The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภาษีสำหรับผู้ประกอบการบุคคลธรรมดา
สมาชิกในกลุ่ม

กลุ่มที่ 1 นางสาวปารินาถ สุธีรัตนาภิรมย์ 60100245
กลุ่มที่ 1 นางสาวปัณทราภรณ์ สนธิ 61100326
กลุ่มที่ 1 นางสาวศิริประภา วรราช 61100405
กลุ่มที่ 1 นางสาวภัทรินทร์ อมรฤทธิ์ 61100590

กลุ่มที่ 2 นางสาวศิรดา แก้วบุญเรือง 61100402
กลุ่มที่ 2 นางสาวอารยา เฉียบแหลม 61100440

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 61100405, 2021-04-13 11:09:20

ภาษีสำหรับผู้ประกอบการบุคคลธรรมดา

ภาษีสำหรับผู้ประกอบการบุคคลธรรมดา
สมาชิกในกลุ่ม

กลุ่มที่ 1 นางสาวปารินาถ สุธีรัตนาภิรมย์ 60100245
กลุ่มที่ 1 นางสาวปัณทราภรณ์ สนธิ 61100326
กลุ่มที่ 1 นางสาวศิริประภา วรราช 61100405
กลุ่มที่ 1 นางสาวภัทรินทร์ อมรฤทธิ์ 61100590

กลุ่มที่ 2 นางสาวศิรดา แก้วบุญเรือง 61100402
กลุ่มที่ 2 นางสาวอารยา เฉียบแหลม 61100440

ภาษีสาหรบั
ผ้ปู ระกอบการบุคคลธรรมดา

คานา

เอกสารฉบับน้ีเป็นส่วนหน่ึงของ รายวิชากฎหมายกิจและการพาณิชย์
(140256115) ขั้นปีที่ 3 คณะการบริหารและจัดการ สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการ
จัดทาข้ึนเพ่ือศึกษาเกี่ยวกับ ภาษีหรับผู้ประกอบการบุคคลธรรมดา ซ่ึงประกอบไปด้วย ผู้ท่ีมี
หน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เงินได้พึงประเมินแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคล
ธรรมดา การหักค่าใช้จ่าย การหักลดหย่อน การคานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สถานท่ียื่น
แสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา การชาระภาษีได้บุคคลธรรมดา การผ่อนชาระภาษีเงิน
ไดบ้ คุ คลธรรมดา บทลงโทษ และไดศ้ ึกษาให้เข้าใจเพ่ือประโยชน์แก่การเรยี น

ผจู้ ัดทาหวังวา่ เองสารฉบับนจ้ี ะเปน็ ประโยชนก์ บั ผูอ้ ่านหนงั หรอื นักเรยี นนกั ศกึ ษา
ที่กาลังหาข้อมูลในเรื่องน้ีอยู่หากมีข้อแนะหรือข้อผิดพลาดประการใดผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และ
ขออภัยมา ฯ ทน่ี ีด้ ว้ ย

คณะผูจ้ ัดทา

01 ผูม้ ีหนา้ ทเ่ี สยี ภาษเี งินได้บุคคลธรรมดา สารบัญ
02 เงินไดพ้ ึงประเมนิ

03 แบบแสดงรายการภาษเี งินไดบ้ ุคคลธรรมดา
04 การหกั ค่าใช้จา่ ย
05 การหกั ลดหยอ่ น
06 การคานวณภาษีเงนิ ได้บุคคลธรรมดา

07 ตารางภาษเี งินได้บุคคลธรรมดา สารบญั
08 สถานทีย่ น่ื แบบแสดงรายการ ภาษีเงินไดบ้ คุ คลธรรมดา

09 การชาระภาษเี งนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา
10 การผอ่ นชาระภาษเี งินได้บคุ คลธรรมดา
11 บทลงโทษ

2) หา้ งหุ้นส่วนสามญั หรือ 3) ผู้ถงึ แก่ความตายระหว่างปีภาษี
คณะบุคคลทีม่ ิใชน่ ิติบุคคล 4) กองมรดกทย่ี งั ไมไ่ ดแ้ บง่

1) บคุ คลธรรมดา

5) วิสาหกิจชุมชน ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม
วิสาหกิจชุมชน เฉพาะท่ีเป็นห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือ
คณะ บคุ คลท่ีมใิ ชน่ ติ บิ คุ คล

ผมู้ หี นา้ ท่เี สียภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดา

ผมู้ หี น้าทเี่ สียภาษเี งินได้บุคคลธรรมดา ได้แก่ ผูท้ มี่ ีเงินไดเ้ กดิ ขึ้นระหว่างปที ี่ผ่านมาโดยมสี ถานะ อยา่ งหนึ่งอย่างใด ดงั นี้

เงนิ ได้พึงประเมนิ

ตามกฎหมาย เงินได้ท่ีต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เรียกว่า "เงินได้พึงประเมิน" หมายถึง เงินได้ของบุคคล
ใดๆ หรือหน่วยภาษีใดข้างต้นท่ีเกิดข้ึนระหว่างวันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม ของปีใด ๆ หรือเงินได้ ท่ีเกิดขึ้น
ในปีภาษี ได้แก่

1. เงนิ ท่ไี ดร้ ับจริง (เกณฑ์เงินสด)
2. ทรพั ยส์ นิ ซ่งึ อาจคดิ คานวณไดเ้ ป็นเงนิ ทไ่ี ด้รับจรงิ
3. ประโยชน์ซ่ึงอาจคดิ คานวณได้เปน็ เงนิ
4. เงินคา่ ภาษีอากรทผี่ ้จู ่ายเงินหรือผู้อ่ืนออกแทนให้
5. เครดติ ภาษตี ามท่ีกฎหมายกาหนด

เงนิ ไดพ้ ึงประเมินทีต่ อ้ งนามาคานวณเพ่ือเสยี ภาษีเงินไดบ้ คุ คลธรรมดา แบ่งได้เปน็ 8 ประเภท
ตามลกั ษณะของการไดม้ า ดังนี้

เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 1 (มาตรา 40 (1)) ได้แก่ เงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน เช่น เงินเดือน ค่าจ้าง
ฯลฯ

เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 2 (มาตรา 40 (2)) ได้แก่เงินได้เนื่องหน้าที่ หรือตาแหน่งงานที่ทาหรือการรับ
ทางานให้ เช่น ค่านายหนา้ คา่ สว่ นลด ค่าธรรมเนียม ฯลฯ

เงินได้พึงประเมินประเภทท่ี 3 (มาตรา 40 (3)) ได้แก่ ค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าแห่งลิขสิทธ์ิหรือสิทธิอย่างอ่ืน เงินปี
หรือเงนิ ได้ที่มลี กั ษณะ เปน็ เงนิ รายปีอนั ไดม้ าจากพนิ ยั กรรม นิติกรรมอยา่ งอืน่ หรอื คาพิพากษาของศาล

เงินได้พงึ ประเมินทต่ี ้องนามาคานวณเพือ่ เสยี ภาษเี งนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา แบ่งไดเ้ ปน็ 8 ประเภท
ตามลกั ษณะของการได้มา ดงั น้ี

เงนิ ไดพ้ งึ ประเมินประเภทที่ 4 (มาตรา 40 (4)) ไดแ้ ก่ ดอกเบ้ยี เงินปันผล เงนิ ส่วนแบ่งกาไร เงนิ ลดทนุ เงินเพิ่ม
ทุน ผลประโยชน์ท่ีได้จากการโอนหนุ้ ฯลฯ

เงินได้พงึ ประเมนิ ประเภทที่ 5 (มาตรา 40 (5)) ไดแ้ ก่ เงนิ ไดจ้ ากการให้เชา่ ทรพั ยส์ นิ เงนิ หรอื ประโยชน์อย่าง
อน่ื ทไ่ี ด้เนือ่ งจาก

- การให้เชา่ ทรัพยส์ นิ
- การผิดสัญญาเช่าซื้อทรัพย์สนิ
- การผิดสญั ญาซื้อขายเงินผ่อนซึ่งผขู้ ายได้รบั คืนทรพั ย์สินทีซ่ อ้ื ขายนัน้
โดยไมต่ ้องคืนเงินหรือประโยชนท์ ่ไี ด้รับไวแ้ ลว้

เงินได้พงึ ประเมินท่ตี อ้ งนามาคานวณเพ่ือเสยี ภาษเี งนิ ได้บคุ คลธรรมดา แบง่ ได้เปน็ 8 ประเภท
ตามลักษณะของการได้มา ดงั น้ี

เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 6 (มาตรา 40 (6) ได้แก่ เงินได้จากวิชาชีพอิสระ คือวิชากฎหมาย การประกอบ
โรคศิลปะ วิศวกรรม สถาปัตยกรรม การบัญชี ประณีตศิลปกรรม หรือวิชาชีพอ่ืนซึ่งจะได้มีพระราชกฤษฎีกา
กาหนดชนิดไว้

เงินได้พึงประเมินประเภทท่ี 7 (มาตรา 40 (7)) ได้แก่ เงินได้จากการรับเหมาที่ผู้รับเหมาต้องลงทุนด้วยการ
จัดหาสมั ภาระ ในส่วนสาคัญนอกจากเครือ่ งมือ

เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 8 (มาตรา 40 (8)) ได้แก่ เงินได้จากการธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การ
อุตสาหกรรม การขนส่ง การขายอสังหาริมทรัพย์ หรือการอื่นนอกจากท่ีระบุไว้ในประเภทที่ 1 ถึงประเภทที่ 7
แลว้

แบบแสดงรายการภาษี

การยืน่ แบบแสดงรายการภาษีเงนิ ได้บคุ คลธรรมดา มี 2 ระยะ คอื
1. "ภาษเี งนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดาคร่ึงปี" เป็นการยน่ื แบบแสดงรายการเงินได้เฉพาะเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 5,6,7
หรือ 8 ท่ีได้รับต้ังแต่เดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายนไม่ว่าจะมีเงินได้ประเภทอ่ืนรวมอยู่ด้วยหรือไม่ก็ตาม โดยยื่น
ภายในเดอื นกนั ยายนของปีภาษนี ้นั และภาษที เ่ี สยี น้ีนาไปเป็นเครดิตหกั ออกจากภาษีสนิ้ ปีได้
2. "ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาส้ินปี" เป็นการยื่นแบบแสดงรายการเงินได้พึงประเมินที่ได้รับแล้ว ในระหว่างปีภาษี
โดยย่นื ภายในเดือนมนี าคมของปถี ัดไป

การหักคา่ ใช้จ่าย

อตั ราการหกั ค่าใชจ้ ่ายเปน็ การเหมาสาหรับเงินไดพ้ งึ ประเมินตามมาตรา 40 (8)

1. การแสดงของนกั แสดงละคร ภาพยนตร์ วิทยหุ รือโทรทัศน์ นกั รอ้ ง หรอื นกั แสดงเพ่อื ความบันเทงิ ใด ๆ

(ก) สาหรับเงินได้สว่ นทไ่ี มเ่ กนิ 300,000 บาท ร้อยละ 60

(ข) สาหรบั เงินได้ส่วนทเ่ี กนิ 300,000 บาท ร้อยละ 40

*การหักคา่ ใช้จ่ายตาม (ก) และ (ข) รวมกันต้องไมเ่ กนิ 600,000 บาท

2. การขายที่ดนิ เงนิ ผ่อนหรอื การใหเ้ ช่าซื้อท่ดี นิ ร้อยละ 60

3. การทากจิ การคานเรอื อเู่ รอื หรือซ่อมเรอื ทมี่ ใิ ชซ่ ่อมเคร่ืองจกั ร เคร่อื งกล รอ้ ยละ 60

การหักค่าใช้จา่ ย

อตั ราการหกั คา่ ใช้จ่ายเปน็ การเหมาสาหรับเงนิ ไดพ้ ึงประเมินตามมาตรา 40 (8)

4. การทารองเท้า และเคร่ืองหนังแท้หรอื หนงั เทยี ม รวมทั้งการขายสว่ นประกอบ รอ้ ยละ 60

5. การทากจิ การโรงแรมหรือภัตตาคาร หรือการปรุงอาหาร หรอื เครือ่ งด่มื จาหนา่ ย ร้อยละ 60

6. การทาสบู่ แชมพู หรือเครือ่ งสาอางค์ รอ้ ยละ 60

7. การคา้ เคร่ืองเงนิ ทอง นาก เพชร พลอย หรืออญั มณีอืน่ ๆ รวมทงั้ การขายส่วนประกอบ ร้อยละ 60

8. การทากิจการสถานพยาบาลตามกฎหมายวา่ ดว้ ย สถานพยาบาลเฉพาะ ทม่ี เี ตียงรบั ผูป้ ว่ ยไวค้ ้างคนื

รวมท้ังการรักษาพยาบาลและการจาหนา่ ยยา ร้อยละ 60

การหักคา่ ใช้จา่ ย

อัตราการหกั คา่ ใช้จ่ายเป็นการเหมาสาหรบั เงนิ ไดพ้ งึ ประเมินตามมาตรา 40 (8)

9. การทาป่าไม้ สวนยาง หรือไม้ยนื ตน้ ร้อยละ 60

10. การขนสง่ หรอื รบั จ้างดว้ ยยานพาหนะ รอ้ ยละ 60

11. การทาเครอื่ งดม่ื ตามกฎหมายว่าดว้ ยภาษีสรรพสามติ รอ้ ยละ 60
12. การทาหรือจาหนา่ ยกระแสไฟฟา้ รอ้ ยละ 60
13. การทาลกู โป่ง เคร่อื งแกว้ เครอื่ งพลาสติก หรือเครอ่ื งยางสาเรจ็ รูป รอ้ ยละ 60
14. การซักรดี หรือยอ้ มสี ร้อยละ 60

การหักค่าใชจ้ า่ ย

อัตราการหกั ค่าใช้จา่ ยเปน็ การเหมาสาหรบั เงนิ ไดพ้ งึ ประเมินตามมาตรา 40 (8) ร้อยละ 60
รอ้ ยละ 60
15. การฟอกหนงั ร้อยละ 60
16. การให้เช่าซอ้ื สงั หารมิ ทรพั ยท์ ีไ่ มเ่ ข้าลกั ษณะตามมาตรา 40 (5) แห่งประมวลรษั ฎากร รอ้ ยละ 60
17. การทากจิ การโรงเลอ่ื ย ร้อยละ 60
18. การทาเกษตรกรรมประเภทไม้ลม้ ลกุ และธัญชาติ รอ้ ยละ 60
19. การเลีย้ งสัตว์ทุกชนิด รวมทัง้ การขายวัตถุพลอยได้
20. การฆา่ สัตว์จาหนา่ ย รวมทงั้ การขายวตั ถพุ ลอยได้

การหกั ลดหย่อน

ค่าลดหยอ่ นและยกเว้นเปน็ อีกหนึง่ องคป์ ระกอบในการคานวณภาษที ่กี ฎหมายกาหนดใหน้ าไปหกั ออกจากเงนิ ได้ได้อกี
หลงั จากหกั คา่ ใช้จ่ายแลว้ โดยมกี ารหักลดหย่อนกรณีตา่ ง ๆ แตกตา่ งกนั ออกไป สรปุ ไดด้ ังน้ี

1. ผู้มเี งินได้ 60,000 บาท

2. คู่สมรส (ไม่มีเงินได)้ 60,000 บาท

3. ผ้มู ีเงนิ ได้หรือคูส่ มรสตา่ งฝ่ายต่างมเี งนิ ได้ ใหห้ กั ลดหย่อนรวมกันได้ ไม่เกิน 120,000 บาท

ค่าลดหยอ่ นและยกเวน้ เป็นอีกหนงึ่ องค์ประกอบในการคานวณภาษีทกี่ ฎหมายกาหนดให้นาไปหักออกจาก
เงนิ ไดไ้ ดอ้ กี หลังจากหกั คา่ ใช้จ่ายแลว้ โดยมกี ารหกั ลดหย่อนกรณตี า่ ง ๆ แตกตา่ งกันออกไป สรปุ ไดด้ งั นี้

4. บุตรชอบดว้ ยกฎหมายและบุตรบญุ ธรรม หกั คา่ ลดหย่อนได้คนละ 30,000 บาท ตอ้ งเข้าเง่ือนไข
ดงั นี้

- บุตรชอบดว้ ยกฎหมาย หักลดหยอ่ นได้ไมจ่ ากัดจานวน
- บตุ รบุญธรรม หกั ลดหยอ่ นได้ไม่เกนิ 3 คน
- กรณมี บี ุตรชอบดว้ ยกฎหมายที่มีชีวติ อยูจ่ านวนตง้ั แต่ 3 คน จะนาบุตรบญุ ธรรมมาหกั อีกไมไ่ ด้

คา่ ลดหย่อนและยกเวน้ เป็นอกี หนง่ึ องคป์ ระกอบในการคานวณภาษที ก่ี ฎหมายกาหนดใหน้ าไปหักออกจาก
เงนิ ไดไ้ ดอ้ ีกหลงั จากหกั คา่ ใชจ้ ่ายแลว้ โดยมกี ารหักลดหย่อนกรณตี า่ ง ๆ แตกต่างกนั ออกไป สรุปไดด้ งั น้ี

4. บุตรชอบดว้ ยกฎหมายและบุตรบุญธรรม หักค่าลดหย่อนได้คนละ 30,000 บาท
กรณีมีบุตรชอบด้วยกฎหมายมีจานวนไม่ถึง 3 คน ให้นาบุตรบุญธรรมมาหักได้รวมกับบุตรชอบด้วยกฎหมาย แต่
รวมกันต้องไม่เกิน 3 คน บุตรที่นามาหักลดหย่อนต้องไม่มีเงินได้ตั้งแต่ 30,000 บาทข้ึนไป และเข้าหลักเกณฑ์
ดังตอ่ ไปน้ี

- เปน็ ผู้เยาว์
- บุตรมอี ายุไม่เกิน 25 ปี และกาลงั ศึกษาในระดบั มหาวทิ ยาลยั หรืออดุ มศกึ ษา
- เปน็ ผู้ทีศ่ าลส่ังใหเ้ ปน็ คนไร้ความสามารถหรือเสมอื นไร้ความสามารถอันอยู่ในความอุปการะเลย้ี งดู การนบั จานวน
บุตรให้นับเฉพาะบตุ รท่มี ีชีวติ อยูต่ ามลาดบั อายุสูงสุดของบตุ ร โดยนับรวมบัตรทอ่ี ยู่ในเกณฑไ์ ดร้ บั การลดหยอ่ นดว้ ย

คา่ ลดหย่อนและยกเวน้ เปน็ อกี หน่งึ องค์ประกอบในการคานวณภาษีท่กี ฎหมายกาหนดให้นาไปหักออกจาก
เงนิ ได้ไดอ้ ีกหลังจากหักค่าใชจ้ ่ายแลว้ โดยมกี ารหกั ลดหยอ่ นกรณีต่าง ๆ แตกตา่ งกันออกไป สรปุ ไดด้ งั น้ี

5. คา่ อปุ การะเลี้ยงดูบิดามารดาท่ีมอี ายุ 60 ปีข้ึนไป และอยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูของผู้มเี งินได้ โดยบิดา
มารดาต้องมีเงินได้พึงประเมินในปีภาษีท่ีขอหักลดหย่อนไม่เกิน 30,000 บาท หักค่าลดหย่อน คนละ
30,000 บาท และสามารถหกั ลดหย่อนสาหรบั บดิ ามารดาของคูส่ มรสได้อกี คนละ 30,000 บาท

6. คา่ อุปการะเลีย้ งดคู นพิการหรือคนทุพพลภาพ หกั ค่าลดหย่อน คนละ 60,000 บาท

คา่ ลดหย่อนและยกเวน้ เปน็ อีกหนง่ึ องค์ประกอบในการคานวณภาษที ี่กฎหมายกาหนดให้นาไปหกั ออกจาก
เงินไดไ้ ดอ้ ีกหลังจากหักคา่ ใช้จา่ ยแลว้ โดยมกี ารหกั ลดหย่อนกรณตี ่าง ๆ แตกตา่ งกันออกไป สรุปไดด้ ังน้ี

7. ค่าเบี้ยประกันชีวิต (กรมธรรม์อายุ 10 ปีขึ้นไป) ของผู้มีเงินได้หักค่าลดหย่อนและได้รับการยกเว้นภาษี
เงินได้สาหรับเงินได้เท่าท่ีจ่ายจริงแต่ไม่เกิน 100,000 บาท ท้ังนี้ หากคู่สมรสมีการประกันชีวิต และความ
เป็นสามภี ริยาได้มอี ยตู่ ลอดปภี าษี ผมู้ ีเงนิ ได้มสี ิทธหิ กั ลดหยอ่ น สาหรบั เบ้ยี ประกันชีวิตของค่สู มรสท่ไี ม่มีเงิน
ได้ตามจานวนที่จา่ ยจริงแต่ไม่เกนิ 10,000 บาท แต่หากสามีภริยาตา่ งฝา่ ยต่างมเี งินได้

(ก) ถ้าความเป็นสามีภริยามไิ ด้มอี ยู่ตลอดปีภาษีท่ีได้รับยกเว้นภาษี ให้สามีและภริยาซ่ึงเป็นผู้มี
เงินได้ต่างฝ่ายต่างได้รับยกเว้นภาษีตามจานวนที่จ่ายจริง เฉพาะส่วนท่ีเกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน
90,000 บาท ซ่ึงไม่เกนิ เงินไดพ้ งึ ประเมินของแตล่ ะคนหลังจากหักค่าใช้จ่าย ตามมาตรา 42 ทวิ ถึง มาตรา
46 แหง่ ประมวลรัษฎากรแลว้

ค่าลดหย่อนและยกเว้นเปน็ อกี หนึ่งองค์ประกอบในการคานวณภาษที ่ีกฎหมายกาหนดใหน้ าไปหกั ออกจาก
เงินไดไ้ ดอ้ ีกหลงั จากหักค่าใชจ้ า่ ยแล้ว โดยมีการหกั ลดหย่อนกรณตี า่ ง ๆ แตกต่างกันออกไป สรปุ ได้ดงั นี้

7. ค่าเบ้ียประกันชีวิต (กรมธรรม์อายุ 10 ปีขึ้นไป) ของผู้มีเงินได้หักค่าลดหย่อนและได้รับการยกเว้นภาษี
เงินได้สาหรับเงินได้เท่าท่ีจ่ายจริงแต่ไม่เกิน 100,000 บาท ทั้งนี้ หากคู่สมรสมีการประกันชีวิต และความ
เป็นสามีภรยิ าไดม้ อี ยตู่ ลอดปีภาษี ผู้มเี งนิ ไดม้ ีสิทธหิ กั ลดหยอ่ น สาหรับเบยี้ ประกนั ชีวติ ของค่สู มรสทไี่ มม่ ีเงิน
ได้ตามจานวนที่จา่ ยจรงิ แต่ไมเ่ กนิ 10,000 บาท แตห่ ากสามีภรยิ าตา่ งฝา่ ยต่างมีเงนิ ได้

(ข) ถ้าความเป็นสามีภริยาได้มีอยู่ตลอดปีภาษีท่ีได้รับยกเว้นภาษีและภริยาไม่ใช้สิทธิแยกยื่น
รายการและเสยี ภาษตี า่ งหากจากสามตี ามมาตรา 57 เบญจ แหง่ ประมวลรษั ฎากร ให้สามีและภริยาซึ่งเป็น
ผู้มีเงินได้ต่างฝ่ายต่างได้รับยกเว้นภาษีตามจานวนที่จ่ายจริง เฉพาะส่วนท่ีเกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน
90,000 บาท ซ่ึงไม่เกินเงินได้พงึ ประเมินของแต่ละคนหลังจากหักค่าใช้จ่าย ตามมาตรา 42 ทวิ ถึงมาตรา
46 แหง่ ประมวลรัษฎากรแล้ว

ค่าลดหย่อนและยกเว้นเปน็ อีกหนง่ึ องคป์ ระกอบในการคานวณภาษีท่กี ฎหมายกาหนดให้นาไปหักออกจาก
เงินไดไ้ ดอ้ ีกหลงั จากหักคา่ ใชจ้ ่ายแล้ว โดยมกี ารหักลดหยอ่ นกรณีตา่ ง ๆ แตกต่างกนั ออกไป สรปุ ได้ดงั นี้

7. ค่าเบ้ียประกันชีวิต (กรมธรรม์อายุ 10 ปีขึ้นไป) ของผู้มีเงินได้หักค่าลดหย่อนและได้รับการยกเว้นภาษี
เงินได้สาหรับเงินได้เท่าท่ีจ่ายจริงแต่ไม่เกิน 100,000 บาท ทั้งน้ี หากคู่สมรสมกี ารประกันชีวิต และความ
เปน็ สามภี ริยาได้มีอยูต่ ลอดปีภาษี ผมู้ ีเงินได้มีสิทธิหกั ลดหย่อน สาหรับเบ้ียประกนั ชีวิตของค่สู มรสท่ไี มม่ ีเงิน
ไดต้ ามจานวนท่ีจ่ายจรงิ แต่ไม่เกนิ 10,000 บาท แต่หากสามภี รยิ าตา่ งฝา่ ยต่างมเี งินได้

(ค) ถ้าความเป็นสามีภริยาได้มีอยู่ตลอดปีภาษีท่ีได้รับยกเว้นภาษีและภริยาใช้สิทธิแยกย่ืน
รายการและเสียภาษีต่างหากจากสามี ตามมาตรา 57 เบญจ แห่งประมวลรัษฎากร ให้สามีและภริยาซ่ึง
เป็นผู้มีเงินไดต้ ่างฝ่ายตา่ งไดร้ บั ยกเว้นภาษตี ามจานวนท่ีจ่ายจริง เฉพาะส่วนท่ีเกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน
90,000 บาท ซ่ึงไม่เกินเงินได้พงึ ประเมินของแต่ละคนหลังจากหักค่าใช้จ่าย ตามมาตรา 42 ทวิ ถึงมาตรา
46 แห่งประมวลรัษฎากรแลว้

ค่าลดหย่อนและยกเว้นเปน็ อกี หน่ึงองค์ประกอบในการคานวณภาษที กี่ ฎหมายกาหนดให้นาไปหกั ออกจาก
เงินได้ได้อีกหลงั จากหักค่าใช้จา่ ยแลว้ โดยมกี ารหักลดหย่อนกรณีต่าง ๆ แตกต่างกนั ออกไป สรปุ ไดด้ งั น้ี

8. ค่าเบ้ียประกันสุขภาพบิดามารดาของผู้มีเงินได้และคู่สมรส หักค่าลดหย่อนเท่าท่ีจ่ายจริง แต่ไม่เกิน
15,000 บาท ทั้งน้ี บดิ ามารดาของผ้มู ีเงินได้และคู่สมรสต้องไม่มเี งินได้พึงประเมนิ ในปีภาษีท่ีใช้สิทธิยกเว้น
ภาษเี งนิ ได้เกิน 30,000 บาท

9. เงนิ สะสมท่ีจา่ ยเข้ากองทุนสารองเลย้ี งชีพ หักลดหย่อนได้ตามจานวนที่ได้จ่ายไปจริงในปีภาษี แต่ไม่เกิน
10,000 บาท ส่วนทเ่ี กิน 10,000 บาทแต่ไม่เกิน 490,000 บาท ซึ่งไม่เกินร้อยละ 15 ของค่าจ้างให้หักจาก
เงินได้

ค่าลดหยอ่ นและยกเว้นเป็นอกี หนึ่งองคป์ ระกอบในการคานวณภาษที กี่ ฎหมายกาหนดให้นาไปหักออกจาก
เงินได้ไดอ้ กี หลังจากหกั ค่าใช้จ่ายแล้ว โดยมกี ารหกั ลดหย่อนกรณีตา่ ง ๆ แตกต่างกันออกไป สรุปได้ดังนี้

10. เงินค่าซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) ได้รับยกเว้นเท่าที่จ่ายเงินค่าซื้อหน่วย
ลงทุนในกองทุนรวมเพ่ือการเล้ียงชีพตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในอัตราไม่เกิน
ร้อยละ 15 ของเงนิ ไดพ้ ึงประเมนิ ทไี่ ด้รบั ซึง่ ต้องเสียภาษีเงินได้ในปีภาษีน้ัน และเม่อื รวมกับเบ้ียประกันชีวิต
แบบบานาญ เงินสะสมเข้ากองทุนสารองเลี้ยงชีพ เงินสะสมเข้ากองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ เงิน
สะสมเข้ากองทนุ สงเคราะห์ตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรยี นเอกชน และเงินสะสมเข้ากองทุนการออมแห่งชาติ
แล้ว ตอ้ งไมเ่ กิน 500,000 บาท

ค่าลดหย่อนและยกเว้นเปน็ อกี หนงึ่ องคป์ ระกอบในการคานวณภาษีท่ีกฎหมายกาหนดให้นาไปหักออกจาก
เงินได้ได้อกี หลงั จากหักค่าใช้จ่ายแลว้ โดยมกี ารหักลดหยอ่ นกรณตี ่าง ๆ แตกตา่ งกนั ออกไป สรุปได้ดงั นี้

11. ค่าเบ้ียประกนั ชวี ิตแบบบานาญ หกั ค่าลดหย่อนในอตั ราร้อยละ 15 ของเงินได้ที่นามาเสียภาษีเงินได้ใน
แตล่ ะปี แต่ไม่เกิน 200,000 บาทต่อปี

ทั้งนี้ ต้องเป็นค่าเบ้ียประกันชีวิตแบบบานาญ ความคุ้มครองตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป และจ่ายผลประโยชน์เงิน
บานาญเม่ือผู้มีเงินได้อายุตั้งแต่ 55 ปีขึ้นไปถึงอายุ 85 ปีหรือกว่าน้ัน และเม่ือรวมกับเงินสะสมเข้ากองทุน
สารองเลี้ยงชีพ เงินสะสมเข้ากองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ (กบข.) เงินสะสมเข้ากองทุนสงเคราะห์
ตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน เงินท่ีซ้ือหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเล้ียงชีพ (RMF) และเงิน
สะสมเขา้ กองทนุ การออมแหง่ ชาติ ตอ้ งไม่เกิน 500,000 บาท

ค่าลดหย่อนและยกเว้นเปน็ อกี หนงึ่ องคป์ ระกอบในการคานวณภาษีท่ีกฎหมายกาหนดให้นาไปหักออกจาก
เงินได้ได้อกี หลงั จากหักค่าใช้จ่ายแลว้ โดยมกี ารหักลดหยอ่ นกรณตี ่าง ๆ แตกตา่ งกนั ออกไป สรุปได้ดงั นี้

11. ค่าเบ้ียประกนั ชวี ิตแบบบานาญ หกั ค่าลดหย่อนในอตั ราร้อยละ 15 ของเงินได้ที่นามาเสียภาษีเงินได้ใน
แตล่ ะปี แต่ไม่เกิน 200,000 บาทต่อปี

ทั้งนี้ ต้องเป็นค่าเบ้ียประกันชีวิตแบบบานาญ ความคุ้มครองตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป และจ่ายผลประโยชน์เงิน
บานาญเม่ือผู้มีเงินได้อายุตั้งแต่ 55 ปีขึ้นไปถึงอายุ 85 ปีหรือกว่าน้ัน และเม่ือรวมกับเงินสะสมเข้ากองทุน
สารองเลี้ยงชีพ เงินสะสมเข้ากองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ (กบข.) เงินสะสมเข้ากองทุนสงเคราะห์
ตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน เงินท่ีซ้ือหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเล้ียงชีพ (RMF) และเงิน
สะสมเขา้ กองทนุ การออมแหง่ ชาติ ตอ้ งไม่เกิน 500,000 บาท

ค่าลดหยอ่ นและยกเว้นเปน็ อีกหนง่ึ องค์ประกอบในการคานวณภาษีทก่ี ฎหมายกาหนดให้นาไปหักออกจาก
เงนิ ได้ไดอ้ ีกหลงั จากหกั ค่าใชจ้ า่ ยแลว้ โดยมีการหักลดหยอ่ นกรณีต่าง ๆ แตกตา่ งกันออกไป สรปุ ไดด้ ังนี้

12. เงนิ สะสมกองทนุ การออมแหง่ ชาติ ตามจานวนที่จา่ ยจรงิ แตไ่ ม่เกนิ 500,000 บาท และเมื่อรวมกับเบ้ียประกัน
ชีวิตแบบบานาญ เงินสะสมเข้ากองทุนสารองเลี้ยงชีพ เงินสะสมเข้ากองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ เงินสะสม
เข้ากองทุนสงเคราะห์ตามกฎหมายวา่ ด้วยโรงเรยี นเอกชน และเงินที่ซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพอ่ื การเลี้ยงชีพ
(RMF) แล้วตอ้ งไมเ่ กิน 500,000 บาท

13. ค่าซ้ือหน่วยลงทุนในกองทุนรวมหุ้นระยะยาว (LTF) หักค่าลดหย่อนเท่าที่จ่ายจริง แต่ไม่เกินร้อยละ 15 ของ
เงนิ ได้พงึ ประเมนิ ทไ่ี ดร้ ับซึง่ ตอ้ งเสยี ภาษีเงินไดใ้ นปีนั้น แต่ไม่เกิน 500,000 บาท และต้องถือหน่วยลงทุนในกองทุน
รวมระยะยาวต่อเนื่องกันไม่น้อยกว่า 7 ปีปฏิทิน แต่ไม่รวมถึงกรณีผู้มีเงินได้ไถ่ถอนหน่วยลงทุนรวมหุ้นระยะยาว
เพราะทุพพลภาพหรือตาย

ค่าลดหย่อนและยกเวน้ เปน็ อีกหนึ่งองค์ประกอบในการคานวณภาษีท่ีกฎหมายกาหนดใหน้ าไปหักออกจาก
เงนิ ไดไ้ ด้อีกหลงั จากหักคา่ ใชจ้ า่ ยแลว้ โดยมีการหกั ลดหยอ่ นกรณตี ่าง ๆ แตกตา่ งกนั ออกไป สรุปได้ดงั นี้

14. ดอกเบี้ยกู้ยืมท่ีจ่ายให้แก่ธนาคารหรือสถาบันการเงินอ่ืน บริษัทประกันชีวิต สหกรณ์ หรือนายจ้าง สาหรับการ
กู้ยืมเงินเพื่อซ้ือ เช่าซ้ือ หรือสร้างอาคารอยู่อาศัย โดยจานองอาคารที่ซื้อหรือสร้างเป็นประกันการกู้ยืม หักค่า
ลดหยอ่ นตามจานวนเท่าทีจ่ ่ายจรงิ แตไ่ มเ่ กนิ 100,000 บาท

15. เงินสมทบประกันสังคม หักคา่ ลดหยอ่ นเท่าทีจ่ ่ายจรงิ

16. ค่าเบ้ียประกันสุขภาพ หักค่าลดหย่อนเท่าท่ีจ่ายจริง แต่ไม่เกิน 15,000 บาท แต่เม่ือรวมกับเบ้ียประกันชีวิต
สาหรับกรมธรรม์ประกันชีวิตที่มีกาหนดต้ังแต่ 10 ปีขึ้นไป และเงินฝากที่จ่ายไว้กับธนาคารท่ีมีกฎหมายจัดตั้งข้ึน
โดยเฉพาะแลว้ ต้องไมเ่ กิน 100,000 บาท

ลดหยอ่ นตามมาตรการภาษีกระตุ้นเศรษฐกิจของรฐั

1. ค่าซ้อื อสงั หารมิ ทรัพยต์ ามมาตรการกระตนุ้ เศรษฐกิจ (บา้ นหลงั แรก)

หักลดหย่อนสาหรับการซ้ืออสังหาริมทรัพย์ฯ ท่ีมีมูลค่าไม่เกิน 3,000,000
บาท แต่ไม่เกินร้อยละ 20 ของค่าซ้ืออสังหาริมทรัพย์ฯ ที่เป็นอาคารพร้อม
ท่ีดินหรือห้องชุดในอาคารชุด ซ่ึงได้จ่ายค่าซ้ืออสังหาริมทรัพย์และมีการจด
ทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิระหว่างวันที่ 13 ตุลาคม 2558 - 31 ธันวาคม 2559
ทั้งนี้ ใช้สิทธิยกเว้นภาษีเป็นเวลา 5 ปีต่อเนื่องกัน นับแต่ปีภาษีท่ีมีการาจด
ทะเบยี นโอนกรรมสทิ ธโ์ิ ดยใหใ้ ชส้ ทิ ธิจานวนเทา่ ๆ กนั ในแตล่ ะปี

ลดหยอ่ นตามมาตรการภาษีกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐ

2. ค่าซอ่ มแซมบ้านและรถท่ไี ด้รบั ผลกระทบจากอุทกภยั ทรัพยส์ ินที่ไดร้ ับความเสียหาย
2.1 ค่าซอ่ มแซมบ้าน
ค่าซ่อมแซมหรือค่าวัสดุหรืออุปกรณ์ที่จ่าย ระหว่างวันท่ี 1 ธันวาคม 2559 - 31
พฤษภาคม 2560 และระหว่างวันท่ี 5 กรกฎาคม 2560 - 31 ธันวาคม 2560 หัก
ลดหย่อนได้ตามจานวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 100,000 บาท โดยทรัพย์สินนั้นได้รับ
ความเสียหายจากอุทกภัยในช่วงระยะเวลาดังกล่าวและอยู่ในพื้นที่ท่ีทางราชการ
ประกาศใหเ้ ปน็ พื้นที่เกิดอุทกภยั

ลดหย่อนตามมาตรการภาษกี ระตุ้นเศรษฐกจิ ของรัฐ

2.2 ค่าซ่อมแซมรถ
ค่าซ่อมแซมหรือค่าวัสดุหรืออุปกรณ์ในการซ่อมแซมรถท่ีจ่าย ระหว่างวันท่ี 1
ธันวาคม 2559 - 31 พฤษภาคม 2560 และระหว่างวันท่ี 5 กรกฎาคม 2560 -
31 ธันวาคม 2560 หักลดหย่อนได้ตามจานวนท่ีจ่ายจริง แต่ไม่เกิน 30,000 บาท
โดยรถหรืออุปกรณ์หรือส่ิงอานวยความสะดวกในรถเสียหายจากการถูกน้าท่วม
เนื่องจากอุทกภัยในช่วงระยะเวลาดังกล่าวและอยู่ในพื้นที่ท่ีทางราชการประกาศ
ให้เปน็ พนื้ ทเี่ กิดอทุ กภยั และตอ้ งเปน็ เจา้ ของกรรมสทิ ธห์ิ รือผู้เชา่ ซอ้ื รถ

ลดหยอ่ นตามมาตรการภาษกี ระตนุ้ เศรษฐกิจของรัฐ

3. ชอปชว่ ยชาติ
หักลดหย่อนเท่าที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 15,000 บาท จากการซื้อสินค้า
หรือบริการจากผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มและขอ
หลักฐานใบกากับภาษีเต็มรูป ระหว่างวันที่ 11 พฤศจิกายน - 3
ธนั วาคม 2560

การคานวณภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดา

โดยทั่วไปผมู้ ีเงนิ ไดต้ ้องนาเงินได้พงึ ประเมินทุกประเภทของตน ตลอดปีภาษี (ไม่รวมเงินได้ที่กฎหมายยกเว้นภาษี หรือ
ที่ไม่ต้องเสียภาษี) ไปคานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปี เพื่อย่ืนแบบแสดงรายการและชาระภาษีภายในเดือน
มนี าคมของปีถดั จากปที ม่ี ีเงนิ ได้ การคานวณภาษีให้ทาเป็น 3 ขน้ั คือ

การคานวณภาษเี งินไดบ้ ุคคลธรรมดา

ข้นั ท่หี นึง่ คานวณหาจานวนภาษตี าม วิธีที่ 1 เสียกอ่ น

การคานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

ข้ันท่ีสอง ให้พิจารณาว่าจะต้องคานวณภาษีตาม วิธีที่ 2 หรือไม่ ถ้าเข้าเง่ือนไขที่จะต้องคานวณภาษีตามวิธีที่ 2
จึงคานวณภาษีตามวิธีที่ 2 อีกวิธีหน่ึง กรณีที่ต้องคานวณภาษีตามวิธีที่ 2 ได้แก่ กรณีที่เงินได้พึงประเมินทุก
ประเภทในปีภาษี แต่ไม่รวม เงินได้พึงประเมินตามประเภทท่ี 1 มีจานวนรวมกันต้ังแต่ 120,000 บาทข้ึนไป การ
คานวณภาษีตามวิธีท่ี 2 น้ี ให้คานวณในอัตราร้อยละ 0.5 ของยอดเงินได้พึงประเมิน (= เงินได้พึงประเมินทุก
ประเภทลบเงนิ ได้พงึ ประเมินประเภทท่ี 1 คูณดว้ ย 0.005) ดงั กลา่ วน้ัน

การคานวณภาษเี งินไดบ้ ุคคลธรรมดา

ข้ันท่สี าม สรปุ จานวนภาษที ี่ตอ้ งเสยี ภาษี กาหนดให้ (10) คือ จานวนภาษีทคี่ านวณไดต้ ามวธิ ที ี่ 2

การคานวณภาษี

ตารางอัตราภาษเี งนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา

< 150,000 150,000 ยกเวน้
150,001 – 300,000 150,000 5
300,001 – 500,000 200,000 10
500,001 – 750,000 250,000 15
750,001 – 1,000,000 250,000 20
1,000,001 – 2,000,000 1,000,000 25
2,000,001 – 5,000,000 3,000,000 30
5,000,001 บาทข้นึ ไป 35

สถานทย่ี ่ืนแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

ในเขตกรงุ เทพมหานคร ใหย้ ่นื ณ
(1) สานกั งานสรรพากรพ้นื ท่ีสาขา (สรรพากรเขต/อาเภอ เดมิ ) ในทอ้ งที่ท่สี านกั งานใหญ่ตัง้ อยู่

ในเขตจงั หวดั อืน่ ใหย้ น่ื ณ
(2) ทวี่ า่ การอาเภอหรือก่งิ อาเภอท้องท่ีที่สานักงานใหญ่ต้งั อยู่ ในกรณีสานักงานสรรพากรอาเภอ

มิได้ตง้ั อยู่ ณ ที่ว่าการอาเภอให้ยื่น ณ สานกั งานสรรพากรอาเภอ

หมายเหตุ การย่ืนแบบแสดงรายการภาษี ภ.ง.ด.50 , ภ.ง.ด.51 , ภ.ง.ด.53 และ ภ.ง.ด.54 สามารถยืน่ ผ่าน
เวบ็ ไซตข์ องกรมสรรพากรก็ได้

การชาระภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดาเงนิ ได้บคุ คลธรรมดา

การชาระภาษเี งนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา นอกจากผูเ้ สียภาษี จะชาระภาษีโดยการ ถูกหกั ภาษี ณ ทจ่ี า่ ยแล้ว ถ้าในการ
ยื่นแบบ แสดงรายการ และคานวณภาษี ตามแบบแสดงรายการ ที่ย่ืนน้ัน มีภาษีที่ต้องชาระ หรือต้องชาระเพม่ิ เติมอกี ก็ให้
ชาระ หรือชาระเพิ่มเติม ต่อเจ้าหน้าที่สรรพากรพร้อมกับการย่ืนแบบน้ัน โดยเจ้าหน้าท่ีผู้รับชาระจะออกหลักฐานใบเสร็จ
แสดงการรับเงินภาษี และถือเป็นหลักฐาน แสดงการย่ืนแบบฯ ให้กับ ผู้ย่ืนแบบแสดงรายการ ทุกรายการชาระภาษีเลือก
วธิ ีการชาระได้ ดังน้ี

การชาระภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดาเงินไดบ้ คุ คลธรรมดา

1. ชาระด้วยเงินสด
2. ชาระด้วยบัตรอิเล็กทรอนิกส์ (โดยผู้ถือบัตรอิเล็กทรอนิกส์เป็นผู้ชาระค่าธรรมเนียม) สามารถชาระภาษีได้ ณ

สานักงานสรรพากรพืน้ ท่สี าขา ดังน้ี
(1) สานกั งานสรรพากรพน้ื ทีส่ าขาในเขตกรุงเทพมหานคร
(2) สานักงานสรรพากรพ้ืนท่ีสาขาในเขตจังหวัดชลบุรี ได้แก่ สานักงานสรรพากรพน้ื ท่ีสาขาเมอื งชลบุรี 1

สานักงานสรรพากรพ้ืนท่ีสาขาพานทอง สานักงานสรรพากรพื้นท่ีสาขาศรีราชา 1 สานักงานสรรพากรพื้นที่สาขาศรี
ราชา 2 สานกั งานสรรพากรพ้นื ที่สาขาบางละมงุ 1 และสานักงานสรรพากรพ้นื ที่สาขาบางละมงุ 2

การชาระภาษเี งินไดบ้ คุ คลธรรมดาเงนิ ได้บุคคลธรรมดา

2. ชาระด้วยบัตรอิเล็กทรอนิกส์ (โดยผู้ถือบัตรอิเล็กทรอนิกส์เป็นผู้ชาระค่าธรรมเนียม) สามารถชาระภาษีได้ ณ
สานักงานสรรพากรพ้นื ทสี่ าขา ดงั น้ี

(3) สานักงานสรรพากรพน้ื ท่ีสาขาในเขตจังหวัดสมุทรปราการ ได้แก่ สานักงานสรรพากรพน้ื ท่ีสาขาเมือง
สมุทรปราการ 1 สานักงานสรรพากรพื้นท่ีสาขาเมืองสมุทรปราการ 2 สานักงานสรรพากรพื้นที่สาขา พระประแดง 1
สานกั งานสรรพากรพน้ื ทีส่ าขาพระประแดง 2 และสานักงานสรรพากรพ้นื ทสี่ าขาพระสมุทรเจดีย์

(4) สานักงานสรรพากรพ้ืนท่ีสาขาในเขตจังหวัดฉะเชิงเทราได้แก่ สานักงานสรรพากรพ้ืนท่ีสาขา เมือง
ฉะเชิงเทรา และสานักงานสรรพากรพื้นทสี่ าขาบางปะกง

(5) สานักงานสรรพากรพน้ื ท่สี าขาในเขตจงั หวดั ระยอง ไดแ้ ก่ สานักงานสรรพากรพื้นท่ีสาขาเมอื งระยอง 2
และสานักงานสรรพากรพื้นทส่ี าขาปลวกแดง

การชาระภาษีเงนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดาเงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา

2. ชาระด้วยบัตรอิเล็กทรอนิกส์ (โดยผู้ถือบัตรอิเล็กทรอนิกส์เป็นผู้ชาระค่าธรรมเนียม) สามารถชาระภาษีได้ ณ สานักงาน
สรรพากรพ้ืนทีส่ าขา ดังน้ี

(6) สานักงานสรรพากรพ้ืนท่ีสาขาในเขตจังหวัดนนทบุรี ได้แก่ สานักงานสรรพากรพื้นท่ีสาขาเมืองนนทบุรี 1
สานักงานสรรพากรพื้นท่ีสาขาเมืองนนทบุรี 2 สานักงานสรรพากรพื้นที่สาขาปากเกร็ด 1 สานักงาน สรรพากรพ้ืนที่สาขา
ปากเกร็ด 2 สานักงานสรรพากรพ้ืนท่ีสาขาบางกรวย และสานักงานสรรพากรพนื้ ท่ีสาขา บางบัวทอง

(7) สานักงานสรรพากรพ้ืนที่สาขาในเขตจังหวัดปทุมธานี ได้แก่ สานักงานสรรพากรพื้นท่ีสาขาเมืองปทุมธานี
สานักงานสรรพากรพื้นที่สาขาคลองหลวง 1 สานักงานสรรพากรพื้นท่ีสาขาคลองหลวง 2 สานักงาน สรรพากรพื้นที่สาขา
ธัญบุรี และสานกั งานสรรพากรพืน้ ทีส่ าขาลาลูกกา

(8) สานักงานสรรพากรพ้ืนท่ีสาขาในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้แก่ สานักงานสรรพากรพืน้ ท่ีสาขาบางปะ
อิน สานักงานสรรพากรพื้นทส่ี าขาวงั น้อย และสานักงานสรรพากรพน้ื ทีส่ าขาอทุ ัย

(9) สานักงานสรรพากรพื้นท่ีสาขาในเขตจังหวัดสระบุรี ได้แก่ สานักงานสรรพากรพ้ืนที่สาขาแก่งคอย และ
สานกั งานสรรพากรพื้นทส่ี าขาหนองแค

การชาระภาษเี งนิ ได้บคุ คลธรรมดาเงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา

2. ชาระด้วยบัตรอิเล็กทรอนิกส์ (โดยผู้ถือบัตรอิเล็กทรอนิกส์เป็นผู้ชาระค่าธรรมเนียม) สามารถชาระภาษีได้ ณ สานักงาน
สรรพากรพื้นที่สาขา ดังน้ี

2.1 บัตรเครดิต TAX SMART CARD และบัตรเดบิต ของ บมจ. บัตรกรุงไทย (KTC) ธนาคารกรุงไทย (KTB) สามารถชาระ
ภาษีได้ ณ สานักงานสรรพากรพนื้ ท่สี าขาตาม (1) – (9)

2.2 บัตรเครดิต และ TAX SMART CARD ของธนาคาร กสิกรไทย (KBANK) และธนาคารกรุงเทพ (BBL) สามารถชาระ
ภาษีได้ ณ สานกั งานสรรพากรพ้นื ที่สาขาตาม (1) – (5)

2.3 บตั รเครดติ ของธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB) สามารถชาระภาษีได้ ณ สานกั งานสรรพากรพ้ืนทสี่ าขา ตาม (1) - (5)

การชาระภาษเี งนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดาเงนิ ได้บคุ คลธรรมดา

3. ชาระดว้ ยเชค็ หรอื ดราฟต์

3.1 เช็คท่ชี าระตอ้ งเปน็ เช็ค 4 ประเภท ได้แก่
(1) เชค็ ธนาคารแห่งประเทศไทย (เชค็ ประเภท ก.)
(2) เช็คที่มธี นาคารคา้ ประกัน (เชค็ ประเภท ข.)
(3) เชค็ ที่ธนาคารเซน็ สั่งจ่าย (เช็คประเภท ค.)
(4) เช็คที่ผมู้ ีหนา้ ที่ชาระเงินภาษีอากรเป็นผู้เซ็นสั่งจา่ ย และใชช้ าระโดยตรง (เช็คประเภท ง.)

การชาระภาษีเงนิ ได้บุคคลธรรมดาเงนิ ได้บคุ คลธรรมดา

3. ชาระด้วยเช็คหรือดราฟต์

การใชเ้ ชค็ ประเภท ง. ใหป้ ฏบิ ตั ดิ งั นี้
(1) กรณีใช้ชาระภาษใี นกรุงเทพมหานคร และในจังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดสมทุ รปราการ จังหวัดสมทุ รสาคร
(เฉพาะอาเภอเมืองสมุทรสาคร และอาเภอกระทุ่มแบน) จังหวัดนครปฐม (เฉพาะอาเภอสามพราน) และจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา (เฉพาะอาเภอบางปะอิน) ต้องเป็นเช็คของธนาคาร หรือสาขาธนาคาร ซึ่งต้ังอยู่ใน ท้องท่ีใดท้องท่ีหนึ่ง
ขา้ งตน้ เทา่ นนั้
(ข) กรณีใช้ชาระภาษีในจังหวัด (อาเภอ) อ่ืนนอกจาก (ก) ให้ใช้ได้เฉพาะกรณีที่เปิดบัญชีเงินฝากไว้กับธนาคารหรือ สาขา
ธนาคารซึ่งตงั้ อยู่ในจังหวัดทอ้ งท่ีอันเป็นภูมิลาเนาเท่านน้ั

การชาระภาษีเงนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดาเงนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดา

3. ชาระด้วยเชค็ หรือดราฟต์

การใชเ้ ชค็ ประเภท ง. ให้ปฏิบตั ดิ งั น้ี
3.2 การสงั่ จ่ายเช็คหรอื ดราฟต์ ใหข้ ดี คร่อม และส่ังจา่ ยดงั นี้
(1) ในกรุงเทพมหานคร
กรณียื่นแบบ ภ.ง.ด.90 หรือ ภ.ง.ด.91 และชาระภาษีท่ีสานักงานสรรพากรพื้นที่สาขา เช็คทุกประเภทให้สั่งจ่ายแก่
“กรมสรรพากร” และขดี ฆา่ คาว่า “ผู้ถอื ” ออก
(2) ในต่างจงั หวดั
กรณีย่ืนแบบ ภ.ง.ด.90 หรือ ภ.ง.ด.91 และชาระภาษีท่ีสานักงานสรรพากร พื้นท่ีสาขาด้วยเช็คประเภท ง. ให้ส่ังจ่ายแก่
“กรมสรรพากร” ถา้ เปน็ เช็คประเภท ก. ข. ค. ใหต้ ดิ ต่อสานักงานสรรพากรพื้นทสี่ าขา

การชาระภาษีเงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดาเงินไดบ้ คุ คลธรรมดา

3. ชาระดว้ ยเชค็ หรือดราฟต์

หลกั เกณฑก์ ารใชเ้ ชค็ หรอื ดราฟต์
(1) กรณีย่ืนท่ี สานักงานสรรพากรพ้นื ที่สาขา เช็คทุกประเภทหรือดราฟต์ ต้องลง วันท่ีในเช็ค ในวันที่ยื่นแบบฯ หรือ ก่อน

วันทีท่ ่ยี ื่นแบบฯ ไม่เกิน 15 วนั สาหรบั เชค็ ประเภท ก. ข. ค. หรือดราฟต์ หรือไมเ่ กนิ 7 วัน สาหรบั เชค็ ประเภท ง.
(2) กรณยี ื่นท่ธี นาคาร/ทท่ี าการไปรษณีย์ เช็คทุกประเภท หรือดราฟต์ท่ีชาระภาษี ต้องลงวันท่ีในเช็คในวันท่ียื่นแบบฯ หรือ

ก่อนวันทยี่ น่ื แบบฯ ไม่เกิน 7 วนั
(3) หา้ มใช้เช็คลงวนั ทลี่ ่วงหนา้
(4) หา้ มใชเ้ ชค็ หรอื ดราฟต์โอนสลักหลัง
(5) หา้ มใช้เช็คหรือดราฟต์ทีม่ ีจานวนเงนิ สูงกว่าจานวนภาษอี ากรทต่ี อ้ งชาระ
(6) การชาระภาษี จะถอื วา่ สมบูรณ์ ตอ่ เม่อื กรมสรรพากร ได้รับเงิน ตามเชค็ หรอื ดราฟตค์ รบถ้วนแล้ว

การชาระภาษเี งินไดบ้ ุคคลธรรมดาเงินได้บคุ คลธรรมดา

4. ชาระด้วยธนาณัติ
1. ผ้มู เี งินไดท้ ยี่ ่นื แบบฯ ภ.ง.ด.90 หรือ ภ.ง.ด.91 ต้องมีภูมิลาเนาอยใู่ นกรุงเทพมหานคร
2. ส่งธนาณตั ิเทา่ กับจานวนเงนิ ภาษีท่ตี ้องชาระ ไปพรอ้ มกับการย่นื แบบ ภ.ง.ด.90 หรอื ภ.ง.ด.91 (หา้ มหักค่าธรรมเนยี ม ใน
การสง่ ธนาณตั )ิ โดยสงั่ จ่าย“ผ้อู านวยการกองบรหิ ารการคลังและรายได้ กรมสรรพากร” ปณ.กระทรวงการคลัง

การผ่อนชาระภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา

ภาษีท่ตี ้องชาระจานวนต้งั แต่ 3,000 บาท ขึน้ ไป ขอชาระเปน็ 3 งวด งวดละเท่า ๆ กนั ได้

ภ.ง.ด.94 ภ.ง.ด.90 และ ภ.ง.ด.91

งวดที่ 1 ชาระพรอ้ มกบั การยนื่ แบบ ภ.ง.ด.94 งวดท่ี 1 ชาระพร้อมกบั ยนื่ แบบ ภ.ง.ด.90 / ภ.ง.ด.91
ภายในวนั ที่ 30 ก.ย. ของปภี าษีทมี่ ีเงินได้ ภายในวันที่ 31 ม.ี ค. ของปภี าษีถัดไป

งวดที่ 2 ชาระภายในวนั ที่ 31 ต.ค. ของปภี าษีทม่ี เี งนิ ได้ งวดท่ี 2 ชาระภายในวันท่ี 30 เม.ย. ของปีภาษีถัดไป

งวดที่ 3 ชาระภายในวนั ที่ 30 พ.ย. ของปภี าษที ม่ี ีเงินได้ งวดที่ 3 ชาระภายในวันท่ี 31 พ.ค. ของปภี าษีถัดไป

*** ในกรณีท่ีมิได้ชาระภาษีงวดใดงวดหน่ึงภายในเวลาท่ีกาหนดไว้ผู้เสียภาษีหมดสิทธิท่ีจะผ่อนชาระเป็นรายงวด
ต่อไป และตอ้ งชาระะภาษี ท่ยี ังไม่ไดช้ าระพรอ้ มเงนิ เพม่ิ ร้อยละ 1.5 ตอ่ เดือน (เศษของเดือนให้นับเป็น 1 เดือน) ของ
เงนิ ภาษีท่ีต้องชาระ โดยคานวณเงินเพม่ิ ต้ังแต่พ้นกาหนดเวลาการยื่นแบบแสดงรายการภาษีจนถึงวันชาระ และต้อง
ระวางโทษปรับไมเ่ กนิ 2,000 บาท ***

บทลงโทษ

ถ้าไมช่ าระในกาหนดเวลาหรือชาระไม่ถกู ตอ้ งจะมีความรับผดิ อยา่ งไรบ้าง?

เบี้ยปรับและเงินเพ่ิม ถือเป็นบทลงโทษเก่ียวกับภาษีอากรอย่างหน่ึง และอาจมีโทษทางอาญาด้วย แล้วแต่
ความผิดวา่ เปน็ เรอื่ งร้ายแรงข้นั ไหน โดยหากบุคคลใดย่ืนแบบฯ ภายในกาหนดแต่ชาระภาษีไม่ครบถ้วน หรือ
ย่ืนแบบฯ ล่าช้า ละเลย หรือหลีกเล่ียงการยื่นแบบฯ จะต้องเสียเงินเพิ่มและเบี้ยปรับตามกฎหมายกาหนด
และหากฝา่ ฝนื ไม่ยอมชาระ ก็ตอ้ งรบั โทษทางอาญาดว้ ย ซง่ึ มบี ทลงโทษ ดังน้ี

บทลงโทษ

1. กรณีไมช่ าระภาษีภายในกาหนดเวลา
จะตอ้ งเสยี เงินเพิ่มอกี ร้อยละ 1.5 ต่อเดอื น (เศษของเดือนให้นับเป็น 1 เดือน) ของเงินภาษีท่ีต้องชาระนับแต่
วนั พน้ กาหนดเวลาการยื่นรายการจนถงึ วันชาระภาษี

2. กรณีเจา้ พนักงานตรวจสอบออกหมายเรยี ก
และปรากฏว่ามิได้ย่ืนแบบแสดงรายการไว้หรือยื่นแบบแสดงรายการไว้แต่ชาระภาษีขาดหรือต่าไป นอกจาก
จะต้องรบั ผิดชาระเงินเพม่ิ แล้ว ยังจะต้องรับผิดเสียเบี้ยปรับอีก 1 เท่าหรือ 2 เท่าของภาษีที่ต้องชาระแล้วแต่
กรณี เงินเบ้ียปรับดังกล่าวอาจลดหรอื งดได้ตามระเบียบทอ่ี ธิบดีกาหนดโดยอนมุ ัตริ ฐั มนตรี


Click to View FlipBook Version