โครงการชุมชนบา้ นนาจกั รสะอาด ชาวบ้านรว่ มใจ ใส่ใจการคดั แยกขยะ
วิชาปฏบิ ตั ิการพยาบาลครอบครัวและชุมชน 2
ชมุ ชนบา้ นนาจักร หมู่ 3 ตำบลนาจกั ร อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่
เสนอ
อาจารยพ์ รรณพิไล สุทธนะ
อาจารยก์ ชวรรณ ทะวิชยั
จัดทำโดย
นางสาวกวินนา เสนาวงค์ รหัสนักศึกษา 60130301002
นางสาวณัฐชนน ศริ อิ วุ านนท์ รหสั นักศึกษา 6013030101๔
นางสาวณัฐธยาน์
นางสาวทวิ าภรณ์ ตนั สำโรง รหัสนักศึกษา 6013030101๕
นางสาวนภาพร
นายพสษิ ฐ์ นวลบริบูรณ์ รหสั นักศึกษา 60130301019
นางสาววิไลลักษณ์
บุญประดับ รหสั นักศึกษา 60130301020
ศรลี าวัณย์ รหัสนักศึกษา 60130301027
เพ็งศรี รหัสนักศึกษา 60130301037
นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ช้ันปที ี่ 4
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาปฏบิ ัติการพยาบาลครอบครัวและชุมชน 2
ภาคการศึกษาท่ี 2 ปีการศึกษา 2563
วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี แพร่
คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนนก
กระทรวงสาธารณสุข
คำนำ
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาปฏิบัติการพยาบาลครอบครัวและชุมชน 2 รหัสวิชา
พย.1429 หลักสูตรพยาบาลศาสตร์บัณฑิต หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2558 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา
ความรู้ในการประเมินภาวะสุขภาพชุมชน การวินิจฉัยชุมชน การวางแผน การดำเนินงานตามแผนและ
การประเมินผลโครงการ เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งและการมสี ว่ นร่วมของชุมชน
คณะผู้จัดทำขอขอบพระคุณอาจารย์ พรรณพิไล สุทธนะและอาจารย์กชวรรณ ทะวิชัย อาจารย์
นิเทศประจำกลุ่ม ซึ่งได้ให้คำปรึกษา ช่วยชี้แนะ และช่วยเหลือในการจดั ทำโครงการให้ลลุ ว่ งไปได้ด้วยดี
หวังว่ารายงานฉบบั นจ้ี ะใหค้ วามรแู้ ละประโยชน์แกผ่ อู้ า่ นทกุ ๆทา่ น หากมีข้อผดิ พลาดประการใดก็ขออภัย
มา ณ ท่ีน้ีดว้ ย
คณะผจู้ ดั ทำ
แผนปฏบิ ตั งิ านประจำเดือน (แผนการทำงานเปน็ ทมี )
แผนปฏิบตั งิ านประจำเดอื นของกลมุ่ 1 บา้ นนาจักร ตำบลนาจักร อำเภอเมอื ง จังหวดั แพร่
ระหวา่ งวนั ที่ 21 ธันวาคม 2563 ถึงวันท่ี 22 มกราคม 2564
สัปดาห์ท่ี 1 เช้า บา่ ย ผลการปฏบิ ตั ิงาน หมายเหตุ
วนั จนั ทร์ที่ 8:00-10:00 น. 13:00-14:00 น. ไมเ่ ป็นไปตามแผนปฏบิ ตั ิ
21 ธ.ค. งาน
2563 ปฐมนิเทศโดยผอ. รพ. พบผู้นำชุมชนและ - ไม่ไดส้ ำรวจอาณาเขต
และจัดทำแผนท่ี (แผนท่ี
วันองั คารท่ี สต. และคณะ คณะอสม. สังเขป / เดนิ ดนิ )
22 ธ.ค. เนอื่ งจากกลับมาจากรบั ฟงั
2563 10:00-11:00 น. 14:00-17:00 น. นโยบายดา้ นสขุ ภาพใน
พ้นื ท่ี โดย สาธารณสุข
รายงานตัว/รบั ฟงั สำรวจอาณาเขต อำเภอ เวลา 16.00 น.
อ.ส.ม ไม่วา่ ง
นโยบายด้านสขุ ภาพใน และจัดทำแผนที่ เป็นไปตามแผนปฏบิ ัตงิ าน
พน้ื ท่ี โดย สาธารณสุข (แผนทสี่ ังเขป /
อำเภอ เดนิ ดนิ )
8:00-10:00 น. pre 13:00-14:00 น.
conference เกบ็ รวบรวมข้อมูล
9:00-12:00 น. เก็บ ชมุ ชน(ตอ่ )
รวมรวมข้อมลู ชุมชน 14:00-17:00 น.
จากแหลง่ ขอ้ มลู ปฐม post
ภูม/ิ ทุติยภมู ิ conference/
สะท้อนคดิ
สัปดาห์ท่ี 1 เชา้ บา่ ย ผลการปฏบิ ัตงิ าน หมายเหตุ
วันพุธท่ี 8:00-9:00 น. pre 13:00-15:00 น. เปน็ ไปตามแผนปฏิบัตงิ าน
23 ธ.ค. conference เก็บรวบรวมขอ้ มลู แตย่ งั วเิ คราะห์ขอ้ มูลไม่
2563 9:00-10:00 น. เกบ็ ชมุ ชน (ต่อ) เสรจ็
รวมรวมข้อมลู ชมุ ชน 15:00-16:00 น.
(ต่อ) วเิ คราะหข์ ้อมูล
10:00-12:00 น. 16:00-17:00 น.
รายงานตัว/รับฟัง post
สัปดาหท์ ่ี 1 เชา้ บ่าย ผลการปฏบิ ตั ิงาน หมายเหตุ
นโยบายด้านสขุ ภาพใน conference/ วิเคราะหข์ ้อมลู ยังไม่
สามารถระบปุ ัญหาได้
พ้นื ท่ี โดย นายก สะทอ้ นคิด
เทศบาล หรอื อบต.
วนั พฤหสั บดี 8:00-9:00 น. pre 13:00-15:00 น.
ที่ 24 ธ.ค. conference ระบปุ ัญหาชุมชน
2563 9:00-10:00 น. 15:00-16:00 น.
ประสานงานจัดทำ จดั เตรยี มประชุม
ประชาคมสขุ ภาพ ประชาคมสขุ ภาพ
10:00-12:00 น. 16:00-17:00 น.
วเิ คราะหข์ ้อมูล (ตอ่ ) post
conference/
สะท้อนคิด
วันศกุ ร์ท่ี 8:00-9:00 น. pre 13:00-15:00 น. วเิ คราะห์ขอ้ มูล สามารถ
25 ธ.ค. conference ระบสุ ถานการณ์ ระบปุ ัญหาได้ ยงั ไม่
2563 9:00-10:00 น. ปัญหาโครงงาน วางแผนเยี่ยมบา้ น
ประสานงานจัดทำ 15:00-16:00 น. ครอบครัวกรณีศึกษา
ประชาคมสขุ ภาพ วางแผนเย่ียมบ้าน
10:00-12:00 น. ครอบครัว จดั เตรียมเอกสารนำเสนอ
วเิ คราะหข์ ้อมลู (ต่อ กรณีศึกษา การทำประชาคม
16:00-17:00 น. จัดเตรียมเอกสารนำเสนอ
วันเสารท์ ี่ จดั เตรียมเอกสาร post การทำประชาคม
26 ธ.ค. นำเสนอการทำ conference/
2563 ประชาคม สะทอ้ นคดิ
วันอาทิตย์ที่ จดั เตรยี มเอกสาร จัดเตรียมเอกสาร
27 ธ.ค. นำเสนอการทำ นำเสนอการทำ
2563 ประชาคม ประชาคม
จดั เตรยี มเอกสาร
นำเสนอการทำ
ประชาคม
สัปดาหท์ ี่ 2 เช้า บา่ ย ผลการปฏิบตั งิ าน หมายเหตุ
เปน็ ไปตามแผนปฏิบตั งิ าน หมายเหตุ
วนั จนั ทร์ที่ จดั ประชมุ ประชาคม web of
เป็นไปตามแผนปฏิบตั งิ าน
28 ธ.ค. สุขภาพ (นำเสนอ causation
เป็นไปตามแผนปฏบิ ตั งิ าน
2563 ข้อมูล จัดลำดับ ต้งั คำถาม PICO
เก็บขอ้ มูลเสรจ็ ลงขอ้ มลู
ความสำคัญของปญั หา สืบคน้ หลกั ฐานเชิง ยังไม่วิเคราะห์
เป็นไปตามแผนปฏบิ ัตงิ าน
หาสาเหตุ และ ประจกั ษจ์ ัดทำ เปน็ ไปตามแผนปฏิบัตงิ าน
แนวทางแก้ไข) ผลการปฏิบตั งิ าน
เปน็ ไปตามแผนปฏบิ ัตงิ าน
วนั องั คารที่ 8:00-9:00 น. pre 13:00-16:00 น.
29 ธ.ค. conference สรา้ ง/ออกแบบ
2563 9:00-12:00 น. สรา้ ง/ โครงการ/
ออกแบบโครงการ/ นวตั กรรม
นวัตกรรม 16:00-17:00 น.
post
conference/
สะท้อนคิด
วันพุธท่ี พัฒนาเครอื่ งมอื เกบ็ พฒั นาเครอื่ งมอื
30 ธ.ค. รวบรวมขอ้ มลู เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
2563 โครงการ/นวตั กรรม โครงการ/
นวัตกรรม
วันพฤหัสบดี เก็บข้อมูล KAP เกบ็ ข้อมูล KAP
ท่ี 31 survey survey และนำผล
ธ.ค. 2563 มาวเิ คราะห์
วนั ศุกรท์ ่ี วเิ คราะหข์ ้อมูลต่อและ พัฒนาปรบั ปรงุ
1 ม.ค. นำโครงการมาปรบั แก้ โครงงาน/
2563 นวตั กรรม
วนั เสารท์ ี่ พัฒนาปรบั ปรงุ พัฒนาปรบั ปรงุ
2 ม.ค. โครงงาน/นวตั กรรม โครงงาน/
2563 นวตั กรรม
สปั ดาหท์ ่ี 2 เชา้ บา่ ย
วันอาทิตย์ท่ี พัฒนาปรับปรงุ สง่ โครงการให้
3 ม.ค. โครงงาน/นวัตกรรม เจา้ หน้าที่ อ.บ.ต.
2563
สปั ดาห์ท่ี 3 เชา้ บา่ ย ผลการปฏบิ ตั งิ าน หมายเหตุ
วันจนั ทร์ที่ สง่ โครงการให้ องค์การ พฒั นาปรับปรงุ เป็นไปตามแผนปฏิบตั งิ าน
4 ม.ค. บรหิ ารสว่ นตำบลนา นวัตกรรมและสรา้ ง
2563 จักรและเยยี่ มบา้ น เคร่ืองมอื ให้
ครอบครวั กรณีศกึ ษา ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ
ตรวจสอบ
วันองั คารที่ 8:00-9:00 น. pre พัฒนาปรับปรงุ เป็นไปตามแผนปฏบิ ัตงิ าน
5 ม.ค. เปน็ ไปตามแผนปฏบิ ตั งิ าน
2563 conference โครงงาน/
วนั พธุ ท่ี 09.00 – 12.00 น. นวัตกรรมและ
6 ม.ค.
2563 พฒั นาปรบั ปรงุ เครอื่ งมอื ตาม
โครงงาน/นวตั กรรม คำแนะนำของ
และเครอ่ื งมอื ตาม ผู้ทรงคุณวฒุ ิ
คำแนะนำของ
ผู้ทรงคุณวฒุ ิ
ออกหนงั สือเชิญเข้า ตรวจร่างกายและ
รว่ มโครงการและ นำนวตั กรรมใหผ้ ู้
หนังสอื เชญิ ผูท้ รงตรวจ ทรงตรวจและเสยี ง
เคร่ืองมือ ตามสายรณรงค์
นำนวตั กรรมใหผ้ ทู้ รง เรือ่ งการคัดแยก
ตรวจ ขยะ
วนั พฤหัสบดี 8:00-9:00 น. pre นำนวตั กรรมให้ผู้ เป็นไปตามแผนปฏิบตั งิ าน
ท่ี conference ทรงตรวจและ
7 ม.ค. 09.00 – 12.00 น.นำ พูดคยุ กับหัวหนา้
2563 นวัตกรรมใหผ้ ทู้ รง หมวดเพื่อหา
ตรวจและทำหนงั สอื ขอ สมาชิกเขา้ โครงการ
อนญุ าตจดั โครงการ
สัปดาหท์ ่ี 3 เชา้ บา่ ย ผลการปฏบิ ตั ิงาน หมายเหตุ
วนั ศุกร์ท่ี 8:00-9:00 น. pre เยีย่ มบ้าน เปน็ ไปตามแผนปฏบิ ตั งิ าน หมายเหตุ
8 ม.ค. conference ครอบครัว หมายเหตุ
2563 09.00 – 12.00 น. กรณีศกึ ษา (ครั้งท่ี เปน็ ไปตามแผนปฏิบัตงิ าน
จัดเตรียมกจิ กรรม 2)
วนั เสารท์ ่ี โครงการและนำ เป็นไปตามแผนปฏบิ ัตงิ าน
9 ม.ค. นวัตกรรมลงไปปฏิบัติ จัดเตรยี มกจิ กรรม
2563 จดั เตรียมกจิ กรรม โครงการและนำ ผลการปฏิบตั ิงาน
โครงการและนำ นวตั กรรมลงไป เปน็ ไปตามแผนปฏิบตั งิ าน
วนั อาทติ ย์ที่ นวัตกรรมลงไปปฏิบตั ิ ปฏบิ ตั ิ
10 ม.ค. จดั เตรยี มกจิ กรรม เปน็ ไปตามแผนปฏิบตั งิ าน
2563 จัดเตรยี มกจิ กรรม โครงการและนำ
โครงการและนำ นวตั กรรมลงไป เป็นไปตามแผนปฏบิ ตั งิ าน
สปั ดาห์ท่ี 4 นวัตกรรมลงไปปฏบิ ตั ิ ปฏบิ ตั ิ
วันจันทร์ที่ ผลการปฏิบัติงาน
11 ม.ค. เช้า บ่าย เปน็ ไปตามแผน
2563 จัดเตรียมกจิ กรรม จดั เตรียมกจิ กรรม
โครงการและนำ โครงการและนำ
วนั อังคารท่ี นวตั กรรมลงไปปฏบิ ตั ิ นวตั กรรมลงไป
12 ม.ค. ปฏิบัติ
2563 ดำเนินกิจกรรมการทำ ดำเนินกิจกรรมการ
โครงการและนำ ทำโครงการและนำ
วนั พธุ ที่ นวัตกรรมลงไปปฏิบัติ นวตั กรรมลงไป
13 ม.ค. ปฏิบัติ
2563 ดำเนินกิจกรรมการทำ ดำเนินกิจกรรมการ
โครงการและนำ ทำโครงการและนำ
สปั ดาห์ที่ 4 นวัตกรรมลงไปปฏบิ ตั ิ นวตั กรรมลงไป
วนั พฤหสั บดี ปฏิบัติ
ท่ี 14 ม.ค. เชา้
2563 ดำเนินกจิ กรรม บ่าย
โครงการและนำ เยย่ี มบ้าน
นวัตกรรมลงไปปฏิบตั ิ ครอบครัว
วันศกุ ร์ท่ี 8:00-9:00 น. pre กรณศี ึกษา (คร้งั ที่ เปน็ ไปตามแผน หมายเหตุ
15 ม.ค. conference 3)
2563 09.00 – 12.00 น. ดำเนนิ กิจกรรม เป็นไปตามแผน
ดำเนินกจิ กรรม โครงการและนำ เป็นไปตามแผน
วนั เสารท์ ี่ โครงการและนำ นวตั กรรมลงไป
16 ม.ค. นวตั กรรมลงไปปฏิบัติ ปฏิบัติ ผลการปฏบิ ตั งิ าน
2563 ดำเนินกิจกรรม เป็นไปตามแผน
โครงการและนำ ดำเนนิ กิจกรรม เปน็ ไปตามแผน
วนั อาทติ ย์ที่ นวตั กรรมลงไปปฏบิ ตั ิ โครงการและนำ
17 ม.ค. นวตั กรรมลงไป
2563 ดำเนนิ กจิ กรรม ปฏิบัติ
โครงการและนำ ดำเนนิ กิจกรรม
สัปดาห์ที่ 5 นวตั กรรมลงไปปฏบิ ัติ โครงการและนำ
วนั จันทร์ท่ี นวัตกรรมลงไป
18 ม.ค. เชา้ ปฏิบัติ
2563 ดำเนินกจิ กรรม
โครงการและนำ บ่าย
วันอังคารที่ นวตั กรรมลงไปปฏิบตั ิ เยย่ี มบ้าน
19 ม.ค. ครอบครัว
2563 8:00-9:00 น. pre กรณศี ึกษา (ครั้งท่ี
conference 4 ปดิ เคส)
09.00 – 12.00 น. จัดทำรายงานสรปุ
ประเมนิ ผลหลงั ดำเนิน โครงการ/
โครงการ/นวัตกรรม นวัตกรรม
(เชน่ Pre-KAP,แบบ
สอบถาม,แบบสงั เกต
เป็นต้น)
สัปดาหท์ ี่ 5 เชา้ บ่าย ผลการปฏิบัติงาน หมายเหตุ
วันพุธท่ี 8:00-9:00 น. pre -จัดทำรายงานสรปุ เปน็ ไปตามแผน
20 ม.ค. conference โครงการ/
2563 09.00 – 10.00 น. นวัตกรรม
ประสานงานผู้ที่ -จดั เตรียมนำเสนอ
เกี่ยวขอ้ งรบั ฟัง สรปุ สรปุ โครงการ/
โครงงาน/นวัตกรรม นวัตกรรม
10.00 - 12.00 น.
วิเคราะห์ข้อมูล/
อภปิ รายผล
วันพฤหสั บดี นำเสนอสรปุ โครงการ/ อำลาชุมชน/ เปน็ ไปตามแผน
ที่ นวัตกรรม และสง่ ต่อ เดินทางกลบั
21 ม.ค. งานแก่นายกเทศบาล/ วิทยาลัย
2563 อบต. ผู้อำนวยการ
รพ.สต และทีม บคุ คล
ท่เี กี่ยวข้อง
วนั ศุกร์ที่ นำเสนอผลการฝึก -สอบรวบยอด เป็นไปตามแผน
22 ม.ค. ปฏบิ ตั ิงานทง้ั 2 รายวชิ า
2563 รายวชิ า ณ วิทยาลยั -ถอดบทเรียนการ
พยาบาลบรมราชชนนี ฝกึ ปฏิบัตงิ าน
แพร่ -คนื ของและสง่ ของ
ขอ้ มลู ทวั่ ไปและ
ประวตั ิศาสตร์ของชุมชน
แผนท่เี ดนิ ดนิ บ้านนาจกั ร หม่ทู ่ี 3 ตำบลนาจักร อำเภอเมอื ง จงั หวัดแพร่
แผนท่ตี ั้งโตะ๊ บ้านนาจกั ร หม่ทู ่ี 3 ตำบลนาจักร อำเภอเมอื ง จงั หวดั แพร่
แผนผงั เครือญาตใิ นชมุ ชนบา้ นนาจกั ร หมู่ 3 ตำบลนาจักร อำเภอเมอื งแพร่ จ
ท่ีมา: การสำรวจข้อมูลและสอบถามจากปราชญ์ชาวบ้าน วันท่ี 22-24 ธ.ค. 2563
รวบรวมข้อมูลโดยนักศกึ ษาพยาบาลช้ันปที ี่ 4 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี แพร่
จงั หวัดแพร่
แผนผังเครอื ญาตใิ นชุมชนบา้ นนาจักร หมู่ 3 ตำบลนาจักร อำเภอเมอื งแพร่ จ
ที่มา: การสำรวจข้อมลู และสอบถามจากปราชญ์ชาวบ้าน วันท่ี 22-24 ธ.ค. 2563
รวบรวมข้อมลู โดยนักศึกษาพยาบาลช้ันปีที่ 4 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี แพร่
จังหวัดแพร่
สว่ นที่ 1 ข้อมูลทวั่ ไปของชุมชนธรรมเมอื ง
1. ขอ้ มลู ทวั่ ไปของหมูบ่ า้ น
1.1 ปะวตั ศิ าสตรช์ มุ ชนบา้ นาจักร
การก่อต้งั บ้านนาจักร ไม่มหี ลกั ฐานทป่ี รากฏแน่ชัดวา่ เริ่มมีการกอ่ ตงั้ ขึ้นเมอ่ื ใด และเป็นชนกลมุ่ ใดทีเ่ ข้ามา
อาศัยอยูใ่ นหมู่บ้าน แต่มีหลกั ฐานการอ้างอิงที่สำคญั คือ วันที่เริ่มมีการกอ่ สรา้ งวัดขึน้ เมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ.
2325 จึงมีการสันนษิ ฐานข้ึนวา่ บา้ นนาจกั รนา่ จะมีการก่อตงั้ ขึ้นก่อนวัดนาจกั ร
ความเป็นมาของหมู่บา้ นนาจกั ร ตามคำบอกเลา่ ของผ้เู ฒ่าผู้แก่ทเ่ี ล่าสืบต่อกันตอ่ มาว่า ในอดีตบรเิ วณท่ีต้ัง
ของหมู่บ้านเดมิ เปน็ ปา่ รกชฏั และมตี น้ สักข้ึนเป็นปา่ หนาทึบ หลงั มกี ารก่อต้ังเป็นหมู่บา้ น โดยทา่ นขนุ จักรจำเรญิ คำ
ลือ ซึ่งเป็นองครักษ์ของรัชกาลที่ 5 จึงมีการตั้งชื่อหมูบ่ า้ นว่า “บ้านนาสกั ” ต่อมามีการเพิม่ ขึ้นของประชากรใน
หมบู่ า้ นเพิ่มมากขึน้ ทำใหต้ ้องมกี ารตัดต้นสัก เพอ่ื ทำมาสร้างเปน็ บ้านเรือน และมีการเรียกช่ือหมู่บ้านท่ีผิดเพ้ียน
เป็น “บ้านนาจกั ร” แตบ่ างตำนานกบ็ อกว่า เนื่องจากในหม่บู ้านนมี้ ีววั ท่ีมลี กั ษณะพิเศษอยูห่ นึ่งตัว คอื มีรปู จักรตดิ
ที่หนา้ วัวและเปน็ ววั ที่ฉลาดและแสนรู้ ชนเกง่ ใชท้ ำงานได้ดี จึงมีการเรยี กช่อื ตามลักษณะของหน้าววั ที่เปน็ รูปจักร
วา่ “บา้ นหนา้ จกั ร” และต่อมามกี ารเรยี กช่อื ท่ผี ดิ เพยี้ นจากบ้านหน้าจกั ร เปน็ บา้ นนาจกั ร ดงั นั้นจึงมีการเรียกชื่อ
หมู่บา้ นนาสัก หน้าจกั ร เปน็ บา้ นนาจักรตั้งแตน่ ้ันเปน็ ตน้ มาจนถึงปัจจุบนั
เมอ่ื ปีพ.ศ. 2514 มปี ระชากรทเ่ี พิ่มมากขึน้ จงึ มกี ารพฒั นาเปล่ยี นแปลง ทำให้มไี ฟฟา้ ใช้ในหม่บู า้ น และใน
ปีพ.ศ. 2538 ประชาชนไดร้ ่วมมือกนั สรา้ งประปาในหม่บู ้าน โดยขุดจากบอ่ บาดาลในวัด แล้วทำทอ่ ระบายไปในแต่
ละบา้ น แตไ่ มท่ ่ัวถงึ และไดม้ ีการปรับปรงุ พัฒนาและปรบั ปรงุ ระบบประปาในหมู่บา้ น โดยไดร้ ับการช่วยเหลือจาก
การประปาส่วนภมู ภิ าค ทำให้มีนำ้ ใช้ที่ทัว่ ทุกหลังคาเรอื น แต่ในช่วงฤดูแล้ง น้ำกไ็ ม่ไหล ประชาชนจงึ แกไ้ ขโดยการ
สร้างบ่อนำ้ บาดาลในบ้านของตนเอง ทำให้มีน้ำใช้ตลอดทง้ั ปี
ปีพ.ศ. 2539 ประชากรในหมูบ่ ้านมเี พมิ่ มากข้ึน จึงแยกออกเปน็ 2 หมูบ่ า้ น คือ บ้านนาจกั รหมู่ที่ 3 และ
หมู่ที่ 6 เพือ่ ให้ประชาชนไดร้ ับขอ้ มูลข่าวสารและรบั บรกิ ารที่ทวั่ ถึงมากขึ้น
ปีพ.ศ. 2549 ได้มีการประชุมปรึกษากับทางคณะกรรมการหมู่บ้านและประชาชนในหมู่บ้าน เพ่ือ
ดำเนนิ การซ้อื ทด่ี นิ 1 ไร่ 2 งาน 37 ตารางวา โดยเปน็ เงินที่ไดม้ าจากความร่วมมือร่วมใจของคนในชุมชน ท่ไี มไ่ ด้รบั
การสนับสนนุ จากหน่วยงานใด เพื่อนำมาสร้างเป็นศาลาของหมู่บ้าน เป็นเหมือนศูนย์รวมของหมู่บ้านในการทำ
กจิ กรรมตา่ งๆในชมุ ชนและในปพี .ศ. 2551-2552 ไดม้ ีการก่อสรา้ งศาลาอเนกประสงค์ขนึ้ อกี 1 หลัง โดยได้รบั การ
สนับสนนุ งบประมาณมาจากภาครัฐ (ทีม่ า: แผนพัฒนาหม่บู า้ น ปพี .ศ. 2549 เรียบเรียงโดย นางวาสนา หลวงทุม
มา ผ้ใู หญ่บา้ นบา้ นนาจกั ร หมู่ 3 และการสมั ภาษณ์ขอ้ มลู โดยนกั ศกึ ษาช้นั ปที ี่ 4 จากปราชญ์ทอ้ งถ่นิ ปี 2563)
1.2 ลักษณะการตั้งถ่ินฐาน
ชุมชนบ้านนาจักรมี 138 หลงั คาเรือน ซงึ่ พนื้ ท่ีของหมูบ่ ้านตง้ั อยูบ่ นทร่ี าบลุ่ม มีการสร้างบา้ นเรอื นและทำ
เป็นพ้ืนทีท่ างการเกษตร โดยมีการจบั จองพนื้ ทที่ ำกนิ และท่ีอยอู่ าศยั สืบกันมาตั้งแต่ในอดตี ลักษณะบา้ นเรือนเป็น
บ้านไม้ยกสงู และบา้ นครงึ่ ปนู คร่งึ ไม้ เปน็ สว่ นใหญ่ แบง่ พนื้ ทบี่ ริเวณบ้าน โดยใช้รว้ั กัน้ หรอื อาจใช้เป็นถนนหรือลำ
น้ำเหมอื ง โดยส่วนใหญ่บา้ นท่อี ยู่ในบรเิ วณเดยี วกัน หรอื ใกลเ้ คียงกนั จะเปน็ ญาติหรอื พน่ี ้องกนั
1.3 สภาพทางภูมิศาสตร์ ภมู อิ ากาศ
สภาพภูมิศาสตร์
เปน็ พน้ื ท่รี าบลุม่ เหมาะสำหรับการทำการเกษตร โดยมีเน้ือท่ีประมาณ 1835 ไร่ โดยแบ่งพน้ื ที่ดังน้ี
พืน้ ท่ที างการเกษตร 1235 ไร่
ทอี่ ยูอ่ าศัย 600 ไร่
สภาพภมู ิอากาศ
เน่อื งจากจังหวัดแพร่เป็นจังหวัดทางตอนเหนอื มี 3 ฤดกู าล ได้แก่ ฤดูร้อน ฤดูหนาวและฤดฝู น ซ่ึงในช่วง
ฤดูร้อน อากาศจะค่อนข้างร้อนมากในช่วงเดือน มีนาคม - เมษายน ในช่วงฤดหู นาว อุณหภูมิจะตำ่ ลงมากในชว่ ง
เดอื นพฤศจิกายน-ธันวาคม และช่วงฤดูฝนจะเป็นช่วงของฤดูการทำนา จะมฝี นตกฝนชว่ งเดอื น สิงหาคม-ตุลาคม
แต่อาจมีนำ้ ทว่ มขังในบางพ้นื ท่ี ที่อย่ใู นพน้ื ที่เสี่ยง ในกรณีที่ฝนตกหนักมาก กไ็ ด้มีการประกาศให้ชาวบ้านได้มีการ
เตรยี มตัวรบั มือกบั ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้
1.4 พนื้ ท่ี อาณาเขตตดิ ตอ่
บ้านนาจักร หมู่ที่ 3 ตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลนาจักร อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ ตั้งอยูท่ างทิศตะวันออก
เฉียงใต้ของอำเภอเมอื งแพร่ มอี าณาเขตตดิ ต่อ ดงั นี้
ทิศเหนอื ติดต่อกับ บ้านเหล่า หมทู่ ่ี 5 หมทู่ ่ี 8 ตำบลนาจกั ร
ทศิ ใต้ ติดต่อกับ บ้านแต หมทู่ ่ี 1 และบ้านตอนหมทู่ ี่ 4 ตำบลนาจักร
ทิศตะวนั ออก ตดิ ต่อกับ บ้านนาจกั ร หมูท่ ี่ 6 ตำบลนาจกั ร
ทิศตะวนั ตก ติดตอ่ กับ บ้านตอน หมทู่ ่ี 4 ตำบลนาจักร
1.5 ประชากร (ข้อมูล ณ ธันวาคม พ.ศ. 2563)
จำนวนครัวเรอื นทง้ั หมด 147 หลงั คาเรือน มีคนอยู่จำนวน 136 หลงั คาเรือน
เปน็ บา้ นว่างจำนวน 9 หลงั คาเรอื น มคี นอยูแ่ ต่ไมม่ ีทะเบยี นบา้ น 1 หลังคาเรือน
เกบ็ สำรวจข้อมลู ได้ 95 ครัวเรอื น
เนื่องจากบางครัวเรอื นไปทำงานตา่ งจังหวดั จึงไมส่ ามารถเก็บข้อมูลได้
จำนวนประชากรท้งั หมด 331 คน แยกเป็นชาย 153 คน เป็นหญงิ 178 คน
1.6 บรกิ ารสาธารณสขุ และสังคมในหมบู่ า้ น
วัด 1 วดั
ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ 1 แห่ง
หอกระจายขา่ ว 1 แหง่
ศนู ยห์ มู่บ้าน 1 แห่ง
องคก์ ารบริหารสว่ นตำบลนาจักร 1 แห่ง
ศูนย์บรกิ ารสาธารณสขุ มูลฐาน 1 แหง่
ประปาหม่บู ้าน 1 แหง่
ตูก้ ดน้ำหยอดเหรยี ญ 1 แหง่
โรงสีข้าว 1 แห่ง
ฌาปนกจิ สถาน 1 แห่ง
ศนู ย์ปอ้ มยามรกั ษาความปลอดภยั ในหมูบ่ า้ น 1 แหง่
1.7 การบรหิ ารและการปกครอง
บ้านนาจักร หมู่ท่ี 3 เริ่มมกี ารเลือกตง้ั ผูใ้ หญบ่ ้านข้นึ ตามสมยั ของรัชกาลท่ี 5 เร่ิมเม่ือปี พ.ศ. 2457 โดยมี
ขนุ นาจกั รจำเริญ คำลอื ดำรงตำแหน่งกำนนั ในสมัยแรก โดยการดูแลประชากรทัง้ ตำบล โดยดำรงตำแหนง่ ตัง้ แต่ปี
พ.ศ. 2457-2465 และมกี ารเลือกต้ังผใู้ หญบ่ า้ นมาจนถงึ ปัจจบุ นั
โดยมรี ายนามดงั ต่อไปน้ี
1. ขุนนาจกั รจำเริญ กำนันตำบลนาจกั รคนแรก พ.ศ. 2457-2465
ผใู้ หญบ่ า้ นนาจกั ร พ.ศ. 2466-2483
2. นายก๋าใจ ธรรมสอน ผู้ใหญ่บา้ นนาจกั ร พ.ศ. 2484-2505
กำนันตำบลนาจกั ร พ.ศ. 2506-2510
3. นายจันทร์ สาจกั ร ผู้ใหญ่บา้ นนาจักร พ.ศ. 2511-2516
ผู้ใหญ่บา้ นนาจักร พ.ศ. 2517-2520
4. นายตา แสงโรจน์ ผู้ใหญบ่ ้านนาจักร พ.ศ. 2520-2523
ผใู้ หญบ่ า้ นนาจักร พ.ศ. 2524-2525
5. นายตา คำลือ ผู้ใหญ่บา้ นนาจักร พ.ศ. 2525-2525
ผูใ้ หญบ่ า้ นนาจักร พ.ศ. 2525-2538
6. นายดี วงค์กาวี ผใู้ หญบ่ ้านนาจักร พ.ศ. 2538-2540
ผู้ใหญบ่ ้านนาจักร พ.ศ. 2540-2542
7. นายทอง เพาะเจาะ
8. นายเลือ่ น สาจักร
9. นายนาค โมหา
10. นายมานติ ย์ ยะกะจาย
11. นายสมนึก นาสทิ ธ์
12. นางเยาวเรศ อนบุ ุตร
13. นายชติ ยะกะจาย กำนนั ตำบลนาจกั ร พ.ศ. 2543-2548
14. นายชวลติ บทกลอน ผใู้ หญบ่ ้านนาจักร พ.ศ. 2548-2552
15. นางวาสนา หลวงทุมมา ผูใ้ หญ่บา้ นนาจกั ร พ.ศ. 2552-ปัจจุบนั
โดยในปจั จบุ ันผดู้ ำรงตำแหน่งผู้ใหญ่บ้านนาจักร คอื นางวาสนา หลวงทมุ มา ซ่ึงดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปีพ.ศ.
2552-ปัจจุบัน แต่เนื่องจากประชากรในหมูบ่ ้านมีเพิ่มมากขึ้น จึงมีการแต่งตัง้ ผู้ชว่ ยผู้ใหญ่บ้านจำนวน 2 คนและ
คณะกรรมการหม่บู า้ นข้นึ มา เพื่อให้การดแู ลอย่างท่ัวถงึ โดยได้แบง่ การปกครองออกเปน็ 5 หมวด เฉลี่ยนหมวดละ
25-27 หลงั คาเรือน เพอื่ เปน็ ท่ปี รกึ ษาและรับฟังปัญทีเ่ กิดขึน้ เพ่อื นำไปสู่การแกไ้ ขปัญหาต่อไป
ที่มา: แผนพฒั นาหมบู่ า้ น ปีพ.ศ. 2549 เรียบเรยี งโดย นางวาสนา หลวงทุมมา ผใู้ หญ่บ้านบ้านนาจกั ร หมู่ 3
2. ขอ้ มูลประชากร
2.1 ข้อมูลประชากร
บ้านนาจักรหมทู่ ี่ 3 มีหลังคาเรอื นอ้างอิงในฐานขอ้ มลู ของหมู่บ้านจำนวน 147 หลงั คาเรอื น โดยจากการ
สำรวจจำนวน 95 หลังคาเรือน พบวา่ เปน็ บา้ นทม่ี ที ะเบยี นบา้ นแต่ไม่มผี อู้ ยูอ่ าศัยจำนวน 9 หลังคาเรือน บ้านท่ีไม่
มีทะเบยี นบา้ นแต่มผี ู้อยู่อาศยั 1 หลังคาเรือน จำนวนประชากรท้ังหมด 331 คน แยกเป็นชาย153 คน เป็นหญิง
178 คน
จำนวนประชากรทัง้ หมด
ตารางที่ 1 จำนวน ร้อยละของประชากรชุมชนบ้านนาจกั ร หมู่ที่ 3 ต.นาจกั ร อ.เมอื ง จ.แพร่ จำแนกตามเพศและ
อายุ
อายุ (ป)ี ชาย หญิง รวม
จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ
แรกเกิด-4 6 1.81 5 1.51 11 3.32
5-9 7 2.11 8 2.42 15 4.53
10-14 7 2.11 3 0.91 10 3.02
15-19 10 3.02 8 2.42 18 5.44
20-24 9 2.72 12 3.63 21 6.34
25-29 10 3.02 14 4.23 24 7.25
30-34 7 2.11 5 1.51 12 3.63
35-39 9 2.72 13 3.93 22 6.65
40-44 13 3.93 8 2.42 21 6.34
45-49 9 2.72 13 3.93 22 6.65
50-54 11 3.32 13 3.93 24 7.25
55-59 8 2.42 14 4.23 22 6.65
9.67
60-64 15 4.53 17 5.14 32 7.55
6.34
65-69 12 3.63 13 3.93 25 5.14
3.32
70-74 8 2.42 13 3.93 21 0.91
100
75-79 8 2.42 9 2.72 17
80-84 4 1.21 7 2.11 11
85 ปขี ึ้นไป 0 0.00 3 0.91 3
รวม 153.00 46.22 178.00 53.78 331.00
ท่มี า จากการสำรวจขอ้ มูลตามแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพน้ื ฐานและภาวะสุขภาพ วันที่ 22-24 ธนั วาคม 2563 โดย
นักศึกษาพยาบาล ช้ันปที ี่ 4 วพบ.แพร่
แผนภูมทิ ่ี 1 จำนวน รอ้ ยละของประชากรบา้ นนาจกั ร หมู่ 3 ตำบลนาจกั ร อำเภอเมอื ง จงั หวดั แพร่ จำแนกตาม
กลุม่ อายุและเพศ
เพศชาย ปี ข้ึนไป เพศหญิง
ทมี่ า จากการสำรวจข้อมูลตามแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพน้ื ฐานและภาวะสุขภาพ วันที่ 22-24 ธันวาคม 2563 โดย
นักศกึ ษาพยาบาล ชั้นปที ี่ 4 วพบ.แพร่
จากตารางที่ 1 และแผนภูมิที่ 1 พบว่า มีประชากรทั้งหมดจำนวน 331 คน แยกเป็นชายจำนวน 153
คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 46.22 เปน็ หญิงจำนวน 178 คน คิดเป็นร้อยละ 53.78 ประชากรสว่ นใหญอ่ ยู่ในกลุ่มช่วงอายุ
60-64 ปี จำนวน 32 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 9.67 โดยมีเพศชายจำนวน 15 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 4.53 เพศหญงิ จำนวน
17 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 5.14 รองลงมา คอื กลุ่มช่วงอายุ 65-69 ปี จำนวน 25 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 7.55 โดยเพศ
ชายจำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 3.63 เพศหญิงจำนวน 13 คน คิดเป็น ร้อยละ 3.93 และกลุ่มอายุนอ้ ยที่สุด
คือ กลุ่มชว่ งอายุ 85 ปีข้ึนไป จำนวน 3 คน ซง่ึ เป็นเพศหญงิ ทั้งหมด คดิ เปน็ ร้อยละ 0.91
นอกจากนี้ยังพบว่า ประชากรผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปี ขึ้นไป) ในชุมชนบ้านนาจักรมีจำนวน 109 คน คิด
เปน็ ร้อยละ 32.93 หรอื มปี ระชากรอายุ 65 ปี ขึน้ ไป จำนวน 77 คน คิดเปน็ ร้อยละ 23.26 แสดงให้เห็นว่าชุมชน
บา้ นนาจักรกำลงั กา้ วเขา้ สู่สงั คมผู้สูงอายรุ ะดับสดุ ยอด (Super-age Society)
2.3 สถานภาพสมรส
จากการสำรวจ พบว่า ประชาชนบา้ นนาจักรมสี ถานภาพสมรสโสดมากท่สี ดุ จำนวน 151 คน คดิ เปน็ รอ้ ย
ละ 45.62 รองลงมา คือ สถานภาพสมรสคู่ จำนวน 132 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 39.88 และสถานภาพสมรสหมา้ ยนอ้ ย
ท่สี ุด จำนวน 48 คน คดิ เป็นร้อยละ 14.50
2.4 ประวัติชวี ติ
นายกองค์การบรหิ ารสว่ นตำบลนาจกั ร
คณุ ชวลติ บทกลอน เกิดเม่ือ วนั ที่ 6 มนี าคม พ.ศ. 2509 ณ บา้ นเลขที่ 73 ทำคลอดโดยหมอตำแย เป็น
บตุ รคนท่ี 2 ของครอบครัว มีพ่ีนอ้ งทัง้ หมด 4 คน ผ้ชู าย 3 คน ผู้หญงิ 1 คน บิดาประกอบอาชีพรับเหมาก่อสร้าง
มารดาเป็นแม่บ้าน คุณชวลิตเขา้ ศกึ ษาในระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 – 4 ณ โรงเรียนจกั รราษฏร์บำรุง(นาจักร)
ศึกษาตอ่ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5 – 6 ที่โรงเรยี นเทศรัฐราษฏร์นกุ ลู (เมธังฆราวาส) เข้าศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
และตอนปลาย ณ โรงเรียนพริ ยิ าลัย จงั หวดั แพร่ จากนน้ั เขา้ ศึกษาตอ่ ชั้นอดุ มศกึ ษาทีม่ หาวิทยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่
สาขางานเทคนิคก่อสรา้ งในปีพ.ศ. 2527 เป็นระยะเวลา 2 ปี จงึ สำเรจ็ การศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชั้นสูง หลังจากนั้นจึงเริ่มทำงานเป็นหัวหน้าผู้ควบคุมงานก่อสร้างเป็นระยะเ วลา 6 ปี จึงเข้าศึกษาต่อในระดับ
ปริญญาตรี สาขาพัฒนาชุมชน ทมี่ หาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุตรดติ ถ์ สำเร็จการศกึ ษาในปี พ.ศ. 2535 และศึกษาต่อใน
ระดับมหาบัณฑติ คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง สำเรจ็ การศกึ ษาในปี พ.ศ. 2555
ในปพี .ศ. 2541 คณุ ชวลิตสมรสกับคณุ ระพมิ คนั ทะด้วง หลังชีวิตสมรสภรรยาไดต้ ง้ั ครรภ์บตุ รคนแรกจงึ ได้
ย้ายสถานที่ทำงานจากกรุงเทพฯ มาทำงานรบั เหมาก่อสร้างที่จังหวดั แพร่ โดยพักอาศัยอยู่ ณ บ้านนาจกั ร หมู่ 3
ตำบลนาจกั ร อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ บุตรด้วยกนั ทงั้ หมด 2 คน บตุ รสาวคนท่ี 1 จบการศึกษาคณะพยาบาล
ศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบันทำงานอยู่โรงพยาบาลรามาธิบดี บุตรชายคนที่ 2 กำลังศึกษาอยู่
มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ชน้ั ปที ่ี 3
ในปีพ.ศ. 2548 ได้ลงสมัครผู้ใหญ่บ้านนาจักร และได้รับความรว่ มมือร่วมใจจากประชาชนในหมู่บ้านใน
การได้รับเลือกให้ดำรงตำแหนง่ ผู้ใหญ่บ้าน ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2548-2552 หลังการดำรงตำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน ได้มีการ
ประชมุ ปรกึ ษากบั คณะกรรมการและประชาชนในหมูบ้านเพ่อื จดั ซือ้ ท่ดี ินในการสรา้ งศาลาหมู่บา้ น เพอ่ื ใหช้ าวบ้าน
ได้มีสถานที่ในการทำกิจกรรมร่วมกันในชุมชน ในปี พ.ศ. 2549 และในปี พ.ศ. 2551-2552 ได้มีการของบ
สนับสนุนในการก่อสรา้ งศาลาอเนกประสงคข์ ึ้น เพื่อขยายพื้นที่ในการทำกจิ กรรมร่วมกันของประชาชนในชมุ ชน
เม่อื ครบรอบวาระการดำรงตำแหน่งผใู้ หญ่บ้านในปพี .ศ. 2552
ในปี พ.ศ. 2553 เริ่มดำรงตำแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนตำบลนาจักร จดั โครงการคัดแยกขยะและ
รอ่ งระบายนำ้ ตัวยแู บบมีฝาปดิ เปน็ ต้น
ในปี พ.ศ. 2560 ตรวจพบว่าเป็นโรคหลอดเลือดในสมอง ได้รับการรักษาที่โรงพยาบาลเขลางค์นคร
จงั หวดั ลำปาง และนอกจากนัน้ ยงั มีโรคประจำตัว คือ โรคความดนั โลหติ สงู และไขมันในเลอื ดสงู รักษาและรับยา
ต่อที่โรงพยาบาลแพร่ แพทย์นัดตรวจอาการทุก 3 เดือน คุณชวลิตดูแลตนเองตามที่แพทย์แนะนำ โดยการออก
กำลังกาย ควบคมุ น้ำหนกั ควบคุมการรับประทานอาหาร และรับประทานยาตอ่ เน่อื ง
ปจั จบุ นั อาศยั อยู่ทีบ่ ้านนาจักร ดำรงตำแหนง่ นายกองค์การบรหิ ารสว่ นตำบลนาจักร ตง้ั แตป่ ีพ.ศ. 2553-
ปัจจุบัน เนื่องจากท่านเป็นผู้นำที่มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล ทำให้มีแนวคิดที่อยากพัฒนาบ้านเกิดให้มีความ
เปล่ียนแปลง มคี วามทันสมัย และมีความสะดวกสบาย จงึ พยายามบริหารงาน เพอ่ื นำเอาสิ่งใหม่ๆ เข้ามาให้ชุมชน
นาจักรและตำบลมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง และอีกประการหนึ่งที่สำคัญคือ ท่านเป็นผู้ที่มีอัธยาศัยดี มี
เมตตา จึงทำให้เป็นที่รักของคนในชุมชนและตลอดการดำรงตำแหน่ง ท่านเต็มที่กับชีวิตของการทำงานอย่าง
สมำ่ เสมอ
3. ข้อมูลดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม
3.1 การประกอบอาชีพ
อาชีพหลัก เกษตรกร ปลูกผกั ทำขนม ขา้ ราชการ
อาชพี รอง คา้ ขาย รบั จ้าง
แผนภมู ทิ ี่ 2 จำนวน ร้อยละของประชากรวยั แรงงานชมุ ชนบ้านนาจกั ร หมู่ท่ี 3 ตำบลนาจักร อำเภอเมอื ง จงั หวัด
แพร่ จำแนกตามการประกอบอาชพี
ทม่ี า จากการสำรวจขอ้ มูลตามแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพ้ืนฐานและภาวะสขุ ภาพ วันท่ี 22-24 ธันวาคม 2563 โดย
นกั ศึกษาพยาบาล ช้ันปีท่ี 4 วพบ.แพร่
จากแผนภมู ทิ ี่ 2 พบวา่ บา้ นนาจกั รประกอบอาชีพรับจ้างมากที่สุด จำนวน 101 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ
28.70 ประกอบอาชีพรองลงมา คอื กำลังศกึ ษาเปน็ นกั เรยี น/นกั ศกึ ษา จำนวน 51 คน คดิ เป็นร้อยละ 15.41 และ
ประกอบอาชพี นอ้ ยทส่ี ุด คอื ในปกครอง จำนวน 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 1.21
3.2 ระดบั รายได้ของครอบครวั ต่อเดอื น
รายไดส้ ูงสุด 3,144,000 บาทต่อปี
รายได้ต่ำสุด 8,400 บาทต่อปี
คิดเป็นรายได้เฉล่ยี 138,520 บาทตอ่ ปี
แผนภูมิที่ 3 จำนวน ร้อยละของประชากรชุมชนบ้านนาจักร หมู่ที่ 3 ตำบลนาจักร อำเภอเมือง จังหวัดแพร่
จำแนกตามรายได้ในครัวเรือนตอ่ ปี
ทมี่ า จากการสำรวจข้อมลู ตามแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพ้ืนฐานและภาวะสขุ ภาพ วันท่ี 22-24 ธันวาคม 2563 โดย
นกั ศึกษาพยาบาล ช้ันปที ี่ 4 วพบ.แพร่
จากแผนภูมิที่ 3 พบว่า ประชากรบ้านนาจักรมีรายได้ในครัวเรือนต่อปีมากที่สุด คือ รายได้ระหว่าง
100,001-500,000 บาทต่อปี จำนวน 29 หลังคาเรือน คิดเป็นร้อยละ 30.53 รองลงมา คือ รายได้ระหว่าง
10,001-50,000 บาทตอ่ ปี จำนวน 27 หลงั คาเรือน คิดเปน็ ร้อยละ 28.42 และมีรายไดต้ ำ่ สุด คอื น้อยกว่า 10,000
บาทต่อปี คิดเป็นร้อยละ 4.21 โดยมีรายได้สูงสุดจำนวน 3,144,000 บาทต่อปี รายได้ต่ำสุด จำนวน 8,400 บาท
ต่อปี และคิดเปน็ รายไดเ้ ฉลี่ย จำนวน 138,520 บาทตอ่ ปี
3.3 การนบั ถือศาสนา
ประชากรทัง้ หมดในชุมชนบา้ นนาจักร หมู่ 3 นบั ถือศาสนาพทุ ธ มีวดั 1 แห่ง คือ วดั บ้านนาจักร
3.4 ดา้ นการศกึ ษา
มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลนาจักร ที่เปิดสอนในระดับชั้นเตรียมอนุบาล (ช่วงอายุ 2 ปี – 4 ปี ) และ
โรงเรียนจักรราษฏรบ์ ำรุง(นาจกั ร) เปดิ สอนในระดบั ช้ันอนุบาลปีท่ี 2-ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ประชากรสว่ นใหญ่จบ
การศกึ ษาภาคบังคบั (ป.1-ป.6) และเรียนหนังสือต่อในระดับมธั ยมศึกษาและอดุ มศึกษา
แผนภมู ิที่ 4 จำนวนและรอ้ ยละของระดับการศกึ ษาของประชากรชมุ ชนบา้ นนาจกั ร หมทู่ ่ี 3 ตำบลนาจกั ร อำเภอ
เมือง จังหวัดแพร่
ที่มา จากการสำรวจข้อมูลตามแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพื้นฐานและภาวะสุขภาพ วันที่ 22-24 ธันวาคม 2563 คโดย
นักศกึ ษาพยาบาล ชนั้ ปที ี่ 4 วพบ.แพร่
จากแผนภูมิท่ี 4 พบว่า ประชากรบ้านนาจักรมีระดับการศึกษามากที่สุด คือ ประถมศึกษาจำนวน 135
คน คิดเป็นร้อยละ 40.79 รองลงมา คือ ปริญญาตรีจำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 15.41 และสถานภาพที่น้อย
ท่ีสดุ คอื อนปุ ริญญาจำนวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0.91
3.5 ระบบโครงสรา้ งพื้นฐาน
การคมนาคม
ประชากรสว่ นใหญ่มกี ารคมนาคมติดต่อกบั หม่บู า้ นอ่ืน ได้สะดวกทุกเส้นทาง การเดินทางเข้าสตู่ ัวเมือง
เป็นถนนลาดยาง ส่วนถนนทเ่ี ปน็ พน้ื ที่ทางการเกษตร เปน็ ถนนลกู รงั ทส่ี ามารถเดนิ ทางถึงพ้นื ทท่ี างการเกษตรได้
อยา่ งครอบคลมุ
แหล่งน้ำอปุ โภค บรโิ ภค
สำหรับการอปุ โภค-บริโภค เปน็ นำ้ ประปาส่วนภมู ิภาคบางสว่ นและน้ำทไ่ี ด้จากนำ้ ฝนน้ำดิบจากอา่ งแม่สาย
(อยู่นอกเขต) ซ่งึ จะต้องนำมาผ่านกระบวนการของระบบประปาและนำ้ บาดาล ในบางครวั เรอื นใชน้ ้ำบริโภคเป็นถงั
น้ำที่ซอ้ื จากรา้ นค้าในหมูบ่ า้ นและกดจากต้นู ำ้ แรห่ ยอดเหรียญ
3.6 แหลง่ ประโยชนใ์ นชมุ ชน
ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ 3 บา้ นนาจักร ตำบลนาจักร อำเภอเมืองแพร่ จงั หวดั แพร่
เร่ิมก่อตงั้ ขึน้ เมื่อปี 2549 โดยเปน็ ความรว่ มมอื รว่ มใจของประชาชนบ้านนาจักร ในการร่วมกนั จดั ซื้อท่ีดิน
และร่วมกนั ก่อสร้างขึน้ เพื่อเปน็ ศูนยร์ วมของชาวบ้านบา้ นนาจักร และเป็นแหลง่ ประชาสมั พันธ์ข้อมลู ข่าวสาร
ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ ตำบลนาจกั ร ตำบลนาจักร อำเภอเมอื งแพร่ จงั หวดั แพร่
เริ่มก่อสร้างขึ้นเมื่อ ปีพ.ศ. 2514 เปิดสอนในระดับชั้นเตรียมอนุบาล (ช่วงอายุ 2 ปี – 4 ปี) เป็น
ระยะเวลา 50 ปี
โรงเรยี นจักรราษฏร์บำรุง(นาจกั ร) หมู่ 6 ตำบลนาจกั ร อำเภอเมอื งแพร่ จังหวัดแพร่
เรมิ่ กอ่ ตง้ั เม่อื วนั ที่ 1 กนั ยายน พ.ศ. 2464 เดิมตัง้ อยู่ในบริเวณวดั นาจักร อาศยั ศาลาวัดเปน็ ท่สี อนหนังสอื
เนือ่ งจากสถานทีค่ บั แคบจึงยา้ ยมาตั้งใหม่บรเิ วณท่ตี งั้ ปจั จุบนั น้ี เปิดสอนในระดบั ชั้นอนบุ าลปที ี่ 2-ชนั้ ประถมศกึ ษา
ปีท่ี 6 เปน็ ระยะเวลา 100 ปี
วัดนาจกั ร หมู่ 3 ตำบลนาจักร อำเภอเมืองแพร่ จงั หวดั แพร่
เริ่มก่อสรา้ งเมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2325 โดยมีพระครูบายอง เป็นผู้ริเริ่มการก่อสร้างวัดขึ้น ร่วมกบั
ประชาชนบ้านนาจักร เพอ่ื สร้างเป็นสถานทีป่ ฏิบตั ิกิจกรรมในวันสำคญั ต่างๆทางพระพทุ ธศาสนา และการปฏิบัติ
ขนบธรรมเนยี มประเพณีตา่ งๆ รวมถึงเปน็ สถานท่ียดึ เหนี่ยวจติ ใจของประชาชน
ฌาปนกจิ สถานบา้ นนาจกั ร
เป็นสถานที่ประกอบพิธฌี าปนกจิ ศพของหม่บู ้าน เร่มิ ก่อสรา้ งมานานมากกวา่ 90 ปี
3.7 โครงสร้างการบรหิ ารงานในชมุ ชน
การปกครองของชมุ ชนบา้ นนาจกั รเป็นการปกครองดา้ นท้องถ่นิ มกี ารปกครองแบบประชาธปิ ไตย โดยมี
การเลอื กตง้ั ผูใ้ หญบ่ ้าน จะมกี ารประชุมประชุมทุกครงั้ ท่ีมเี รอ่ื งต้องแจ้งใหท้ ราบหรอื เมอื่ มเี หตุการณ์สำคัญเกดิ ข้ึน
ในหมู่บา้ น มีความรว่ มมอื ในการบรหิ ารงานในชุมชนและการแจ้งขา่ วสารผ่าน ทางหอกระจายขา่ วของหมบู่ า้ น โดย
มอี งคก์ รภายในชมุ ชนดงั น้ี
นางวาสนา หลวงทุมมา ผู้ใหญบ่ ้านบา้ นนาจกั ร หมู่ 3
นายสมหมาย นาสิทธ์ิ ผชู้ ่วยผูใ้ หญบ่ ้าน
นางสมุ าลี อนิ ต๊ะวงค์ ผชู้ ว่ ยผ้ใู หญบ่ ้าน
นายเศรษฐพงษ์ มนตรี องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลนาจกั ร
นายเสริม วงค์ยาชัย องค์การบรหิ ารส่วนตำบลนาจกั ร
คณะกรรมการกลุ่มสตรแี ม่บ้าน
- นางพชั ริน วงคย์ าชยั ประธานกลุ่ม
- นางสพุ รรณษา สมุนา รองประธาน
- นางสุภาภรณ์ วงค์ยาชยั เลขานุการ
- นางปราณี เพาะเจาะ เหรญั ญกิ
คณะกรรมการกลมุ่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมบู่ ้าน
- นางสภุ าภรณ วงค์ยาชยั ประธาน
- นางสาวณัฐยา มลซิ ้อน รองประธาน
- นางวาสนา หลวงทุมมา เลขานกุ าร
- นางปราณี เพาะเจาะ เหรญั ญกิ
- นายปฏิบตั ิ คำมลู ประชาสมั พนั ธ์
คณะกรรมการกลุ่มผสู้ งู อายุ
- นายเดช กวาวคำมี ประธาน
- นางจดิ าภา บงั ค่าย รองประธาน
- นางพชั รนิ ทร์ วงคย์ าชัย รองประธาน
- นางวิไล กวาวคำมีวฒั นา เลขานุการ
- นางละเอียด คงทพิ ย์ เหรัญญกิ
คณะกรรมการกลมุ่ เกษตรกร
- นายเดช กวาวคำมี ประธาน
- นานพดล บทกลอน รองประธาน
- นายทอง เพาะเจาะ เลขานกุ าร
- นางสุดาลักษณ์ รังสี เหรญั ญกิ
คณะกรรมการกลมุ่ กองทนุ หมูบ่ ้าน
- พ.ต.ต คมธาตุ วรรณสินี ประธาน
- นายศราวุธ จิตใจ รองประธาน
- นางวาสนา หลวงทุมมา เลขานุการ
- นางกฤษณา จิตใจ เหรัญญกิ
คณะกรรมการกลุม่ อาสาสมคั รปอ้ งกันภยั ฝา่ ยพลเรือน
- นายเสริม วงค์ยาชัย ประธานกลุ่ม
- นายวรี ะศกั ด์ิ ใจดี รองประธาน
- นายมานพ จิตใจ เลขานกุ าร
- นางสภุ าพร วงคย์ าชยั เหรญั ญกิ
- นายสมั ฤทธิ์ ตอนปัญญา ประชาสมั พันธ์
3.8 ปฏิทนิ ชมุ ชน ธ.ค.
ปฏิทินชุมชนบ้านนาจักร หมทู่ ่ี 3 ตำบลนาจกั ร อำเภอเมอื ง จังหวดั แพร่
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค เม.ย พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย.
ดา้ นเศรษฐกิจ
การทำนา
ทำขนมหวาน
ของกลมุ่
แม่บ้าน
การรบั จา้ ง
ทำน้ำด่ืม
การค้าขาย
,ปลกู ผกั ขาย
ดา้ นวัฒนธรรม
ทำบญุ ข้าวใหม่
งานวดั เสดจ็
วันมาฆบูชา
เล้ียงผบี รรพ
บุรุษ
ปีใหมเ่ มือง
วันวิสาขบูชา
วัน
อาสาฬหบชู า
วันเขา้ พรรษา
กฐนิ
ตกั บาตรเทโว
ลอยกระทง
จากตาราง ปฏิทินชมุ ชนบ้านนาจักร จะพบว่ากิจกรรมด้านเศรษฐกจิ ของชาวบา้ นชมุ ชนบ้านนาจกั ร หมู่ที่ 3
ตำบลนาจักร อำเภอเมอื งแพร่ จังหวดั แพร่ ส่วนใหญจ่ ะทำการเกษตรคอื การทำนา ทำสวน และมกี ลุม่ แมบ่ า้ น ทำขนม
ขาย และมีประชาชนบางส่วน คา้ ขาย ปลกู ผักขายและรับจา้ งท่วั ไป เป็นรายได้จุนเจือครอบครวั นอกจากนี้ยัง พบว่า
กองทุนหมู่บ้าน มีการทำน้ำดื่มขายในหมู่บ้าน เพื่อนำเงินเข้ากองทุนรวมหมู่บ้านหรือนำไปบริจาคให้บ้านที่ต้องการ
ความช่วยเหลือ และบริจาควัด โดยชาวบ้านจะเริ่มทำนาในเดือนมิถุนายน และเก็บเกี่ยวในเดือนพฤศจิกายน หลัง
ฤดูกาลเกบ็ เก่ียวจะมีการทำบญุ ขา้ วใหม่ ในชว่ งเดือนมกราคม ซ่งึ เป็นการทำขวญั ขา้ ว ส่วนกจิ กรรมดา้ นวัฒนธรรมใน
เดอื นมกราคมของทุกปีจะมกี ารจัดงานวัดเสด็จ ซึง่ เปน็ การสกั การะพระธาตุวัดเสด็จ ซึง่ เป็นส่งิ ศักดิ์สิทธ์ิท่ีชาวบ้านให้
ความเคารพนับถอื ในเดือนกุมภาพนั ธ์ จะมีการตักบาตรทำบญุ ในวนั พระใหญค่ ือวันมาฆบชู า เดอื นมีนาคมมีการเล้ียงผี
บรรพบุรุษ เดือนเมษายนเปน็ ปใี หม่เมอื ง จะมกี ารรดน้ำดำหวั คนเฒา่ คนแกท่ ี่บา้ น เดือนพฤษภาคม มวี ันพระใหญ่คอื วัน
วสิ าขบูชา เดอื นมถิ นุ ายนทำบญุ กฐนิ เดือนกรกฎาคมทำบญุ วันอาสาฬหบชู า วนั เขา้ พรรษาและในเดอื นตุลาคมมีการไป
ร่วมตักบาตรเทโวทวี่ ดั พระธาตชุ ่อแฮ เดือนตุลาคม และเดอื นพฤศจกิ ายน มกี ารลอยกระทง
4. ขอ้ มูลดา้ นอนามยั ส่ิงแวดลอ้ ม
จากการสำรวจชมุ ชนบ้านนาจักร จำนวน 95 ครัวเรือน สภาพแวดลอ้ มของบา้ นส่วนใหญ่ สะอาดเรยี บรอ้ ย ไม่
มีกล่ินเหม็นอับชนื้ มกี ารจดั บรเิ วณบา้ นอย่างเป็นสัดสว่ น มีแหลง่ น้ำสำหรบั การอปุ โภคและบริโภคเพียงพอ มกี ารปลูก
ผกั สวนครัวไว้รบั ประทานเองในแต่ละบ้าน มีแหล่งกำจัดลกู นำ้ ยงุ ลาย โดยใช้ทรายอะเบท การจัดการขยะ ส่วนใหญ่จะ
ทิ้งขยะรวมเป็นถุงเดียวกัน โดยจะมีรถเก็บขยะมาเกบ็ ทุกวันจันทร์และวันพฤหัสบดี แต่หากเป็นขยะพวกใบไม้ หรอื
ตน้ หญา้ จะมีการจัดการโดยการเผา ซึง่ ส่งผลให้เกดิ มลพิษทางอากาศได้ เช่น หมอกควนั ฝ่นุ ละอองในอากาศ เป็นต้น
บางครัวเรือนใช้วิธีในการกำจัดขยะเปียกหรืออินทรีย์โดยนำไปให้เป็นอาหารสัตว์และทำเป็นปุ๋ยหมัก และในบาง
ครวั เรือนท่เี ป็นจดุ ตง้ั ถังขยะ จะได้รบั กล่ินเหม็นจากกองขยะ และมพี าหะนำโรคจากขยะได้
5. ขอ้ มูลดา้ นระบบสขุ ภาพชมุ ชน
5.2 ผงั ระบบสุขภาพชุมชน
ท่มี า : การสำรวจ สงั เกตและสมั ภาษณผ์ ้นู ำชุมชนและปราชญช์ าวบา้ นบา้ นนาจักร หมู่ 3 เร
รยี บเรียงโดยนกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตร์ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี แพร่
6. ข้อมูลสถิตชิ ีพ เเละอนามัย
6.1 การเสยี ชีวิต การเจบ็ ปว่ ย
แผนภมู ิที่ 5 จำนวน ร้อยละของโรคของประชากรชุมชนบ้านนาจกั ร หมู่ที่ 3 ตำบลนาจกั ร อำเภอเมอื งแพร่ จงั หวดั
แพร่ ปี พ.ศ. 2563 จำแนกตามภาวะการณเ์ จบ็ ป่วย
ท่มี า จากการสำรวจข้อมลู ตามแบบสอบถามข้อมลู ความจำเป็นพ้นื ฐานและภาวะสขุ ภาพ วันที่ 22-24 ธันวาคม 2563 โดยนกั ศึกษา
พยาบาล ชน้ั ปีที่ 4 วพบ.แพร่
จากแผนภมู ิท่ี 5 พบวา่ มีภาวะการณ์เจบ็ บ่อยทีพ่ บบ่อยของชุมชนบา้ นนาจกั รจำนวน 5 อันดับ ได้แก่ ลำดับท่ี
1 คอื ความดันโลหติ สูง จำนวน 43 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 12.99 ลำดบั ที่ 2 คอื เบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน
17 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 5.14 ลำดับที่ 3 คอื โรคเบาหวาน จำนวน 7 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.11 ลำดบั ที่ 4 คอื โรคหลอด
เลอื ดสมอง จำนวน 5 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 1.51 และลำดบั ท่ี 5 คือ โรคความดนั เบาหวาน และไขมนั ในเลือดสูง จำนวน
2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.60
ตารางท่ี 2 จำนวน อตั ราสถิตชิ ีพการเสียชวี ิต ของประชากรชุมชนบ้านนาจกั ร หม่ทู ่ี 3 ตำบลนาจกั ร อำเภอเมอื ง
จังหวดั แพร่ ปี พ.ศ. 2563 (N=331)
กลมุ่ โรค จำนวน (คน) อัตราต่อประชากร 1,000 คน
จำนวนคนเสยี ชวี ิต 4 12.08
3 9.06
หัวใจลม้ เหลว 1 3.02
ไตวาย
ทมี่ า: ฐานข้อมูล HDC ปี 2563
จากตารางท่ี 2 พบวา่ ประชากรชมุ ชนบา้ นนาจกั รมอี ตั ราการเสยี ชีวติ ด้วยโรคหัวใจลม้ เหลว 9.06 ต่อ
ประชากร 1,000 คน และอัตราการเสยี ชวี ิตดว้ ยโรคไตวาย 3.02 ต่อประชากร 1,000 คน
วิเคราะห์ปญั หาทีพ่ บตามแบบสำรวจสขุ ภาพชนุ ชน
แบบสรปุ ข้อมลู ความจำเปน็ พืน้ ฐาน
ตัวชี้วดั ข้อมูลจำเปน็ พ้ืนฐาน จำนวนที่ จำนวนท่ี จำนวนที่ เปา้ ผ่าน
สำรวจ ผ่านเกณฑ์ ไมผ่ ่านเกณฑ์ หมาย เกณฑ์
ท้งั หมด จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ
หมวดที่ 1 สุขภาพ มี 7 ตัวช้ีวัด
1. เด็กแรกเกิดมนี ำ้ หนัก 2,500 กรมั ขน้ึ ไป - - - - - - -
2. เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเดียวอย่าง - - -- - --
น้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน
3. เดก็ แรกเกิดถงึ 12 ปี ได้รับวัคซีนป้องกัน 34 34 100 0 0.00 100 /
โรคครบตามตารางสร้างเสริมภูมิคมุ้ กันโรค
4. ครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ 95 91 95.79 4 4.40 100 x
ปลอดภัย และไดม้ าตรฐาน
5. ครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อบำบัด บรรเทา 95 64 67.37 31 32.63 100 x
อาการเจ็บป่วยเบอ้ื งต้นอยา่ งเหมาะสม
6. คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจ 115 52 45.22 63 54.78 100 x
สุขภาพประจำปี
7. คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกำลังกายอย่าง 187 153 81.82 34 18.18 100 x
นอ้ ยสปั ดาหล์ ะ 3 วนั ๆ ละ 30 นาที
หมวดที่ 2 สภาพแวดล้อม มี 7 ตวั ชว้ี ัด
8. ครวั เรอื นมคี วามมัน่ คงในท่ีอยูอ่ าศยั และ 95 92 96.84 3 3.16 100 x
บา้ นมีสภาพคงทนถาวร
ตวั ชว้ี ดั ขอ้ มลู จำเป็นพ้นื ฐาน จำนวนที่ จำนวนที่ จำนวนที่ เปา้ ผ่าน
สำรวจ ผ่านเกณฑ์ ไมผ่ ่านเกณฑ์ หมาย เกณฑ์
9. ครวั เรอื นมนี ้ำสะอาดสำหรับด่ืมและ ทั้งหมด จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ
บริโภคเพียงพอตลอดปี อย่างนอ้ ยคนละ 5 0 0.00 100 /
ลิตรตอ่ วนั 95 95 100
10. ครวั เรอื นมีน้ำใช้เพยี งพอตลอดปี อย่าง 0 0.00 100 /
น้อยคนละ 45 ลิตรตอ่ วัน 95 95 100
11. ครวั เรือนมกี ารจดั บา้ นเรอื นเป็น 5 5.26 100 x
ระเบยี บเรียบร้อย สะอาด และถกู 95 90 94.74 2 2.11 100 x
สุขลกั ษณะ 95 93 97.89 4 4.21 100 x
12. ครัวเรอื นไมถ่ ูกรบกวนจากมลพิษ 95 91 95.79 0 0.00 100 /
13. ครวั เรอื นมกี ารปอ้ งกันอบุ ัตภิ ัยและภัย 95 95 100
ธรรมชาตอิ ยา่ งถกู วิธี -- --
14. ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชวี ิตและ - -- -- --
ทรัพยส์ นิ - -- -- --
หมวดท่ี 3 การศึกษา มี 5 ตวั ช้ีวดั - --
15. เดก็ อายุ 3 - 5 ปี ไดร้ บั บรกิ ารเลย้ี งดู -- --
เตรียมความพร้อมกอ่ นวัยเรียน - --
16. เดก็ อายุ 6 -14 ปี ได้รบั การศกึ ษาภาค
บังคับ 9 ปี
17. เด็กจบชนั้ ม.3 ได้เรียนต่อชัน้ ม.4 หรอื
เทยี บเทา่
18. คนในครัวเรอื นท่ีจบการศกึ ษาภาค
บงั คบั 9 ปี ทไี่ ม่ไดเ้ รยี นตอ่ และยงั ไม่มงี าน
ทำ ไดร้ ับการฝึกอบรมดา้ นอาชีพ
ตัวชีว้ ัดขอ้ มลู จำเป็นพนื้ ฐาน จำนวนที่ จำนวนที่ จำนวนท่ี เป้า ผ่าน
สำรวจ ผ่านเกณฑ์ ไมผ่ า่ นเกณฑ์ หมาย เกณฑ์
ทั้งหมด จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
19. คนอายุ 15 - 59 ปี อ่าน เขียน - - - - - --
ภาษาไทย และคิดเลขอยา่ งงา่ ยได้
หมวดท่ี 4 การมงี านทำและรายได้ มี 4 ตัวชว้ี ดั
20. คนอายุ 15 – 59 ปี มีอาชพี และรายได้ 90 79 87.78 11 12.22 100 x
21. คนอายุ 60 ปขี ้ึนไป มอี าชพี และรายได้ 77 57 74.03 20 25.97 100 x
22. รายได้เฉลีย่ ของคนในครัวเรอื นตอ่ ปี 138,520 บาทต่อปี
23. ครวั เรือนมกี ารเก็บออมเงิน - - - - - --
หมวดท่ี 5 คา่ นยิ ม มี 8 ตวั ช้ีวดั
24. คนในครัวเรอื นไมด่ ่มื สรุ า 277 170 61.37 107 38.63 100 x
25. คนในครัวเรอื นไมส่ บู บหุ รี่ 277 207 74.73 70 25.27 100 x
26. คนอายุ 6 ปขี ้ึนไป ปฏบิ ัติกจิ กรรมทาง - - -- - --
ศาสนาอยา่ งน้อยสปั ดาหล์ ะ 1 ครง้ั
27. ผ้สู ูงอายุ ไดร้ บั การดแู ลจากครอบครัว 114 111 97.37 3 2.63 100 x
ชุมชน ภาครฐั หรอื ภาคเอกชน
28. ผู้พิการ ไดร้ บั การดูแลจากครอบครวั 5 5 100 0 0.00 100 /
ชุมชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน
29. ผปู้ ว่ ยโรคเรอื้ รงั ไดร้ บั การดแู ลจาก 85 74 87.06 11 12.94 100 x
ครอบครวั ชมุ ชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน
30. ครวั เรอื นมสี ่วนร่วมทำกจิ กรรม
สาธารณะเพอ่ื ประโยชนข์ องชุมชน หรอื - - - - - --
ท้องถิน่
31. ครอบครัวมคี วามอบอ่นุ 95 92 96.84 3 3.16 100 /
ทมี่ า จากการสำรวจขอ้ มลู ตามแบบสอบถามข้อมูลความจำเป็นพน้ื ฐานและภาวะสขุ ภาพ วันท่ี 22-24 ธนั วาคม 2563 โดยนักศึกษา
พยาบาล ชนั้ ปที ่ี 4 วพบ.แพร่
ส่วนที่ 2 การวนิ จิ ฉยั ปัญหา
1. การวินจิ ฉัยปญั หาของชมุ ชน
จากการสำรวจข้อมลู ของชมุ ชนบ้านนาจักร หมู่ที่ 3 ตำบลนาจักร อำเภอเมอื งแพร่ จังหวดั แพร่
ระหว่างวนั ที่ 22–24 ธนั วาคม พ.ศ. 2563 โดยการวิเคราะห์ข้อมลู ทีส่ ำรวจได้พบปัญหา ดังนี้
1. การไมต่ รวจเต้านมดว้ ยตนเอง (41.67%)
2. โรคความดันโลหติ สูงและเบาหวาน (22.71%)
3. การรบั ประทานอาหารรสจัด (17.28%)
4. การไม่คดั แยกขยะ (30.53%)
2. การจัดลำดบั ความสำคญั ของปัญหา
หลักเกณฑก์ ารพจิ ารณาลำดบั ความสำคญั ของปญั หา
1. ขนาดของปญั หา (Size problem)
หมายถงึ ประชาชนในชุมชนนน้ั ประสบปญั หานน้ั ๆ ภายในระยะเวลาทก่ี ำหนดเปน็ จำนวนเท่าใดมากหรอื นอ้ ย
เปน็ โรคติดต่อหรอื ไม่ บุคคลอื่นเส่ียงต่อเป็นโรคนี้หรือไม่ ใหค้ ะแนน ดงั นี้
รอ้ ยละของขนาดของปัญหา คะแนน
ไม่มีเลย ให้ 0 คะแนน
1 - 25 ให้ 1 คะแนน
26 - 50 ให้ 2 คะแนน
51 – 75 ให้ 3 คะแนน
76 – 100 ให้ 4 คะแนน
2. ความรนุ แรงของปญั หา (Severity of problem)
หมายถงึ อตั ราตายหรอื ความทพุ พลภาพจากโรคนั้น มีมากนอ้ ยเพียงใด สง่ ผลตอ่ ความพิการ ปญั หาของ
ครอบครวั ตามมาหรือไมท่ ง้ั ดา้ นความเปน็ อยู่ เศรษฐกจิ ในครอบครวั ชมุ ชน ประเทศชาติใหค้ ะแนน ดังนี้
ร้อยละของความรนุ แรงของปัญหา คะแนน
ไม่มีเลย (ไมร่ ้ายแรง) ให้ 0 คะแนน
1 – 25 (ไมส่ ุขสบาย) ให้ 1 คะแนน
26 - 50 (เปน็ โรค) ให้ 2 คะแนน
51 – 75 (พิการ) ให้ 3 คะแนน
76 – 100 (ตาย) ให้ 4 คะแนน
3. ความยากงา่ ยในการแกป้ ญั หา (Feasibility)
หมายถึง การพิจารณาถงึ ความเปน็ ไปไดท้ างด้านวิชาการ เทคโนโลยีท่ีมอี ยู่เจ้าหน้าท่ี เครอื่ งมือดำเนินการมี
เพยี งพอหรือไม่ เวลาเพยี งพอหรอื ไม่ ป้องกนั และควบคมุ ได้หรอื ไม่ ขดั ต่อกฎหมาย ขัดต่อขนบธรรมเนยี มประเพณี
ความเช่ือ ทัศนคตแิ ละการเมอื งหรือไม่
ความยากง่ายในการแกป้ ญั หา คะแนน
ไมม่ ที างทำไดเ้ ลย ให้ 0 คะแนน
ยากมาก ให้ 1 คะแนน
ยาก ให้ 2 คะแนน
งา่ ย ให้ 3 คะแนน
ง่ายมาก ให้ 4 คะแนน
4. ความร่วมมอื ของชุมชน (Community concern)
หมายถงึ ประชาชนในชมุ ชนนั้นเห็นว่า ปญั หานสี้ ำคญั หรอื ไม่ มคี วามวติ ก หว่ งใย ตระหนัก ยอมรับ หรอื ต้อง
แกไ้ ขเร่งดว่ นหรือไม่
ร้อยละของความร่วมมอื ของชุมชน คะแนน
ไม่มเี ลย ให้ 0 คะแนน
1 - 25 ให้ 1 คะแนน
26 - 50 ให้ 2 คะแนน
51 – 75 ให้ 3 คะแนน
76 – 100 ให้ 4 คะแนน
3. ผลการจัดลำดับความสำคัญของปญั หา
ณ ศาลาอนกประสงคบ์ ้านนาจักร หมู่ 3 ตำบลนาจกั ร อำเภอเมอื งแพร่ จงั หวดั แพร่ จากทค่ี ณะนกั ศึกษา
พยาบาลศาสตร์ชั้นปีท่ี 4 วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี แพร่ จำนวน 7 คน ไดอ้ อกฝกึ ภาคปฏบิ ัตวิ ิชาการพยาบาล
ครอบครวั และชมุ ชน 2 ณ บา้ นนาจักร หมู่ 3 ตำบลนาจกั ร อำเภอเมืองแพร่ จงั หวดั แพร่ ซงึ่ ได้ทำการสำรวจขอ้ มลู
โดยใชแ้ บบสำรวจภาวะสุขภาพชมุ ชนในระหวา่ งวันที่ 21-23 ธันวาคม พ.ศ. 2563 หลังจากทำการสำรวจได้นำขอ้ มลู
มาวเิ คราะห์ และนำมาจัดลำดับความสำคัญของปัญหาในวนั ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2563 เวลา 09.30-11.00 น. ซงึ่
ปญั หาทไ่ี ด้รบั การจัดลำดบั ความสำคญั ของปัญหาจากประชาชนหมู่ 3 ตำบลนาจกั ร อำเภอเมืองแพร่ จังหวดั แพร่ มี
จำนวนผูเ้ ขา้ ร่วม 52 คน มขี ้อมูลดังต่อไปนี้
ตารางที่ 3 ตารางแสดงการจดั ลำดับของปญั หา บา้ นนาจกั ร หมู่ 3 ตำบลนาจักร อำเภอเมอื งแพร่ จงั หวัดแพร่
ปัญหา องค์ประกอบคะแนน คะแนนรวม ลำดบั
1. การไม่ตรวจเต้นมด้วยตนเอง ขนาด ความ ความ ความ ผลบวก ผลคณู ท่ี
(41.67%)
รนุ แรง ยากง่าย ร่วมมอื
2 4 4 1 11 32 2
2. โรคความดันโลหติ สงู และเบาหวาน 1 4 1 2 9 12 3
(22.71%)
3. การรบั ประทานอาหารรสจัด หวาน 1 2 3 1 7 6 4
มัน เค็ม (17.28%)
4. การไมค่ ัดแยกขยะ (30.53%) 2 2 4 3 11 48 1
4. บทวเิ คราะห์และเหตุผลในการจดั ลำดบั ของปัญหาอนามัยชมุ ชน
ปัญหาท่ี 1 การไม่ตรวจเตา้ นมด้วยตนเอง
ขนาดของปญั หา
ให้ 2 คะแนน เพราะจากการประชุมร่วมกบั แกนนำของหมบู่ า้ นพบวา่ ประชาชนชุมชนบ้านนาจักร
หมูท่ ่ี 3 ไม่มีการตรวจเตา้ นมด้วยตนเองรอ้ ยละ 41.67
ความรุนแรงของปัญหา
ให้ 4 คะแนน เพราะ ประชาชนไมต่ รวจเต้านมด้วยตนเอง สง่ ผลใหไ้ มส่ ามารถทราบได้ว่าตนเองมีความ
ผดิ ปกตทิ ี่เต้านมหรอื ไม่ และเม่อื มีความผดิ ปกตขิ องเซลลท์ ีอ่ ยู่ภายในทอ่ นำ้ นมหรอื ต่อมน้ำนม จะมีการแบง่ ตัวผิดปกติ
ไม่สามารถควบคุมได้อาจมกี ารแพรก่ ระจายไปส่ตู ่อมนำ้ เหลอื ง หรอื แพร่กระจายไปสอู่ วัยวะทอ่ี ยหู่ ่างไกลเชน่ กระดกู
ปอด ตบั สง่ ผลใหเ้ สียชีวิตได้ จึงใหค้ วามรนุ แรงของปญั หา 4 คะแนน
ความยากงา่ ยในการแกป้ ญั หา
ให้ 4 คะแนน เพราะ เมื่อพจิ ารณาถงึ ความเป็นไปไดใ้ นการดำเนนิ การตามระยะเวลา 1 เดอื น รวมทง้ั มีการ
การบริหารงานทชี่ ่วยสนบั สนนุ ได้แก่ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพประจำตำบลนาจักร ประธานอาสาสมคั ร
สาธารณสุขชมุ ชนรว่ มด้วย นอกจากนจ้ี ากการสำรวจและสอบถามประชาชนในชมุ ชนบา้ นนาจกั ร พบวา่ ประชาชนให้
ความสนใจในปญั หาการไมต่ รวจเต้านมดว้ ยตนเองดังนั้นระดบั ความยากง่ายต่อการแก้ปญั หา จงึ อยใู่ นระดบั งา่ ย ให้
เทา่ กับ 4 คะแนน
ความร่วมมือของชุมชน
ให้ 1 คะแนน เพราะจากผเู้ ข้ารว่ มประชาคมจำนวน 52 คน มผี ู้ตอ้ งการแก้ไขปญั หาการไม่ตรวจเต้านมดว้ ย
ตนเอง จงึ ตอ้ งได้รบั การแกไ้ ข้เปน็ อนั ดบั ทส่ี อง จำนวน 25 คนคดิ เปน็ ร้อยละ 48.08
ปญั หาที่ 2 โรคความดันโลหติ สูงและเบาหวาน
ขนาดของปญั หา
ให้ 1 คะแนน เพราะ จากการทำประชาคมรว่ มกบั ประชาชนบ้านนาจักรพบวา่ ประชาชนชุมชนบ้านนาจักร
หมูท่ ่ี 3 เปน็ โรคความดนั โลหิตสงู และเบาหวาน ร้อยละ 12.99
ความรุนแรงของปัญหา
ให้ 4 คะแนน เพราะการทมี่ ีประชาชนเจบ็ ปว่ ยด้วยโรคความดันโลหิตสงู และเบาหวาน ส่งผลทำให้เกดิ
ภาวะแทรกซอ้ นข้ึนได้ หากมกี ารปฏิบัตติ วั ทีไ่ มถ่ ูกตอ้ ง ได้แก่ การลืมรบั ประทานยา การไมค่ วบคุมอาหารหรอื
ปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมในการบริโภคอาหาร หากไมส่ ามารถควบคุมระดบั นำ้ ตาลในเลอื ดหรือระดบั ความดันในเลือดได้
ย่อมสง่ ผลทำใหเ้ กิดภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ ภาวะหลอดเลอื ดแขง็ ตวั โรคหลอดเลือดหัวใจตบี ภาวะหัวใจลม้ เหลว
โรคหลอดเลือดสมอง จอประสาทตาขาดเลอื ด ไตเสอื่ ม และอาจเกดิ อาการอัมพฤต อมั พาตและเสยี ชวี ติ ได้
ความยากงา่ ยในการแกป้ ัญหา
ให้ 1 คะแนน เพราะ เม่อื พจิ ารณาถงึ ความเปน็ ไปไดใ้ นการแก้ไขปญั หา พบว่า ปญั หาดังกลา่ วเป็นปัญหา
ทางดา้ นสขุ ภาพทเี่ กิดขึ้นอย่างเรื้อรังและเป็นปญั หาท่แี ก้ไขไดย้ าก เนือ่ งจากประชาชนยงั ขาดความตระหนกั ถงึ ผลของ
การเกดิ โรคและยังไมม่ กี ารปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมสขุ ภาพ ดังน้นั ระดบั ความยากง่ายตอ่ การแกป้ ญั หา จงึ อยใู่ นระดบั
ยากมาก ให้เทา่ กับ 1 คะแนน
ความร่วมมือของชุมชน
ให้ 2 คะแนน เพราะจากผ้เู ข้าร่วมประชาคมจำนวน 52 คน มผี ู้ต้องการให้ปญั หาโรคความดันโลหิตสงู และ
เบาหวาน ยกมือจำนวน 43 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 82.69 ตอ้ งการแกไ้ ขปญั หาเปน็ อนั ดับ 3
ปัญหาท่ี 3 คนในชมุ ชนมพี ฤตกิ รรมการรับประทานอาหารรสจดั หวาน มัน เค็ม
ขนาดของปญั หา
ให้ 1 คะแนน เพราะจากการสำรวจขอ้ มลู และทำประชาคมรว่ มกบั ประชาชนในชมุ ชนบ้านนาจักร พบว่า
ประชาชนมพี ฤติกรรมรบั ประทานอาหารอาหารรสจัด คดิ เปน็ ร้อยละ 17.28
ความรนุ แรงของปัญหา
ให้ 2 คะแนน เพราะการทป่ี ระชาชนมีพฤติกรรมการรบั ประทานอาหารรสจดั ได้แก่ รสหวาน มัน เคม็ ยอ่ ม
สง่ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพได้ หากยงั คงมพี ฤติกรรมสขุ ภาพแบบเดิม จะทำใหเ้ กิดการสะสมของสารอาหารและไขมนั หาก
มกี ารรับประทานที่มากเกินไป ทำให้ร่างกายไม่สามารถนำพลงั งานไปใชไ้ ดห้ มด ทำใหเ้ กดิ การสะสมไวใ้ นรา่ งกาย จน
เกิดเป็นผลกระทบตอ่ สขุ ภาพโดยกอ่ ใหเ้ กดิ โรคตดิ ต่อไมเ่ รอื้ รงั ได้แก่ โรคความดนั โลหติ สูง ไขมนั ในหลอดเลือด
เบาหวาน เปน็ ตน้
ความยากง่ายในการแกป้ ญั หา
ให้ 3 คะแนน เพราะเมอ่ื พจิ ารณาจากความเป็นไปไดใ้ นการแกไ้ ขปัญหา พบว่า ประชาชนมคี วามสนใจในการ
ปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมการรับประทานอาหารรสจดั และใสใ่ จในการเลือกบรโิ ภคอาหารมากข้ึน ดงั น้นั ระดับความยาก
งา่ ยในการแกป้ ัญหานี้ คอื งา่ ย ใหเ้ ท่ากบั 3 คะแนน
ความรว่ มมอื ของชุมชน
ให้ 1 คะแนน เพราะจากผ้เู ขา้ ร่วมจำนวน 52 คน มผี ตู้ ้องการแกไ้ ขปญั หาการรบั ประทานอาหารรสจดั
จำนวน 14 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 26.92
ปญั หาท่ี 4 คนในชมุ ชนไมม่ ีการคดั แยกขยะกอ่ นท้ิง
ขนาดของปญั หา
ให้ 2 คะแนน เพราะ จากการทำประชาคมร่วมกบั ประชาชนบ้านนาจักรพบวา่ ประชาชนชุมชนบ้านนาจกั ร
หมทู่ ่ี 3 ไม่มกี ารคดั แยกขยะกอ่ นทง้ิ รอ้ ยละ 30.53
ความรนุ แรงของปัญหา
ให้ 2 คะแนน เพราะ ประชาชนทไ่ี มค่ ัดแยกขยะ สง่ ผลให้ขยะทกุ ประเภท เชน่ ขยะเปียก ขยะแหง้ ขยะรี
ไซเคิล ขยะอนั ตรายร่วมกนั ในถุงขยะ เมื่อรถมาเกบ็ ขยะไปกำจัดสง่ ผลกอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ ภาวะสุขภาพของ
พนกั งานเก็บขยะและแยกขยะ โดยกอ่ ใหเ้ กิดต่อสุขภาพจากการสมั ผสั ขยะหลายชนิด เชน่ กระดาษหอ่ ผ้าอนามัย เศษ
อาหารเนา่ บดู ของมีคม สารพษิ จากเคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าอเิ ลก็ โทรนคิ จนกอ่ ให้เกดิ อาการไมส่ ขุ สบาย เช่น คลนื่ ไส้ อาเจยี น
ได้ อกี ทงั้ ยงั ทำใหป้ ริมาณขยะเพม่ิ ขน้ึ ซงึ่ บางครัวเรอื นใช้วธิ กี ารกำจัดขยะโดยการเผา ส่งผลให้เกดิ มลพิษทางอากาศ
เมื่อร่างกายสดู ดมเข้าไป อาจสง่ ผลใหเ้ กิดโรคทางเดนิ หายใจได้ เช่น โรคถงุ ลมโปง่ พอง โรคหอบหดื เป็นตน้
ความยากงา่ ยในการแกป้ ญั หา
ให้ 4 คะแนน เพราะ เมอ่ื พจิ ารณาถึงความเป็นไปไดใ้ นการดำเนนิ การตามระยะเวลา 1 เดอื น รวมทง้ั มกี าร
การบริหารงานทชี่ ว่ ยสนบั สนุน ไดแ้ ก่ ทางองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลนาจกั รมีการจดั โครงการเกี่ยวกบั การจดั การขยะ
ร่วมด้วย นอกจากนจี้ ากการสำรวจและสอบถามประชาชนในชมุ ชนบ้านนาจกั ร พบวา่ ประชาชนให้ความสนใจใน
ปัญหาการคัดแยกขยะ ดงั นั้นระดบั ความยากงา่ ยตอ่ การแกป้ ัญหา จงึ อยูใ่ นระดบั งา่ ยมาก ใหเ้ ท่ากบั 4 คะแนน
ความร่วมมือของชุมชน
ให้ 3 คะแนน เพราะจากผู้เข้าร่วมประชาคมจำนวน 52 คน มีผตู้ อ้ งการให้ปญั หาคนในชุมชนไม่มกี ารคดั แยก
ขยะกอ่ นทง้ิ จงึ ต้องไดร้ บั การแก้ไข้เปน็ อันดบั แรกยกมอื จำนวน 25 คนคดิ เปน็ รอ้ ยละ 48.08
การระบปุ ัจจัยความสมั พันธส์ าเหตแุ ละผลกระทบแห่งปญั หา (web of causation)
พรอ่ งความรู้ ความขเี้ กียจ หลงลืม ทางานหนกั
ความเคยชนิ
ไม่มีเวลาคดั แยกขยะ ไม่มีภาชนะสาหรบั คดั
แยกขยะ
แยกขยะไม่เป็น ขยะมีปรมิ าณนอ้ ย
สนิ้ เปลืองงบประมาณ คนในชมุ ชนไม่คัดแยกขยะ ไดร้ บั บาดเจบ็
ของรฐั ขยะมปี ริมาณมาก
มีกล่นิ เหม็น
สารเคมีตกคา้ ง
สตั วก์ อ่ กวน ทะเลาะกบั เพือ่ น
เผาขยะและจากดั สกปรก บา้ น
ขยะไม่ถกู ต้อง
แหล่งกอ่ เชอื้ โรค ชุมชนไม่เป็นระเบียบ
มลพษิ ทางอากาศ ส่งผลต่อสขุ ภาพ
โรคอุจจาระรว่ ง
ส่วนท่ี 3 การแกไ้ ขปัญหาอนามยั ชมุ ชน
1. ชอื่ โครงการ ชมุ ชนบ้านนาจักรสะอาด ชาวบา้ นร่วมใจ ใส่ใจการคัดแยกขยะ
2. หน่วยงานที่รบั ผดิ ชอบ
1. ชุมชนบา้ นนาจกั ร หมู่ 3 ตำบลนาจกั ร อำเภอเมอื งแพร่ จังหวดั แพร่
2. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลนาจักร
3. องค์การบริหารส่วนตำบลนาจกั ร
4. กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมบู่ ้าน
5. นกั ศกึ ษาพยาบาลชั้นปที ี่ 4 กลมุ่ ท่ี 3
3. หลกั การและเหตผุ ล
ปัจจุบันปัญหาขยะมูลฝอยมีแนวโน้มเพิม่ สูงขึ้น โดยข้อมูลจากสำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดล้อมระบุวา่ ในปี 2562 มีขยะมูลฝอยจำนวน 1.89 ล้านตัน ซึ่งเพิ่มข้ึนจำนวน 0.03 ล้านตัน (ร้อยละ 1.61)
หรอื อัตราการเกิดขยะมลู ฝอยชมุ ชน 1.18 กิโลกรัม/คน/วนั และข้อมูลจากกรมควบคุมมลพิษ ปี 2563 มปี รมิ าณขยะมลู
ฝอยจำนวน 28,710,000 ตัน ในจังหวดั แพร่มขี ยะมูลฝอยจำนวน 154,916.95 ตัน โดยตำบลนาจักร มีปริมาณขยะมูล
ฝอย ในปงี บประมาณ 2563 จำนวน 2,659.44 ตนั ตอ่ ปี และขยะอนิ ทรียโ์ ดยการประมาณน้ำหนกั มีจำนวน 997.10
ตนั ตอ่ ปี มคี า่ ใชจ้ า่ ยในการกำจดั ขยะมูลฝอยสงู ถงึ 1,584,000 ซึ่งสาเหตุหลกั เนอื่ งจากการเพิ่มขนึ้ ของปรมิ าณขยะมลู
ฝอยทุกปีจะแปรผันตามอัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร การขยายตัวทางเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมในการอปุ โภคบรโิ ภคของประชาชนท่ีเปลยี่ นไป คือ จากเดมิ ทเ่ี คยใช้ตะกร้าหรือป่ินโตใส่อาหาร เปล่ียนไปเป็น
การใช้สินค้าที่มีบรรจุภัณฑ์จำพวกพลาสติก โฟม แก้ว กระดาษ โลหะ อลูมิเนียมเพิ่มขึ้น ผลกระทบที่ตามมา ด้าน
สิง่ แวดล้อม กอ่ ใหเ้ กิดมลพิษทางนำ้ ดินเส่ือมสภาพ ก่อเหตรุ ำคาญ ส่งกลนิ่ เหมน็ รบกวน รวมถงึ เป็นท่ีอยู่อาศัยของสัตว์
พาหะนำโรค กอ่ ความเสียหายต่ออุตสาหกรรมการ ท่องเท่ยี ว เกิดความสญู เสียทางดา้ นเศรษฐกจิ และในสว่ นของภาครฐั
ใช้งบประมาณ จำนวนมากในการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอย รวมถึงงบประมาณในการจัดการขยะจำนวนมาก (กรม
ควบคมุ มลพิษ, 2563)
ผลจากการสำรวจข้อมูลและการทำประชาคม ร่วมกับประชาชนในชุมชนบ้านนาจักร หมู่ที่ 3 ตำบลนาจักร
อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ ซึ่งเป็นพ้ืนที่ในการฝึกปฏิบตั งิ านวิชาปฏิบัติการพยาบาลครอบครวั และชุมชน 2 พบปัญหา
ที่ได้จากการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา ลำดับที่ 1 คือ คนในชุมชนไม่มีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ส่งผลให้ให้ขยะ
อินทรยี ์ถกู ท้ิงพรอ้ มกบั ขยะชนดิ อื่น ๆ ส่งกลน่ิ เหม็น และทำใหข้ ยะมนี ำ้ หนักทเ่ี พม่ิ มากขึ้น เกดิ ค่าใช้จ่ายในการกำจัดขยะ
มากขน้ึ ประกอบกับผลจากการสำรวจความรู้ ทัศคติ และพฤตกิ รรม พบว่า ชมุ ชนบา้ นนาจักรมีความรู้ในการคัดแยกขยะ
อยใู่ นระดบั ปานกลาง (รอ้ ยละ 74.55) มที ศั นคติทางบวกกับการคดั แยกขยะ (รอ้ ยละ 19.43) และมพี ฤตกิ รรมพงึ ประสงค์
ปานกลางเกี่ยวกบั การคดั แยกขยะ (รอ้ ยละ 15.27)
ดังน้ันนกั ศกึ ษาพยาบาล ประชาชนของชุมชนบ้านนาจกั ร นกั วชิ าการสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตำบลนาจักร และองค์การบริหารส่วนตำบลนาจักร จึงได้ร่วมกันวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา พบว่า สาเหตุของปัญหา
ดังกล่าว เกิดจากประชาชนมีความรู้ในการแยกขยะแต่เกิดจากความเคยชินและความมักง่าย ไม่เห็นความสำคัญของ
การแยกขยะจึงสง่ ผลใหม้ พี ฤติกรรมไม่แยกขยะก่อนท้งิ ทำให้เกดิ ปัญหาดังกลา่ วขึ้นในชมุ ชน ทางคณะนักศึกษาพยาบาลศาสตร์
ร่วมกับกลุ่มอาสาสมคั รสาธารณสุขหมู่ 3 จึงได้จดั ทำโครงการ “ชมุ ชนบ้านนาจกั รสะอาด ชาวบา้ นรว่ มใจ ใสใ่ จการคัดแยกขยะ”
ขึ้นเพื่อพัฒนาศักยภาพคนในชมุ ชน ส่งเสริมให้คนในชุมชนมีทัศนคตทิ ่ีดแี ละส่งผลให้มีพฤติกรรมในการคัดแยกขยะและ
สามารถกำจัดขยะอินทรีย์ได้เองในครัวเรือน ส่งเสริมให้ชุมชนมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย ลดแหล่งก่อเชื้อโรค ลด
งบประมาณค่าใช้จ่ายในการจัดการขยะ ในส่วนของภาครัฐ ส่งผลใหค้ นในชุมชนมีสุขภาพท่ีดี ตลอดจนพัฒนาคุณภาพ
ชวี ิตของคนในชุมชนนาจกั รให้ดีขนึ้ ตอ่ ไป
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทขยะ ผลกระทบที่เกิดจากขยะ
วิธกี ารคดั แยกขยะ และกำจดั ขยะอยา่ งถูกวธิ ีได้
2. เพือ่ ให้ผเู้ ข้าร่วมโครงการสามารถคัดแยกขยะ และกำจดั ขยะในครัวเรอื นได้ถกู วิธี
3. เพอื่ พฒั นาการใช้นวตั กรรมถงั หมกั เศษอาหารให้กบั ผเู้ ข้ารว่ มโครงการ
ตวั ชว้ี ัด
1. ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการร้อยละ 90 มคี วามรู้ ความเข้าใจ เก่ยี วกับประเภทขยะ ผลกระทบท่ีเกิดจากขยะ วิธีการ
คัดแยกขยะ และกำจดั ขยะอยา่ งถูกวิธี
2. ผ้เู ข้ารว่ มโครงการร้อยละ 60 มีการคดั แยกและกำจัดขยะได้อย่างถกู วิธี
3. ผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการรอ้ ยละ 60 สามารถใชถ้ งั หมักเศษอาหารไดถ้ กู ต้อง
3. วธิ ดี ำเนนิ การ
ขั้นเตรียมการ
1. เก็บรวบรวมขอ้ มลู โดยใชแ้ บบสอบถามความจำเป็นพื้นฐานและภาวะสุขภาพวิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี
แพร่
2. วเิ คราะห์ นำเสนอข้อมลู และพิจารณาปญั หาร่วมกบั ผ้ใู หญ่บา้ น ผ้อู ำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ประจำตำบล
3. จัดเวทีประชาคมร่วมกับนายกองค์การบริหารส่วนตำบลนาจักร ผู้ใหญ่บ้านบ้านนาจักร ผู้อำนวยการ
โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพประจำตำบล คณะกรรมการหมู่บา้ นบ้านนาจกั ร อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมบู่ ้านและ
ประชาชนชมุ ชนบา้ นนาจกั ร เพ่อื จดั ลำดับความสำคัญของปญั หาสุขภาพในชุมชน
4. วิเคราะห์สาเหตุและหาแนวทางแก้ไขปัญหา ร่วมกับนายกองค์การบริหารส่วนตำบลนาจักร ผู้ใหญ่บ้าน
บา้ นนาจักร ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำตำบลและปราชญช์ าวบา้ นดา้ นเกษตรกรรม (หมอดินอาสา)
5. สำรวจความรู้ ทศั นคติ และด้านพฤตกิ รรมเร่ืองการคัดแยกขยะ กอ่ นจัดทำโครงการ
6. เขียนโครงการ และนำเสนอโครงการต่อนายกองค์การบรหิ ารส่วนตำบลนาจักร ผู้อำนวยการโรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพตำบลนาจักร ผู้ใหญ่บ้าน คณะกรรมหมู่บ้านนาจักร ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้านและ
อาจารย์นิเทศแหล่งฝึก เพ่ือขออนมุ ัติโครงการ
ข้นั ดำเนินการ
1. ติดตอ่ ประสานงานกับเจ้าของงบประมาณท่ีสนบั สนนุ การทำโครงการ คอื องคก์ ารบริหารส่วนตำบลนาจกั ร
อำเภอเมอื งแพร่ จงั หวัดแพร่
2. จดั เตรียมวสั ดแุ ละอุปกรณ์สำหรับการทำโครงการ
3. จดั ทำหนังสอื เรียนเชิญประธาน และแขกผมู้ ีเกียรติเขา้ ร่วมโครงการ
4. ประชาสมั พันธโ์ ครงการใหก้ ับกล่มุ เปา้ หมายและประชาชนบ้านนาจักร
5. ดำเนินกิจกรรมเสียงตามสายเพื่อประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับสาระน่ารู้ในการคัดแยกขยะตั้งแต่วันที่ 4 – 20
มกราคม พ.ศ. 2564 ทุกวันอาทติ ยแ์ ละวนั พุธ
6. ดำเนินกิจกรรมโครงการตามแผนการดำเนินกิจกรรม โดยมีการจัดกิจกรรมอบรมแกนนำในวันที่ 12
มกราคม พ.ศ. 2564 เวลา 08.00-16.00 น. โดยมีการดำเนินกิจกรรม ดังนี้
- จดั อบรมใหค้ วามรู้ เรอื่ งการจัดการขยะในครัวเรอื น
- แบ่งกลุม่ ทำกจิ กรรมการคดั แยกขยะ
- นำเสนอนวตั กรรมถงั ปยุ๋ หมกั อนุรกั ษส์ ่ิงแวดล้อม
- รว่ มแลกเปลีย่ นเรียนรกู้ ับผูท้ ่ีมีประสบการณ์เก่ียวกับการคดั แยกขยะ
- ร่วมประดิษฐน์ วัตกรรมถงั ปยุ๋ หมักอนรุ ักษส์ ิง่ แวดลอ้ ม
7. ดำเนินการจดั ทำถังปยุ๋ หมักอนรุ ักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม ให้กบั ผู้เข้ารว่ มโครงการ
7.1 ทำถังหมักเศษอาหาร ดังน้ี
7.1.1 คว่ำตะกร้าพลาสติก ถังพลาสตกิ ขนาดเล็กและขนาดใหญ่ นำมาตัดกน้ ออก