The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการการพัฒนานวัตกรรมทางการพยาบาล นวัตกรรมปรุงถูก สุขภาพดี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panpilai_suth, 2022-01-28 04:37:00

รายงาน นวัตกรรมปรุงถูก สุขภาพดี

รายงานการการพัฒนานวัตกรรมทางการพยาบาล นวัตกรรมปรุงถูก สุขภาพดี

รายงานการการพฒั นานวตั กรรมทางการพยาบาล
นวัตกรรม คัมภรี ์ปรงุ ถูก สขุ ภาพดี

วชิ า ปฏบิ ตั ิการโครงงานพัฒนาสขุ ภาพ
ณ ชุมชนบา้ นรอ่ งถา่ น หม่ทู ่ี 3 ตาบลทุ่งโฮ้ง อาเภอเมอื ง จังหวดั แพร่

เสนอ สทุ ธนะ
อาจารย์พรรณพิไล ทะวิชยั
อาจารยก์ ชวรรณ

จดั ทาโดย
นักศึกษาพยาบาลศาสตรช์ ั้นปีท่ี 4

รายงานน้เี ปน็ สว่ นหนึ่งของรายวิชาปฏิบตั กิ ารโครงงานพัฒนาสขุ ภาพ
ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี แพร่
คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

กระทรวงสาธารณสขุ

รายงานการการพัฒนานวัตกรรมทางการพยาบาล
นวตั กรรม คัมภีรป์ รุง ถูกสขุ ภาพดี

วชิ า ปฏบิ ัตกิ ารโครงงานพัฒนาสุขภาพ
ณ ชุมชนบ้านรอ่ งถา่ น หม่ทู ี่ 3 ตาบลทงุ่ โฮ้ง อาเภอเมือง จงั หวัดแพร่

เสนอ สุทธนะ
อาจารยพ์ รรณพิไล ทะวิชัย
อาจารย์กชวรรณ

จดั ทาโดย

นางสาวกิตติมา สุปนิ ะ รหสั นักศกึ ษา 61130301007
นางสาวจิดาภา
นายธนรตั น์ ธนะปดั รหสั นกั ศกึ ษา 61130301012
นางสาวธรี าภรณ์
นางสาวนภสั กร ทะลอย รหัสนกั ศึกษา 61130301017
นางสาวพิมประภา
นางสาวสิริรัตน์ วงค์กองแกว้ รหสั นกั ศึกษา 61130301020
นางสาวปารชิ าติ
พิมเสน รหัสนกั ศึกษา 61130301021

ประกาศ รหัสนกั ศึกษา 61130301035

ม้าแก้ว รหสั นกั ศึกษา 61130301049

ทรงอภวิ ัฒนก์ ลุ รหัสนกั ศึกษา 61130301031

นักศกึ ษาพยาบาลศาสตร์ชนั้ ปีท่ี 4

รายงานนีเ้ ป็นสว่ นหน่งึ ของรายวิชาปฏบิ ัติการโครงงานพฒั นาสุขภาพ
ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564

วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี แพร่
คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบนั พระบรมราชชนก

กระทรวงสาธารณสขุ



กติ ตกิ รรมประกาศ

การฝึกปฏิบัติการโครงงานพัฒนาสุขภาพ ในคร้ังน้ี ประสบความสําเร็จได้ด้วยความกรุณาและการ
อนเุ คราะห์อยา่ งย่งิ จากอาจารย์ท่ีปรึกษา ซึ่งได้เสียสละเวลาอันมีค่าในการให้ข้อคิดเห็น ให้ความรู้ คําปรึกษา
และคําแนะนําต่าง ๆ รวมไปถึงการตรวจแก้ไขรูปเล่มรายงานของทางกลุ่มให้มีความถูกต้อง ขอกราบ
ขอบพระคณุ อาจารย์เป็นอยา่ งสูงไว้ ณ ท่ีน้ี

การจัดโครงการฉบับน้ีได้สําเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ได้ด้วยดี คณะผู้จัดทําต้องขอขอบพระคุณ
กองทนุ หลักประกันสุขภาพในระดับทอ้ งถนิ่ หรือพ้นื ที่ เทศบาลตาํ บลทุ่งโฮ้ง อําเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ ที่ให้
งบประมาณสนับสนุนในการจัดโครงการ ชุมชนร่องถ่านท่ีได้ให้โอกาสได้เข้ามาฝึกปฏิบัติการโครงงานพัฒนา
สุขภาพ คณะกรรมการหมู่บ้าน และอาสาสมัครสาธารณะสุขประจําหมู่บ้าน บ้านร่องถ่าน หมู่ที่ 3 ที่คอยให้
ความชว่ ยเหลือในดา้ นต่าง ๆ ตลอดระยะเวลาในการฝึกปฏิบัติงานในคร้งั นี้

คณะ ผู้จั ดทํ าห วัง เป็ น อ ย่า ง ยิ่ ง ว่ ารา ยง าน ฉบั บน้ี จะ เป็ น ป ระ โ ย ชน์ต่ อผู้ ที่มี คว าม สน ใจ ใน กา รฝึ ก
ปฏิบัติการโครงงานพัฒนาสุขภาพ เพ่ือเป็นแนวทางในการดําเนินการ หากรายงานฉบับน้ีมีข้อผิดพลาด
ประการใดคณะผูจ้ ดั ทําขออภยั มา ณ ที่นด้ี ้วย

คณะผจู้ ัดทํา

สารบัญ ข

เรื่อง หนา้
กติ ตกิ รรมประกาศ ก
สารบัญ ข
บทคดั ยอ่
บทที่ 1 บทนา 1
2
ความเปน็ มาและความสําคญั ของปญั หา 3
วัตถุประสงค์ 3
คาํ ถามการศึกษา 4
คําจํากัดความ
ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะไดร้ บั 5
บทท่ี 2 การบททวนความรู้และหลกั ฐานเชิงประจักษท์ ่เี กยี่ วขอ้ ง 6
พฤติกรรมการรับประทานอาหาร 9
เคร่อื งปรงุ รส 10
โรคไมต่ ิดตอ่ เรอื้ รงั
งานวจิ ยั และนวัตกรรมทเี่ ก่ียวข้อง 13
บทท่ี 3 วธิ ีดาเนนิ การโครงงาน 13
ประชากรและการเลอื กลุ่มตวั อยา่ ง 14
เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการศึกษา 14
การพิทกั ษ์สทิ ธข์ องกลุ่มตวั อยา่ ง 17
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 18
การวเิ คราะห์ข้อมลู
บทที่ 4 ผลการศึกษา 23
บทท่ี 5 สรุปผลการศกึ ษา อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ 24
สรปุ ผลการศกึ ษา 26
อภิปรายผล 32
ปญั หา อปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก

บทคดั ยอ่

การมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะถือเป็นสิ่งสําคัญ ทําให้มีสุขภาพร่างกายท่ี
สมบูรณ์แข็งแรง ไม่เจบ็ ปวุ ยด้วยโรคไมต่ ดิ ต่อเรื้อรังในอนาคต อันเนื่องมาจากการมพี ฤตกิ รรมการรับประทาน
อาหารทไี มถ่ กู สขุ ลักษณะ คณะผู้จดั ทําจงึ ได้สร้างนวัตกรรม “คัมภีรป์ รงุ ถกู สุขภาพดี” มีวตั ถุประสงค์ พัฒนา
ต่อยอดนวัตกรรมและประยุกต์ใช้องค์ความรู้เก่ียวกับการรับประทานอาหารท่ีถูกสุขลักษณะสร้างเป็น
นวัตกรรม “คัมภีร์ปรุงถูก สุขภาพดี” ศึกษาผลของการใช้นวัตกรรมการมีความรู้ด้านการปรุงอาหารที่ถูก
สุขลกั ษณะ และเพอ่ื ศกึ ษาความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการต่อนวัตกรรม คัมภีร์ปรุงถูก สุขภาพดี โดยมี
กลมุ่ เปาู หมาย คอื อาสาสมัครประจําหมบู่ า้ น บ้านรอ่ งถา่ น และแกนนําครัวเรือน จาํ นวน 30 คน เครื่องมือที่
ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย แบบทดสอบความรู้ของการเข้ารว่ มโครงการ ประกอบดว้ ย 2 ส่วน ส่วนท่ี 1 คือ
ข้อมูลส่วนบุคคล และส่วนที่ 2 แบบทดสอบความรู้ จํานวน 20 ข้อ และ แบบสอบถามการใช้นวัตกรรม
ประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนท่ี 1 คือ ข้อมูลส่วนบุคคล และส่วนท่ี 2 ความพึงพอใจของผู้เข้าใช้นวัตกรรม
จํานวน 9 ข้อ ประกอบด้วย ความเป็นไปได้ ในการนําไปใช้จริง ความยากง่ายในการใช้ ความปลอดภัย
ประโยชน์ ความคุม้ ค่า ค้มุ ทุน ความคิด สร้างสรรค์ เป็นส่ือการสอนที่เข้าใจง่าย ตัวหนังชัดเจนและสามารถ
ปฏิบตั ติ ามได้เกบ็ รวบรวมข้อมูลโดยการใชแ้ บบสอบถาม ผู้วจิ ยั ทําการเกบ็ รวบรวมข้อมูลและจัดกิจกรรมตาม
โครงการใหก้ ับกลุ่มตัวอยา่ งเปน็ ระยะเวลา 1 สัปดาห์ โดยนาํ ข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์ จํานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย
และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 90.00 มีอายุ 41-50 ปี
คิดเป็นร้อยละ 50.00 มีอายุเฉล่ีย 48.06 ปี ผลการทดสอบความรู้ก่อนและหลังเข้าร่วมการใช้นวัตกรรม
จาํ นวน 20 ขอ้ พบว่า ก่อนเข้าร่วมโครงการกลุ่มเปาู หมายมีความรู้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 71.17 (SD = 0.33) อยู่ใน
ระดับมาก และหลังเข้าร่วมโครงการ พบว่า กลุ่มเปูาหมายมีความรู้เพิ่มข้ึน คิดเป็นร้อยละ 84.67
(SD = 0.30) อยู่ในระดบั มากทสี่ ดุ และหลงั การใช้นวตั กรรม พบว่า กลมุ่ เปูาหมายมีระดับความพึงพอใจมาก
ท่ีสุดในทุกด้าน โดยมีคะแนนเฉล่ียความพึงพอใจ 4.89 (SD=0.33) ซ่ึงนวัตกรรมดังกล่าวจะช่วยส่งเสริม
ความรู้ด้านการปรุงอาหารท่ีถูกสุขลักษณะ ซึ่งส่งทําให้กลุ่มตัวอย่างเกิดความตระหนัก และสามารถ
ปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมการปรงุ อาหารท่ีถกู สขุ ลกั ษณะ เพ่อื ปอู งกันการเกดิ โรคไม่ติดตอ่ เรือ้ รังในอนาคตได้

บทที่ 1
บทนา

1. ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา
ปัจจุบันพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรไทยเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ท้ังน้ีเป็นเพราะ

สภาพสังคม วัฒนธรรม ค่านิยม และความเจริญก้าวหนา้ ทางด้านเทคโนโลยีทท่ี นั สมัยมากขึ้น จากเดิมวิถีชีวิต
ในอดีตท่เี ป็นไปอย่างเรยี บง่าย ไมเ่ รง่ รีบ มีการประกอบอาหารและรับประทานอาหารอย่างพร้อมเพรียงกัน
ท้ังครอบครวั ปจั จุบันไดก้ ลายเป็นความเรง่ รีบในสังคมไทยประชากรส่วนมากมวี ถิ ีชวี ติ ท่ีเร่งรีบ จึงเปลี่ยนเป็น
การเลือกรับประทานอาหารนอกบา้ น รับประทานอาหารจานด่วน (fast food) และเลือกซื้ออาหารสําเร็จรูป
กันมากข้ึน เพราะความสะดวกและรวดเร็วในชีวิต ซึ่งอาหารเหล่านี้ผ่านกระบวนการแปรรูป และปรุงแต่ง
ดว้ ยเคร่ืองปรุงรส เพอื่ ต้องการให้กลุ่มเปูาหมายไดม้ ีการซ้ือ ขายและบริโภค แต่ไม่ได้คํานึงถึงความปลอดภัย
ท่ีอาจส่งผลเสียต่อสุขภาพร่างกายของผู้บริโภคในอนาคต (ลลิตา เดชาวุธ, 2561) อีกทั้งประชากรบางส่วน
ยังคงมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ถูกส่งต่อมายังรุ่นสู่รุ่น เช่น กลุ่มชนในเขตภาคเหนือ จะนิยม
รบั ประทานอาหารท่ีมีรสชาติกลาง มีรสเค็ม เปร้ียว และหวานเล็กน้อย การประกอบอาหารมักเป็นอาหาร
ประเภท นา้ํ พรกิ แกง ค่วั จอ ตาํ ยํา น่งึ ป้ิงยา่ ง ลาบ หลู้ ส้า และหมักดอง นอกจากน้ียังเกี่ยวข้องกับปัจจัย
ส่วนบุคคล ท่ีมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ รับประทานอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ และ
รับประทานอาหารรสชาติตามความชอบส่วนบุคคล ซึ่งพฤติกรรมเหล่าน้ีอาจส่งผลทําให้เกิดโรคไม่ติดต่อ
เรื้อรังในอนาคตได้ โดยโรคไม่ติดต่อเป็นโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการดําเนินชีวิตซ่ึงจะมีการดํา เนินของโรค
อย่างช้า ๆ ค่อย ๆ สะสมอาการอย่างต่อเน่ือง และเม่ือมีอาการของโรคแล้วมักเกิดการเรื้อรังของโรคด้วย
(เยาวภา ติอัชสุวรรณ, 2563)สาเหตุหลักที่สําคัญ คือ พฤติกรรมเส่ียงต่าง ๆ ในการดํา เนินชีวิต ได้แก่
การรับประทานอาหารรสจัด เช่น หวานจัด เค็มจัด อาหารท่ีมีไขมันสูง อาหารป้ิงย่าง การดื่มเครื่องด่ืม
แอลกอฮอล์ การสบู บหุ ร่ี การไมอ่ อกกําลังกาย การนอนดกึ และการมคี วามเครียดสูง ซึ่งบุคคลท่ีมีพฤติกรรม
การดําเนินชีวิตดังกล่าว มักมีความเส่ียงท่ีจะก่อให้เกิดโรคไม่ติดต่อเร้ือรังได้มากกว่าบุคคลอ่ืน ๆ เช่น
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น (ปวีณภัทร
นธิ ิตนั ติวฒั น์, 2560)

ผลการสํารวจของกองยุทธศาสตร์และแผนงาน สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขในปี 2562
พบว่า ประชากรชาวไทยมอี ตั ราปวุ ยดว้ ยโรคเบาหวาน 1,002,310 คน คดิ เป็น 1,528.91 อัตราต่อประชากร
กลางปี โรคความดันโลหติ สงู 1,566,052 คน คิดเปน็ 2,388.84 อัตราต่อประชากรกลางปี โรคไขมันในเลือด
สูง 706,593 คน คิดเป็น 1,077.83 อัตราต่อประชากรกลางปี และในจังหวัดแพร่มีอัตราผู้ปุวยด้วย
โรคเบาหวาน 8,485 คน คิดเป็น 1,916.16 อัตราต่อแสนประชากร โรคความดันโลหิตสูง 15,618 คน คิด
เปน็ 3,527.00 ต่อแสนประชากร โรคไขมันในเลอื ดสูง 5,754 คน คิดเป็น 1,299.42 ต่อแสนประชากร และ
ผลการสํารวจประชาชนในบา้ นร่องถ่าน พบวา่ เจ็บปุวยด้วยโรคความดันโลหิตสูงจํานวน 53 คน คิดเป็นร้อย

7

ละ 35.81 โรคเบาหวานจํานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 11.49 และโรคไขมันในเลือดสูงจํานวน 20 คน
คิดเป็นร้อยละ13.51 และผลจากการสํารวจประชาการในบ้านร่องถ่าน พบว่า มีอัตราการเจ็บปุวยด้วย
ไมต่ ิดต่อเร้ือรัง เช่น โรคเบาหวานจํานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 11.49 โรคความดันโลหิตสูง เป็น จํานวน
53 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 35.81 และโรคไขมนั ในเลือดสงู จํานวน 20 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ13.51

ผลจากการสาํ รวจขอ้ มลู และการทําประชาคมร่วมกับประชาชนในชมุ ชนบา้ นร่องถ่าน หมู่ท่ี 3 ตําบล
ทุ่งโฮ้ง ซึ่งเป็นพื้นท่ีในการฝึกปฏิบัติงานปฏิบัติการครอบครัวและชุมชน 2 พบปัญหาที่ได้จากการ
ทาํ ประชาคมและจัดลําดับความสําคัญของปัญหา ลําดับที่ 1 คือ ครัวเรือนกินอาหารไม่ถูกสุขลักษณะ ซ่ึงมี
สาเหตมุ าจากพฤตกิ รรมการรับประทานอาหาร การรบั ประทานอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ การไม่ล้างผักก่อนนํามา
ประกอบอาหาร การมพี ฤติกกรมไม่ล้างมอื ก่อนการรบั ประทานอาหาร ชอบรับประทานอาหารประเภทของ
ทอด ของมนั ปง้ิ ย่าง ปัญหาหลกั ทส่ี าํ คัญ คือ การมพี ฤติกรรมการรับประทานอาหารและปรุงอาหารที่มีรสจัด
ไดแ้ ก่ หวาน มนั เค็ม และเผ็ด ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวสัมพันธ์กับข้อมูลภาวะการเจ็บปุวย 3 อันดับที่พบมาก
ทีส่ ดุ ของชุมชนร่องถ่าน คือ โรคความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง และโรคเบาหวาน ประกอบกับผลการ
สํารวจพฤติกรรมประเภทอาหารที่ชอบรับประทาน จากแบบสอบถามข้อมูลสภาวะสุขภาพ วิทยาลัย
พยาบาลบรมราชชนนี แพร่ ในวันท่ี 13-15 ธันวาคม 2564 พบว่า ชุมชนบ้านร่องถ่านมีพฤติกรรมชอบ
รบั ประทานอาหารรสหวาน ร้อยละ 8.21 รสเค็ม ร้อยละ 11.10 รสเผ็ด ร้อยละ 9.73 และมีพฤติกรรมชอบ
รับประทานของทอดของมัน ร้อยละ 13.55

ดังน้ัน กระบวนการเสริมสร้างความรู้ให้กับประชาชน ชุมชน สังคม เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ท่ีดี
โดยมุ่งเนน้ การมีสว่ นรว่ มของประชาชน และมีการจัดประสบการณ์ท่ีเหมาะสม นับว่ามีความสําคัญอย่างยิ่ง
ในการที่จะพัฒนาส่งเสริมตัวของบุคคลอย่างยั่งยืน เพ่ือให้เกิดการมีความรู้ท่ีถูกต้อง นําไปสู่การมีความคิด
ทัศนคติท่ดี ี และแสดงออกโดยการมีพฤตกิ รรมทเ่ี หมาะสมของแต่ละบคุ คล (สจุ ิตรา ยางนอก, 2562)

จากสภาพปญั หาดงั กล่าว นักศกึ ษาพยาบาลศาสตร์ ชัน้ ปที ่ี 4 จึงได้พฒั นาต่อยอดนวัตกรรม “คัมภีร์
ปรุงถกู สขุ ภาพดี” ขน้ึ เพ่ือประยุกต์ใช้องค์ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารท่ีถูกสุขลักษณะสร้างเป็น
นวัตกรรม “คัมภีร์ปรุงถูก สุขภาพดี” และเพ่ือศึกษาผลของการใช้นวัตกรรม รวมถึงความพึงพอใจของ
ผู้เข้าร่วมโครงการตอ่ นวัตกรรม คัมภรี ์ปรุงถกู สุขภาพดี

2. วัตถปุ ระสงค์
1. เพอื่ พฒั นานวตั กรรม“คัมภีร์ปรงุ ถูก สขุ ภาพดี”
2. เพอ่ื ศึกษาผลของการใชน้ วตั กรรม คมั ภรี ป์ รงุ ถกู สุขภาพดี ตอ่ การมีความรูด้ ้านการปรุงอาหารท่ี

ถกู สขุ ลักษณะ
3. เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจของผ้เู ขา้ ร่วมโครงการตอ่ นวตั กรรม คมั ภรี ์ปรุงถกู สุขภาพดี

8

3. คาถามการศึกษา
นวัตกรรม คัมภีร์ปรุงถูก สุขภาพดี สามารถส่งเสริมความรู้ด้านการปรุงอาหารท่ีถูกสุขลักษณะ

เพ่ือส่งเสรมิ การปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรมการปรงุ อาหารที่ถกู สขุ ลักษณะ และช่วยลดการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ในอนาคตอยา่ งไร

4. สมมตฐิ านการศึกษา
4.1 นวัตกรรม “คัมภีร์ปรุงถูก สุขภาพดี” สามารถช่วยส่งเสริมด้านความรู้ต่อการปรุงอาหารท่ีถูก

สขุ ลกั ษณะได้อย่างเหมาะสม
4.2 คา่ เฉลยี่ ความพงึ พอใจของผู้เขา้ ร่วมโครงการอยใู่ นระดบั ดขี ึน้ ไป

5. คาจากดั ความ
คัมภีร์ปรุงถูก สุขภาพดี หมายถึง ตําราท่ีจัดทําข้ึนไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เพ่ือนําเสนอเน้ือหา

เก่ยี วกบั ปรมิ าณของเคร่ืองปรุงรสท่ีพบไดบ้ อ่ ยในครวั เรอื น ภายในตําราประกอบด้วยเน้ือหาเก่ียวกับ ปริมาณ
นา้ํ ตาล ไขมัน และโซเดยี ม จํานวน 1 ช้อนโต๊ะ ต่อหนงึ่ หน่วยบริโภค โดยแบ่งออกเป็นหมวด 3 หมวด ได้แก่
หมวดเคร่อื งปรงุ รสหวาน มัน เค็ม และเพื่อการนาํ เสนอเนือ้ หาท่ีหลากหลายจงึ จดั ทําควิ อาร์โคด้ สาํ หรับสแกน
เพอื่ ศึกษาปรมิ าณเครอื่ งปรงุ ในแตล่ ะเมนทู บ่ี ริโภคบอ่ ยในครวั เรอื น ไดแ้ ก่ ปริมาณนํ้าตาล ไขมัน และโซเดียม
ในพืชผักสวนครัว ในอาหารประเภทเบอเกอรี่ เคร่ืองด่ืม ชา กาแฟ และนมเปรี้ยว เป็นต้น อีกท้ังยังมีการ
จัดทาํ ควิ อาร์โค้ดสําหรับฟังเสียงประกอบการบรรยาย เป็นภาษาท้องถ่นิ ในภาคเหนือ สาํ หรับบคุ คลท่ีมีปัญหา
ในด้านสายตา การใช้ภาษา และการอ่านหนงั สือ เปน็ ตน้

พฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ หมายถึง พฤติกรรมการบริโภคอาหารหวาน
มัน เค็ม ท่ีมากเกินความต้องการของร่างกาย รวมถึงการบริโภคอาหารที่ปรุงไม่สุกและไม่สะอาด ล้วนเป็น
พฤติกรรมเส่ียงทีก่ อ่ ให้เกิดความเสื่อมถอยของสุขภาพและเป็นปัญหาสุขภาพ ได้แก่ โรคอ้วน โรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคหลอดเลือดสมอง และโรคระบบทางเดินอาหาร เป็นต้น
(กองสุขศึกษา กรมสนับสนนุ บรกิ ารสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข, 2563)

โรคไม่ติดตอ่ เรื้อรัง หมายถึง โรคทเี่ กดิ จากพฤตกิ รรมการดาํ เนนิ ชีวิ ซึ่งจะมีการดําเนินของโรคอย่าง
ชา้ ๆ คอ่ ยๆสะสมอาการอย่างต่อเนื่อง และเมื่อมีอาการของโรคแล้วมักเกิดอาการเรื้อรังของโรคด้วยสาเหตุ
หลักทส่ี ําคญั คือ พฤตกิ รรมเสยี่ งตา่ งๆในการดําเนนิ ชีวติ ได้แก่ การรับประทานอาหารรสจัด เช่น หวาน มัน
เคม็ อาหารไขมนั สูง อาหารปิ้งย่าง การด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหร่ี การนอนดึก การไม่ออกกําลัง
กาย ซ่ึงคนท่ีมีพฤติกรรมการดําเนินชีวิตดังกล่าวมักมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (สํานักงาน
กองทนุ สนบั สนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2560)

9

6. ประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รบั
6.1 กลุ่มเปาู หมายเกดิ การปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมในการปรงุ อาหารท่ีถกู สุขลักษณะ และไดม้ าตรฐาน

ในระยะยาวจากการใชน้ วัตกรรม คัมภรี ์ปรงุ ถกู สขุ ภาพดี
6.2 กลุ่มเปาู หมายสามารถนาํ ความรู้ ความเขา้ ใจ และแนวทางในการปฏบิ ัตติ นทถ่ี ูกตอ้ ง หลังการใช้

นวตั กรรม คัมภรี ป์ รงุ ถูก สขุ ภาพดี ไปเผยแพรแ่ กบ่ คุ คลอ่นื ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสม
6.3 กลุ่มเปูาหมายมสี ขุ ภาพร่างกายท่แี ขง็ แรง ไมเ่ จ็บปุวยดว้ ยโรคไมต่ ดิ ตอ่ เร้อื รงั
6.4 อัตราการปุวยดว้ ยโรคไม่ตดิ ตอ่ เรื้อรังของประชากรบา้ นรอ่ งถา่ นมแี นวโนม้ ลดลง

10

บทที่ 2
การทบทวนความรู้และหลักฐานเชิงประจกั ษ์ทเ่ี ก่ียวข้อง

การพฒั นานวัตกรรม “คัมภรี ์ปรงุ ถกู สุขภาพดี” ครง้ั นี้ ผู้ศกึ ษาไดท้ ําการทบทวนเอกสารวชิ าการ
และหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ทีเ่ กี่ยวข้อง เพอ่ื ใชเ้ ป็นฐานคดิ ในการพัฒนานวัตกรรม ดังน้ี

1. พฤติกรรมการรับประทานอาหาร

1.1 อาหาร
อาหาร หมายถึง วตั ถทุ ุกชนิดที่คนนาํ มาบรโิ ภค ด่ืม อม หรือนําเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าด้วยวิธีใด ๆ หรือ
ในรูปลักษณะใด ๆ แต่ไม่รวมถึงยาวัตถุออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาทหรือยาเสพติดให้โทษ ตามกฎหมายว่า
ด้วยการนั้น แล้วแต่กรณี และวัตถุท่ีมุ่งหมายสําหรับใช้ หรือใช้เปล่ียนส่วนผสมในการ ผลิตอาหาร รวมถึง
วตั ถุเจือปนอาหาร สี และเครื่องปรุงแตง่ กล่ินรส (นภาพร อ่อนดีและประสิทธ์ิ ออ่ นดี, 2560)
อาหาร หมายถึง สง่ิ ใดกต็ ามทีร่ บั เขา้ สู่ร่างกายแล้วเกิดประโยชน์แก่ร่างกาย ซึ่งการรับเข้าสู่ร่างกาย
จะด้วยวิธใี ดก็ตามอาหารเป็นส่งิ จาํ เป็นสําหรับมนุษย์เม่ืออาหารเข้าสู่ร่างกายแล้วจะเกิดขบวนการย่อย การ
ดูดซมึ การแปรรปู การขนส่งไปยัง อวยั วะส่วนต่าง ๆ เพอื่ ใช้ประโยชน์ในการดํารงไว้ซ่ึงการทํางานของเซลล์
อวัยวะต่าง ๆ ของรา่ งกายใหเ้ ป็นปกติ (พระราชบญั ญตั ิอาหาร, 2522)
อาหารปลอดภัย หรือความปลอดภยั ของอาหาร หมายถึง อาหารท่ีได้มีการจัดเตรียมปรุงผสม และ
ปรุงสุกอย่างถูกต้องตามวิธีการและวัตถุประสงค์ของอาหารนั้น เมื่อบริโภคจะไม่เกิดอันตรายต่อร่างกาย
(กลมุ่ งานคมุ้ รองผบู้ รโิ ภคดา้ นอาหาร กองสขุ าภิบาล สํานกั อนามยั , 2559)
ความปลอดภยั ของอาหาร หมายถงึ การประกันอาหารท่ีมุ่งหมายสําหรับการบริโภคหรือ ใช้เปล่ียน
ส่วนประกอบในการผลิตอาหารว่า จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายทางกายภาพ เคมี หรือชีวภาพต่อ สุขภาพของ
ผู้บริโภคโดยใช้วธิ กี ารและปริมาณในการปฏิบัติอย่างเหมาะสมและมีแบบแผน (นภาพร อ่อนดีและประสิทธ์ิ
ออ่ นดี, 2560)
จากการศกึ ษาของ ไพรบรู ณ์ ชาวสวนศรีเจริญ ในปี พ.ศ. 2558 ได้ให้ความหมายของโภชนาการไว้
ดงั น้ี
1. เปน็ ศาสตรท์ วี่ า่ ดว้ ยอาหาร สารอาหารและสารอื่น ๆ ซึง่ ทําปฏิกิริยาหรือมีปฏิสัมพันธ์กับร่างกาย
เพอ่ื ให้มีสุขภาพดีหรอื ไมด่ ี
2. เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยกระบวนการเผาผลาญอาหารต่าง ๆ ตั้งแต่การนําอาหารเข้าสู่ร่างกาย
การยอ่ ยอาหาร การดดู ซมึ สารอาหาร การขนถ่าย การใช้ประโยชน์ และการขับถา่ ยของเสยี ออกจาก รา่ งกาย
3. เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยความต้องการสารอาหารแต่ละชนิด ทั้งในเชิงปริมาณ และเชิง คุณภาพ
เพ่อื ให้เหมาะสมกบั บคุ ลแต่ละวยั เพอ่ื ใหเ้ พียงพอกับความต้องการของร่างกายเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลง
ทางสรีรวทิ ยาการประกอบกิจกรรมตา่ ง ๆ ที่เกิดข้ึนทงั้ ในภาวะปกติและไม่ปกติ

11

1.2 พฤติกรรม

พฤติกรรมบริโภคอาหาร หมายถึง การกระทําหรือการแสดงเก่ียวกับการบริโภคอาหาร
การเลือกรับประทานอาหารวิธีการรับประทานอาหารการปฏิบัติต่อการเลือกชนิดของอาหารปริมาณและ
ความถใ่ี นการรับประทานอาหาร

เฉลิมพล ตนสั กุล (2541) ใหค้ วามหมายพฤติกรรมไวว้ ่าหมายถึง กิจกรรมต่างๆที่เกิดขึ้นซึ่งอาจเป็น
การกระทําที่บุคคลน้ันแสดงออกมา รวมท้ังกิจกรรมที่เกิดขึ้นในตัวบุคคลและกิจกรรมนี้อาจ สังเกตได้ด้วย
ประสาทสมั ผสั หรือไมส่ ามารถสงั เกตได้ สามารถแบง่ พฤติกรรมออกเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่

1.2.1 พฤติกรรมภายนอก (Overt behavior) คือ การกระทาที่เกิดขึ้นสามารถสังเกตได้ด้วย
ประสาท สมั ผัสหรอื อาจใช้เครื่องมอื ช่วย

1.2.2 พฤติกรรมภายใน (Covert behavior) คือ กระบวนการที่เกิดข้ึนภายในจิต บุคคลอื่นไม่
สามารถ สงั เกตได้

2. เคร่อื งปรุงรส
จารุวรรณ เจตเกษกิจ (2552) ได้ให้ความหมายของ เครื่องปรุงรส ว่าหมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่

ประกอบดว้ ยเครือ่ งเทศหรือสารสกดั จากเครื่องเทศจํานวนหนึ่งชนิดหรือมากกว่า ซ่ึงเม่ือเติมลงไปในอาหาร
แล้วจะช่วยเพิ่มรสชาติของอาหาร โดยเฉพาะอาหารไทยท่ีใช้วัตถุดิบท่ีมีความเฉพาะตัวในการประ กอบ
อาหารทําให้อาหารไทยมีเอกลักษณ์เฉพาะแตกต่างจากอาหารของชาติอื่น รวมถึงการใช้วัตถุดิบต่าง ๆ
มาชว่ ยในการปรงุ รสชาตอิ าหารใหอ้ ร่อยและมกี ล่ินหอมย่ิงข้นึ

Gunawan-Puteri (2015) และคณะ ได้ให้ความหมาย ผงปรุงรสอาหาร คือ ผลิตภัณฑ์ท่ีได้จาก
การนาํ เนื้อสัตว์เช่น ไก่ หมู มาใหค้ วามรอ้ นจนแห้ง บด เป็นผง ปรุงรสด้วยเคร่ืองปรุงรสและเคร่ืองเทศ เช่น
นํ้าตาล เกลือ กระเทียม พรกิ ไทย โมโนโซเดียม-แอลกลตู าเมต (ผงชูรส) ในทางอุตสาหกรรมการผลิตผงปรุง
รส มีการใชส้ ารสงั เคราะห์หลากหลายชนิดเปน็ ส่วนผสมเพื่อปรับปรุงคณุ ภาพของผลติ ภณั ฑ์

2.1 เครอ่ื งปรงุ รสหวาน

องค์การอนามัยโลกได้ให้ความหมาย เครื่องด่ืมที่มีรสหวานว่า(Sugar-sweetened beverages;
SSB) หมายถึง เครื่องดื่มท่ีมีรสหวานที่ได้จากการเติม น้ําตาลท้ังชนิดโมเลกุลเด่ียวและโมเลกุลคู่ในระหว่าง
กระบวนการผลิตและน้าํ ตาลทอี่ ยใู่ นน้าํ ผง้ึ และนาํ้ ผลไม้ (WHO, 2015, 2018)

ศูนย์ปูองกัน และควบคุมโรคแห่งชาติสหรัฐอเมริกาได้ให้ความหมายของเคร่ืองด่ืมท่ีมีรสหวาน
หมายถึง เครอ่ื งดม่ื ทม่ี ีสว่ นผสมของสารให้ความหวาน ทใี่ หพ้ ลงั งาน ไดแ้ ก่ นาํ้ อัดลม นํ้าผลไม้ เครื่องด่ืมเกลือ
แร่ (Sports drinks) เคร่ืองด่ืมท่ีไม่ให้พลังงาน (Energy drinks) นมท่ีมีรสหวาน รวมถึงชา กาแฟท่ีเติม
น้าํ ตาล (Centers for Disease Control and Prevention, 2010)

12

2.2 เครอื่ งปรงุ รสมนั
Cholesterol คอื สเตอรอยดแ์ อลกอฮอล์ที่สามารถพบในไขมันจากสัตว์ ไข่แดง เส้นประสาท ต่อม
หมวกไต คอเลสเตอรอลยงั เป็นสารตง้ั ตน้ ของนา้ํ ดี และสเตอรอยดฮ์ อรโ์ มนคอเลสเตอรอลในร่างกายยังมีการ
จากตับเป็นส่วนใหญ่ ส่วนน้อยมาจากอาหาร แบ่งเป็น 2 ประเภท High-Density-Lipopotein (HDL) และ
Low- density lipoprotein (LDL) แอลดีแอลโคเลสเตอรอล (LDL-C) เป็นคอเลสเตอรอลที่มีความ
หนาแน่น โดยท่ีผิวของเซลล์ตับหรือเซลล์เน้ือเยื่อจะมีตัวรับแอลดีแอล (LDL-receptor) ซึ่งเป็นตัวรับที่
เฉพาะตอแอลดีแอลที่ทําใหแอลดแี อลเขาสู่เซลล์ ดังน้ันเมอื่ ขาดหรือพรองในการทํางานของตัวรับแอลดีแอล
เชน จากการได้รับยาสเตียรอยด การเป็นโรคตับ การบริโภคอาหารที่มีคอเลสเตอรอลและไขมันอ่ิมตัวมาก
เกินความตองการในการทําหนาที่ของเซลล์ จึงทําใหเกิดภาวะแอลดีแอลคอเลสเตอรอลในเลือดสูงผิดปกติ
และพบวาระดบั แอลดีแอลคอเลสเตอรอลท่ีสูงกวา 100 มิลลกิ รมั ตอเดซลิ ิตร กอใหเกิดภาวะหลอดเลือดแดง
แข็งและโรคหลอดเลอื ดหวั ใจ (อารมณ เจษฎาญาณเมธา, 2549)
เอชดีแอลคอเลสเตอรอล (HDL-C) เป็นคอเลสเตอรอลที่มีขนาดเล็กสุดแต่ความหนาแน่นสูง
สรางจากตับและลําไสเล็ก ทําหนาท่ีเป็นตัวช่วยในการสลายไคโลไมครอน และ วีแอลดีแอล ช่วยย้ายท่ี
คอเลสเตอรอลสวนเกินออกจากเน้ือเย่ือมาขับออกท่ีตับโดยกระบวนการที่เรียกวา reverse cholesterol
transport ย่ิงกวานั้นเอชดีแอลคอเลสเตอรอล ยังช่วยยับยั้งการเกิดออกซิเดช่ันของแอลดีแอลคอ
เลสเตอรอลยบั ยงั้ การรวมตัวและการยึดเกาะกันของโมเลกุลต่าง และยับย้ังการรวบรวมเม็ดเลือดขาวโมโน
ไซท(monocyte) กลไกเหลานี้จะประสานกันในการปองกันหลอดเลือดแดงแข็ง นอกจากน้ีเอชดีแอลคอ
เลสเตอรอล ยังอาจชวยลดการเกิดหลอดเลือดอุดตัน (thrombosis) โดยช่วยยับย้ังการทํางานและการ
รวมตัวกันของเกล็ดเลือด (อภิชาต สุคนธสรรพ, 2550) ดังน้ันผู้ที่มีระดับเอชดีแอลโคเลสเตอรอลเพียงพอ
(มากกวา 40 มลิ ลิกรมั ตอเดซิลติ ร) จึงมีความเส่ียงในการเกดิ ภาวะหลอดเลอื ดอุดตันไดน้ ้อย (อษุ ณีย วินิจเขต
คํานวณ, 2547)

2.3 เครอื่ งปรงุ รสเคม็

โซเดียม เปน็ หนึ่งในเกลอื แร่ทสี่ าํ คัญในร่างกาย ทําหน้าท่ีควบคุมสมดุลของเกลือแร่ การกระจายตัว
ของน้ําในส่วนต่างๆ ของร่างกาย ควบคุมสมดุลของกรดด่าง การเต้นของหัวใจและชีพจร มีผลต่อความดัน
โลหิต การทํางานของเส้นประสาทและและกล้ามเน้ือ ร่างกายได้รับโซเดียมจากอาหารซ่ึงมักอยู่ในรูปของ
เกลือโซเดยี มคลอไรด์ มรี สชาติเค็ม มกั ใช้เพื่อปรุงรสหรือถนอมอาหาร เช่น นํ้าปลา กะปิ (อติพร อิงค์สาธิต,
2554)

โซเดียม และโซเดยี มแฝง คอื โซเดยี มเปน็ ส่วนประกอบของเกลอื ถึง ร้อยละ 40 ร่างกายแต่ ละคนมี
ความไวต่อโซเดียมไม่เท่ากัน หมายความว่าถ้าคนที่มีความไวต่อโซเดียมแล้วไปกินเค็มหรือ โซเดียมมาก
อาจทําให้เกิดความดันโลหิตสูงได้ ดังน้ันร่างกายควรได้รับโซเดียมอย่างน้อยวันละ 500 มิลลิกรัม สูงสุดไม่
เกนิ วันละ 2,400 มลิ ลกิ รัม แต่ถา้ สามารถลดปรมิ าณโซเดียมได้ถงึ วันละ 1,800 มิลลกิ รัม จะมีผลดีต่อสุขภาพ
มากกว่า (โซเดยี ม 2,400 มิลลิกรมั = เกลอื 6 กรมั หรือประมาณ 1 ช้อน ชา) อาหารธรรมชาติจะมีโซเดียม

13

เลก็ นอ้ ย ยกเว้นอาหารทะเล แตป่ ัจจบุ นั น้รี อ้ ยละ 75 ของโซเดียมทีบริโภคมาจากอาหารที่ผ่านกระบวนการ
ผลิตทางอตุ สาหกรรม ประมาณร้อยละ 20 มาจากการปรงุ อาหารและซอสปรงุ รสตา่ งๆ เหลือเพียงร้อยละ 5
เท่านน้ั ทไี่ มไ่ ดผ้ า่ นกระบวนการ ดังน้ันจงึ จําเป็นต้อง เรียนรู้ว่าโซเดียมแทรกตัวอยู่ในอาหารชนิดใดบ้าง การ
ลดโซเดียมไมใช่เพียงแค่เป็นการลดเกลือเท่านั้น เพราะอาหารหลายชนิดมีโซเดียมแฝงอยู่ เช่น ซอสต่างๆ
นํ้าปลา ซีอ้ิว กุ้งแห้ง อาหารผ่าน กระบวนการแปรรูป เช่น ไส้กรอก แหนม รวมท้ังของหมักดองทุกชนิด
อาหารกระป๋อง นอกจากน้ีโซเดียมยังแอบแฝงในอาหารรูปอื่น แต่ไม่มีรสชาติเค็ม เช่น ผงชูรส ผงฟู
แม้กระทง่ั สารกนั บูด ก็มโี ซเดยี มเปน็ สว่ นผสม เช่นกัน ( ศัลยา คงสมบรู ณเวช, 2553)

3. โรคไมต่ ิดต่อเร้อื รัง
3.1 โรคไม่ตดิ ต่อเรื้อรงั (non-communicable diseases: NCD)
Department of Health (2018) กล่าวว่า โรคไม่ติดต่อหรือโรคเรื้อรัง (Non-communicable

diseases: NCDs) หมายถึง กลุ่มโรคไม่ติดต่อท่ีไม่สามารถแพร่กระจายโรคจากคนสู่คนได้ เป็นโรคท่ีเกิดขึ้น
ต่อเน่อื งยาวนาน และมีการเกิดของโรคเป็นไปอยา่ งช้า ๆ ซึ่งแตกต่างจากโรคติดเชื้อส่วนใหญ่ ท่ีมักมีการเกิด
โรคอย่างรวดเรว็ กลมุ่ โรคไม่ติดต่อหรอื โรคเรอื้ รงั ท่สี าํ คัญ ประกอบด้วย 4 กลุ่ม ไดแ้ ก่

1. กลมุ่ โรคระบบหวั ใจและหลอดเลือด รวมถงึ โรคหวั ใจและโรคหลอดเลอื ดสมอง
2. กล่มุ โรคเบาหวาน
3. กลุ่มโรคมะเร็ง
4. กลมุ่ โรคระบบทางเดินหายใจเร้อื รงั
สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย (2018) กล่าวว่า โรคความดันโลหิตสูง (hypertension)
หมายถงึ ระดบั ความดนั โลหิตซสิ โตลิก(systolic blood pressure, SBP) > 140 มม.ปรอท และ/หรือ ความ
ดนั โลหิตไดแอสโตลกิ (diastolic blood pressure, DBP) >90 มม.ปรอท
สุรเกียรติ อาชานานุภาพ (2560) กล่าวว่า โรคความดันโลหิตสูง หมายถึง ความดันโลหิตซิสโตลิก
(Systolic blood pressure) สูงกว่าหรือเท่ากับ 140 มิลลิเมตรปรอท หรือความดันโลหิตไดแอสโตลิก
(Diastolic blood pressure)สูงกว่าหรือเท่ากับ 90 มิลลิเมตรปรอท แรงดันของกระแสเลือดภายในหลอด
เลอื ดแดง ทเี่ กดิ จากการสบู ฉีดเลอื ดของหวั ใจเพ่ือนํา เลอื ดไปเลยี้ งเซลลต์ ่าง ๆ ภายในรา่ งกาย
อุระณี รตั นพทิ ักษ์ (2561) กล่าวว่า โรคเบาหวาน เป็นชื่อกลุ่มอาการของโรคซึ่งร่างกายไม่สามารถ
ใช้นา้ํ ตาลได้ตามปกติเน่ืองจากมีอินซูลินที่มีประสิทธิภาพไม่เพียงพอต่อความต้องการตามปกติของร่างกาย
ทําให้ระดับนํ้าตาลในเลือดสูงข้ึนเกนิ ขดี จํากัดที่จะสามารถกักเก็บเอาไว้ได้จึงถูกขับออกมาทางปัสสาวะ เม่ือ
รา่ งกายขาดพลงั งานจากน้ําตาล จึงเปล่ียนมาใช้โปรตีนและไขมันทําให้ร่างกายเกิดการเปลี่ยนแปลง ในการ
ใช้โปรตนี และไขมนั ตามมาใช้ โรคเบาหวานเปน็ ความผิดปกติทางเมตาบอลิซึมซึ่งมีลักษณะสําคัญ คือ ระดับ
นํ้าตาลสูงในเลือด จากความบกพร่องในการหลั่งอินซูลิน หรือการออกฤทธ์ิของอินซูลิน หรือทั้งสองอย่าง
ร่วมกัน การเกิดภาวะน้ําตาลในเลือดสูง เป็นระยะเวลานานทําให้เกิดการทําลาย การเสื่อมสมรรถภาพ และ

14

การล้มเหลวในการทํางานของอวยัวะต่าง ๆ ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนเร้ือรังท่ีสําคัญ ไปบริเวณ ตา ไต
ปลายประสาทหวั ใจ และหลอด

อรทิพย์ เอง่ ฉว้ น (2563) กลา่ วว่า โรคเบาหวาน หมายถงึ กลุ่มโรคทางการเผาผลาญพลังงานซึ่งเป็น
ผลมาจากความผดิ ปกตขิ องตับออ่ นในการหล่ังอินซลู ิน หรือการออกฤทธิข์ องอนิ ซูลนิ หรือทัง้ สองอยา่ ง ทําให้
การเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีนผิดปกติ ส่งผลให้ระ ดับนํ้าตาลในเลือดสูงขึ้น
(Hyperglycemia) หากระดับนํ้าตาลในเลือดสูงเกินความสามารถของไตท่ีกักเก็บไว้ได้ ก็จะขับออกมาทาง
ปัสสาวะ และเม่อื นํ้าตาลสงู เป็นระยะเวลานาน ๆ กจ็ ะเกดิ ภาวะแทรกซ้อนเรื้อรัง การเส่ือมสมรรถภาพ และ
ความลม้ เหลวของการทํางานของอวัยวะต่าง ๆ

พ่ึงใจ งามอุโฆษ (2560) กลา่ ววา่ ภาวะไขมันในเลือดในเลือดสูง เป็นภาวะที่ร่างกายมีความผิดปกติ
ของระดบั ไขมันในเลือดต่างไปจากเกณฑ์ที่เหมาะสมโดยพิจารณาจากระดับคอเลสเตอรอลรวม ไตรกลีเซอ
ไรด์ แอลดีแอลคอเลสเตอรอล และเอชดแี อลคอเลสเตอรอลระดับไขมันผิดปกติแบบใดแบบหน่ึง หรือ ทั้ง 2
อย่าง

พีระ สมบัติดี (2563) กล่าวว่า ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ (Dyslipidemia) หมายถึง ภาวะที่มี
โคเลสเตอรอล (Cholesterol) อยู่ในเลือดสูงมากกว่า 200 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ไตรกลีเซอไรด์
(Triglyceride) มากกว่า 150 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ไลโปโปรตีนที่มีความหนาแน่นตํ่า (Low Density
Lipoprotein : LDL) มากกว่า 160 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ไลโปโปรตีนที่มีความหนาแน่นสูง (High Density
Lipoprotein : HDL) ภาวะไขมนั ในเลอื ดผดิ ปกตินอ้ ยกว่า 50 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร โดยต้องเจาะเลือดตรวจ
ซํ้ากัน 2-3 ครง้ั หา่ งกนั ครั้งละ 2-3 สัปดาห์และเปน็ การเจาะเลือดในตอนเช้าหลังนอนพักผ่อนมาเต็มท่ีและ
งดอาหารเครอื่ งดื่มต่าง ๆ เปน็ เวลาอยา่ งน้อย 10 ชัว่ โมงแล้ว

4. งานวจิ ัยและนวตั กรรมทเ่ี ก่ยี วข้อง

จากการทบทวนนวตั กรรมจาํ นวน 21 ฉบบั ได้แนวคิดจํานวน 6 ฉบบั ในการนํามาพัฒนานวัตกรรม
“คัมภีร์ปรงุ ถูก สขุ ภาพด”ี ได้แก่

ไกรศร วงศ์ธิดา (2563) ได้ศึกษาเร่ือง แนวทางการปรับเปล่ียนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและ
การอ่านฉลากโภชนาการในกลุ่มผู้ปุวยโรคเรื้อรัง ชุมชนบ้านปุาเหียง ตําบลบ่อแฮ้ว อําเภอเมือง จังหวัด
ลําปาง มีวัตถุประสงค์ เพ่ือพัฒนาแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการอ่านฉลาก
โภชนาการในกลุ่มผู้ปุวยโรคเรื้อรัง และเพ่ือประเมินผลลัพธ์ของแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ
บริโภคอาหารและการอา่ นฉลากโภชนาการในกลุ่มผู้ปุวยโรคเร้ือรัง ชุมชนบ้านปุาเหียง ตําลบ่อแฮ้ว อําเภอ
เมอื ง จังหวัดลาํ ปาง กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ปุวยโรคเรื้อรังท่ีเข้ารับการตรวจรักษาท่ีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตาํ บลบ้านทา่ ขัว จํานวน 100 คน โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ผลการวิจัยหลังการใช้แนวทางพัฒนา
พบวา่ กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนความรแู้ ละพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการอ่านฉลากโภชนาการหลังการ
พฒั นาสูงกวา่ ก่อนเขา้ รว่ มการอบรม อย่างมนี ยั สาํ คัญทางสถิตทิ ี่ 0.5 จากงานวิจัยฉบับน้ีพบว่าการอ่านฉลาก
โภชนาการท่ีถูกต้องในการปูองกันและลดความเส่ียงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง ได้แก่ เรื่องลดหวานมันเค็มโดย

15

บรรยายให้ความรู้ในเรื่องอันตรายของโรค ดังนั้น หากมีการแนะนําการอ่านฉลากอาหารและรูปแบบที่ให้
ประชาชานเห็นชดั เจนจะสามารถช่วยให้ประชาชนมคี วามเข้าใจละสามารถปูองกันโรคตดิ ต่อไมเ่ รื้อรังได้

นวลนิตย์ ไชยเพชรและคณะ (2560) ได้ศกึ ษาเรือ่ ง ประสทิ ธผิ ลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สุขภาพต่อ พฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเส่ียง โรคไม่ติดต่อเร้ือรังชุมชนโพหวาย ตําบลบางกุ้ง อําเภอเมือง
จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี วตั ถุประสงค์เพอ่ื ศกึ ษาประสทิ ธผิ ลของโปรแกรมปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรมสขุ ภาพ ของกลุ่ม
เสี่ยงโรคไมต่ ิดต่อเรื้อรงั กลุม่ ตัวอยา่ งเลือกกลุม่ ตวั อยา่ งแบบเฉพาะเจาะจงกลุ่มเสย่ี ง โรคไมต่ ดิ ต่อเรื้อรงั ที่เข้า
มารับบริการ ณ ศูนย์สุภาพชุมชนเมืองโพหวาย จํานวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 30 คน และกลุ่ม
ควบคุม 30 คน ผลการวิจัยพบว่า หลังเข้าร่วมโปรแกรมปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มทดลองมีค่า
มธั ยฐานของคะแนน การรับรู้ความรุนแรงของโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง และพฤติกรรมสุขภาพเพ่ือปูองกันโรคไม่
ติดต่อเรื้อรัง สูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติท่ี p<.05 จากผลงานวิจัยนําไปใช้ในการพัฒนา
นวัตกรรมในส่วนของ แนะนําการรับประทานอาหารในแต่ละวันโดยใช้ส่ือ Model อาหาร แนะนํา
เครื่องปรุงรสที่ควรรับประทานในแต่ละวันเพ่ือให้เกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมสุขภาพเพ่ือลดภาวะเส่ียง
ของการเกิดโรค NCD และสอนในการศึกษาฉลากโภชนาการก่อนเลือกรับประทานอาหารบรรจุสําเร็จ
แนะนําให้ศกึ ษาฉลากโภชนาการกอ่ นเลือกซ้ืออาหารบรรจุสําเรจ็ ทกุ ครง้ั

พัชราภรณ์ อารีย์,อุมาพร ปุญญโสพรรณ, วิจิตร ศรีสุพรรณ, และสถิตวงศ์สุรประกิต (2560) ได้
ศึกษาเร่ือง ผลของรูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินต่อระดับไขมันและนํ้าตาลในเลือดในสตรีที่มี
ภาวะไขมนั ในเลอื ดสูงวัตถุประสงค์ เพื่อศกึ ษาผลของรปู แบบการปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมการกนิ ตอ่ ระดับไขมัน
และนาํ้ ตาลในเลือดในสตรีทม่ี ภี าวะไขมันในเลือดสูง กล่มุ ตัวอย่างเปน็ สตรีที่หมายถึงผู้หญิงที่มีไขมันในเลือด
สูงคือมีระดับโคเลสเตอรอลในเลือดสูงตั้งแต่ 200 มิลลิกรัม/เดซิลิตร ข้ึนไปและมีอายุต้ังแต่ 18 ปีขึ้นไปที่
อาศัยในชุมชนเคหะชุมชน เขตเทศบาลนครเชียงใหม่ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ แ ละมีหน้าที่ในการ
จัดเตรียมอาหารและปรุงอาหารของครอบครัว จํานวน 30 คน ผลการวิจัยพบว่าระดับโคเลสเตอรอล และ
แอลดีแอล -โคเลสเตอรอลในเลือดระยะหลังเข้าร่วมโครงการตามรูปแบบที่เป็น ข้อตกลงร่วมกันเพื่อ
สนับสนุน พฤติกรรมการกินเพื่อให้มีคุณค่าทางโภชนาการและปลอดภัยเป็นเวลา 6 เดือนมีค่าลดลงอย่างมี
นยั สาํ คญั ทางสถิติท่ี 0.05 จากงานวิจัยใหค้ วามรู้เร่อื งของการเลือกรับประทานอาหาร แบ่งกลุ่มทํากิจกรรม
การทําอาหารเพ่ือสุขภาพและถูกสุขลักษณะ รณรงค์การจําหน่ายอาหารให้กับร้านค้า มีการแลกเปลี่ยน
ความรคู้ วามคิดเห็น เจตคติระหว่างการเลอื กรบั ประทานอาหาร และการสาธิตการประกอบอาหารสําหรับผู้
ทเี่ ขา้ รว่ มโครงการ

โภคิน ศักรินทร์กุล (2019) ได้ศึกษาเร่ือง การสร้างและหาประสิทธิผลวิธีสอนเร่ืองรายการอาหาร
แลกเปลี่ยนไทย หมวดผักสําหรับผู้ปุวยเบาหวาน. วัตถุประสงค์เพื่อสร้างและหาประสิทธิผลวิธีสอนเรื่อง
รายการอาหาร แลกเปลยี่ นไทยหมวดผกั สําหรบั ผปู้ ุวยเบาหวาน กลมุ่ ตวั อย่าง ผ้ปู ุวยเบาหวานตามนิยามศัพท์
จํานวน 59 คน ที่ทําการรักษาเบาหวานกับแพทย์ที่ศูนย์แพทย์ชุมชน ต.มะเขือแจ้ อ.เมือง จ.ลําพูน หรือ
เครอื ขา่ ยศนู ย์ สขุ ภาพชุมชนข้างเคยี งและผา่ นเกณฑ์การคัดเลือก ถูกสุ่มแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม เพื่อรับการให้
ความร้ขู ณะมารบั ยาเบาหวานกับแพทย์ โดยกลุ่มท่ี 1 จํานวน 20 คนเป็นกลุ่มควบคุมที่ได้รับการรักษาตาม

16

ขน้ั ตอนปกติกลุ่มท่ี 2 จํานวน 21 คน ได้รับการสอนโดยผู้ให้ความรู้อา่ นบัตรให้ความรเู้ ร่อื งผักให้ฟัง และกลุ่ม
ที่ 3 จํานวน 18 คน ได้รับการสอนโดยใช้จ๋ิวแจ๋วโมเดล ผลการวิจัยพบว่าคะแนนจากการทําแบบทดสอบ
เร่ืองผักให้พลังงานในกลุ่มท่ี 2 ซึ่งสอนโดยใช้บัตรให้ความรู้เรื่องผักให้พลังงานมีค่าสูงกว่าการรักษาตาม
ขั้นตอนปกติอย่างมีนัย สําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 และผลคะแนนจากการทําแบบทดสอบเรื่องผักให้
พลังงานในกลุ่มที่ 3 ซึ่งใช้จ๋ิวแจ๋วโมเดลมีค่าสูงกว่าการรักษาตามขั้นตอนปกติอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติท่ี
ระดับ 0.05 แต่คะแนนที่ได้จากการทําแบบทดสอบเร่ืองผักให้พลังงานในกลุ่มท่ี 3 ซ่ึงใช้จ๋ิวแจ๋วโมเดลมีค่า
มากกวา่ กลมุ่ ท่ี 2 ซ่งึ สอนโดยใช้บัตรให้ความรเู้ ร่อื งผกั ให้พลังงานอย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติฉะน้ันการใช้ส่ือ
ที่มีเนอื้ หาเฉพาะ เจาะจงและมคี วามนา่ สนใจจะทาํ ให้ผปู้ ุวยเบาหวานมคี วามรู้เพิ่มมากขึ้นได้ จากงานวิจัยจะ
นําไปใช้ จากการศึกษาพบว่าการเรียนรู้ของกลุ่มท่ีมีการใช้ จ๋ิวแจ๋วโมเดลมีผลคะแนน จากการทํา
แบบทดสอบสูงกว่าทั้งกลุ่มที่ไม่ได้รับการสอนและกลุ่มท่ีได้รับการสอนโดยใช้บัตรคําดังน้ันในการสอนหรือ
การให้ความรู้ที่มีรูปแบบโมเดลจึงสามารถช่วยให้ผู้รับความรู้มีความรู้และความเข้าใจได้มากขึ้นซ่ึงสามารถ
นําไปประยุกต์ใชโ้ ดยทาํ การสรา้ งเปน็ โมเดลอาหารหรอื เครือ่ งปรุงรสเพอ่ื ปอู งกนั การเกดิ โรคไมต่ ิดต่อเรอ้ื รงั ได้

อมุ าลี ธรศรแี ละคณะ (2561) ไดศ้ ึกษาเรื่อง ผลของโปรแกรมส่งเสริมโภชนาการ ลดหวาน มัน เค็ม
ประยกุ ตก์ ารกาํ กบั ตนเองและแรงสนับสนนุ จากครอบครัวในผู้ปวุ ยโรคเบาหวานชนิดท่ี 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมโภชนาการ ลดหวาน มนั เคม็ ประยกุ ตก์ ารกาํ กบั ตนเองและแรงสนับสนุนจาก
ครอบครัวในผู้ปุวยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 กลุ่มตัวอย่างผู้ปุวยโรคเบาหวานชนิดท่ี 2 อายุระหว่าง 35-70 ปี
ปุวยเป็นโรคเบาหวานมานานกว่า 1 ปีขึ้นไปยังไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน จํานวน 30 คน
ผลการวิจัยภายหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยความรู้ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารหวาน มัน
เค็ม ดีข้ึนมากกวา่ การทดลองอย่างมีนยั สําคัญทางสถติ ิ (p<0.001) การจัดโปรแกรมส่งเสริมโภชนาการ: ลด
หวาน มัน เคม็ ประยุกต์การกับตนเอง และแรงสนบั สนุนจากครอบครัว มผี ลทําให้ผู้ปุวยโรคเบาหวานชนิดที่
2 มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ดีข้ึน จากงานวิจัย นําโปรแกรมส่งเสริมโภชนาการ ลดหวาน มัน เค็ม
ประยุกต์การกํากับตนเองและแรงสนับสนุนจากครอบครัวในผู้ปุวยโรคเบาหวานชนิดท่ี 2 ไปประยุกต์ใช้ใน
การปรับเปล่ียนพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้ปุวยท่ีไม่ติดต่อเร้ือรัง โดยจะใช้โมเดลอาหารในการฝึก
ทกั ษาการเลือกกนิ ตามแบบจําลองอาหารจานสุขภาพ ฝึกวิธีการอ่านฉลากโภชนาการ ฉลากหวาน มัน เค็ม
จากตัวอย่างผลิตภัณฑ์หารจริง และให้ความรู้แนวทางการบริโภคอาหารสําหรับผู้ปุวยเบาหวาน ปริมาณ
นาํ้ ตาล นาํ้ มัน เกลอื ทแ่ี นะนําบริโภคไมเ่ กนิ 6:6:1 ช้อนชาต่อวัน แนวทางอาหารจานสุขภาพสัดส่วนอาหาร
คอื ผกั :ข้าวแปงู :เนื้อสตั ว์ไขมนั ต่าํ คือ 2:1:1

Sandra Boatema,Delali Margaret Badasu และคณะ (2561) ได้ศึกษาเร่ือง ความเชื่อและการ
ปฏบิ ัตติ วั ของผทู้ มี่ ีรายได้นอ้ ยในเมอื งในอกั กรา ในการบริโภคอาหาร วัตถปุ ระสงค์เพื่อศึกษาความเข้าใจและ
แนวทางปฏิบัติด้านอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพและเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกรับประทานอาหาร
และผลกระทบต่อการพัฒนาสุขภาพของประชากร กลุ่มตัวอย่างผู้มีรายได้น้อยในเมืองในเมืองอักกรา
ประเทศกานาจํานวน 28 คน ผลการวิจัยพบว่าอาหารตามความเช่ือถูกตีความว่าเป็นทรัพยากรธรรมชาติท่ี
กินได้เป็นทย่ี อมรบั ของสังคมและช่วยใหร้ ่างกายเจรญิ เตบิ โต คําจาํ กดั ความน้ี-สะท้อนความคิดท่ีว่าสิ่งที่ถือว่า

17

กินได้และรูปแบบของการยังชพี เปน็ หนา้ ทขี่ องความหมายทางสังคมและวัฒนธรรมอาหารควรปรุงรูปแบบท่ี
สดใหม่ดีและมีสุขภาพดีและปัจจัยท่ีมีผลต่อการเลือกรับประทานอาหารสุขภาพได้แก่ราคาของอาหารและ
ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารท่ีมีประโยชน์และอาหารที่ไม่มีประโยชน์เพ่ิมมากขึ้น จาก
งานวจิ ยั จาการวเิ คราะห์ปัญหาพบว่าดตี ่อสุขภาพหรือไมด่ ตี อ่ สุขภาพอยู่กับวิธีการปรุงการเตรียมอาหารเพื่อ
สุขภาพควรมีวิธีการปรุงโดย ต้ม ค่ัว เค่ียว แต่หากมีการทอดควรทอดในน้ํามันที่ร้อน ไม่ควรแช่น้ํามันมาก
เกนิ ไป อาหารเพ่ือสขุ ภาพควรทําอาหารมาจากวัตถุดบิ สดใหม่ท่ีไม่มีการปนเป้ือน จากเครื่องมือท่ีได้นํามาใช้
ในงานวิจยั สามารถนาํ มาปรบั ใช้กับนวตั กรรมได้จากการสร้างตารางปริมาณอาหารที่ควรรับประทานอาหาร
เพื่อให้ประชาชนรับทราบถึงปริมาณที่ควรรับประทานเพ่ือเสริมสร้างสุขภาพของประชาชนให้แข็งแรง
ห่างไกลจากโรค

18

บทท่ี 3
วิธีดาเนนิ การโครงการ

การศึกษาครั้งน้ีเป็นการพัฒนานวัตกรรม “คัมภีร์ปรุงถูก สุขภาพดี” กลุ่มตัวอย่างจํานวน 30 คน
ใช้เวลาดําเนินการ 1 สปั ดาห์ ต้งั แตว่ ันที่ 9 มกราคม – 16 มกราคม 2565

1. ประชากรและการเลอื กกลุ่มตัวอยา่ ง
1.1 ประชากรท่ีใช้ในการศึกษา คือ อาสาสมัครประจําหมู่บ้าน และแกนนําครัวเรือน หมู่ท่ี 3

ตําบลรอ่ งถ่าน อาํ เภอเมืองแพร่ จังหวดั แพร่
1.2 กลุ่มตัวอย่าง คือ อาสาสมัครประจําหมู่บ้าน และแกนนําครัวเรือน จํานวน 30 คน โดยมี

คุณลักษณะตัวอยา่ ง ดงั น้ี
1.2.1 มกี ารรับรแู้ ละสตสิ มั ปชัญญะดี ไม่มภี าวะสมองเส่อื ม
1.2.2 สามารถอา่ นออกเขยี นได้
1.2.3 ยินยอมและเต็มใจเข้ารว่ มโครงการ

2. เคร่อื งมือทใ่ี ช้ในการศกึ ษา

2.1 เครื่องมือทใี่ ช้ในการศกึ ษา มีดังน้ี

2.1.1 แบบทดสอบความรู้ของการเข้ารว่ มโครงการ ประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนที่ 1 คือ ข้อมูล

ส่วนบคุ คล และสว่ นที่ 2 แบบทดสอบความรู้ จาํ นวน 20 ข้อ มีเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้

ชว่ งคะแนน (รอ้ ยละ) ระดับความรู้

80.00 – 100.00 ระดบั ความรใู้ นระดับมากที่สุด

70.00 – 79.00 ระดับความรใู้ นระดบั ระดบั มาก

60.00 – 69.00 ระดับความรใู้ นระดบั ปานกลาง

50.00 – 59.00 ระดบั ความร้ใู นระดับน้อย

ตา่ํ กวา่ 50.00 ระดบั ความรใู้ นระดบั นอ้ ยท่ีสดุ

2.1.2 แบบสอบถามการใช้นวัตกรรม ประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนท่ี 1 คือ ข้อมูลส่วนบุคคล

และส่วนท่ี 2 ความพึงพอใจของผู้เข้าใช้นวัตกรรม จํานวน 9 ข้อ ประกอบด้วย ความเป็นไปได้ ในการ

นําไปใชจ้ ริง ความยากงา่ ยในการใช้ ความปลอดภยั ประโยชน์ ความค้มุ ค่า คุ้มทุน ความคิด สร้างสรรค์ เป็น

สือ่ การสอนที่เข้าใจงา่ ย ตัวหนงั ชัดเจนและสามารถปฏบิ ตั ติ ามได้ มีเกณฑก์ ารให้คะแนนดงั น้ี

ชว่ งคะแนน ระดบั ความพงึ พอใจ

4.51 – 5.00 ระดับความพึงพอใจมากที่สดุ

3.51 – 4.50 ระดบั ความพึงพอใจมาก

2.51 – 3.50 ระดับความพึงพอใจปานกลาง

19

1.51 – 2.50 ระดับความพงึ พอใจนอ้ ย
1.00 – 1.50 ระดบั ความพงึ พอใจน้อยที่สดุ

2.2 เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการจดั ทาํ นวตั กรรม
2.2.1 คัมภีร์ปรุงถูก สุขภาพดี โดยมีการประยุกต์มาจากโมเดลอาหาร ( Food Model )

จ๋ิวแจ๋วโมเดล และบัตรคําการให้ความรู้เร่ืองผัก ผลไม้ โดยการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการ
รับประทานอาหารถกู สุขลักษณะเพ่อื ปอู งกนั การเกดิ โรคไม่ตดิ ตอ่ เรือ้ รังในอนาคต จํานวน 6 เรื่อง แล้วนํามา
สังเคราะหเ์ พือ่ พัฒนานวัตกรรม คมั ภรี ์ปรงุ ถกู สขุ ภาพดี ดังน้ี

1) นํารูปแบบจว๋ิ แจ๋วโมเดล มาพฒั นาตอ่ ยอดเปน็ คัมภีรป์ รุงถูก สขุ ภาพดี โดยการออกแบบ
นวตั กรรมกรรมเปน็ รปู รา่ งคมั ภีร์เพื่อใหส้ ะดวกตอ่ การใชง้ านและพกพาไดส้ ะดวก

2) หาเคร่อื งปรงุ ทพ่ี บได้บ่อยในครวั เรอื นโดยแบ่งตามหมวดหมู่รสชาตหิ วาน มนั และเค็ม
จากน้นั นาํ มาคํานวณปริมาณโซเดยี ม ไขมนั และน้ําตาล

3) จดั ทํานวัตกรรมคมั ภรี ์ปรงุ ถกู สุขภาพดี โดยนวัตกรรมช้ินดังกล่าวมีความสะดวกต่อการ
ใชง้ านและพกพาได้ง่าย

3. การพทิ ักษ์สทิ ธิของกลุ่มตวั อยา่ ง
กล่มุ ตัวอย่างทเ่ี ข้ารว่ มในการใชน้ วตั กรรมจะไดร้ ับการชี้แจงวัตถุประสงค์ และขอความร่วมมือใน

การใช้นวัตกรรม โดยกลุ่มตัวอย่าง สามารถปฏิเสธการให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมหรือถอนตัวออกจาก
กิจกรรมไดท้ กุ เวลา โดยไมไ่ ดร้ ับผลกระทบใด ๆ ทั้งส้ินข้อมูลท้ังหมดของกลุ่มตัวอย่าง ผู้ศึกษาจะนําเสนอใน
ภาพรวมเท่านน้ั

4. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล

4.1 ขน้ั เตรยี มการ
4.1.1 หลังจากทราบความตอ้ งการของชมุ ชนแล้ว สมาชิกในกลมุ่ รว่ มกนั ประชุมปรึกษาหารือ

ร่วมกบั อาจารย์ท่ีปรึกษา เพ่ือที่จะสืบค้นหลักฐานเชิงประจักษ์ที่สอดคล้องกับปัญหาความต้องการและเป็น
แนวทางในการวางแผนสรา้ งและตอ่ ยอดนวัตกรรม

4.1.2 สมาชกิ ในกลมุ่ รว่ มกบั ทบทวนวรรณกรรมทีเ่ กย่ี วข้อง
4.1.3 สังเคราะห์วรรณกรรมที่เก่ียวข้องกับการรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะเพ่ือ
ปูองกันการเกิดโรคไมต่ ดิ ต่อเรอื้ รงั ในอนาคต แลว้ นํามาพัฒนานวตั กรรม คัมภีรป์ รุงถูก สขุ ภาพดี
4.1.4 นําเสนอแนวคิดการพัฒนาตอ่ ยอดและการสรา้ งนวตั กรรมต่ออาจารยท์ ี่ปรึกษา
4.1.5 จัดทําโครงร่างนวตั กรรม “คัมภีร์ปรุงถูก สุขภาพดี” เพือ่ ขอรบั อนมุ ตั ิจัดทาํ โครงการ
4.1.6 ประชาสมั พนั ธ์โครงการแกก่ ลุ่มเปูาหมาย
4.1.7 จดั เตรียมสถานที่ เครอื่ งมือ วสั ดแุ ละอปุ กรณใ์ นการทํากิจกรรม

20

4.2 ข้นั ดําเนินการพัฒนานวัตกรรม
4.2.1 ก่อนดาํ เนนิ การ
1) เกบ็ รวบรวมข้อมูลของประชากรชุมชนบ้านร่องถ่าน หมู่ที่ 3 ตําบลทุ่งโฮ้ง อําเภอ

เมอื งแพร่ จังหวัดแพร่ โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลสภาวะสุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี แพร่ และ
เคร่ืองมอื 7 ช้นิ

2) นําข้อมลู ทีไ่ ด้มาทาํ การวิเคราะห์เพ่ือการวิเคราะห์ปัญหาที่พบจากการสํารวจและ
สอบถาม จากนน้ั จึงร่วมกันพจิ ารณาปญั หารว่ มกบั อาจารยน์ ิเทศ

3) จัดเวทีประชาคมร่วมกับผู้นําชุมชน ได้แก่ ผู้อํานวยการกองสาธารณสุขและ
ส่ิงแวดล้อม พ่เี ลย้ี งประจาํ กลุ่ม คณะกรรมการหมู่บา้ น อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้านและประชาชน
บ้านร่องถา่ น หมูท่ ี่ 3 ตาํ บลทุ่งโฮง้ อาํ เภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ เพื่อจดั ลําดับความสําคัญของปัญหาสุขภาพ
ในชุมชน

4) นาํ ปญั หาทไี่ ดจ้ ากการทาํ ประชาคมร่วมกนั ประชุมภายในกลุ่มและปรึกษาหารือกับ
อาจารย์ผู้นเิ ทศ เพ่ือเป็นแนวทางในการวางแผนจัดทํานวตั กรรม

5) สมาชิกในกลุ่มร่วมกันสืบค้นหลักเชิงประจักษ์เพ่ือนํามาประยุกต์และพัฒนา
นวัตกรรมต่อไป

6) นําเสนอโครงการต่อกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ตําบลทุ่งโฮ้ง เพ่ืออนุมัติ
โครงการ

4.2.2 ข้ันเตรียมการ
1) นาํ เสนอโครงรา่ งการพัฒนานวัตกรรม “คัมภีร์ปรุงถูก สุขภาพดี” แก่ผู้ทรงคุณวุฒิ

เพอ่ื ตรวจสอบคุณภาพนวัตกรรม และปรับปรงุ นวัตกรรมตามคําแนะนาํ ของผทู้ รงคณุ วฒุ ิ
2) พฒั นาและปรบั ปรงุ นวัตกรรมตามคําแนะนําของผู้ทรงคุณวุฒิ ดงั น้ี
2.1) นาํ เสนอนวตั กรรมต่อผูท้ รง โดยนวัตกรรมมีลักษณะเปน็ คัมภรี ์ที่สามารถมีการ

พับเก็บและสะดวกต่อการใช้งาน แต่โครงสร้างของนวัตกรรมไม่มีความเหมาะสมต่อการใช้งานเป็นระยะ
เวลานาน และไม่สะดวกต่อผ้ทู มี่ ปี ญั หาทางดา้ นการอา่ นและการมองเห็น

21

2.2) ทาํ การปรบั ปรงุ นวตั กรรมตามคําแนะนําของผทู้ รงคณุ วฒุ ิและปรบั เปล่ียน
โครงสร้างให้มคี วามเหมาะสมและคงทนมากยง่ิ ขน้ึ

2.3) นวัตกรรมคัมภรี ป์ รงุ ถกู สุขภาพดี ฉบบั สมบรู ณ์

3) จัดเตรียมสถานที่ เคร่ืองมือ วัสดุและอุปกรณ์รวมไปถึงนวัตกรรมเพ่ือใช้ในการ
จดั ทํานวัตกรรม

22

4.2.3 ข้นั ดําเนนิ การ
สาธิตการใช้นวัตกรรม “คัมภีร์ปรุงถูก สุขภาพดี” โดยอธิบายถึงส่วนประกอบของ
เครือ่ งปรุงรสทีพ่ บได้บ่อยได้ในครัวเรือน โดยแบ่งเป็นรสชาติหวาน มันและเค็ม และบ่งบอกถึงปริมาณของ
โซเดียม น้าํ ตาลและไขมัน และการใช้วิธีการแสกนคิวอาร์โค้ดเพ่ือฟังเสียงการอธิบายตัวนวัตกรรมในกรณี
ที่ผู้ท่ีสนใจจะใช้นวตั กรรมมปี ัญหาในการอ่าน ซงึ่ นาํ เสนอโดยการใช้เป็นภาษาท้องถน่ิ ในภาคเหนือ

4.3 ขนั้ สรุปและประเมนิ ผล
4.3.1 ประเมนิ ความพึงพอใจตอ่ การใช้นวัตกรรมคมั ภีรป์ รงุ ถกู สขุ ภาพดี
4.3.2 จดั ทํารายงานนวตั กรรม

5. การวิเคราะห์ข้อมูล
นําข้อมลู ทีไ่ ดม้ าประมวลผลโดยใช้ จํานวน ร้อยละ คา่ เฉลยี่ และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน

23

บทท่ี 4
ผลการศกึ ษา

การศึกษาครั้งนมี้ ีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือ พฒั นาตอ่ ยอดนวัตกรรมและประยุกต์ใช้องค์ความรู้เกี่ยวกับการ
รบั ประทานอาหารทถี่ กู สขุ ลักษณะสร้างเปน็ นวัตกรรม “คัมภรี ป์ รุงถูก สุขภาพดี” และเพื่อศึกษาผลของการ
ใช้นวัตกรรมตอ่ การมีความรดู้ า้ นการปรุงอาหารทีถ่ ูกสุขลักษณะ และความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างต่อการ
ใช้นวัตกรรม “คัมภีร์ปรุงถูก สุขภาพดี” โดยศึกษาในกลุ่มทดลองจํานวน 30 คน ผลการศึกษานําเสนอ
ดังรายละเอยี ดต่อไปน้ี

ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ท่วั ไปของกลุ่มตัวอยา่ ง
ตารางท่ี 4.1 จํานวนและร้อยละของผู้ใชน้ วัตกรรม จําแนกตามขอ้ มลู ท่วั ไปของกลุ่มตัวอยา่ ง (n=30)

ขอ้ มูลทั่วไป กลุม่ ทดลอง (n=30)
จานวน รอ้ ยละ
เพศ
ชาย 3 10.00
หญิง 27 90.00

ช่วงอายุ M=48.06, SD=9.54
21- 30 ปี 1 3.33
31- 40 ปี 3 10.00
41-50 ปี 15 50.00
51-60 ปี 10 33.34
60 ปขี นึ้ ไป 1 3.33

จากตารางท่ี 4.1 กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จํานวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 90 และ
รองลงมาเป็นเพศชาย จาํ นวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 10 และส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 41-50 ปี จํานวน 15
คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 50 รองลงมามอี ายุอยูใ่ นช่วง 51-60 ปี จาํ นวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 33.34 และน้อย
ที่สุดมีอายุอยู่ในช่วง 21-30 ปี จํานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 3.33 และอายุ 60 ปี ขึ้นไป จํานวน 1 คน
คิดเป็นร้อยละ 3.33

ตอนที่ 2 ผลของคมั ภรี ์ปรุงถกู สขุ ภาพดี ตอ่ ความรขู้ องผู้ใชน้ วตั กรรม

ตารางท่ี 4.2 การเปรียบเทียบคา่ เฉลยี่ ความรู้การรบั ประทานอาหารท่ีไมถ่ กู สขุ ลกั ษณ

กอ่ นเขา้ ร่วมโ

ความรู้การรบั ประทานอาหารทีไ่ ม่ถูกสขุ ลักษณะ (n=30

ร้อยละ

1. ร่างกายต้องการนํ้าตาลไมเ่ กินวันละ 6 ช้อนชา 70.00

2. ผลกระทบของผู้ที่รบั ประทานนา้ํ ตาลเยอะ เชน่ ฟนั ผุ กระดูก 93.33
เปราะ ผวิ เหย่ี ว กล่มุ โรคไม่ตดิ ตอ่ เร้อื รัง

3. ผลไมร้ สหวานจัดหรือผลไม้แปรรปู ที่มีน้าํ ตาลสูง ไม่กอ่ ให้เกดิ 40.00
โรคเบาหวาน

4. การดมื่ นํา้ อัดลม กาแฟ ชา นํ้าหวาน นมเปร้ียว ท่มี ีนาํ้ ตาลสูง 93.33
เป็นประจาํ เสีย่ งตอ่ การเป็นโรคเบาหวาน

5. การรับประทานผักใบเขียวสามารถชว่ ยลดการดูดซมึ นํ้าตาล 76.67

6. ไขมนั ดี เป็นไขมนั ท่มี าจากพชื และไขมันจากปลา ซงึ่ เป็นไขมนั 100.00
ไม่อมิ่ ตัว

7. ไข่ต้ม 1 ฟอง มีพลงั งานมากกวา่ ไขเ่ จียว 1 ฟอง 33.33

8. ใน 1 วัน ไมค่ วรรับประทานนํ้ามนั เกนิ วนั ละ 6 ช้อนชา 83.33
(30 กรมั )

9. กนิ มนั มากมีผลต่อสุขภาพ เช่น เส่ียงตอ่ ภาวะอ้วน เส่ียงต่อ 96.67
ภาวการณ์เปน็ โรคหัวใจและหลอดเลือด

10. เลอื กกินเนื้อหมูติดมนั เพื่อช่วยใหร้ ่างกายได้รบั พลงั งาน 60.00

ณะของผู้ใช้นวัตกรรมก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ (n=30)

โครงการ ระดบั หลงั เขา้ ร่วมโครงการ ระดับ
0) (n=30)
มากทสี่ ุด
SD รอ้ ยละ SD มากที่สดุ

0.47 มาก 96.67 0.18 มาก

0.25 มากทส่ี ุด 83.33 0.38 มากท่สี ดุ
มากที่สุด
0.50 น้อยท่สี ุด 73.33 0.45 มากทส่ี ดุ
น้อยที่สดุ
0.25 มากท่สี ดุ 96.67 0.18 มากทส่ี ุด
0.43 มาก 90.00 0.31
0.00 มากทสี่ ุด 93.33 0.25 มากที่สุด
0.48 นอ้ ยทสี่ ดุ 46.67 0.51 มาก
0.38 มากทีส่ ุด 90.00 0.31

0.18 มากทสี่ ุด 96.67 0.18
0.50 ปานกลาง 73.33 0.45

ความร้กู ารรับประทานอาหารท่ไี ม่ถูกสขุ ลักษณะ ก่อนเขา้ ร่วมโ
(n=30
11. การรับประทานเกลอื ในปรมิ าณทีม่ ากไม่กอ่ ใหเ้ กิดโรคความ
ดนั โลหติ สงู และโรคไต รอ้ ยละ
12. เกลอื ถูกแบ่งออกเปน็ 3 รสชาติ ได้แก่ เกลือจืดเกลือเค็ม เกลอื หวาน
13. ควรชิมก่อนเตมิ เคร่อื งปรุง ลดการเตมิ เครื่องปรงุ ลดการกิน 46.67
นํา้ ซุปและนํา้ จิ้ม
14. อา่ นฉลากกอ่ นซ้ือ เลือกอาหารท่มี โี ซเดียมตํา่ 83.33
15. ใน 1 วนั ไม่ควรบริโภคโซเดยี มเกิน 2,400 หรือบริโภคเกลอื 96.67
ไม่เกิน 1 ช้อนชา 93.33
16. การรับประทานอาหารแปรรปู เชน่ ผกั ดอง ไขเ่ ค็ม ปลาร้า 13.33
หมูยอ ไม่ทาํ ให้เกิดโรคไมต่ ดิ ตอ่ เร้อื รงั
17. แต่ละวันไม่ควรรบั ประทานเกิน หวาน : มนั : เค็ม 6 : 6 :1 33.33
18. ควรล้างมอื กอ่ นประทานอาหาร 93.33
19. การรับประทานอาหารไมต่ อ้ งใช้ช้อนกลาง 100.00
20. กนิ อาหาร สุก ๆ ดิบ ๆ อาจมพี ยาธิเส่ยี งตอ่ โรคท้องร่วง 33.33
โรคมะเรง็ ทางเดินอาหาร 96.67

รวม 71.17

โครงการ ระดับ หลงั เขา้ รว่ มโครงการ 25
0) (n=30)
น้อยที่สุด ระดบั
SD มากทส่ี ุด รอ้ ยละ SD
มากทส่ี ดุ ปานกลาง
0.51 มากทีส่ ดุ 60.00 0.50 มากที่สุด
นอ้ ยทสี่ ุด มากที่สุด
0.38 93.33 0.25 มากที่สุด
0.18 นอ้ ยที่สุด ปานกลาง
0.25 มากทสี่ ดุ 100.00 0
0.35 มากที่สดุ มาก
น้อยท่ีสุด 96.67 0.18 มากทส่ี ดุ
0.48 มากท่ีสดุ มากที่สดุ
0.25 60.00 0.50 มากทส่ี ดุ
0.00 มาก มากที่สุด
0.48 70.00 0.47 มากท่ีสุด
0.18
86.67 0.35
0.33 100.00 0.00
90.00 0.31

96.67 0.18

84.67 0.30

จากตารางที่ 4.2 ภาพรวมของข้อคาํ ถามความร้กู ารรบั ประทานอาหารที่ไม่ถกู
มากทีส่ ดุ คือมคี วามร้เู ร่อื งการชิมรสชาติอาหารก่อนเติมเคร่ืองปรุง ลดการเติมเคร่ืองป
กอ่ นประทานอาหาร คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 รองลงมาคือมีความรู้เกีย่ วกับผลไมร้ สหวานจ
ร้อยละ 73.33 และมีความรู้เรื่องเลือกกินเน้ือหมูติดมันเพ่ือช่วยให้ร่างกายได้รับพลัง
มากกว่า ไข่เจยี ว 1 ฟอง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 46.67

26

กสุขลักษณะ จํานวน 20 ขอ้ เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าข้อท่ีมีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับ
ปรุง ลดการกินน้ําซุปและน้ําจิ้ม คิดเป็นร้อยละ 100 และความรู้เก่ียวกับการล้างมือ
จัดหรือผลไม้แปรรูปท่ีมีนํ้าตาลสูง ไม่ก่อให้เกิดโรคเบาหวาน อยู่ในระดับมาก คิดเป็น
งงาน คิดเป็นร้อยละ 73.33 และค่าเฉล่ียข้อท่ีน้อยที่สุด คือ ไข่ต้ม 1 ฟอง มีพลังงาน

27

ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจของกลุ่มตัวอยา่ งตอ่ นวัตกรรมคมั ภีร์ปรงุ ถูก สุขภาพดี
ตารางท่ี 4.3 ระดับความพงึ พอใจของกลมุ่ ตวั อยา่ งตอ่ นวตั กรรมคัมภีรป์ รุงถูก สขุ ภาพดี (n=30)

ข้อความ 4.87 SD ระดับความพึงพอใจ
1. ความเปน็ ไปได้ 4.77 0.57 มากที่สุด
0.50 มากท่สี ุด
สามารถนํานวตั กรรมนําไปได้ใช้จริง 4.87
2. ความยากง่ายในการใช้ 0.35 มากท่สี ดุ
4.87
นวัตกรรมมคี วามง่ายในการนําไปใช้ 0.35 มากทส่ี ดุ
3. ความปลอดภยั 4.93
0.25 มากทส่ี ุด
เจา้ หนา้ ท/ี่ ผปู้ ุวยสามารถใช้นวัตกรรมไดโ้ ดยไม่ 4.87
กอ่ ให้เกิดอนั ตราย 4.90 0.35 มากทส่ี ดุ
4. ประโยชน์ตรงตามวตั ถุประสงค์ 4.90 0.31 มากทีส่ ดุ
5.00 0.31 มากที่สดุ
นวัตกรรมมีประโยชนต์ รงตามวัตถุประสงคข์ อง 4.89 0.00 มากทส่ี ดุ
เจา้ หน้าท่/ี ผู้ปวุ ย 0.33 มากทส่ี ุด
5. ความคุ้มคา่ คุ้มทนุ และความทนทาน

นวัตกรรมน้ีใช้ทรัพยากรอย่างคมุ้ คา่ มีประสิทธิภาพ
ไมฟ่ มุ เฟอื ยและมคี วามทนทานสามารถใช้งานไดใ้ น
ระยะเวลานาน
6. มีความคิดสรา้ งสรรค์

นวตั กรรมมีความคิดสรา้ งสรรค์ นา่ ใช้
7. เปน็ ส่ือการสอนท่ีเขา้ ใจง่าย
8. ตวั หนงั สอื ชดั เจน อ่านงา่ ย
9. สามารถปฏบิ ตั ิตามได้ง่าย
รวม

จากตารางที่ 4.3 ผูใ้ ช้นวตั กรรมมรี ะดับความพึงพอใจมากที่สุดทุกด้าน แต่เม่ือพิจารณาคะแนนเฉลี่ย
ความพงึ พอใจ พบวา่ นวัตกรรมสามารถนําไปปฏิบัติตามได้ง่าย มีคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจสูงท่ีสุด เท่ากับ
5.00 (SD=0.00) รองลงมาคือ ความคุ้มค่า คุ้มทุน และความทนทาน มีคะแนนเฉล่ียความพึงพอใจสูงที่สุด
เท่ากับ 4.93 (SD=0.25)

28

บทท่ี 5
สรปุ ผลการศกึ ษา อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ

การศกึ ษาครง้ั นเี้ ป็นการจัดทํานวตั กรรม “คัมภรี ป์ รุงถูก สุขภาพดี” เพื่อส่งเสริมการมีความรู้ด้านการ
ปรุงอาหารที่ถูกสุขลักษณะ ของประชากร ชุมชนบ้านร่องถ่าน หมู่ที่ 3 ตําบลทุ่งโฮ้ง อําเภอเมืองแพร่
จงั หวัดแพร่ มีรายละเอยี ดสรปุ การศกึ ษา อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ ดงั น้ี

1. สรปุ ผลการศึกษา

1.1 วัตถปุ ระสงค์ของการศกึ ษา
1.1.1 เพอ่ื พฒั นานวตั กรรม “คัมภรี ป์ รุงถกู สขุ ภาพดี” ขึ้น
1.1.2 เพ่ือศกึ ษาผลของการใช้นวตั กรรม คมั ภรี ป์ รุงถูก สขุ ภาพดี ตอ่ การมีความรู้ในการปรุง

อาหารท่ีถกู สุขลักษณะ
1.1.3 เพอ่ื ศกึ ษาความพงึ พอใจของผู้เขา้ ร่วมโครงการตอ่ นวัตกรรม คมั ภีร์ปรุงถูก สขุ ภาพดี

1.2 วธิ ดี าเนินการ
1.2.1 กลุ่มตัวอย่าง ในการศึกษาครั้งนี้ คือ อาสาสมัครประจําหมู่บ้าน และแกนนําครัวเรือน

หมู่ที่ 3 ตําบลร่องถ่าน อําเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ ท่ีมีการรับรู้และสติสัมปชัญญะดี ไม่มีภาวะสมองเสื่อม
สามารถอ่านออกเขียนได้ ยินยอมและเต็มใจเข้าร่วมโครงการ โดยมีกลุ่มตัวอย่างรวมทั้งส้ิน จํานวน
30 คน

1.2.2 เคร่อื งมอื ทีใ่ ช้ในการศึกษา ประกอบดว้ ย 2 ประเภท ดังนี้
1) เคร่อื งมอื ดําเนินการโครงการ คือ นวัตกรรม คัมภีร์ปรุงถูก สุขภาพดี โดยมีการประยุกต์

มาจากโมเดลอาหาร ( Food Model ) จ๋ิวแจว๋ โมเดล และบตั รคาํ การให้ความรู้เรื่องผัก ผลไม้ โดยการทบทวน
วรรณกรรมทเ่ี ก่ยี วข้องกับการรบั ประทานอาหารถกู สขุ ลักษณะเพอ่ื ปูองกนั การเกดิ โรคไม่ติดตอ่ เร้อื รังในอนาคต
จํานวน 6 เรือ่ ง แลว้ นํามาสังเคราะห์เพ่อื พฒั นานวัตกรรม คมั ภรี ป์ รุงถกู สุขภาพดี ดังนี้

- นาํ รูปแบบจวิ๋ แจ๋วโมเดล มาพัฒนาตอ่ ยอดเป็นคัมภรี ์ปรุงถูก สขุ ภาพดี โดยการออกแบบ
นวตั กรรมกรรมเป็นรปู ร่างคมั ภรี ์เพอื่ ใหส้ ะดวกต่อการใชง้ านและพกพาได้สะดวก

- หาเครือ่ งปรงุ ท่พี บได้บอ่ ยในครัวเรือนโดยแบ่งตามหมวดหมรู่ สชาติหวาน มัน และเค็ม
จากนน้ั นํามาคาํ นวณปริมาณโซเดียม ไขมนั และนาํ้ ตาล

- จดั ทํานวตั กรรมคัมภีร์ปรุงถูก สุขภาพดี โดยนวัตกรรมชนิ้ ดงั กล่าวมคี วามสะดวกต่อการใช้
งานและพกพาไดง้ า่ ย

2) เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ประกอบด้วย แบบทดสอบความรู้ของการเข้าร่วม
โครงการ ประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนที่ 1 คือ ข้อมูลส่วนบุคคล และส่วนท่ี 2 แบบทดสอบความรู้ จํานวน 20

29

ข้อ และ แบบสอบถามการใช้นวัตกรรม ประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนที่ 1 คือ ข้อมูลส่วนบุคคล และส่วนที่ 2
ความพงึ พอใจของผู้เข้าใช้นวตั กรรม จํานวน 9 ขอ้ ประกอบดว้ ย ความเปน็ ไปได้ ในการนําไปใช้จริง ความยาก
งา่ ยในการใช้ ความปลอดภยั ประโยชน์ ความคุ้มค่า คุ้มทุน ความคิด สร้างสรรค์ เป็นสื่อการสอนท่ีเข้าใจง่าย
ตวั หนงั ชดั เจนและสามารถปฏิบตั ิตามได้

1.2.3 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ผ้วู จิ ยั ทําการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลและจดั กิจกรรมตามโครงการให้กับ
กลุ่มตัวอย่างเป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์ โดยนําข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์ จํานวน ร้อยละ ค่าเฉล่ียและส่วน
เบ่ยี งเบนมาตรฐาน

1.3 ผลการศกึ ษา
1.3.1 ข้อมลู ท่วั ไปของกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 90.00

มีอายุ 41-50 ปี คิดเปน็ ร้อยละ 50.00 มีอายเุ ฉลยี่ 48.06 ปี

1.3.2 ผลการศึกษาตามวตั ถปุ ระสงค์ ดังนี้
1) การพัฒนานวตั กรรม “คมั ภรี ์ปรงุ ถกู สุขภาพดี” ขึ้น ซ่งึ เป็นไปตามสมมติฐาน
2) หลังการใช้นวตั กรรม คมั ภีร์ปรงุ ถกู สขุ ภาพดี กลมุ่ เปูาหมายความรู้ด้านการปรุงอาหาร

ทถี่ กู สุขลกั ษณะ เปน็ ไปตามสมมติฐาน
3) หลังการใชน้ วัตกรรมกลุ่มเปาู หมายมรี ะดบั ความพึงพอใจตอ่ การใช้นวัตกรรม คมั ภีร์ปรุง

ถูก สุขภาพดี อยู่ในระดับมากท่ีสุด เปน็ ไปตามสมมตฐิ าน

2. อภิปรายผล
การจดั ทาํ นวัตกรรม “คมั ภีรป์ รงุ ถูก สขุ ภาพดี” สามารถอภปิ รายผลตามวตั ถปุ ระสงคก์ ารศึกษา ดังนี้
2.1 การพัฒนาตอ่ ยอดนวตั กรรมและประยกุ ตใ์ ช้องคค์ วามรู้เกี่ยวกบั การรบั ประทานอาหาร

ท่ีถูกสุขลักษณะสรา้ งเปน็ นวตั กรรม “คัมภีร์ปรุงถกู สุขภาพดี” ขึน้ ซ่ึงเป็นไปตามสมมตฐิ าน
ผลการศึกษาสอดคล้องกับสมมุติฐานที่ตั้งไว้ เนื่องจาก การจัดพัฒนาต่อยอดนวัตกรรม ด้านการ

รับประทานอาหารทถ่ี กู สุขลกั ษณะ โดยการประยกุ ตอ์ งค์ความรูเ้ กี่ยวกับการรบั ประทานอาหารท่ีถูกสุขลักษณะ
ซ่งึ มคี วามสอดคลอ้ งของโภคิน ศกั รนิ ทร์กุล (2019) ได้ทาํ งานวจิ ัยเรอ่ื งการสร้างและหาประสทิ ธผิ ลวธิ สี อนเรื่อง
รายการอาหารแลกเปลีย่ นไทย หมวดผกั สําหรบั ผปู้ วุ ยเบาหวาน พบวา่ คะแนนจากการทําแบบทดสอบเร่ืองผัก
ใหพ้ ลงั งานในกลุ่มท่ี 2 ซึ่งสอนโดยใช้บัตรให้ความรู้เร่ืองผักให้พลังงานมีค่าสูงกว่าการรักษาตามขั้นตอนปกติ
อยา่ งมนี ยั สาํ คัญทางสถิตทิ ีร่ ะดบั 0.05 และผลคะแนนจากการทําแบบทดสอบเร่ืองผักให้พลังงานในกลุ่มท่ี 3
ซึง่ ใชจ้ ๋วิ แจว๋ โมเดลมคี า่ สงู กว่าการรักษาตามขน้ั ตอนปกตอิ ย่างมีนยั สําคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดบั 0.05 แต่คะแนนท่ีได้
จากการทําแบบทดสอบเรือ่ งผักให้พลงั งานในกลมุ่ ท่ี 3 ซ่ึงใช้จิ๋วแจ๋วโมเดลมีค่ามากกว่ากลุ่มท่ี 2 ซ่ึงสอนโดยใช้
บัตรให้ความรู้เร่ืองผักให้พลังงานอย่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติฉะน้ันการใช้ส่ือที่มีเนื้อหาเฉพาะ เจาะจงและมี

30

ความนา่ สนใจจะทําใหผ้ ปู้ วุ ยเบาหวานมคี วามร้เู พมิ่ มากขน้ึ ได้ ซ่ึงจากการจดั ทาํ โครงการพบว่าเม่ือกลุ่มตัวอย่าง

ไดเ้ ห็นโมเดลทม่ี ีลกั ษณะเหมอื นจรงิ สามารถเกดิ การเรยี นรู้และเขา้ ใจมากยงิ่ ขึ้น

2.2 หลงั การใชน้ วัตกรรม คมั ภรี ป์ รงุ ถูก สุขภาพดี กล่มุ เปูาหมายมีความรูด้ า้ นการปรุงอาหาร
ท่ีถกู สขุ ลกั ษณะ เปน็ ไปตามสมมติฐาน

ผลการศกึ ษาสอดคลอ้ งกบั สมมตุ ิฐานทีต่ ั้งไว้ เน่อื งจาก ผลการทดสอบความรูก้ ่อนและหลังเข้าร่วมการ
ใช้นวัตกรรมจํานวน 20 ข้อ พบว่า ก่อนเข้าร่วมโครงการกลุ่มเปูาหมายมีความรู้ คิดเป็นร้อยละ 71.17
(SD = 0.33) อย่ใู นระดับมาก และหลงั เข้าร่วมโครงการ พบว่า กลุ่มเปูาหมายมีความรู้เพ่ิมขึ้น คิดเป็นร้อยละ
84.67 (SD = 0.30) อย่ใู นระดับมากที่สุด และเม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อท่ีมีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมาก
ทีส่ ดุ คอื การมคี วามรเู้ ร่อื งการชมิ รสชาตอิ าหารก่อนเติมเคร่ืองปรุง ลดการเตมิ เครอ่ื งปรุง ลดการกินนํ้าซุปและ
น้ําจ้ิม คิดเป็นร้อยละ 100 และความรู้เก่ียวกับการล้างมือก่อนประทานอาหาร คิดเป็นร้อยละ 100 ซ่ึง
สอดคล้อง กบั ผลงานวิจยั ของ ไกรศร วงศ์ธิดา (2563) ได้ทํางานวิจัยเรื่องแนวทางการปรับเปล่ียนพฤติกรรม
การบริโภคอาหารและการอ่านฉลากโภชนาการในกลุ่มผู้ปุวยโรคเร้ือรัง ชุมชนบ้านปุาเหียง ตําบลบ่อแฮ้ว
อาํ เภอเมอื ง จังหวัดลําปาง พบว่า กลุ่มตัวอยา่ งมีคะแนนความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการอ่าน
ฉลากโภชนาการหลังการพัฒนาสงู กว่ากอ่ นเขา้ ร่วมการอบรม

2.3 หลังการใชน้ วตั กรรมกลุ่มเปูาหมายมรี ะดับความพงึ พอใจต่อการใชน้ วตั กรรม คมั ภรี ์ปรุงถูก
สขุ ภาพดี อยู่ในระดบั มากท่ีสดุ เปน็ ไปตามสมมตฐิ าน

ผลการศึกษาสอดคล้องกับสมมุติฐานท่ีตั้งไว้ เน่ืองจาก หลังการใช้นวัตกรรมกลุ่มเปูาหมายมีระดับ
ความพงึ พอใจมากท่ีสดุ ทกุ ดา้ น มีคะแนนเฉล่ียความพงึ พอใจ 4.89 (SD=0.33) เมื่อพิจารณาคะแนนเฉลี่ยความ
พึงพอใจ พบวา่ นวัตกรรมสามารถนําไปปฏิบัติตามได้ง่าย มีคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจสูงท่ีสุด เท่ากับ 5.00
(SD=0.00) รองลงมาคือ ความคุ้มค่า คุ้มทุน และความทนทาน มีคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจสูงที่สุด เท่ากับ
4.93 (SD=0.25)

ผลการศึกษานสี้ อดคลอ้ งกับสมมตุ ฐิ านท่ีตงั้ ไว้ สามารถอภิปรายไดด้ ังน้ี
ด้านความปลอดภัย โดยกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจมากที่สุด เน่ืองจาก กลุ่มเปูาหมายมีการใช้
นวตั กรรมโดยไมก่ ่อให้เกดิ อันตราย เช่น การไมไ่ ดร้ ับบาดเจ็บระหว่างการใชน้ วตั กรรม
ด้านประโยชน์ โดยกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจมากท่ีสุด เน่ืองจาก นวัตกรรมที่พัฒนาต่อยอดและ
สรา้ งข้ึนมีประโยชน์ตรงตามวัตถุประสงคข์ องผ้จู ัดทาํ นวตั กรรม และกลมุ่ เปาู หมาย โดยสามารถใช้บอกปริมาณ
เคร่ืองปรงุ ตอ่ หน่วยบรโิ ภค ปริมาณเคร่อื งปรงุ ในอาหารแต่ละชนิด รวมถงึ การฟังเสยี งประกอบการบรรยายในผู้
ท่ีไม่สามารถอ่านออกเขียนได้ หรือ มีปัญหาทางด้านสายตา เป็นต้น อีกท้ังยังสามารถนําไปใช้ได้ง่าย พกพา
สะดวก ซ่ึงหากเป็นโมเดลอาหารต้องใช้กล่องขนาดใหญ่ในการขนย้าย หากนําไปใช้เป็นสื่อการสอนหรือเย่ียม
บ้าน

31

ด้านความคุ้มค่า คุ้มทุน และทนทาน โดยกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจมากท่ีสุด เนื่องจากมีการใช้

ทรพั ยากรอยา่ งค้มุ คา่ มีประสทิ ธิภาพ ไมฟ่ ุมเฟอื ย โดยมีการประดิษฐข์ น้ึ จากวัสดุ อุปกรณ์ที่เหมาะสม มีการใช้

โครงสรา้ งนวัตกรรมที่แข็งแรงทนทานเหมาะสมกบั การใช้งานในระยะยาว โดยมรี ายละเอยี ด ดังน้ี

งบประมาณ

1. คา่ กระดาษแขง็ อยา่ งหนา 3 แผน่ X 20 บาท เป็นเงิน 60 บาท

2. ค่ากระดาษสา 5 แผ่น X 25 บาท เป็นเงนิ 125 บาท

3. ค่าสตก๊ิ เกอรใ์ ส 5 แผน่ X 20 บาท เปน็ เงนิ 100 บาท

4. คา่ เทปกาวสองหนา้ 5 มว้ น X 25 บาท เปน็ เงนิ 125 บาท

5. คา่ หว่ งอะลมู เิ นยี ม 4 ห่วง X 5 บาท เป็นเงนิ 20 บาท

6. คา่ ชดุ ปืนกาวรอ้ น 1 ชดุ X 25 บาท เปน็ เงิน 25 บาท

7. ค่าปรน้ิ เอกสารประกอบการจัดทํานวตั กรรม 25 แผน่ X 2 บาท เปน็ เงิน 50 บาท

รวมเปน็ เงินทัง้ ส้นิ 505 บาท (ห้ารอ้ ยห้าบาทถว้ น)

ซึ่งจากการแสดงผลการใช้งบประมาณในการสร้างนวัตกรรม “คัมภีร์ปรุงถูก สุขภาพดี” พบว่า การ
พัฒนาต่อยอดและสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมมคี ่าใช้จา่ ยรวมท้ังสิ้น 505 บาท ซึ่งมีต้นทุนในการสร้างนวัตกรรมท่ีตํ่า
และมคี วามคุม้ คา่ คุ้มทุน หากเปรียบเทยี บกับการใช้โมเดลอาหาร ซ่ึงมีมูลค่ามากกว่า 20,000 บาทต่อชุด หาก
มกี ารใชโ้ มเดลอาหารจะมีมูลคา่ ทส่ี งู และมีข้อจาํ กดั ในการใชง้ าน แตก่ ารสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมขึ้นสามารถใช้งาน
ได้โดยไม่มีข้อจํากดั โดยสามารถนาํ นวตั กรรมไปใช้ไดก้ ับทุกคนท่ีมีความสนใจต่อนวัตกรรม อีกท้ังนวัตกรรมชิ้น
นี้มีการสร้างสรรค์ขึ้นให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับยุคสมัยในปัจจุบันท่ีมีการใช้เทคโนโลยีส่ือสารและ
อินเตอร์เน็ต เข้ามามีบทบาทมากข้ึนในการดําเนินชีวิต คณะผู้จัดทําจึงได้มีการสร้างคิวอาร์โค้ดสําหรับสแกน
เนือ้ หาบางส่วน เพื่อลดพ้นื ทใ่ี นการสร้างนวัตกรรรม อีกท้ังยังมีการสร้างคิวอาร์โค้ดสําหรับสแกนเพื่อฟังเสียง
ประกอบการบรรยายเป็นภาษาพนื้ เมือง ซึ่งเหมาะสําหรบผู้สูงอายุในท้องถิ่นช่วยให้สามารถเข้าใจถึงเนื้อหาท่ี
ต้องการสอ่ื ไดโ้ ดยงาน อกี ทั้งยงั เหมาะสําหรับผูม้ ปี ญั หาทางการอ่านออกเขียนได้ และทางด้านสายตาหรือการ
มองเหน็ ไม่ชัดเจน

ปญั หา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
ระยะเวลาในการจดั ทาํ โครงการมเี วลาระยะส้ัน จึงทําให้การประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใน

การรับประทานอาหารที่ถกู สุขลกั ษณะเกิดความคลาดเคล่อื น ดังนน้ั ควรมกี ารจัดทําโครงการในระยะยาว เพ่ือ
ติดตามพฤติกรรมการรับประทานอาหารอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และมีการส่งต่อรายช่ือผู้เข้าร่วมโครงการ
ใหก้ บั เจ้าหนา้ ท่ีทโ่ี รงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาํ บลทงุ่ โฮ้ง และอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน บ้านร่อง
ถ่าน หมู่ 3 ใหต้ ดิ ตามการปรบั เปล่ียนพฤติกรรมและภาวะสุขภาพของผู้เข้าร่วมโครงการ

32

บรรณานุกรม

กฤชคณุ คาํ มาปัน. (2563). ผลของโปรแกรมการให้ความรู้และสง่ เสรมิ การรับรสู้ มรรถนะแห่งตนตอ่ พฤตกิ รรม
การบริโภคอาหารของผปู้ ุวยโรคเบาหวานตําบลแมป่ ืม อาํ เภอเมอื ง จังหวัดพะเยา. วารสารวชิ าการ
สาธารณสขุ ชุมชน, 6(1), 110-124.

กองสุขศกึ ษา กรมสนับสนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข. (2563). การปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมการ
บริโภคอาหารสาหรบั วัยทางาน.

ไกรศร วงศ์ธิดา. (2563). การพัฒนาแนวทางการปรับเปล่ยี นพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารและการอา่ นฉลาก
โภชนาการในกลมุ่ ผ้ปู วุ ยโรคเรอื้ รงั ชุมชนบา้ นปุาเหียง ตําบลบอ่ แฮว้ อําเภอเมอื ง จงั หวัดลําปาง.
วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ,7(1), 56-75.

คอรเี ย๊าะ เลาะปนสา,อุมาพร ปญุ ญโสพรรณและ ปิยะนุช จติ ตนูนท. (2561). ผลของโปรแกรมเสริมพลงั ชมุ ชน
ตอ่ พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารเพ่ือปอู งกันภาวะไขมันในเลอื ดสงู ในสตรีมุสลิมทมี่ ีปจั จัยเสี่ยงต่อ
ภาวะไขมันในเลอื ดสงู .วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์,40(4),23-36.

คทั ลยิ า วสุธาดาและคณะ. (2561). ความสมั พันธร์ ะหวา่ งการรับรู้เก่ียวกับโรคไม่ติดตอ่ เรอ้ื รงั กับพฤตกิ รรมการ
สง่ เสรมิ สขุ ภาพ ในการปูองกันโรคไม่ติดตอ่ เรอ้ื รงั ของประชาชนในเขตอาํ เภอเมือง จังหวดั จันทบุร.ี
วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบรุ ี,29(2),47-59.

จารุวรรณ เจตเกษกิจ. (2552). นวัตกรรมเคร่ืองปรงุ รส ใสร่ สชาติใหม่ใหช้ วี ติ ดว้ ยแนวคดิ สรา้ งสรรค์.
อุตสาหกรรมสาร, สืบคน้ วันที่ 4 มกราคม 2564 สืบคน้ ไดจ้ าก https://opacdb02.dpu.ac.th.

ชวิศาส์ เลศิ มงคลธรี กลุ , ปฏพิ ร บญุ พัฒน์กลุ และอนแุ สง จติ สมเกษม. (2564). ผลของการใหค้ วามรู้เรือ่ งการ
ลดโซเดยี มในอาหารและการรบั ประทานอาหารในรปู แบบDASH ร่วมกบั การประยุกตใ์ ชท้ ฤษฎี
พฤตกิ รรมตามแผนต่อการลดความดนั โลหิตสงู ในผปู้ วุ ยความดนั โลหติ สงู .วชริ สารการพยาบาล
,23(1).31-45.

ณฏั ฐ์ฐาวรรณ เหมือนชู. (2562). การศึกษาผลของการใชโปรแกรมการปรับเปลย่ี นพฤติกรรมสขุ ภาพโดยการมี
สวนรวมของชมุ ชนตอภาวะสุขภาพของประชาชนกลุมเสีย่ งโรคเรื้อรังอําเภอเมืองกาญจนบุรี.
วารสารการพยาบาลและการศึกษา, 8(4), 61-77.

ธีทัต ศรีมงคลและคณะ. (2560). โปรแกรมการปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารในกลุ่มเสี่ยงสูง
โรคความดนั โลหติ สูง ตําบลตาจน่ั อําเภอคง จังหวดั นครราชสมี า.วารสารวทิ ยาลยั พยาบาลบรม
ราชชนนี กรุงเทพ ,33(1).77-88

33

นวลนิตย์ ไชยเพชรและคณะ. (2560). ประสิทธผิ ลของโปรแกรมปรับเปลย่ี นพฤติกรรมสุขภาพตอ่ พฤติกรรม
สุขภาพของกลมุ่ เสย่ี ง โรคไมต่ ิดต่อเรือ้ รงั ชมุ ชนโพหวาย ตาํ บลบางกุ้ง อาํ เภอเมอื ง จังหวัดสรุ าษฎร์
ธาน.ี วารสารเครอื ขา่ ยวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้,4(2),45-62.

ประภาพร สุนธงศิร.ิ (2564). การพัฒนาตน้ แบบส่ือโมเดลอาหารและตารางแลกเปลยี่ นอาหารอีสานสาํ หรบั
ผู้ปุวยโรคเบาหวาน.วารสารวจิ ยั และพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ,3(1),7-21,

ปยิ พงศ์ สอนลบ, สขุ แก้ว คาํ สอนและฐิตอิ าภา ต้งั คา้ วานชิ . (2562). รูปแบบการใหค้ วามรูเ้ พอ่ื ปรับเปล่ียน
พฤตกิ รรมสขุ ภาพในการปอู งกันโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด สาํ หรับผูป้ วุ ยความ
ดนั โลหิตสงู ในโรงพยาบาลชมุ ชน. วารสารมนษุ ย์ศาสตร์และสังคม ศาสตร,. 13(1). 167-185.

ปวณี ภทั ร นิธิตนั ตวิ ัฒนแ์ ละวราคณา อุดมทรพั ทย์. (2560). พฤติกรรมการบริโภคอาหารของวยั รนุ่ ไทย
ผลกระทบและแนวทางแก้ไข.วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า,28(1).122-128.

พรฤดี นิธริ ตั นแ์ ละคณะ. (2563). ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองของผ้ทู อี่ ว้ นและมีไขมันในเลอื ดสูง ใน
จังหวดั จันทบรุ ี : กรณีประชาชนกล่มุ เสี่ยงตอ่ โรคเรอ้ื รัง ตําบลท่าช้าง อาํ เภอเมอื ง จงั หวัด จนั ทบุร.ี
วารสารวชิ าการสาธารณสขุ , 29(6), 1026-1034.

พัชราภรณ์ อารยี ์,อมุ าพร ปญุ ญโสพรรณ, วิจิตร ศรีสพุ รรณ, และสถติ ยว์ งศส์ รุ ประกิต. (2560). ผลของรูปแบบ
การปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมการกินต่อระดับไขมันและน้าํ ตาลในเลือดในสตรที ่ีมีภาวะไขมนั ในเลอื ดสงู .
คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.วารสารพยาบาล,40(-).14-22.

พ่ึงใจ งามอโุ ฆษ, บรรหาร กออนนั ตกูล, ปยิ มติ ร ศรีธารา, เกรียงไกร เฮงรัศมี, กมั มันต์ พนั ธุมจนิ ดา, สามารถ
นิธินนั น์, และคณะ. (2560). แนวทางการดูแลรกั ษาความผิดปกตขิ องระดบั ไขมันในเลือด. สารราช
วิทยาลยั อายรุ แพทยฯ์ , 19(6), 15-33.

พรี ะ สมบัตดิ ี, สายสมร พลดงนอก และ สิทธิชยั เนตรวจิ ติ รพันธ์. (2563). ความรู้เร่อื งภาวะไขมันในเลอื ด
ผิดปกติ. ขอนแกน่ : หนว่ ยสรา้ งเสริมสุขภาพงานเวชกรรมสงั คม โรงพยาบาลศรีนครนิ ทร์.จากค่มู ือเรื่อง
ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ.

โภคนิ ศักรินทรก์ ุล. (2019). การสร้างและหาประสิทธผิ ลวิธสี อนเรือ่ งรายการอาหารแลกเปลี่ยนไทย หมวดผกั
สําหรับผูป้ ุวยเบาหวาน. วารสารระบบบรกิ ารปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครวั ,4(1) 6-12.

เยาวภา ตอิ ัชสุวรรณ. (2563). พฤติกรรมการกินอาหารของนักศกึ ษามหาวทิ ยาลยั ในจงั หวัดนนทบุรี และปัจจัย
ท่ีสัมพนั ธก์ นั .วารสารความปลอดภยั และสขุ ภาพ,13(1).113-125.

ลลิตา เดชาวุธ และคณะ. (2561). ความสมั พันธ์ระหวา่ งการรับรู้เกี่ยวกบั โรคไมต่ ิดตอ่ เร้ือรังกับพฤตกิ รรมการ
สง่ เสริมสขุ ภาพในการปูองกนั โรคไม่ตดิ ตอ่ เรือ้ รงั ของประชาชนในขตอาํ เภอเมือง จังหวดั จันทบุรี.
วารสารวทิ ยาลยั พยาบาลพระปกเกลา้ ,29(2).47-59.

34

วรษิ า ศิรเิ วชยนั ตแ์ ละคณะ. (2559). ผลของโปรแกรมอาหารสขุ ภาพตอ่ ดชั นมี วลกายของบุคลากรโรงพยาบาล
จุฬาลงกรณ์.วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย.

วริษา กันบวั ลา,ณชนก เอียดสยุ และอาภรณ์ ดีนาน. (2021). ผลของโปรแกรมส่งเสริมความรอบรดู้ ้านสุขภาพ
ต่อพฤติกรรมปอู งกนั โรคหลอดเลอื ดหัวใจและระดับไขมันในเลือดของผทู้ มี่ ีไขมันในเลอื ดผิดปกติ.
วารสารคณะพยาบาลศาสตรมหาวทิ ยาลยั บูรพา,29(3), 3-14.

ศัลยา คงสมบูรณเวช. (2553). กินอย่างไร ไมอ่ ้วน ไมม่ ีโรค. (พมิ พ์คร้งั ที่ 2). กรงุ เทพฯ: อมรินทรพ์ ริ้นต้งิ .
สมาคมความดันโลหิตสงู แหง่ ประเทศไทย. 2018. สืบค้น 5 มกราคม 2565 สบื คน้ ได้
จาก.http://www.thaihypertension.org

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ.กลุ่มโรคไมต่ ิดตอ่ เร้ือรัง.สืบคน้ วนั ที่ 5 มกราคม 2565
สืบค้นได้จาก https://www.google.com

สรุ เกียรติ อาชานานุภาพ. (2560). ตาราการตรวจรกั ษาโรคท่วั ไป.พมิ พค์ รัง้ ที่ 3 กรงุ เทพฯ: อุษาการพมิ พ.์
อนชุ าติ สรอ้ ยปสั สาและคณะ. (2560). ผลโปรแกรมการบรโิ ภคอาหาร ประยกุ ตแ์ บบจําลอง ข่าวสาร แรงจงู ใจ

และทักษะพฤตกิ รรมในการควบคมุ ระดบั นํา้ ตาลในเลือดของผปู้ วุ ยเบาหวาน จังหวดั สมุทรปราการ
Journal of Health Education ,39(132),51-63.
อตพิ ร อิงคส์ าธติ . (2554) . สถานการณโ์ รคไตเรอ้ื รังในประเทศไทย. Text Book of Nephrology กรงุ เทพฯ:
เท็กซ์ แอนด์ เจอรน์ ลั พบั ลิเคชนั่ . 1903-1910.
อารมณ เจษฎาญานเมธา. (2549). หลกั การใชยาบาบดั ภาวะไขมนั ในเลอื ดผดิ ปกต.ิ สืบค้น 10 มกราคม 2565,
จากhttp://www.pha.nu.ac.th/apirukw/ambu/
อมุ าลี ธรศรแี ละคณะ. (2561). โปรแกรมการสง่ เสริมโภชนาการ: ลดหวาน มนั เคม็ ประยุกต์การกํากับตนเอง
และแรงสนับสนุนจากครอบครัวในผปู้ ุวยโรคเบาหวานชนดิ ท่ี 2. วารสารสาธารณสขุ , 48(3), 284-
294.
อรทิพย์ เอ่งฉ้วน. (2563). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพต่อระดับนํ้าตาลเกาะเม็ดเลือดแดงในผู้ปุวย
โรคเบาหวานชนิดท่ี 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , 19(5), 15-29.
อุษณีย์ วนิ ิจเขตคํานวณ. (2547). ชีวเคมีของลปิ ดและไลโปโปรทีน. เชยี งใหม: ดาวคอมพวิ กราฟก.
วารสารภาควิชาชวี เคมี .
อรุ ะณี รตั นพิทกั ษ์. (2561). ผลของโปรแกรมการจดั การเบาหวานดว้ ยตนเองต่อความรู้พฤตกิ รรมและดัชนี
สุขภาพในผ้เู ป็นเบาหวานชนดิ ท่ี 2. Journal of Nursing Science, 31(1),7-18.

35

Stephen P. Juraschek. (2017). ผลของการลดโชเดียมและ DASH Diet ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ความดนั โลหิต.
วารสารวทิ ยาลัยโรคหัวใจแห่งอเมริกา. 23(70).

Department of Health. (2018). Non-Communicable Diseases (NCDs). ค้นเมื่อ 5 มกราคม 2565,
จาก http://www.thaihealth.or.th/ NCDS/

Esposito, K. et al. (2016). Effects of a Mediterra-nean Style Diet on the Need for
Antihyperglycemic Drug Therapy in Patients With Newly Diagnosed Type 2 Diabetes.
Retrieced from https://www.acpjournals.org

Fernanda,R.& Maria,L. และคณะ. (2561) .Ultra-Processed Food Consumption and Chronic
Non-Communicable Diseases-Related DietaryNutrient Profile in the UK
(2008–2014),10,1-13.a.Retrieced from https://www.acpjournals.org.

Gunawan-Puteri, M.D.P.T., Hassanein, T.R.,Prabawati, E.K., Wijaya, C.H. and Mutukumira, A.N.,
2015, Sensory characteristics of seasoning powders from overripe tempeh, a solid
state fermented soybean,Proc. Chem. 14: 263-269. Retrieced
from https://www.acpjournals.org

Sandra Boatema,Delali Margaret Badasu และคณะ. (2561). Food beliefs and practices in urban
poorcommunities in Accra: implications forhealth interventions. Boatemaa et al.
BMC Public Health (2018). Retrieced from https://www.acpjournals.org.

Centers for Disease Control and Prevention. (2010). The CDC guide to strategies for reducing
the consumption of sugar-sweetened beverages. Retrieved January 5, 2022, from
https://stacks. cdc.gov/view/cdc/51532.

WHO. (2015). Guideline Sugars intake for adults and children. Geneva: World Health
Organization.

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก
แบบประเมนิ นวัตกรรมคมั ภีร์ปรุงถูก สขุ ภาพดี

สาหรบั ผู้ทรงคณุ วฒุ ติ รวจสอบ







ภาคผนวก ข
ตารางวิเคราะหแ์ ละสงั เคราะหง์ านวจิ ยั

ตารางวเิ คราะห์และสงั เคราะห์งานวิจยั PICO

https://me-qr.com/th/mobile/pdf/3371146
- ตารางวิเคราะห์และสังเคราะห์งานวิจัย PICO จานวน 21 ฉบบั

ภาคผนวก ค
แบบประเมนิ ความพึงพอใจตอ่ การใชน้ วตั กรรม

“คมั ภีร์ปรุงถูก สขุ ภาพดี”

แบบประเมินความพงึ พอใจต่อการใช้นวตั กรรม “คัมภรี ป์ รุงถูก สุขภาพดี”
สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลส่วนบุคคลท่วั ไป
คาชแี้ จง โปรดทาเครือ่ งหมาย ✓ ลงใน  หรือเติมข้อความลงในช่องว่างตรงตามความเป็นจริง
1. เพศ  ชาย  หญิง
2. อายุ …………ปี
ส่วนท่ี 2 การประเมินความพึงพอใจของผ้เู ข้าใช้นวัตกรรม
กรณุ าขดี เคร่อื งหมาย  ลงในช่องทที่ า่ นเหน็ วา่ ตรงกบั ความคิดเห็นของทา่ นมากท่ีสุดเพยี งชอ่ งเดยี ว

ความพงึ พอใจของผู้ร่วมกิจกรรม ระดบั ความพงึ พอใจ
1. ความเป็นไปได้
มากทส่ี ุด มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยทีส่ ุด
1
543 2

สามารถนานวตั กรรมนาไปได้ใช้จรงิ
2. ความยากง่ายในการใช้

นวตั กรรมมคี วามงา่ ยในการนาไปใช้

3. ความปลอดภัย

เจา้ หน้าท่ี/ผู้ปว่ ยสามารถใชน้ วตั กรรมได้โดยไม่
ก่อให้เกิดอนั ตราย
4. ประโยชน์ตรงตามวัตถปุ ระสงค์

นวัตกรรมมปี ระโยชนต์ รงตามวตั ถปุ ระสงคข์ อง

เจา้ หน้าที่/ผู้ป่วย

5. ความคุ้มค่า คมุ้ ทนุ และความทนทาน

นวตั กรรมนี้ใชท้ รัพยากรอยา่ งคุ้มค่า มปี ระสทิ ธิ
ภาพ ไม่ฟ่มุ เฟอื ยและมีความทนทานสามารถใช้
งานได้ในระยะเวลานาน
6. มคี วามคิดสร้างสรรค์

นวัตกรรมมีความคดิ สรา้ งสรรค์ น่าใช้

7. เปน็ สอื่ การสอนที่เขา้ ใจงา่ ย

8. ตวั หนังสือชดั เจน อา่ นงา่ ย
9. สามารถปฏบิ ัติตามไดง้ า่ ย
รวม
สว่ นที่ 3 ข้อคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติม
.........................................................................................................................................................................................

ภาคผนวก ง
ภาพการดาเนินกจิ กรรมโครงการโครงการ
“ชมุ ชนรอ่ งถา่ นร่วมใจ บรโิ ภคปลอดภยั ห่างไกลจากโรค”

ในวนั ที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2565

ภาพการทานวตั กรรมคมั ภรี ป์ รุงถูกสขุ ภาพดี

ภาพการทานวตั กรรมคมั ภรี ป์ รุงถูกสขุ ภาพดี


Click to View FlipBook Version