ว ให้เนื้อมากพอสมควร ในขณะเดียวกันก็ให้ไข่ดกพอสมควร
ไกพ่ นั ธ์ุก่งึ เน้ือกึ่งไขท่ ี่นยิ มใชใ้ นโปรแกรมการปรับปรงุ พันธุ์เพือ่ ผลติ ไกล่ ูกผสมทางการค้า ไดแ้ ก่
37
1) ไก่พันธ์ุโรดไอซ์แลนด์เรด (Rhode Island Red) ขนมีสีน้าตาลแกมแดง ผิวหนังสีเหลือง
หงอนจักร ให้ไข่เปลือกสีน้าตาล เริ่มให้ไข่เมื่ออายุ 5.5-6 เดือน ให้ไข่ปีละประมาณ 280-300 ฟอง รูปร่าง
ค่อนข้างยาวและลึก น้าหนักตัวเม่ือโตเต็มที่เพศผู้จะหนัก ประมาณ 3.1-4.0 กิโลกรัม เพศเมียหนักประมาณ
2.2-4.0 กิโลกรัม ลาตัวใหญ่ และให้ไข่ดกพอสมควร ในอดีตมักนิยม ใช้เป็นไก่ไข่ แต่ปัจจุบันนิยมเลี้ยงเป็นไก่
พันธุ์เริ่มต้นในการผลิตไกไ่ ข่ลูกผสมทางการค้าเพ่ือให้ได้ ลูกผสมที่สามารถคัดเพศได้เมื่อแรกเกิด ซ่ึงเป็นผลมา
จากยนี ที่ควบคมุ ลกั ษณะสขี นอยู่บนโครโมโซม เพศ (Sex-linked) โดยใช้ไก่พันธุ์โรดไอซ์แลนดเ์ รดเพศผผู้ สมกับ
ไกพ่ นั ธบุ์ าร์พลมี ทั รอ็ คเพศเมยี ลูกท่ีได้จะสามารถคัดเพศได้เมือ่ อายุได้ 1 วนั โดยดูความแตกต่างของสีขน ลกู ไก่
เพศผู้จะมจี ดุ สีขาวหรือสี เหลือง เมอื่ โตขนึ้ กจ็ ะมีขนลายบาร์เหมอื นแม่พนั ธุ์ ในขณะทล่ี ูกไกเ่ พศเมียจะมีขนสีดา
ทง้ั ตวั เมือ่ โตขน้ึ ก็จะมขี นสีดา
ภาพท่ี 3.8 ไก่พนั ธ์โุ รดไอซแ์ ลนด์เรด
2) ไก่พันธุ์บารพ์ ลีมทั ร็อค (Barred Plymouth Rock) ขนมลี ายสลับสขี าว และสดี าเป็นลาย
ขวาง หงอนจักร ผิวหนังมีสีเหลือง เร่ิมให้ไข่เมื่ออายุ 5.5 - 6 เดือน ให้ไข่เปลือกสีน้าตาล เป็นไก่ท่ีได้รับความ
นิยมมากในอดีตเน่อื งจากมลี าตัวใหญ่ และให้ไข่พอสมควร ปัจจุบันนิยมใช้ไก่พนั ธบ์ุ ารพ์ ลีมัทร็อคเพศเมียผสม
กับไก่พนั ธุโ์ รดไอซ์แลนดเ์ รดเพศผู้ ลกู ผสมที่ได้จะสามารถคดั เพศเม่อื แรกเกิดไดแ้ ละใหไ้ ขม่ ีเปลือกสนี า้ ตาล
ภาพท่ี 3.9 ไกพ่ ันธ์ุบารพ์ ลมี ัทรอ็ ค
38
2.5 ไก่พ้นื เมอื งไทย (Thai native chickens) การเรียกช่ือพันธุ์ไกพ่ นื้ เมอื งของไทยมกั จะเรยี กชอ่ื ตาม
ลกั ษณะสขี นและลกั ษณะเดน่ เมอ่ื มองจากภายนอกเพ่ือใหเ้ ข้าใจและจดจาไดง้ า่ ย เช่น ไกเ่ หลืองหางขาว ไก่
ประดู่หางดา เป็นต้น
1) ไก่เหลืองหางขาว ตวั ผมู้ รี ูปรา่ งสงู คอยาว ไหล่กว้าง อกเป็นเตม็ สมส่วน จะงอยปากใหญ่
ปลายงองุม้ เลก็ นอ้ ยสเี หลอื ง นยั นต์ าสเี หลืองออ่ น หงอนเลก็ เปน็ หงอนถวั่ หรอื หงอน หนิ สีแดงสดใส ขนพื้นลาตวั
สีดา ขนสร้อยคอ สร้อยปีก สร้อยหลังและระย้าสีเหลืองสดใส ขนหางพัด มีสีดา ขนกระรวยมีสีขาวตลอดทั้ง
เส้น ขนปกี ท่อนในสดี าส่วนทอ่ นนอกมีสีขาวแซมขนสร้อยปีกสี เหมือนสร้อยหลงั และสร้อยคอ เกลด็ แข้ง เกล็ด
นว้ิ และเดือยสขี าวอมเหลือง
ตัวเมียมีลักษณะ เด่นที่สาคัญคือ ขนพื้นตัวเป็นสีดาตลอดหรือบางตัวอาจมีจุดกระขาวอยู่
5 หย่อมหรือจุด คือ หัวหนึ่ง หัวปีกสอง ข้อขาอีกสองรวมเป็นหา้ หย่อมเหมอื นตัวผู้ จะงอยปาก แข้ง ปุ่มเดือย
เล็บ และเกล็ด เป็น สีขาวอมเหลืองตลอด แบบสีงาช้าง จะงอยปากมีร่องน้า ลักษณะอ่ืนๆ จะเหมือนกับไก่
เหลอื งหางขาวตวั ผู้
ภาพที่ 3.10 ไก่เหลืองหางขาว
2) ไก่ประดู่หางดา ตัวผู้มีรูปร่างหนาสมส่วน ไหล่กว้าง ลาตัวยาวล่าสัน หงอนเป็นหงอนถ่ัว
หรือหงอนหิน จะงอยปากใหญ่ ปลายงองุ้มเล็กน้อย สีน้าตาลแก่หรือสีดา ดวงตาสีเหลืองไพลแก่ เกล็ดแข้ง
เกล็ดนิ้วและเดือยมีสีน้าตาลแก่หรือสีดาเหมือนกับสีปาก ขนพ้ืนลาตัวสีดา ขนสร้อยคอ สร้อยปีก สร้อยหลัง
และขนระยา้ เป็นสปี ระดู่ ขนหางพัดและขนหางกระรวยสีดาสนิท ตวั เมยี ขนพน้ื ตัวสดี า ขนปกี สดี ายาวถงึ ก้นเปน็
ปกี ตอนเดียว ขนคอจะมสี ปี ระดู่แซมปลายเลก็ นอ้ ย ขนสน้ั ละเอียด หางยาวดาสนทิ จะงอยปากม่นั คง ปาก แขง้
เล็บ ปุ่มเดือยจะมีสีน้าตาล ตาสีไพล ถ้าประดู่แสมดา ปาก แข้ง เล็บ ปุ่มเดือย สีเขียวหยก ตาลายดา ลักษณะ
อ่ืน ๆ เหมือนตัวผู้
39
ภาพท่ี 3.11 ไก่ประดหู่ างดา
3) ไก่เขียวแมลงภู่ ตัวผู้มีรูปร่างเพรียวยาวสูง ลาตัวยาว จะงอยปากใหญ่ ปลาย ปากงองุ้ม
เล็กน้อย ปากสีเขียวอมดา ดวงตาสีเขียวอมดา หงอนเป็นหงอนถ่ัวหรือหงอนหิน ขนพ้ืน ลาตัวมีสีดาตลอด
ขนหางพัด ขนหางกระรวยมีสีดาสนิท ขนสร้อยคอ สร้อยปีก สร้อยหลัง และขนระย้ามีสีเขียวอมดาแบบ
สีแมลงภู่ (เหลือบเขียว) เกล็ดแข้ง เกล็ดน้ิว และเดือยสีเขียวอมดาเหมือนกับ สีปาก ตัวเมียมีขนพื้นลาตัว
ขนหาง ทั้งหมดเป็นสีด า ขนคอ ขนหลัง ปลายขนเป็นสีเขียวอมดาเล็กน้อยตามสีตัวผู้ จะเป็นเขียวอะไรก็ให้
สังเกตที่ปลายขนสร้อยคอจะออกสีเขียวเล็กน้อย ปาก แข้ง เล็บ เดือย ตา สีเขียวอมดา ยกเว้น ไก่เขียวนิล
สาริกา และเขียวแมลงทับ ปาก แข้ง เล็บ เดือย จะมีสี ขาว ตาสีขาวปลาหมอตาย
ภาพท่ี 3.12 ไก่เขยี วแมลงภู่
4) ไก่ประดู่แดง ตัวผมู้ ีรูปร่างสงู โปรง่ ไหล่กวา้ ง หลังยาว ปีกใหญ่และยาว มสี ีอ่อนกว่าประดู่
เม็ดมะขามไหม้ ปลายจะงอยปากงองุม้ เล็กนอ้ ยสีขาวอมเหลือง หงอนเป็นแบบหงอนถ่ัวหรือหงอนหิน ขนพืน้
สร้อย ปกี หาง มลี กั ษณะใกล้เคียงกับไก่นกกรดหางดา แต่ตา่ งกันท่ไี ก่นกกรดหางดามปี าก แข้ง เดือย เลบ็ มีสี
ขาว เกลด็ น้ิว เกลด็ แข้งและเดือย สีขาวอมเหลืองเหมอื นกบั กบั สปี าก
40
ภาพที่ 3.13 ไก่ประดแู่ ดง
5) ไก่เขียวเลาหางขาว เป็นไก่ทรงปลีกล้วย ไหล่หนาใหญ่ ลาตัวกลมยาว ปลาย ปากงองุ้ม
เล็กน้อย ปากสีขาวอมเหลือง หรือขาวงาช้าง นัยน์ตาสีขาวอมเหลือง หงอนเป็นหงอนถั่ว หรือหงอนหนิ สีแดง
สดใส ตัวผู้มีขนพ้ืนพื้นตัวสีดาและขนปีกสีดา ขนหางกระรวยคู่กลางสีขาว ส่วนขนหางคู่อ่ืน ๆ สีขาวปลายดา
ขนสร้อยคอ สรอ้ ยปีก และสร้อยหลงั มีสเี ขียวเลา คอื บรเิ วณโคนขน สรอ้ ยมสี ขี าว สว่ นปลายมสี ีเขียว บางชนิด
ปลายขนสร้อยมีขลิบสีทองหรือมีขนขาวข้ึนแซม หรือปลาย ขนสร้อยมีจุด เกล็ดน้ิว เกล็ดแข้งและเดือย สีขาว
อมเหลอื ง เหมอื นกบั กับสีปาก ตวั เมียมีลกั ษณะเด่น ประจาพันธท์ุ ี่สาคญั ไดแ้ ก่ ขนพนื้ ตัวสีดา ขนปีกสดี ายาวถึง
กน้ เป็นปีกตอนเดยี ว ขนคอจะสนั้ ละเอียด หางยาวดาสนทิ ปาก แข้ง และเลบ็ มสี นี า้ ตาลอมเหลือง
ภาพที่ 3.14 ไก่เขยี วเลาหางขาว
6) ไกน่ กแดง เป็นไกท่ รงปลีกล้วย ลาตัวกลม ไหล่หนา และใหญ่ จะงอยปากใหญ่สเี หลืองอม
แดง ขอบตา 2 ช้นั ดวงตาแจ่มใส สแี ดง หงอนเป็นแบบหงอนถั่วหรือหงอนหนิ 3 แฉก ตวั ผู้มีขนพนื้ ลาตัว หน้า
คอ หน้าท้อง ใต้ปีกสีแดงตลอด ขนสร้อยคอ สร้อยปีก และสร้อยหลังมี ก้านขนสีแดง ขนหางพัดและขนหาง
กระรวย มีกา้ นขนสีแดง เกล็ดแข้ง เกล็ดน้ิว และเดือยมีสเี หลืองอมแดง ตัวเมียมขี นบริเวณลาตวั มีสีแดงเหมือน
ตัวผ้เู พียงแต่สไี มแ่ ดงเข้มเทา่ ปาก แขง้ เลบ็ สีเหลอื งอมแดงเหมือนตวั ผู้
41
ภาพท่ี 3.15 ไก่นกแดง
7) ไก่ขาวหรือไก่ชี เป็นไก่ขนสีขาวปลอดทั้งตัว เข้าใจว่าเกิดจากการกลายพันธ์ุจากไก่พ้ืน
เมืองไทยเลาหางขาว เมื่อนาพอ่ พนั ธุ์ขนสขี าวผสมกบั แม่พนั ธขุ์ นสีขาว ลูกทไี่ ดข้ นสีขาวสวยงาม จะงอยปากใหญ่
ปลายงองุ้มเล็กน้อย สีขาวอมเหลือง นัยน์ตาสีดารอบตาสีเหลือง หงอนเป็นแบบหงอนถ่ัวหรือหงอนหิน สีแดง
สดใส ขนพื้นลาตัว ขนสร้อยคอ สร้อยปีก และสร้อยหลัง ขนหาง พัดและขนหางกระรวยสีขาวปลอด เกล็ดน้ิว
เกล็ดแขง้ และเดือยมสี ขี าวอมเหลืองรบั กับสีปาก
ภาพที่ 3.16 ไก่ขาวหรือไกช่ ี
8) ไก่เบญจรงค์ เป็นไก่สูงใหญ่สง่างาม ไหล่กว้าง อกกว้าง จะงอยปากใหญ่ ปลายปากงุ้ม
เล็กน้อยมสี ขี าวอมเหลอื ง หงอนเล็กเปน็ แบบหงอนถวั่ หรอื หงอนหนิ สแี ดงสด นยั นต์ าสดี า ตารอบนอกสีเหลือง
ขนพ้ืนลาตัวลายตลอด อาจเป็นลายขาว ดา เหลือง แดง เขียว ขนปีก ขนหางพัดลายเหมือนขนพ้ืนตัว ขนหาง
กระรวยสีขาวปลอด ขนสร้อยคอ สร้อยปีก สร้อยหลังมีสีแดง สลับขาว เกล็ดนิ้ว เกล็ดแข้ง และเดือยสีขาวอม
เหลอื งเชน่ เดยี วกบั ปาก
42
ภาพท่ี 3.17 ไก่เบญจรงค์
9) ไก่ฟ้าหลวง เปน็ ไก่พื้นเมืองในท้องถน่ิ ท่ีชาวเขาในเขตอาเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย
เลี้ยงกันในหมู่บ้านต่าง ๆ ในเขตที่สูงในอาเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ตัวผู้มีรูปร่างอ้วนทรงส่ีเหล่ียม
จะงอยปากสัน้ แข็งแรง มสี ดี า หงอนจกั ร หงอนและตุ้มหสู แี ดงคลา้ เกือบดา นัยน์ตาสดี า ตวั ผมู้ ขี นพน้ื ลาตวั เป็น
สดี า มีขนสรอ้ ยคอ สร้อยหลัง สรอ้ ยปกี และขนระยา้ สี เหลืองเข้มหรือน้าตาลแดง ขนปกคลุมลาตวั และหางมีสี
ดาสนิท ผวิ หนังมีสีดา แข้ง น้วิ และเลบ็ สีดา ตัวเมยี มีขนพนื้ ลาตัวและขนหางเป็นสีดา มีขนสร้อยคอสเี หลืองเข้ม
หรือน้าตาลแดง หงอนจกั ร หงอน ขอบตา ตุ้มหูสแี ดงออกดา ปาก แขง้ นว้ิ และเล็บสีดา ผวิ หนงั มสี ดี า
ภาพท่ี 3.18 ไก่ฟา้ หลวง
10) ไก่ช้ีฟ้า เปน็ ไก่พันธุ์พนื้ เมอื งในทอ้ งถ่นิ ท่ีชาวไทยภูเขาในเขต อาเภอแมฟ่ ้าหลวง อาเภอ
เมือง อาเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย เล้ียงกันในหมู่บ้านต่าง ๆ ในเขตท่ีสูง ตัวผู้มีรูปร่างอ้วน ทรงสี่เหลี่ยม
เปน็ ลักษณะของไกเ่ นอื้ จะงอยปากสนั้ แข็งแรงสีดา หงอนจักร หงอนและ ตมุ้ หสู ีแดงอมดา นยั น์ตาสีดา ตัวผู้มี
ขนพ้นื ลาตวั สีดาอมเทา ขนบรเิ วณหนา้ อกมขี อบสีเหลืองอ่อน มีขนสร้อยคอ สร้อยหลงั สรอ้ ยปีก และขนระย้า
สีเหลืองอ่อน ขนหางพัดและขนหางกระรวยมีสีดา ผิวหนังและเน้ือมีสีดา แข้ง นิ้วและเล็บสีดา ตัวเมียมีขนพนื้
ลาตัวและขนหางสดี า มขี นสรอ้ ยคอสีเหลืองอ่อน หงอนจกั ร หงอน ขอบตา หู และเหนยี งสแี ดงอมดา ปาก แขง้
นว้ิ และเลบ็ สดี า ผวิ หนงั และเนือ้ มสี ีดา
43
ภาพที่ 3.19 ไกช่ ฟ้ี ้า
11) ไก่คอล่อน เป็นไก่พื้นเมืองทางภาคใต้ พบเลี้ยงกันมากใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ คือ
ยะลา ปตั ตานี และนราธวิ าส เน้ือมีรสชาติอร่อย ไก่คอลอ่ นพทั ลุงเปน็ ไก่ลกู ผสมระหว่างไก่คอล่อนของฝร่ังเศส
กับไก่ชนของจังหวัดพทั ลุง ไก่คอล่อนของฝร่ังเศสเป็นไก่คอล่อนที่นามาเล้ียงในอินโดจีน และเมื่อสงครามโลก
ครั้งท่ี 2 ทหารญี่ปุ่นได้นาเข้ามาในประเทศไทยเป็นอาหารของทหารทาให้ไก่คอล่อนแพร่หลายในพนื้ ที่จังหวัด
พัทลุง เปน็ ไก่ทมี่ ลี าตวั ใหญ่ ไหล่กวา้ ง ลาตัวยาวล่าสนั จะงอยปากใหญส่ เี หลือง ปลายงองมุ้ เล็กนอ้ ย หงอนเปน็
แบบหงอนจักรสีแดงสดใส ขนลาตัวสีเหลือง อ่อนถึงสีเหลืองทองทั้งเพศผู้และเพศเมีย บริเวณกระเพาะพัก
จนถงึ หัวไมม่ ขี น จงึ เรยี กวา่ “คอล่อน” เกลด็ แขง้ นว้ิ เทา้ และเดือยสีเหลอื ง
ภาพท่ี 3.20 ไกค่ อล่อน
2.6 เป็ด (Ducks) เป็ดทเ่ี ลีย้ งเป็นการคา้ ในปัจจุบันท้ังเป็ดเนื้อและเป็ดไขพ่ นั ธ์ุต่าง ๆ มีหลกั ฐานยืนยัน
ว่าได้รับการปรับปรุงพันธ์ุมาจากเป็ดมอลลาร์ด (Mallard Anas platyrhyncho) ท้ังส้ิน เช่น พันธ์ุกากีแคม
เบลล์ (Khaki Campbell) พันธ์ุรูแอง (Rouen) พันธุ์แบล็คอีสอินเดีย (Black East India) พันธุ์คายูกา
(Cayuga) ยกเว้นเปด็ เทศ (Muscovy ; Cairina moschata) เท่านัน้ เป็ดทีเ่ ล้ียงเป็นการคา้ ในปจั จบุ นั แบ่งออก
ได้ 2 ประเภทตามวตั ถปุ ระสงคก์ ารเลี้ยง ไดแ้ ก่ เป็ดไข่ (Egg-type duck) และเป็ดเนอ้ื (Meat-type duck)
44
1) เปด็ ไข่ (Egg-type duck) เปด็ พันธ์ไุ ข่ทน่ี ิยมเลยี้ งกนั ในปัจจุบันมี ได้แก่
(1) พันธ์ุกากีแคมเบลล์ (Khaki Campbell) เป็ดพันธ์ุน้ีพัฒนาพันธ์ุโดย Adele Campbell
ในประเทศอังกฤษตั้งแต่ปลายศตวรรษท่ี 18 จนได้เป็นเป็ดพันธ์ุที่ให้ไข่ดกท่ีสุดในโลกพันธุ์หนึ่ง โดยให้ไข่
ประมาณ 300 ฟอง/ปี เป็ดกากีแคมเบลล์มีขนสนี ้าตาล แตข่ นทหี่ ลังและปีกมีสสี ลับออ่ นกว่า ปากสดี าคอ่ นข้าง
ไปทางเขียว จะงอยปากต่า ตาสีน้าตาลเข้ม คอส่วนบนสีน้าตาล แต่ส่วนล่างเป็นสีกากี ขาและเท้ามีเดียวกับ
สีขนแตเ่ ขม้ กว่าเล็กนอ้ ย ตัวเมยี เมื่อโตเตม็ ทห่ี นักประมาณ 2.0-2.5 กิโลกรัม เรม่ิ ไข่เมอ่ื อายุประมาณ 4½ เดอื น
ตัวผู้จะมีขนบนหัว คอ ไหล่ และปลายปีกสีเขียว ขนปกคลุมลาตัวสีกากีและน้าตาล ขาและเท้าสีกากีเข้ม
เม่ือโตเต็มทจี่ ะมนี า้ หนักประมาณ 2.5-2.7 กิโลกรมั
ภาพท่ี 3.21 เป็ดพนั ธ์กุ ากีแคมเบลล์
(2) พันธุ์อินเดียนรันเนอร์ (Indian Runner) เป็ดพันธ์ุนี้พบครั้งแรกในหมูเกาะของประเทศ
อินโดนีเซีย ชวา และบาหลี มีขนาดเล็ก ตัวผู้โตเต็มเมื่อโตเต็มท่ีมีจะนา้ หนกั ประมาณ 1.7-2.5 กิโลกรัมตัวเมยี
มีน้าหนักประมาณ 1.5-2.0 กิโลกรัม เป็ดพันธ์ุนี้มีอยู่ 3 สีคือ สีขาว สีเทา และสีลาย เป็ดพันธ์ุนี้มีลักษณะเดน่
ประจ้าพันธท์ุ ี่แปลกกว่าเป็ดพนั ธุ์อื่นๆ คือ ขณะยืนคอยืดต้ังตรง ลาตัวเกือบต้ังฉากกับพ้ืนคล้ายกับนกเพนกวิน
ไม่ค่อยบินแต่จะเคลื่อนที่โดยการเดินและว่ิงมากกว่า ปากสีเหลือง แข้งและเท้าสีส้ม ตัวเมียเริ่มให้ไข่เม่ืออายุ
ประมาณ 4½ เดอื น ให้ไขฟ่ องโตและไขท่ น ใหไ้ ข่ประมาณ 150-200 ฟอง/ปี
ภาพท่ี 3.22 เป็ดพนั ธ์ุอินเดยี นรันเนอร์
45
(3) พันธุ์พื้นเมือง (Native ducks) เป็ดที่นิยมเล้ียงกันในประเทศไทยมี 2 สาย พันธุ์ ได้แก่
ก. เป็ดนครปฐม เลี้ยงกันมากในเขตจังหวัดนครปฐม เพชรบุรี สุพรรณบุรี และในพ้ืนที่ลุ่มใน
ภาคกลางซง่ึ เป็นเขตน้าจดื ตัวเมยี มขี นสีลายกาบอ้อย ปากสีเทา เทา้ สี สม้ ตวั ผจู้ ะมสี ีเขยี วแกต่ ั้งแต่คอไปถึงหัว
รอบคอมีวงรอบสีขาว อกสีแดง ลาตัวสีเทา ปากสีเทา และ เท้าสีส้ม ตัวผู้เมื่อโตเต็มที่จะมีหนักประมาณ
3.0-3.5 กิโลกรมั ตัวเมยี มนี า้ หนักประมาณ 2.5-3.0 กิโลกรัม เรม่ิ ใหไ้ ขเ่ มอ่ื อายุประมาณ 6 เดือน
ภาพท่ี 3.23 เป็ดพนั ธ์ุนครปฐม
ข. เป็ดปากนา้ เลี้ยงกันมากในเขตจังหวดั สมทุ รปราการ สมุทรสาคร ฉะเชิงเทรา และชลบุรี
ตลอดจนจังหวดั ทอี่ ยู่ชายฝั่งทะเลอนื่ ๆ เปน็ เปด็ พันธุ์เลก็ ตวั เมียมีปาก เทา้ และขนปกคลมุ ลาตวั สีดา อกสีขาว
ส่วนตัวผู้จะมีขนบนหัวและคอสีเขียวเป็นเหลือบเงา มีลาตัวขนาด เล็กกว่าเป็ดนครปฐม ให้ไข่ฟองเล็กกว่า
เรมิ่ ใหไ้ ขเ่ มอ่ื อายุประมาณ 5-6 เดือน ตัวผู้ของเปด็ พันธุ์พื้นเมืองนิยมนาไปเลี้ยงเปน็ เปด็ เนื้อ ปัจจบุ ันเป็ดไข่พันธ์ุ
พื้นเมืองหายากมาก เนื่องจากมีการผสมพันธ์ุข้ามพันธ์ุระหว่างพันธุ์กากีแคมเบลล์กับพันธุ์พ้ืนเมืองมาเป็น
ระยะเวลายาวนาน จนกลายเป็นเปด็ พนั ธ์ผุ สม
ภาพที่ 3.23 เปด็ พันธ์ุปากน้า
46
(4) พันธุ์ลูกผสมกากีแคมเบลล์กับพ้ืนเมือง (Kaki x Native duck) นิยมเลี้ยงกันมากกว่า
พันธุ์แท้ เนื่องจากเล้ยี งง่าย ทนทานตอ่ โรคและสภาพแวดลอ้ ม ใหเ้ นอ้ื มากและให้ไข่ดก ใหไ้ ขป่ ระมาณประมาณ
260 ฟอง/ปี จะเร่มิ ใหไ้ ข่เม่อื อายปุ ระมาณ 5-6 เดือน
ภาพที่ 3.23 เป็ดพันธ์ุลกู ผสมกากแี คมเบลล์กับพนื้ เมือง
2) เปด็ เนอื้ (Meat-type duck) เป็ดเนอื้ ท่นี ิยมเลี้ยงในประเทศไทยมดี ังนี้ คือ
(1) พันธ์ุปักกิ่ง (Pekin duck) มีต้นกาเนิดมาจากประเทศจีน รูปร่างใหญ่ ลาตัวกว้างลึก
และหนา ขนปกคลุมลาตัวมีสีขาวล้วน ปากสีเหลืองส้ม แข้งและเท้าสีแดงส้ม ผิวหนังสีเหลือง เป็นเป็ดที่เล้ียง
ง่าย ไม่มีนิสัยฟักไข่ ให้ไข่ประมาณ 160 ฟอง/ปี เปลือกไข่สีขาว เม่ือโตเต็มท่ีตัวผู้จะมีน้าหนักประมาณ
4 กโิ ลกรมั ตัวเมยี จะมนี า้ หนักประมาณ 3.5 กิโลกรมั จะเจรญิ เตบิ โตได้ดีเม่ือเล้ียงภายในโรงเรือนท่กี ารจัดการ
ดี นอกจากให้เนือ้ แล้วขนเป็ดปักก่ิงยงั เป็นทต่ี อ้ งการของอตุ สาหกรรมผลติ ลูกขนไก่ และใช้ทาฟกู ท่ีนอนไดด้ ้วย
ภาพท่ี 3.23 เปด็ พันธ์ุปกั ก่งิ
(2) เป็ดเทศ (Muscovy) พบคร้งั แรกในทวีปอเมริกาใต้ เป็นเปด็ อีกพันธ์ุหน่ึงท่ีใหเ้ น้ือมากแต่
ให้ไข่น้อยและโตค่อนข้างช้า ตัวเมียมีนิสัยชอบฟักไข่และเลี้ยงลูกเก่ง เมื่อโตเต็มท่ีตัวผู้จะมีน้าหนักประมาณ
4-4.5 กิโลกรัม ตัวเมียจะมีน้าหนักประมาณ 3.0-3.5 กิโลกรัม เนื่องจากเป็นเป็ดท่ีโตช้าและตัวผู้กับตัวเมียมี
น้าหนกั แตกตา่ งกันมากจงึ ไมค่ ่อยมผี นู้ ยิ มเลย้ี งเปน็ การค้า อยา่ งไรก็ตามเมื่อนามาผสมพันธก์ุ ับเปด็ พนั ธุ์อ่ืนจะให้
ลูกเป็นหมันแต่มีอัตราการเจริญเติบโตดีขึ้นและความแตกต่างของน้าหนักตัวระหว่างเพศผู้และเพศเมียจะ
นอ้ ยลง เชน่ เปด็ พนั ธ์ุปั๊วฉ่าย (Mule duck)
47
เป็ดเทศที่พบในประเทศไทยมี 2 สี ได้แก่ ชนิดที่มีสีขาวและชนิดที่มีสีดา ท้ัง 2 ชนิด ที่บริเวณใบหน้า
และเหนอื จมกู มหี นังย่นสแี ดง เปด็ เทศชนดิ ที่มสี ขี าวจะมีขนสีขาว ผวิ หนงั สีขาวแขง้ สเี หลอื งสม้ ออ่ น ปากมสี เี น้ือ
สว่ นชนดิ ทม่ี สี ีดาจะมีขนท่หี น้าอก ลาตวั และหลังสดี าประขาว ปากสชี มพู แขง้ สีเหลืองหรือตะก่ัวเขม้
ภาพที่ 3.24 เป็ดเทศ (Muscovy)
(3) พนั ธปุ์ ว๊ั ฉา่ ย (Mule duck) เป็นเปด็ พันธผุ์ สมระหว่างเป็ดเทศกบั เปด็ ธรรมดา ลูกเปด็ ทีไ่ ด้
จะเป็นหมันทั้งเพศผู้และเพศเมีย ลักษณะเด่นของเป็ดป๊ัวฉ่าย ได้แก่ มีโครงร่างใหญ่ เลี้ยงง่าย โตเร็ว ไม่ร้อง
เสียงดัง ทนทานต่อโรคและสภาพแวดล้อม เนื้อรสชาติดีกว่าเป็ดธรรมดา เนื้อแน่น มีไขมันต่า ชาวจีนนิยม
บรโิ ภคมานานหลายร้อยปีแลว้ ใช้เวลาประมาณ 3.5-4 เดือน ตัวผจู้ ะมีนา้ หนกั ประมาณ 3-3.5 กิโลกรมั สว่ นตัว
เมยี จะมนี า้ หนักประมาณ 2.5-3 กโิ ลกรัม
ภาพท่ี 3.25 เปด็ ป๊ัวฉ่าย
(4) พันธ์ุลูกผสมเพื่อการค้า (Hybrid breed) การเลี้ยงเป็ดเนื้อเพื่อการค้า มีการนามา
เผยแพร่และส่งเสริมโดยบริษัทเอกชน มีการพัฒนาระบบการเลี้ยงให้ทันสมัยเช่นเดียวกับการเล้ียงไก่กระทง
มเี ลี้ยงกนั อยู่หลายพันธใ์ุ นขณะน้ี เชน่ พันธุ์เชอร่ีวอลเลย์ ซงึ่ มีการพฒั นาพนั ธม์ุ าจากเปด็ พันธ์ปุ ักก่ิง
48
ภาพที่ 3.26 เป็ดเชอรว่ี อลเล่ย์
(5) เป็ดเทศพันธ์ุกบินทร์บุรี เป็นเป็ดเทศพันธุ์เนื้อท่ีกรมปศุสัตว์ได้วิจัยพัฒนาและปรับปรุง
พันธ์ุมาอย่างต่อเน่ืองต้ังแต่ปี พ.ศ. 2534 การปรับปรุงเร่ิมจากเป็ดพันธุ์บาร์บารีจากประเทศฝร่ังเศส
โดยสถานบี ารุงพนั ธ์ุสัตวบ์ างปะกงได้ทาการขยายพนั ธุ์ คดั เลอื กปรบั ปรงุ พนั ธ์ใุ ห้สามารถเลีย้ งงา่ ยขยายพนั ธุ์ได้ดี
เติบโตเร็ว สามารถเลี้ยงส่งตลาดได้ในระยะเวลา 12 สัปดาห์ ต้านทานต่อโรคและปรับตัวเข้ากับสภาพ
ภมู ิอากาศและส่ิงแวดล้อมของประเทศไทย และสามารถผลติ ได้จานวนมากในเชิงอตุ สาหกรรม
ภาพท่ี 3.27 เปด็ เทศพนั ธ์ุกบนิ ทร์บุรี
2.7 ห่าน (Goose) ห่านจัดเป็นสัตว์ปีกชนิดหนึ่งที่มีการเลี้ยงเพ่ือบริโภคเนื้อ เนื่องจากเลี้ยงง่าย
ลาตัวมีขนาดใหญ่และให้เน้ือมาก แต่ในบ้านเราการเล้ียงเพื่อการบรโิ ภคไมเ่ ป็นที่นิยมมากนกั ส่วนใหญ่จะเปน็
การเล้ียงเพื่อความสวยงาม เลี้ยงเพ่ือขายลูกห่าน เป็นต้น เน่ืองจากหาพันธ์ุยากเป็นสัตว์ท่ีมีลักษณะคอยาว
เหมือนหงส์ นิสัยดุร้ายแต่รู้จกั เจา้ ของ รวมถึงการเล้ียงเพ่ือประโยชนใ์ นด้านอนื่ ๆ เช่น เล้ียงเพ่ือคุมฝูงเป็ดและ
เล้ียงเพอื่ เปน็ ยามเฝ้าบา้ น เป็นตน้ หา่ นท่เี ลีย้ งในปัจจุบนั มี 8 สายพนั ธุ์ ไดแ้ ก่
1) ห่านพันธ์ุโทเลาส์ (Toulouse) มีลักษณะปากสีส้ม แข้งสีแดงส้ม ขอบตาสีส้ม ขาส้ัน
ลาตัวอว้ นใหญ่ ขนมีลักษณะพองตัว หนังคอยาน เมอื่ โตเตม็ ที่ ตวั ผหู้ นักประมาณ 12 กโิ ลกรัม ตัวเมียประมาณ
10 กิโลกรมั
49
ภาพที่ 3.28 ห่านพันธ์ุโทเลาส์
2) ห่านพนั ธุ์เอ็มเด็น (Embden) มลี ักษณะปาก และแข้งมีสสี ม้ ปลายปากมีสี ขาวแกมชมพู
ขาส้ัน ไม่มีโหนกหวั ขนตามลาตวั มีสีขาวหรือสีขาวปนเทา ขนบรเิ วณคอจับกันเปน็ ก้อนทาให้มีลกั ษณะเป็นแผง
เกล็ด เม่ือโตเต็มทต่ี ัวผ้หู นักประมาณ 10 กโิ ลกรัม ตวั เมียประมาณ 7 กโิ ลกรัม
ภาพที่ 3.29 หา่ นพันธ์ุเอม็ เดน็
3) ห่านพันธุ์แอฟริกัน (หัวสิงโต) (African) มีลักษณะคล้ายพันธ์ุจีนสีเทาน้าตาล แต่มีปมท่ี
ฐานปากเหนือตานูนเด่น หนังใต้คอหย่อนยานมากกว่าพันธุ์จีน ปากและโหนกมีสีดา แข้งสีส้มแก่ ขนมีสีขาว
หรอื สีเทานา้ ตาล ขนเรยี บไม่พองตวั เม่อื โตเต็มทที่ ้ังตัวผู้และตัวเมยี มีขนาดเทา่ กัน
ภาพที่ 3.30 ห่านพนั ธ์แุ อฟริกนั
50
4) ห่านพันธุจ์ ีน (สเี ทาลายและสีขาว) (Chinese) มลี กั ษณะคล้ายพันธ์ุ African เมอื่ โตเต็มที่
ตัวผหู้ นกั ประมาณ 5.5 กิโลกรัม ตัวเมยี ประมาณ 4.5 กโิ ลกรัม มี 2 ชนิด คอื ห่านจีนสขี าว มีลกั ษณะขนสีขาว
ท้ังตัว แข้ง ปาก และโหนกมีสีส้ม และห่านจีนสีเทาปนน้าตาล มีลักษณะขนสีเทาปนน้าตาลบริเวณปีก สันคอ
ด้านบนและด้านหน้าท้อง ส่วนก้นมีสีขาว ปากและโหนกหัวมีสีดา คอยานเล็กน้อยสาหรับตัวผู้ไม่มากเหมือน
พนั ธ์ุ African เป็นห่านท่ีพบและเลย้ี งมากทีส่ ดุ ในไทย
ภาพที่ 3.31 ห่านพันธุจ์ นี
5) ห่านพันธ์ุแคนาดา (ห่านป่า) (Canadian) มีลักษณะลาตัวสูงยาว ขายาว ปาก คอ และ
แข้งมีสีดา ส่วนใบหน้าและหัวมีสีดา มีแถบขาวถัดออกมาบริเวณแก้มถึงคอ ขนมีสีเทาแกมขาว ไม่มีโหนกหัว
ใตค้ อไม่หย่อนยาน
ภาพที่ 3.32 ห่านพนั ธุแ์ คนาดา
6) ห่านพันธ์ุอียิปต์เชียน (Egyptian) หัวมีสีเทา ปากและแข้งมีสีม่วงแดง ปลายปากมีสีดา
ขนขอบตามีสีน้าตาลแดง มีขนสีสีสันสวยงามแกมกันหลายสี เช่น สีเทา สีขาว สีส้ม สีดา และสีน้าตาล
เม่ือโตเตม็ ที่ตัวผูห้ นักประมาณ 4.5 กิโลกรัม ตวั เมียประมาณ 3.5 กิโลกรัม
51
ภาพท่ี 3.33 หา่ นพันธ์อุ ยี ิปตเ์ ชยี น
7) ห่านพันธซุ์ ีบาสโตโพล (Sebastopol) เป็นห่านพันธ์แุ ฟนซี มีลักษณะขนสีขาวหรือสีขาว
แกมเทา ขนบริเวณปีกและหางยาวมากและบิดงอ ปากและแข้งมีสีส้ม เมื่อโตเต็มท่ีตัวผู้ หนักประมาณ
6.5 กโิ ลกรมั ตัวเมียประมาณ 5.5 กโิ ลกรมั
ภาพที่ 3.34 หา่ นพันธซ์ุ บี าสโตโพล
8) ห่านพันธ์ุฟิลกริม (Pilgrim) หัวมีสีเทาหรือสีขาว ปากและแข้งมีสีส้ม แข้งมีลักษณะส้ัน
ปลายปากมีสีชมพแู กมขาว ขนลาตวั มีสีขาวหรือสเี ทา ไม่มีโหนกหวั หนังใตค้ อไม่หย่อนยาน
ภาพที่ 3.35 ห่านพันธ์ฟุ ิลกริม
52
2.8 พันธุ์นกกระทา
นกกระทาเปน็ สัตว์ปีกชนิดหน่ึงท่นี ยิ มเล้ยี งกันอย่างแพรหลาย ถงึ แมจ้ านวนประชากรของนกกระทาจะ
ไมมากเท่ากับไกและเป็ดก็ตาม แต่การเลี้ยงเป็นอาชีพหรือก่ึงอาชีพเร่ิมแพรขยายมากข้ึน เน่ืองจากการลงทุน
เม่ือเร่ิมต้นต่าแต่ผลตอบแทนจากการเล้ียงกลับคืนเร็ว ยิ่งปัจจุบันผลผลิตไข สามารถแปรรูปเป็นไขนกกระทา
กระป๋อง สงออกไปจาหน่ายต่างประเทศเป็นจานวนมาก สวนนกกระทาเพศผู้หรือนกกระทาไขปลดสามารถ
นาไปปรุงเป็นอาหารไดหลากหลายชนิด ดงั นั้นนกกระทาจงึ เป็นสัตว์ปกี เศรษฐกจิ อกี ชนิดหนง่ึ
นกกระทาเป็นพวกนกย้ายถ่ิน มกี ารเลีย้ งอยู่ทั่วไปในเอเชยี สหรัฐอเมริกา ยุโรปและแอฟรกิ า พันธุนก
กระทาที่สาคัญและเป็นท่ีรูจักกันอย่างแพรหลายทั่วโลก ไดแก นกกระทาญ่ปี ุน (Japanese quail) นกกระทา
เวอรจิเนีย (Bobwhite quail) นกกระทาแคลิฟอรเนีย (California quail) และนกกระทายุโรป (European
quail)
นกกระทาเวอรจเิ นีย นกกระทาแคลฟิ อรเนยี
นกกระทายโุ รป นกกระทาญปี่ นุ
ภาพท่ี 3.36 พนั ธุ์นกกระทา
53
2.9 พนั ธนุ์ กกระจอกเทศ
มนุษย์รู้จักและใช้ประโยชน์จากนกกระจอกเทศมาเป็นระยะเวลาไม่ต่ากว่า 5,000 ปีแล้ว โดยใช้เนื้อ
และไข่ในการบริโภคส่วนขนในการทาเครื่องประดับและเครื่องนุ่งห่มต่าง ๆ ซ่ึงปัจจุบันก็ได้กลายเป็นสัตว์
เศรษฐกิจอกี ประการ
สายพันธุ์นกกระจอกเทศมหี ลายสี แต่ละสแี สดงพนั ธ์ทุ แี่ ตกตา่ งกัน แบ่งได้ 3 ชนดิ ตามสีขน ดงั นี้
1) นกกระจอกเทศพันธุ์คอดา (African black domestic หรือ Black Neck) พัฒนามาจากพันธ์ุ
S.camcius เปน็ นกกระจอกเทศทคี่ นทว่ั ไปคุ้นเคย อาศยั อยูใ่ นมอร็อคโคและซดู าน ลักษณะผวิ หนงั จะมสี ีเทาดา
ขนสั้นและสีเข้มกว่าพันธุ์อ่ืนๆ มีนิสัยท่ีเช่ืองมากท่ีสุดในบรรดานกกระจอกเทศท้ังหมด พันธ์ุคอดา เป็นพันธุ์ท่ี
นิยมเล้ยี งมากท่ีสุดเนอ่ื งจากสามารถให้ไข่ไดถ้ ึง 80 ฟอง/ปี อกี ทัง้ ยังเปน็ พันธุ์ทีม่ รี าคาสูงมาก
2) นกกระจอกเทศพันธุ์คอแดง (Red Neck) มาจากแอฟริกาตะวันออก (แทสมาเนียและเคนยา)
เป็นนกกระจอกเทศป่าท่ีพัฒนามาจากพันธุ์ S.Camssaicus นกกระจอกเทศพันธุ์น้ีจะมีผิวสีชมพูเข้ม ตัวผู้มี
ผิวหนงั สีขาวครมี ท่ีต้นขาและคอ ยกเว้นในชว่ งฤดูผสมพันธ์ุ ผิวหนังทข่ี าและคอจะเปล่ยี นเปน็ สีแดงเข้มค่อนข้าง
สดใส ตวั ผมู้ ีขนสีดาตลอดลาตัวยกเว้นปลายหางและปลายปีกจะมีสขี าว สว่ นตวั เมียสนี ้าตาลเทา มีขนาดลาตัว
ใหญ่มาก สูงประมาณ 2-2.5 เมตร น้าหนัก 105-165 kg ให้ผลผลิตเนื้อมากแต่ให้ไข่น้อย ตัวผู้ค่อนข้างดุ
โดยเฉพาะชว่ งฤดูผสมพันธุ์
3) นกกระจอกเทศพนั ธ์ุคอนา้ เงิน (Blue Neck) มถี ิน่ กาเนดิ อยทู่ างตอนเหนอื ตะวันตก หรือทางตอน
ใต้ของแอฟริกาและเป็นนกกระจอกเทศป่า พัฒนามาจากพันธ์ุ S. molybdophanes และ S.australis
นกกระจอกเทศพันธ์ุน้จี ะมผี ิวหนังสีฟ้าอมเทา ในตัวผู้จะมีผิวหนงั สีฟ้าอมเทาบนคอ ขา และต้นขา มีเพียงหนา้
แขง้ เท่านั้นท่ีจะเปลยี่ นเปน็ สแี ดงในฤดผู สมพันธ์ุ นกกระจอกเทศตวั เมียทีโ่ ตเต็มท่ีจะมีสฟี ้าอมเทา ขนของตัวผู้ที่
โตเต็มที่จะเป็นสีดาแซมขาว ในขณะท่ีขนของตัวเมียจะมีสีเทาจางๆถึงน้าตาลเทา ให้เนื้อน้อยกวา่ พันธคุ์ อแดง
แตใ่ หไ้ ข่มากกว่า
พนั ธค์ุ อดา พันธค์ุ อแดง พนั ธุค์ อน้าเงนิ
ภาพท่ี 3.37 พนั ธ์นุ กกระจอกเทศ
54
2.10 สตั วป์ กี อนื่ ๆ
นอกจากสายพันธุ์สตั ว์ปกี ท่กี ลา่ วมาข้างต้นแลว้ ยังมีการเล้ียงไกง่ วง ไกส่ วยงาม ไกแ่ จ้ และอน่ื ๆ อีกใน
บางพ้นื ที่มกี ารเล้ียงในปริมาณน้อย สว่ นมากเลีย้ งเพือ่ ความเพลิดเพลนิ และเปน็ งานอดิเรกในครอบครวั
ภาพท่ี 3.38 พนั ธุ์ไกแ่ จ้
ภาพท่ี 3.39 พนั ธ์ุไก่หางยาว
55
ภาพท่ี 3.40 พันธ์ุไกง่ วง
ภาพที่ 3.41 พันธ์ุไกฟ่ า้
ไกป่ ่าสแี ดง ไก่ป่าสีเทา ไกป่ า่ ชวา ไกป่ า่ ซีลอน
ภาพท่ี 3.41 พันธ์ุไก่ป่า