บทท่ี 5 ครูคธั รยี า มะลิวลั ย์
การใช้ประโยชน์ แผนกวิชาสัตวศาสตร์
จากของเสียใน วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีฉะเชงิ เทรา
ฟาร์มสตั ว์เลี้ยง
การใชป้ ระโยชน์จากของเสยี ในฟาร์มสัตวเ์ ล้ยี ง 45
บทที่ 5
การใช้ประโยชนจ์ ากของเสียในฟาร์มสัตว์เลย้ี ง
หัวขอ้ เรอ่ื ง
1. ปริมาณสงิ่ ขบั ถ่ายของสตั ว์
2. แนวทางการใชป้ ระโยชน์จากของเสยี ในฟาร์มสัตว์เลย้ี ง
3. การเพิ่มมลู ค่าของเสยี จากการผลิตสัตว์
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้(นาทาง)
1. เพือ่ ใหม้ คี วามรู้และเขา้ ใจเก่ยี วกับปริมาณส่งิ ขับถา่ ยของสตั ว์
2. เพ่อื ให้มคี วามรู้และเขา้ ใจเก่ียวกบั แนวทางการใชป้ ระโยชน์จากของเสียในฟารม์ สตั วเ์ ล้ียง
3. เพอ่ื ให้มคี วามรแู้ ละเข้าใจเกย่ี วกบั การเพิ่มมูลค่าของเสยี จากการผลติ สตั ว์
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้(ปลายทาง)
1. บอกปริมาณสิ่งขบั ถ่ายของสัตว์เลย้ี งชนิดต่างๆ ได้
2. อธิบายแนวทางการใช้ประโยชน์จากของเสยี ในฟาร์มสตั วเ์ ล้ยี งได้
3. อธบิ ายการเพิม่ มลู ค่าของเสียทเ่ี กดิ จากการเล้ียงสตั ว์ได้
เนื้อหาสาระ
การจัดการของเสียของฟาร์ม ได้แก่ มูลสัตว์ น้าเสีย ก๊าซและกล่ิน ซากสัตว์ และขยะ เป็นส่ิง
ทม่ี ีความส้าคัญไมย่ ่ิงหยอ่ นไปกว่าการจดั การเลี้ยงดสู ัตว์ให้มศี ักยภาพการผลิตที่ดี จากปริมาณของเสีย
จ้านวนมากท้าให้มีการบูรณาการหลักการ 3R’s มาในกระบวนการผลิตสัตว์ของฟาร์ม เพ่ือช่วยลด
ปริมาณของเสียท่ีจะต้องก้าจัด และเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการของเสียของฟาร์ม ท้ังนี้การน้าของ
เสียจากการผลิตสัตว์มาใช้ประโยชน์ ได้แก่ การใช้ท้าปุ๋ย การผลิตก๊าซชีวภาพ และการใช้เป็นอาหาร
สัตว์ นับเป็นการเพ่ิมมูลค่าของของเสียซึ่งอาจอยู่ในรูปของการสร้างรายได้ หรือการลดค่าใช้จ่าย
ในการด้าเนินงานฟารม์ หรอื การลดปัญหามลภาวะส่ิงแวดล้อม ซงึ่ ในภาพรวมจะมีส่วนสา้ คญั ทชี่ ่วยให้
ฟาร์มด้าเนินงานได้อย่างราบรน่ื และยั่งยืน
ของเสีย (waste) คือ สิ่งท่ีเกิดขึ้นในกระบวนการผลิตใดๆ ก็ตามอันเป็นผลมาจากความไม่
สามารถ เปลี่ยนปัจจัยการผลิตเป็นผลผลิตท่ีต้องการได้ ส้าหรับกระบวนการผลิตสัตว์น้ัน ของเสียที่
เกิดจากกระบวนการ ผลิตท่ีส้าคัญ ได้แก่ มูลและปัสสาวะสัตว์ น้าเสีย ซากสัตว์ ก๊าซ และขยะ
เนื่องจากของเสียเหล่าน้ีมีหลากหลาย ชนิดท้ังในรูปของแข็ง ของเหลวและก๊าซท่ีสัตว์ขับถ่ายออกมา
และที่เกิดจากการหมักเน่าของของเสียอื่นท่ีมีการ จัดการก้าจัดท่ีไม่ถูกต้อง ดังน้ันการมีความรู้และ
เข้าใจถึงชนิดของของเสียท่ีเกดิ ขึ้นจากการผลิตสตั ว์ จะช่วยให้ฟาร์มมีการจัดการก้าจดั ได้อย่างถูกต้อง
และเหมาะสม
การใช้ประโยชนจ์ ากของเสียในฟาร์มสตั ว์เล้ียง 46
1. ปรมิ าณสงิ่ ขบั ถ่ายของสตั ว์
ปริมาณและลักษณะของสิ่งขับถ่ายของสัตวเ์ ล้ียงจะมีปริมาณและลักษณะแตกต่างกันออกไป
ขึ้นอยู่กับขนาด และชนิดของสัตว์ คุณภาพและปริมาณของอาหารท่ีกิน ชนิดของอาหารเป็น
อาหารแห้งหรือเปียก และยังข้ึนอยู่กับสภาพแวดล้อมด้วย ของเสียท่ีสัตว์ถ่ายออกมาจะมีท้ังอุจจาระ
และปัสสาวะ เช่น สุกรขุนในระยะก้าลังเจริญเติบโตจะถ่ายมูลเปียกประมาณวันละ 5-6 เปอร์เซ็นต์
ของน้าหนักตัว การขับถ่ายของสุกรน้ันส่ิงท่ีขับถ่ายออกมาจากร่างกายจะมีท้ังที่อยู่ในรูปของก๊าซ
ของแข็ง และของเหลว ซงึ่ จะมีส่วนประกอบแตกตา่ งกันไป
สงิ่ ทส่ี ัตวข์ ับถา่ ยออกมาเปน็ สว่ นของกากอาหารหรืออาหารท่ีไมถ่ ูกยอ่ ย และอาหารบางส่วนท่ี
ถูกยอ่ ยแลว้ แตร่ า่ งกายสัตวไ์ มส่ ามารถดดู ซึมไปใช้ รวมท้งั เซลล์ของจุลนิ ทรยี ์และเศษ เน้อื เยื่อบผุ นงั ล้า
ไส้ในระบบทางเดินอาหารที่หลุดปะปนออกมาดว้ ย ทัง้ น้ีปริมาณและลักษณะของมูลสตั ว์ จะขึ้นอยู่กับ
ปัจจัยหลายประการ ได้แก่ ชนิด ขนาดและอายุของสัตว์ อาหารท่ีสัตว์กิน สภาพแวดล้อมและการ
จัดการเล้ยี งดู เป็นตน้ ดังตัวอยา่ งเช่น
- ชนิดสัตว์ มูลไก่มีลักษณะค่อนข้างเหลวเมื่อเทียบกับสัตว์อื่น เน่ืองจากไก่ไม่มีกระเพาะ
ปัสสาวะจึงขับของเสียที่เป็นน้าออกมาพร้อมกับมูล หรือโคและกระบือเป็นสัตว์กระเพาะรวม จะกิน
อาหารที่มีเย่ือใยสูง มูลท่ีขับออกมาก็จะมีกากหรือเยื่อใยสูงกว่ามูลสุกรและสัตว์ปีกซ่ึง เป็นสั ตว์
กระเพาะเดย่ี วที่กินอาหารขน้ ทม่ี เี ยื่อใยตา้่
- ขนาดตัวสัตว์ มูลที่ไก่ มีปริมาณวันละ 0.1 กิโลกรัม ส่วนสุกรขับถ่ายมูลวันละ 7 กิโลกรัม
แต่เมื่อเทียบกับน้าหนักตัวแล้ว ปริมาณมูลที่ไก่ขับถ่ายออกมาคิดเป็นร้อยละ 4.5 ของ น้าหนักตัว
มากกวา่ สุกรถงึ กวา่ สองเทา่ และใกลเ้ คยี งกับโคเนือ้ และโคนม
ตารางท่ี 5.1 ปริมาณสง่ิ ขบั ถ่ายของสตั ว์
ลกั ษณะสง่ิ หนว่ ย ไก่ ชนดิ และขนาดของสตั ว์ โคนม
ขบั ถา่ ยของสัตว์ สกุ ร โคเน้ือ
(2 กก./ตัว) (640 กก./ตัว)
(90 กก./ ตัว) (520 กก./ตัว)
0.1
สัตว์ 1 ตวั 4.5
-
- มลู สด กก./วนั 26 7 29 50
31.3
% ของ นน.ตวั 255
- ปัสสาวะ % ของ นน.ตวั 3 4-5 4-5
- วตั ถุแหง้ % ของมลู สด 9 12 14
- โปรตีนหยาบ % ของ นน.แหง้ 23.5 20.3 *
ที่มา : ศริ ิลกั ษณ์ (ม.ป.ป.)
การใชป้ ระโยชน์จากของเสยี ในฟารม์ สตั วเ์ ลี้ยง 47
2. แนวทางการใชป้ ระโยชนจ์ ากของเสยี ในฟาร์มสตั ว์เล้ียง
แนวคดิ ในการเพิ่มมูลค่าของเสียโดยการน้าของเสียไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ปัจจุบันการจดั การ
ของเสียของฟาร์มเป็นสง่ิ ท่ีท้าได้ไม่ง่ายนัก เน่ืองจากปริมาณของเสียท่ีต้องก้าจดั เม่ือเทียบต่อพื้นท่ีการ
ผลิตของฟาร์มจะมีเป็นจ้านวนมาก ในขณะท่ีทรัพยากรท่ีใช้ในการก้าจัดของเสียกลับมีปริมาณจ้ากัด
และไม่ได้สัดส่วนกับปริมาณของเสียที่เพ่ิมมากขึ้น เช่น การขาดพ้ืนที่ท่ีใช้ในการก้าจัดและบ้าบัดของ
เสีย การขาดแรงงานฟารม์ น้ามันเชื้อเพลิงมีราคาแพงและค่าใช้จ่ายในการขนส่งมีราคาสูงข้ึนซ่ึงสง่ ผล
ตอ่ การเพ่ิมต้นทุนการผลิต ฯลฯ ดังนั้นจึงมีการน้าหลักการด้าเนนิ งาน 3R’s ได้แก่ การลด (Reduce)
การใช้ซ้า (Reuse) และการน้ากลับมาใช้ใหม่ (Recycle) มาใช้เพ่ือลดปริมาณของเสียและเพ่ิม
ประสิทธภิ าพการก้าจดั ของเสียของในฟาร์มสตั ว์เล้ยี ง
นอกจากน้ีหากการก้าจัดของเสียน้ันสามารถสร้างประโยชน์ต่อฟาร์มในแง่ของการสร้าง
รายได้ ย่อมเป็นส่ิงจูงใจให้ฟาร์มมีการก้าจัดของเสียของฟาร์มอย่างถูกต้อง การก้าจัดของเสียโดยน้า
หลกั การด้าเนินงาน 3R’s ในการปฏิบตั ิงานฟาร์ม มแี นวทางดังนี้
2.1 การลดปริมาณของเสียที่จะเกิดข้ึนจากการผลิตสัตว์ โดยฟาร์มต้องมีการใช้ปัจจัยการ
ผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ มีการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิต ตลอดจนมีการปรับปรุงด้าน
เทคนิคและวิธีการในกระบวนการการผลิต เป็นต้น ตัวอย่างเช่น เลือกพันธ์ุสัตวม์ าเลีย้ งตอ้ งสอดคล้อง
กับความพร้อมของทรพั ยากรฟาร์ม หากเลีย้ งสัตว์พนั ธด์ุ ี แตส่ ัตว์ได้รับอาหารที่มีคุณภาพและปริมาณ
ไม่เพียงพอกับความต้องการ สัตว์ก็ไม่สามารถให้ผลผลิตได้ตามมาตรฐานของพันธ์ุสัตว์ได้น่ันหมายถึง
ความไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพของการใชป้ ัจจยั การผลิตและเกิดความสูญเสยี ด้านการผลติ
2.2 การเพ่ิมประสิทธิภาพการกาจัดของเสีย ต้องพิจารณาเลือกวิธีการก้าจัดของเสียให้
ถูกต้องและเหมาะสมกับลักษณะของของเสียนั้น เพื่อให้ของเสียท่ีต้องก้าจัดมีปริมาณน้อยที่สุด เช่น
มีการคัดแยกวัสดุเหลือใช้ออกจากของเสีย การเลือกวิธีบ้าบัดและก้าจัดที่เหมาะสมกับลักษณะสมบัติ
ของเสีย
2.3 การเพิ่มมูลค่าของเสียโดยการนาของเสียไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ของเสียจากการผลิต
สตั ว์หลาย ชนิดยังมีคุณค่าทีจ่ ะน้าไปใช้ประโยชน์ จากการพัฒนาเทคโนโลยีและนวตั กรรมต่างๆ ท้าให้
มีการใช้ประโยชน์ จากของเสียแพร่หลายมากขึ้น เช่น การใช้ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ การใช้ผลิตก๊าซชีวภาพ
และการใชเ้ ป็นอาหารสัตว์ เป็นต้น
3. การเพมิ่ มลู คา่ ของเสยี จากการผลติ สัตว์
การเพิ่มมลู ค่าของเสยี โดยการน้าการนา้ ของเสียจากการผลิตสัตวม์ าใช้ประโยชน์น้ัน นอกจาก
จะท้าใหม้ ีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า หรอื อาจกล่าวในอกี นัยหนึ่งคือ เป็นการลดปรมิ าณของเสียจาก
การผลิต ลดปัญหามลภาวะของฟาร์มและส่ิงแวดล้อมที่เป็นปัญหากระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของ
สังคมแล้ว ยังเป็นการสร้างรายได้และลดค่าใช้จ่ายของฟาร์ม สร้างอาชีพและธุรกิจต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
ซึ่งนับได้ว่าให้ประโยชน์ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและส่ิงแวดล้อม ในอดีตขนไก่ เศษเนื้อและกระดูกป่น
การใช้ประโยชนจ์ ากของเสียในฟาร์มสัตวเ์ ลี้ยง 48
จดั เป็นของเสียจากโรงงานแปรรูปไก่ เมื่อมกี ารคิดค้นและพัฒนาโดยน้าหลักการด้าเนินงานด้าน 3R’s
มาใช้ท้าให้ท้ังขนไก่ เศษเนื้อและกระดูกป่น ถูกน้ามาใช้เป็นวัตถุดิบส้าหรับผลิตสินค้าในรูปอื่นๆ
ท่ีสามารถสร้างรายได้เช่นเดียวกับผลผลิตหลัก เช่น เนื้อ นมและไข่ หากจะเปรียบเทียบกับการผลิต
สินค้าแล้วการเพ่ิมมูลค่าของเสียของฟาร์ม อาจกล่าวได้ว่าเป็นการน้าวัตถุดิบ “ของเสียจากการผลิต
สัตว์” มาใช้ในการสร้างผลผลิตส้าหรับใช้ประโยชน์น่ันเอง ส้าหรับการเพิ่ม มูลค่าของเสียจากการ
ผลิตสัตวท์ ีน่ า่ สนใจ ไดแ้ ก่ การผลติ ปุ๋ย การผลิตก๊าซชีวภาพ และการผลติ อาหารเลี้ยงสัตว์ เป็นตน้
3.1 การเพมิ่ มลู ค่าของเสยี ฟารม์ โดยใชผ้ ลติ ป๋ยุ
มูลสัตว์และน้าเสียของฟาร์มสามารถใช้ท้าปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก น้าสกัดจากปุ๋ยหมัก และกากมูล
หมัก ซึ่งจะช่วยลดปัญหามลภาวะส่ิงแวดลอ้ ม ลดกล่ินเหม็นและแมลงวัน ลดปรมิ าณของเสียท้าให้ลด
ค่าใช้จ่ายในการขนส่ง ขนย้ายและเก็บรักษา ท้ังน้ีกระบวนการย่อยสลายของจุลินทรีย์จะเปล่ียนรูป
อินทรีย์สารท่ีเป็นองค์ประกอบของของเสียเป็นอนินทรีย์สารที่พืชสามารถดูดซึมไปใช้ประโยชน์ได้
แม้ว่าปุ๋ยมูลสัตว์จะให้ธาตุอาหารหลักไม่เข้มข้นเช่นปุ๋ยเคมี แต่จะให้ธาตุอาหารรองและธาตุอาหาร
ปลีกยอ่ ยท่ีปุ๋ยเคมีไม่มี ประกอบกับปุ๋ยจากมูลสัตว์ทา้ ใหด้ ินมีการระบายน้าและอากาศดีข้นึ จะช่วยให้
จลุ ินทรีย์ด้าเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและยังช่วยเพ่ิมปริมาณของจุลินทรีย์ในดินอีกด้วย ปุ๋ยอินทรีย์
จากมลู สตั วม์ ีคุณสมบัติช่วยปรับปรุงโครงสร้างของดินให้เหมาะสมตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื ช่วยเพ่ิม
ความคงทนใหแ้ กเ่ มด็ ดนิ เป็นการลดการชะล้างพังทลายของดินและชว่ ยรกั ษาหน้าดนิ ไว้
ตารางท่ี 5.2 คณุ ค่าของธาตอุ าหารสา้ หรับพชื ในมลู สัตว์ชนดิ ตา่ งๆ
ชนิดของมลู สัตว์ PH ธาตุอาหารหลกั (%) ธาตอุ าหารรอง(%)
NPK Ca Mg S
1.82 0.5 0.07
มูลโค (ใหม่) 10.4 1.95 1.76 0.43 0.55 0.22 0.05
2.06 0.74 0.52
มลู โค (เกา่ ) 8.7 1.73 0.49 0.30 8.11 2.42 0.14
12.10 1.07 0.67
มลู กระบือ (เก่า) 8.7 1.82 1.92 0.12 2.18 0.51 0.18
11.30 0.86 0.68
มลู สุกร (เก่า) 6.9 2.83 16.25 0.11
มลู ไก่ไข่ (เกา่ ) 7.5 2.28 5.91 3.02
มลู ไกเ่ น้ือ (ใหม)่ 8.0 2.65 2.69 1.85
มูลไก่เน้ือ (เก่า) 8.2 2.09 6.07 0.42
ทม่ี า : สถาบันพัฒนาและส่งเสริมปจั จัยการผลิต (2544)
การใชป้ ระโยชนจ์ ากของเสียในฟารม์ สัตว์เลีย้ ง 49
ของเสียจากการผลิตสัตว์ของฟาร์ม สามารถน้าใช้ประโยชน์และเพ่ิมมูลค่าโดยใช้ท้าปุ๋ยได้
หลายรูปแบบ ได้แก่ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก น้าสกดั จากปุ๋ยหมัก และกากมูลหมัก ในกรณีการน้ามูลสัตว์มา
ทา้ “ปุ๋ยหมัก” จ้าเป็นตอ้ งปรับสภาพแวดลอ้ มต่างๆ ให้เหมาะสมตอ่ กบั จลุ ินทรยี เ์ พือ่ ยอ่ ยสลายอนิ ทรีย์
สารที่มีอยู่ในมูลสัตว์ให้เปล่ียนเป็นอนินทรีย์สารท่ีพืชดูดซึมไปใช้ประโยชน์ได้ หากสภาพแวดล้อม
เปลี่ยนไปหรือไม่เหมาะสมกับการท้างานของจุลินทรียด์ ังกล่าว ก็จะท้าให้การย่อยสลายเกิดอย่างช้าๆ
หรือหยุดชะงักได้ สภาพแวดล้อมที่ต้องพิจารณาในการท้าปุ๋ยหมัก ได้แก่ ความสมดุลของธาตุอาหาร
ความช้ืน อุณหภูมิ ออกซิเจน ความเป็นกรด-ด่าง และขนาดของช้ินส่วนวัสดุท้าปุ๋ยหมัก โดยปกติมูล
สัตว์จะมีโปรตีนระดับสูง ดังน้ันการท้าปุ๋ยหมักจากมูลสัตว์จึงต้องมีการปรับสัดส่วนด้วยวัสดุท่ีมี
พลังงานสูงหรอื มีโปรตนี ต่้า เช่น เศษต้นพืช ฟางข้าว เปน็ ต้น
ตารางท่ี 5.3 การปรับคา่ ความสมดลุ ของธาตุอาหารในการทา้ ปยุ๋ หมักจากมูลสกุ ร
วสั ดทุ ่ีใชป้ รบั ค่าความสมดุลของธาตอุ าหาร ปริมาณวสั ดุทีใ่ ช้ ปริมาณมูลสุกรท่ใี ช้
ฟางข้าว ผกั ตบชวา หญ้าแหง้ (กิโลกรมั ) (กโิ ลกรัม)
1 2.5
ขุยมะพร้าว แกลบ กากออ้ ย ใบอ้อย ต้นขา้ วโพด 1 4
ขี้เลอ่ื ย ใบไมแ้ หง้ กิง่ ไม้ เปลือกไม้ เปลอื กถ่วั ลิสง 1 5
ท่มี า : สมชยั (2552)
3.2 การเพมิ่ มลู คา่ ของเสียฟารม์ โดยใชผ้ ลิตก๊าซชีวภาพ
โดยปกติตามธรรมชาติ จะเกิดการย่อยสลายของเสียจากการท้างานของจุลินทรีย์ท้ังท่ีใช้
ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจนอยู่แล้ว แต่กระบวนการย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจนหรือการหมักนั้น
จะมีก๊าซมีเทน ซึ่งสามารถน้ามาใช้ประโยชน์เป็นแหล่งให้พลังงาน เพราะมีคุณสมบัติติดไฟและให้
ความร้อนได้ดี ดังนั้นหากอาศัยการก้าจัดมูลสัตว์และบ้าบัดน้าเสียของฟาร์มเพ่ือการผลิตก๊าซชีวภาพ
ส้าหรับใช้เป็นแหล่งให้พลังงานส้าหรับผลิตความร้อน ไฟฟ้า การท้างานของเครื่องกล ฯลฯ ก็จะเป็น
การเพิ่มมูลค่าของเสียของฟาร์มและสามารถให้ผลประโยชน์ท่ีคุ้มค่าต่อการจัด การบ้าบัดน้าเสียของ
ฟาร์ม
การผลิตก๊าซชีวภาพจากของเสียมีหลายระบบหรือแบบ การเลือกใช้เทคโนโลยีแบบใดก็ต้อง
พิจารณาให้เหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ีของฟาร์ม ปริมาณของเสียท่ีเกิดจากการผลิตสัตว์และ
ความสามารถในการลงทนุ และบางระบบก็สามารถใช้ได้กับฟาร์มทุกขนาด โดยอาจมกี ารปรับอุปกรณ์
บางอย่างเพ่ิมเตมิ ซึง่ สามารถจ้าแนกบ่อทใี่ ช้ผลติ กา๊ ซชวี ภาพ ตามลักษณะการทา้ งานและลักษณะของ
ของเสียทีใ่ ชเ้ ป็นวัตถดุ ิบ ไดเ้ ปน็ 2 แบบ ดังน้ี
1) บ่อหมักช้าหรือบ่อหมักของแข็ง ส้าหรับใช้ย่อยสลายมูลสัตว์ หรือน้าเสียที่มีสาร
แขวนลอยสงู หรือมีมลู สัตว์ปนเป้ือนอยใู่ นนา้ เสียสงู โดยทั่วไป มี 3 แบบ ไดแ้ ก่
การใชป้ ระโยชนจ์ ากของเสียในฟาร์มสัตว์เลี้ยง 50
(1) แบบยอดโดมหรอื แบบฟิกซ์โดม (Fixed Dome Digester) ลักษณะเป็นทรงกลม
ฝังอยู่ใต้ดนิ ส่วนทีก่ ักเก็บก๊าซมลี ักษณะเป็นโดม แบบนเ้ี หมาะสา้ หรบั ฟาร์มเล้ยี งสตั วข์ นาดเลก็
(2) แบบฝาครอบลอย (Floating Drum Digester) มีท่ีเก็บก๊าซท้าด้วยเหล็กครอบ
บอ่ หมกั ฝาเหล็กครอบจะลอยขึน้ ลงตามปริมาณก๊าซท่ีสะสม มอี ายุการใช้งานส้ัน เพราะมักเกิดการรั่ว
ของก๊าซ จึงไมพ่ บเหน็ การน้ามาใชใ้ นปจั จุบัน
(3) แบบปล๊ักโฟลว์ (Plug Flow Digester) หรือแบบพลาสติกคลุมราง มีลักษณะ
เป็นบ่อยาว น้าเสียจะไหลตามแนวยาวของบ่อ ระยะเวลาในการหมักมูลใช้เวลามากข้ึน ระบบท่ีมี
ลักษณะการท้างานแบบน้ี ได้แก่ บ่อ Cover Lagoon และ บอ่ หมักราง (Channel Digester)
นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาการผลิตก๊าซชีวภาพ แบบบ่อหมักช้าส้าหรับเกษตรกรรายย่อย คือ
“ถุงหมกั กา๊ ซชีวภาพ” ซึ่งมตี น้ ทนุ ในการจดั สรา้ งต้า่ และสรา้ งไดง้ ่าย เพ่ือการผลิตกา๊ ซชีวภาพส้าหรบั ใช้
ในการหงุ ตม้ ประกอบอาหารในครวั เรือน
ภาพที่ 5.1 แบบบอ่ หมักยอดโดม (Fixed dome) และบ่อหมกั ช้าแบบรางขนาดเล็ก (CD-Junior)
2) บ่อหมักเร็ว ส้าหรับใช้ย่อยสลายสารอินทรีย์ที่ละลายปนเปื้อนในน้าเสีย หรือน้าเสียท่ีมี
สารแขวนลอยต้า่ แบ่งไดเ้ ปน็ 2 แบบ ได้แก่
(1) แบบบรรจุตัวกลางในสภาพไร้ออกซิเจน (Anaerobic Filter) หรือแบบเอเอฟ
(AF) ลักษณะของบ่อหมักเร็วแบบนี้ จุลินทรีย์จะเจริญเติบโตและเพ่ิมจ้านวนบนตัวกลางที่ถูกตรึงอยู่
กับท่ี โดยตวั กลางท่ีใช้ เช่น พลาสตกิ เสน้ ใยสงั เคราะห์ ไมไ้ ผต่ ัดเปน็ ท่อน เป็นตน้
(2) แบบยูเอเอสบี (UASB หรือ Upflow Anaerobic Sludge Blanket) ลักษณะ
การท้างานของบ่อหมักเร็ว โดยการควบคุมความเร็วของน้าเสียให้ไหลเข้าบ่อหมักจากด้านล่างข้ึนสู่
ด้านบน ตะกอนส่วนที่เบาจะลอยตวั ไปพร้อมกับน้าเสยี ทไ่ี หลล้นออกนอกบอ่ ตะกอนส่วนทห่ี นกั จะจม
ลงก้นบ่อ ทั้งนี้ตะกอนของสารอินทรีย์ (Sludge) ที่เคลื่อนไหวภายในบ่อหมักเป็นตัวกลางให้จุลินทรีย์
เกาะและผลิตกา๊ ซมเี ทน
การใช้ประโยชน์จากของเสยี ในฟารม์ สตั ว์เล้ียง 51
ตวั อย่างบอ่ หมักกา๊ ซชีวภาพแบบถงุ หมัก PVC หรือถุงหมักก๊าซชวี ภาพ: สาหรบั เกษตรกรรายย่อย
เป็นขนาดที่เหมาะสมกับเกษตรกรรายย่อยซึ่งเลี้ยงสัตวป์ ระมาณ 10 - 20 ตวั ส้าหรับสัดสว่ น
ของมูลและนา้ ทใี่ ช้ คอื 1 : 1 ถึง 1 : 4 ส่วน หากใช้มลู สุกรซ่ึงมีของแข็งประมาณ 15% จะเติมมูลสัตว์
วันละ 24 ลิตร และใช้น้าวันละ 24 - 96 ลิตร หรือเท่ากับการเล้ียงสุกรอย่างน้อย จ้านวน 6 ตัว
สามารถผลิตก๊าซชวี ภาพวันละประมาณ 2 ลูกบาศก์เมตร ซ่ึงเพียงพอต่อการใช้กับเตาหุงต้มส้าหรับใช้
ทา้ อาหารในครัวเรือนได้พอดี (ใช้กา๊ ซ 0.15 ลกู บาศก์เมตร ตอ่ ชวั่ โมง)
ลกั ษณะท่วั ไป
(1) ใชถ้ ุงพลาสติกพีวีซี ความยาว 6 เมตร เส้นรอบวง 5.25 เมตร (ขนาดของบ่อดินมี
ความกว้าง 2 x 4 x 1 เมตร) (ภาพท่ี 5.2) มีปริมาณรวม 7.8 ลูกบาศก์เมตร แยกเป็นส่วนของเหลว
5.9 ลูกบาศก์เมตร กา๊ ซ 1.7 ลูกบาศกเ์ มตร
(2) ส้าหรับพื้นท่ีท่ีจะท้าการสร้างบ่อหมัก ควรเป็นพ้ืนท่ีลาดเอียงต้่ากว่าระดับคอก
สัตว์เล็กน้อยเพ่ือให้มูลสัตว์ไหลระบายเข้าบ่อเอง หรือจะท้าเป็นบ่อชนิดตักมูลสัตว์มาเติมก็ได้ โดย
ขนาดของหลุมที่จะขุดควรมีขนาดกว้างด้านบน 2 เมตร ยาว 4 เมตร ลึก 1 เมตร (ส้าหรับการเล้ียง
สุกรขนาดเฉล่ียปานกลางจ้านวน 10 - 15 ตัว หรือเท่ากับบ่อเก็บมูลปริมาณ 7 - 8 ลูกบาศก์เมตร)
บ่อหมักควรขุดเป็นสี่เหล่ียมคางหมู ให้ฐานของบ่อมีพื้นที่หน้าตัดท่ีแคบกว่าเล็กน้อย ควรขุดด้านหัว
และท้ายของบ่อเป็นแนวส้าหรับวางท่อรับและระบายมูลด้วย โดยให้ทางเข้ามูลมีระดับสูงกว่าทาง
ระบายมลู ออกเล็กนอ้ ย
ภาพที่ 5.2 บ่อหมักก๊าซชีวภาพแบบถงุ หมกั พลาสติกพีวซี ี
การใชป้ ระโยชน์จากของเสยี ในฟารม์ สัตวเ์ ลย้ี ง 52
3.3 การเพ่มิ มลู คา่ ของเสยี ฟาร์มโดยใชผ้ ลติ อาหารสัตว์
ของเสียจากสตั ว์ เชน่ ซากสัตว์ เศษอาหารตกหลน่ จากคอกและมลู สัตว์ โดยเฉพาะมูลสัตวป์ ีก
และมูลสุกร สามารถใช้เป็นอาหารเล้ียงสัตว์ในรูปมูลสดและมูลตากแห้งหรือมูลอัดเม็ด ส่วนมูลโคนั้น
ไม่นิยมน้ามาใช้เป็นอาหารเลี้ยงสัตว์ เน่ืองจากมีเยื่อใยในปริมาณสูง ประกอบกับเกษตรกรจะใช้
ประโยชน์เป็นปุ๋ยบ้ารุงดินและให้ธาตุอาหารพืชอาหารสัตว์ส้าหรับเป็นอาหารเล้ียงโค อน่ึงจะไม่ใช้มูล
สัตว์นั้นเป็นอาหารเลี้ยงสัตว์ชนิดน้ัน เช่น ไม่ใช้มูลไก่ไข่ผลิตอาหารไก่ไข่ หรือมูลสุกรผลิตอาหารสุกร
เป็นต้น เพ่ือป้องกันวงจรการเจริญและแพร่กระจายของเชื้อโรคท่ีเป็นสาเหตุของการเกิดโรคเชื้อ และ
อาจสง่ ผลต่อความปลอดภยั ของผลผลิตทีผ่ บู้ รโิ ภคจะนา้ มาใช้บรโิ ภคอีกดว้ ย
นอกจากน้ีของเสียบางชนิด เช่น น้าเสีย ไดใ้ ชผ้ ลิตสิง่ มีชีวิตขนาดเล็ก เช่น สาหร่ายสไปรูลินา
ไรแดง เป็นต้น ซ่ึงสิ่งมีชีวิตเล็กๆ เหล่าน้ีจะใช้ธาตุอาหารที่มีในของเสียในการเจริญเติบโตและเพาะ
ขยายแพร่จ้านวนเพ่ิมขึ้น จากน้ันส่ิงมีชีวิตเหล่าน้ีจะถูกน้ามาใช้ประโยชน์เป็นอาหารต่อไป เช่น
สาหร่ายสไปรูลินา เป็นแหล่งโปรตีนท่ีดีให้วิตามิน และกรดไขมันจ้าเป็นหลายชนิด ใช้เป็นอาหารใน
การอนุบาลลูกกุ้งวยั ออ่ น และผสมในอาหารสา้ หรับปลาสวยงาม เพ่อื เร่งสีในปลาสวยงาม เป็นตน้
ตารางที่ 5.4 สว่ นประกอบทางโภชนะทมี่ อี ยใู่ นมลู สตั ว์ชนดิ ตา่ งๆ
ชนิดของสว่ นประกอบ ปริมาณรอ้ ยละ(%)
มลู ไกเ่ นอ้ื มลู ไก่ไข่ มูลสกุ ร
48
โภชนะยอ่ ยได้ 73 52 24
15
โปรตีนหยาบ 31 28 0.7
2.1
เยื่อใย 17 13 0.9
1.3
แคลเซยี ม 2.4 8.8
ฟอสฟอรสั 1.8 2.5
แมกนเี ซียม 0.4 0.7
โปแตสเซยี ม 1.8 2.3
ท่ีมา : ศิรลิ กั ษณ์ (ม.ป.ป.)
ตัวอย่างการใช้เป็นอาหารสัตว์โดยตรง เช่น การเลี้ยงไก่หรือเป็ดหรือสุกรร่วมกับการเลี้ยงปลา
นอกจากมูลสัตว์ ยงั มีเศษอาหารตกหล่นท่ีปลาใช้เป็นอาหารได้โดยตรง มลู สัตว์และเศษอาหารยังเป็น
ป๋ยุ หรืออาหารส้าหรับแพลงก์ตอน จุลินทรีย์ สัตว์และพืชน้าเล็กๆ ในบ่อที่เป็นวงจรหว่ งโซ่อาหารปลา
ต่อไป ช่วยลดปริมาณอาหารสมทบ ลดค่าใช้จ่าย แรงงานและเวลาในการหาอาหารให้ปลา ส้าหรับ
สัตว์ท่ีอาศัยอยู่ในโรงเรือนบนบ่อปลาจะได้ประโยชน์จากบ่อปลาในด้านการช่ วยลดอุณหภูมิภายใน
การใช้ประโยชนจ์ ากของเสยี ในฟาร์มสตั ว์เลย้ี ง 53
โรงเรือนให้ต่้าลง สัตว์ไม่เครียด ท้าให้กินอาหารได้มากขึ้นโตเร็วและต้านทานโรคได้ดีท้ังยังดูแลรักษา
ความสะอาดได้ง่าย ประหยัดแรงงาน ข้อเสียคือต้นทุนค่าสร้างโรงเรือนสูงขึ้น เน่ืองจากต้องใช้ไม้ท้า
เสาและวัสดุปูพื้นเพ่ิมข้ึน แต่ผลตอบแทนในระยะยาวจะคุ้มค่าเพราะประหยัดพื้นท่ีและประหยัด
แรงงานมากกว่า
ข้อสงั เกตในการใช้ประโยชนม์ ูลสัตว์ในรูปแบบการเล้ยี งสตั ว์ร่วมกับการเล้ียงปลา
เนื่องจากลักษณะการผลิตเป็นการเกษตรแบบผสมผสานท่ีเอื้อประโยชน์ต่อกัน ผลส้าเร็จของ
ใช้มูลสัตว์เป็นอาหารเลี้ยงปลาโดยการเล้ียงสัตว์ท้ังสองกลุ่มร่วมกัน ขึ้นอยู่กับการควบคุมปริมาณของ
มูลสัตว์ให้เหมาะสมกับการรักษาคุณภาพของน้าภายในบ่อเล้ียง ซ่ึงจะมีความสัมพันธ์กับชนิดและ
จา้ นวนปลาท่ีเล้ียง ทัง้ นเี้ พ่อื ทา้ ให้ปลาใช้อาหารธรรมชาตทิ ี่เกิดข้ึนได้พอดี ดังนนั้ ในการเตรียมการและ
วางแผนจ้าเป็นต้องค้านึงถึงปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการผลิตของสัตวท์ ่ีเลี้ยงร่วมกันและมีความสอดคล้อง
เอ้อื ประโยชน์ต่อกนั ดังน้ี
1) ขนาดพ้ืนท่ีดินทตี่ ้องสมั พันธ์กับจ้านวนสตั ว์ทเี่ ลีย้ ง
2) ชนดิ ของปลาที่เลย้ี ง โดยพจิ ารณาดา้ นชีววิทยาและนิเวศนว์ ิทยา เช่น ชนดิ และลักษณะ
อาหารท่ขี ้นึ อยกู่ บั สรีระวทิ ยาการยอ่ ยและใชอ้ าหารของปลา แหลง่ พ้ืนที่อาศัยของปลา
3) ช่วงเวลาการเลี้ยงและการจ้าหน่ายผลผลิต เช่น การเก็บเกี่ยวผลผลิตปลาให้อยู่ในฤดูแล้ง
ซึง่ ปลาจะมรี าคาดี หลีกเลยี่ งการเล้ียงปลาและไกใ่ นฤดูหนาว เนอ่ื งจากเป็นฤดูท่มี ีโรคระบาด
การใช้ประโยชนจ์ ากของเสยี ในฟารม์ สตั ว์เลยี้ ง 54
เอกสารอา้ งองิ
เกษม จนั ทร์แก้ว. 2547. การจัดการสงิ่ แวดล้อมแบบผสมผสาน. พมิ พค์ รง้ั ที่ 2. กรงุ เทพฯ :
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์.
เกษม จนั ทรแ์ ก้ว. 2553 .วทิ ยาศาสตร์สง่ิ แวดลอ้ ม พิมพ์ครง้ั ที่ 8. กรงุ เทพฯ :
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.
จักรกรศิ น์ เนอื่ งจ้านง. 2559. สขุ ศาสตร์ปศสุ ตั ว์. พมิ พ์ครั้งท่ี 2 กรงุ เทพฯ :
จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.
ธวัชชยั ศุภดษิ ฐ์. 2551. การจดั การอนามยั ส่ิงแวดล้อมในภาคปศุสตั ว์. พมิ พค์ รั้งที่ 2.
กรงุ เทพมหานคร
นิภาดา สองเมืองสขุ . 2548. การจัดการส่ิงแวดล้อมในฟารม์ สัตวเ์ ลย้ี ง. แพร่.
แผนกวชิ าสตั วศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยแี พร่. เอกสารค้าสอน.
แผนกเศรษฐกิจการเกษตร .2548. การเล้ยี งไก่ไขใ่ นระบบโรงเรือนแบบปิด. กรงุ เทพฯ :
กองวิชาการ ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย. (อดั สา้ เนา)
พรสวรรค์ ดิษยบตุ ร. 2544 .ชวี ิตกบั สงิ่ แวดลอ้ ม. [ออนไลน์]. สบื คน้ ไดจ้ าก :
http://www.tistr.or.th/t/publication/index.asp. 20 เมษายน 2552.
ภาณี คสู ุวรรณ์ และศจพี ร สมบูรณ์ทรพั ย์ .2546 .ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม .กรุงเทพฯ :
เอมพนั ธ์ จา้ กดั .
รุ่งนภา รัตนราชชาติกุล. 2544. “การจดั การของเสียในฟาร์มสกุ ร” วารสารสตั วแพทย์.
11 (2): 40-47.
ศิรลิ กั ษณ์ วงสพ์ ิเชษฐ. 2543. “สงิ่ แวดลอ้ มกบั สขุ อนามัยของสตั ว์เล้ยี ง”. วิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพสตั ว.์
นนทบุรี : มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช. หน้า 39-85.
สกี ุน นชุ ชา. มปป. การจัดการส่งิ แวดล้อมในฟาร์มสตั วเ์ ล้ยี ง. ตรัง. แผนกวชิ าสตั วศาสตร์
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยแี พร่. เอกสารคา้ สอน. [ออนไลน์]. สืบคน้ ไดจ้ าก :
www.seekun.net/e-env-all.htm. 20 เมษายน 2553.
สรสชิ ฐ์ ช้านาญแทน. มปป. การจัดการส่ิงแวดล้อมในฟาร์มสตั วเ์ ลี้ยง. เชยี งใหม่.
แผนกวชิ าสัตวศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่. เอกสารค้าสอน.