The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pawinee.1980.a7, 2022-04-20 03:45:03

คู่มือ กฎระเบียบ มาตรการและแนวทางการแก้ไขปัญหาว่าด้วยแนวทางความปลอดภัยของโรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสัย

safety school

๔๔

2) ความต้องการอยากรู้อยากลอง การคบเพ่ือนต่างเพศ การรวมกลุม่ ทำกจิ กรรมที่ไม่เหมาะสม ซงึ่ จะ
สง่ ผลตอ่ ปญั หามีพฤติกรรมที่ไมเ่ หมาะสมในเรื่องชู้สาว

3) ตามสภาพแวดลอ้ มของสงั คมรอบตัวนักเรยี น ส่อื ภาพยนตร์ หนังสือท่ีเกี่ยวกับเรอ่ื งเพศ มีแพรห่ ลาย
เปน็ จำนวนมากซึง่ ง่ายตอ่ การท่ีนกั เรียนจะเข้าไปทดลอง และเกดิ การลอกเลยี นแบบ

4) การมคี ่านยิ ม และเจตคตเิ รอื่ งเพศในช่วงเวลาที่ไมเ่ หมาะสมกับวัย ขาดจิตสำนึก และวิจารณญาณทด่ี ี
ในการตัดสนิ ใจ
แนวทางการดำเนนิ งานแกไ้ ขปญั หา

1. จัดกิจกรรมโครงการการอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจในการปฏบิ ัตติ น และพฤติกรรมที่พงึ ประสงคใ์ น
ดา้ นการคบเพื่อนตา่ งเพศ เช่นโครงการอดเปรีย้ วไว้กินหวาน

2. จดั บรรยากาศ และส่ิงแวดลอ้ มในโรงเรียนใหป้ ลอดโปรง่ ไม่มีมมุ อับอนั จะสง่ ผลต่อพฤติกรรมในทางทไ่ี ม่
เหมาะสมของนักเรียน

3. กำกบั ติดตาม ดูแลการปฏิบัติหนา้ ทข่ี องครเู วรประจำวัน
4. จดั ใหม้ ีสายตรวจของครู กรรมการนกั เรยี น ออกตรวจบริเวณแหล่งมวั่ สุม
5. เม่ือนักเรยี นประสบปัญหา ให้สถานศึกษามอบหมายผู้รับผิดชอบ เชน่ ครแู นะแนว หรือครูทปี่ รึกษาให้
คำปรกึ ษาสืบหาข้อเทจ็ จรงิ และดำเนนิ การแก้ไข ในกรณที เ่ี ปน็ ปญั หาร้ายแรง ใหผ้ ูบ้ ังคับบญั ชารายงานตามลำดบั
ขน้ั ตอน
6. ประสานงาน เชญิ ผปู้ กครองมารบั ทราบปญั หา และรว่ มมือช่วยกันแก้ไขปญั หา ปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม
ไปในทางทเี่ หมาะสมตลอดจนใหค้ ำแนะนำในเร่ืองตา่ งๆ
7. ติดตาม กำกับ ดแู ลนักเรยี นท่ีมพี ฤติกรรมไมเ่ หมาะสม
8. สร้างเครอื ขา่ ยประสานความรว่ มมอื ระหว่างเครือข่ายผู้ปกครอง ชมุ ชน และโรงเรยี นในการแจง้
เบาะแสข้อมลู การทำกิจกรรมตา่ งๆนอกเวลา หรอื นอกสถานศกึ ษาใหผ้ ปู้ กครองทราบ
9. จัดการเรยี นการสอน เรอื่ ง เพศศึกษา และการวางตัวในการมีเพ่อื นตา่ งเพศ และเพศเดียวกนั อยา่ ง
เหมาะสม
10. สถาบนั ครอบครวั ไม่คอ่ ยเอาใจใส่การเรยี นของบตุ รหลานเปน็ ผลใหเ้ ด็กและเยาวชนเหล่านนั้ มีเวลา
ว่างมากเกินความจำเปน็
5. การคบเพื่อนหรอื กลุ่มเพ่ือนทม่ี ีพฤตกิ รรมไมเ่ หมาะสม ไม่สนใจในการเรียน ชอบหนีเรียนเพ่อื ไปมวั่ สุม
ในร้านอนิ เตอรเ์ นต็ และเกมส์
แนวทางป้องกัน และแก้ปัญหาการใช้อินเทอรเ์ น็ตของเดก็ และเยาวชนควรได้รับความร่วมมอื ดว้ ยกันทุก
ฝา่ ยโดยเฉพาะครู และผ้ปู กครองควรสอดส่องดแู ลการใช้อินเตอร์เน็ตของเด็ก และเยาวชนอย่างใกล้ชิดและควรให้
คำแนะนำในการใช้อินเทอรเ์ น็ตอย่างถูกต้อง และเหมาะสม ดงั นั้นวิธีป้องกันภัยจากอินเทอรเ์ นต็ สำหรับเด็กมดี ังน้ี
1. ไมค่ วรปล่อยให้เด็ก และเยาวชนเล่นอนิ เตอร์เนต็ ตามลำพงั
2. กระตุ้นให้เด็กเล่าเร่ืองที่เกี่ยวกบั ส่งิ ท่พี บเห็นในอินเตอร์เนต็ ให้กบั ผูป้ กครองได้รับทราบ และให้รอ้ งขอ
ความช่วยเหลอื หรือขอคำปรึกษา เม่ือพบกับปัญหา

๔๕

3. ทำความเข้าใจกบั เด็ก เกย่ี วกับการใช้อนิ เทอร์เนต็ เพื่อป้องกนั เด็กจากเว็บไซต์ท่ไี ม่เหมาะสม
4. แนะนำเดก็ ในการใช้อเี มล และใหต้ รวจสอบหรือสอบถามเกี่ยวกับการส่งอเี มลท์ สี่ ่งมาใหเ้ ดก็ อยู่เสมอ
5. ใหค้ ำแนะนำเกยี่ วกับการใช้แชทรมู หรือหอ้ งสนทนาเกี่ยวกบั ข้อมูลทเี่ ด็กควรปกปดิ ไว้

9. อนิ เตอร์เน็ตและเกมส์
เนื่องจากในปัจจบุ ันอินเทอร์เนต็ เปน็ ส่อื เสรีทนี่ ับวนั จะเข้าถึงเยาวชนมากขึ้น ซึง่ เป็นส่ือท่มี ที ง้ั คุณและโทษ

ในตัวเอง การปดิ กัน้ มิใหเ้ ยาวชนให้เขา้ ถงึ อนิ เทอรเ์ นต็ จะเป็นการปดิ โอกาสในการเรียนรู้ และก้าวทันโลกแต่ในทาง
ตรงกันขา้ ม หากปล่อยให้เยาวชนเข้าไปใช้อนิ เทอร์เนต็ อย่างขาดสติ ก็อาจจะทำใหเ้ กิดภัยตอ่ ตัวเยาวชนได้อย่าง
มากมาย เชน่ กัน ในบทบาทของสถานศึกษาจำเป็นต้องมีการบรหิ ารจัดการอยา่ งรอบคอบ รดั กมุ โดยการสรา้ ง
ความตระหนักในการเรียนรู้ วธิ ีการใช้ส่ือ การเลือกรบั และการเรียนรู้จากส่ืออยา่ งรูเ้ ทา่ ทัน ชาญฉลาดจาก
การศึกษาถึงสาเหตุ ปัจจัยเส่ยี งพษิ ภัยของสือ่ ชนิดน้ี อาจสรุปไดด้ งั น้ี

1. ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีท่ไี ม่มีขอบเขตจำกดั
2. นักเรียนขาดวจิ ารณญาณในการบริโภคข่าวสารจากสือ่ อินเตอรเ์ นต็ และเกมส์ก่อใหเ้ กิดการ
ลอกเลยี นแบบ การจดั แบง่ เวลาไม่เหมาะสม
3. ร้านเกมสแ์ ละอินเตอร์เนต็ จำนวนมากมกี ารพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ และรปู แบบของเกมสใ์ หเ้ สมือนจริง
จนกลายเป็นแรงจงู ใจทีส่ ำคญั ทำให้นกั เรียนมีความต้องการสูง กอ่ ให้เกดิ ปัญหาการหนีเรยี นมั่วสุม
4. ควรวางคอมพิวเตอรท์ ีเ่ ด็กใชไ้ ว้ในทเ่ี ปิดเผย เชน่ หอ้ งน่งั เลน่ มากกว่าที่จะวางไวใ้ นหอ้ งนอน
หรือหอ้ งส่วนตัวกลมุ่ เยาวชน
7. ไมบ่ อกขอ้ มูลส่วนตวั เช่น ช่ือ นามสกลุ ท่อี ยู่ เบอรโ์ ทรศัพท์ ชอ่ื โรงเรียน ทีท่ ำงาน หรอื เบอร์ท่ที ำงาน
ของผ้ปู กครอง ใหแ้ ก่บคุ คลอื่นท่รี จู้ กั ทางอนิ เตอรเ์ นต็
8. แจ้งให้ผ้ปู กครองทราบโดยทันทีท่ีพบข้อมูล หรอื รูปภาพใดๆ บนอนิ เทอรเ์ นต็ ทห่ี ยาบคาย
ไม่เหมาะสม
9. ไม่ไปพบบุคคลใดรจู้ กั ทางอินเทอรเ์ น็ตโดยตอ้ งขออนุญาตจากผูป้ กครองกอ่ น
10. ไม่สง่ รปู หรือสงิ่ ของใดๆ ให้แก่ผอู้ ่นื ทรี่ จู้ ักทางอินเทอรเ์ น็ต โดยมิไดข้ ออนุญาตจากผู้ปกครองก่อน
มาตรการรกั ษาความปลอดภัยด้านสุขอนามัยของนกั เรียน
1. ดา้ นมลพิษ จากส่ิงแวดล้อม
มลพษิ ทางส่งิ แวดล้อม หมายถึง สภาวะท่สี ง่ิ แวดลอ้ มตามธรรมชาตถิ ูกปะบนหรือปนเป้ือนดว้ ยส่ิงสกปรก
สิ่งแปลกปลอม หรือสารมลพิษ ทำใหม้ ลี กั ษณะ หรือสมบัติแตกต่างไปจากเดิม หรือจากธรรมชาตโิ ดยเปลยี่ นแปลง
ไปในทางทีแ่ ย่ลงยงั ผลให้ใช้ประโยชน์ได้นอ้ ย หรือใชป้ ระโยชนไ์ มไ่ ด้เลย และมีผลเสียตอ่ สุขภาพ
ปญั หาสิง่ แวดล้อมทม่ี นุษย์กำลงั ประสบอยู่ในปจั จุบนั ท่ีสำคญั ได้แก่ ปญั หาการลดลงของ
ทรพั ยากรธรรมชาติ ปญั หาสารพษิ และปัญหาของระบบนเิ วศ ซึง่ ปัญหาที่สำคัญเหล่านม้ี าจากปญั หาย่อยๆหลาย
ปัญหา เช่น มลพิษทางน้ำ มลพษิ ทางอากาศ มลพษิ ทางเสียง ขยะมลู ฝอยและสิง่ ปฏกิ ูล เปน็ ต้น ปญั หาเหล่านี้

๔๖

ถา้ ไม่รีบป้องกนั แก้ไขอาจส่งผลกระทบต่อววิ ัฒนาการของสง่ิ มชี วี ติ ได้ ซ่งึ การป้องกนั แก้ไขปญั หาสิง่ แวดลอ้ มเป็น
หนา้ ที่ของทกุ คนที่จะต้องชว่ ยกัน

สถานศกึ ษาเป็นสถานที่ ที่มผี ู้คนมารวมกันจำนวนมาก ในแตล่ ะวนั การใชท้ รพั ยากรร่วมกันภายใน
สถานศึกษา หากไม่ไดร้ ับการจัดการทด่ี ีพอ อาจสง่ ผลเสียตอ่ ใหเ้ กดิ มลพิษจากสิง่ แวดล้อมได้ เชน่ ของเสยี จากขยะ
มลู ฝอย เสียงรบกวน หรือมลพิษจากอากาศ ในกรณีสถานศึกษาต้งั อยู่ในเขตเมือง หรือเขตอตุ สาหกรรม
เป็นตน้ หากสถานศึกษาไม่มีมาตรการการกำจัดส่ิงแวดล้อมท่เี ป็นพิษให้ดีพอ ผลกระทบโดยตรงทมี่ ตี อ่ นักเรียนคือ
ปญั หาด้านสุขภาพ และผลกระทบทางอ้อมทจ่ี ะตามมา

มลพษิ ทางสิง่ แวดลอ้ มทีส่ ำคัญไดแ้ กม่ ลพิษทางน้ำ มลพิษทางอากาศ มลพิษทางเสียง และมลพิษท่ีเกดิ จาก
ขยะมูลฝอยและส่งิ ปฏิกลู

1.1 มลพิษทางน้ำ (Water Pollution)
น้ำ ถือเป็นสิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ ท่ีมีความสำคัญ และจำเปน็ อย่างยิง่ ต่อการอุปโภค

และบริโภคของมนษุ ย์ อกี ท้ังเป็นทรัพยากรธรรมชาตทิ ี่ใช้แลว้ ไมห่ มดสน้ิ กลา่ วคือ เกดิ ข้ึนไดใ้ หม่ตลอดเวลา เป็น
ปรากฏการณ์ของน้ำตามธรรมชาตทิ ี่เรียกวา่ วฏั จักรของน้ำ ประกอบกับน้ำยังมคี วามสำคญั ต่อการพฒั นาดา้ น
เศรษฐกจิ ของประเทศในรปู ของการพฒั นาทางด้านอตุ สาหกรรมการเกษตรกรรม รวมถึงการทำประมงดว้ ย

1.2 มลพษิ ทางอากาศ (Air Pollution)
มลพษิ ทางอากาศ หมายถงึ ภาวะของอากาศที่มีสารเจือปนอยู่ในปรมิ าณทม่ี ากพอและเป็น

ระยะเวลานานพอทจี่ ะทำให้เกดิ ผลเสยี ตอ่ สุขภาพอนามัยของมนุษย์ สัตว์ พชื และวสั ดตุ า่ งๆ สารดงั กล่าวอาจเปน็
ธาตุหรอื สารประกอบทเี่ กดิ ขึ้นเองตามธรรมชาติ หรือเกิดจากการกระทำของมนุษย์ หรืออาจอยู่ในรปู ของก๊าซ
ของเหลวหรอื อนภุ าคของแข็งกไ็ ด้ สารมลพษิ อากาศหลักที่สำคัญ คือ ฝุ่นละออง (SPM) ตะก่ัว (Pb) ก๊าซ
คาร์บอนมอนอกไซด์ กา๊ ซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ออกไซด์ของไนโตรเจน และกา๊ ซโอโซน

1.3 มลพษิ ทางเสยี ง (Noise Pollution)
มลพิษทางเสยี ง หมายถงึ สภาวะที่มีเสยี งดังเกินปกติ หรือเสียงดงั ต่อเน่ือง ยาวนานจนก่อ

ให้เกดิ ความรำคาญ หรือเกิดอันตรายต่อระบบการไดย้ ินของมนุษย์ และหมายรวมถึงสภาพแวดล้อมทมี่ ีเสียงสรา้ ง
ความรบกวนทำใหเ้ กิดความเครียดท้งั ทางร่างกายและจติ ใจทำใหต้ กใจหรือบาดหนูได้ เช่น เสียงดงั มาก เสียง
ตอ่ เนื่องยาวนานไมจ่ บส้นิ เป็นต้น มลพษิ ทางเสียงเปน็ หนง่ึ ในปัญหาส่ิงแวดลอ้ มของเมืองใหญท่ เ่ี กิดพร้อมกบั การ
เปลย่ี นแปลงทางวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี และวฒั นธรรม รวมถงึ การเตบิ โตทางเศรษฐกิจ ไม่วา่ จะเปน็ เสยี งดังจาก
ยานพาหนะทีใ่ ช้เคร่ืองยนต์ เสียงดังจากเครื่องจักร เสยี งดังจากการกอ่ สรา้ ง เสียงดังจากเครื่องขยายเสยี งโทรทัศน์
วิทยุ และอปุ กรณส์ ื่อสาร เสียงเรยี กเขา้ โทรศพั ทม์ อื ถือ รวมทงั้ เสยี งสนทนาที่ดังเกินควร และไม่ถูกกาละเทศะ

1. การไดย้ ิน การสูญเสียการได้ยนิ เสียงดงั รบกวน เกดิ เสียงหวีดกอ้ งในหูหรือในสมอง

2. สขุ ภาพกาย ความดนั โลหติ สูง ใจสน่ั หัวใจเต้นเรว็ มอื เท้าเยน็ การไหลเวียนโลหิตกระแสโลหติ

บกพร่องจนถึงโรคหัวใจ

3. สุขภาพจิต การรบกวน การพักผอ่ น เกิดความเครยี ด และสภาวะตื่นตระหนก ซ่งึ พฒั นาไปสูอ่ าการ

เจ็บป่วยเศร้าซมึ และโรคจติ ประสาทได้

๔๗

4. สมาธิ ความคิด และการเรียนรู้ การรบกวนสมาธิ การคิดคน้ วเิ คราะห์ข้อมูล และการลดประสทิ ธิภาพ
การเรียนรแู้ ละการตัง้ ใจรับฟงั

5. ประสทิ ธภิ าพ และประสิทธิผลของการทำงาน การรบกวนระบบ และความต่อเน่อื งของการทำงานจะ
ทำใหง้ านลา่ ช้าลดทง้ั คณุ ภาพ และปรมิ าณ

6. การติดต่อส่ือสาร ขัดขวางการได้ยิน และทำให้ต้องตะโกนสื่อสาร การทำให้การสื่อสารบกพร่องเกิด
ความเพ้ยี นในการได้ยนิ และเด็กเลก็ ท่ีกำลัง เรยี นพดู และพฒั นาในการฟังการพูด และการออกเสียง ในผ้ใู หญ่จะ
เป็นอปุ สรรคต่อการรบั ฟังสัญญาณเตือนภัยอนั อาจทำให้เกิดอบุ ัตเิ หตุและอันตราย

7. การกระตุ้นให้เกดิ พฤตกิ รรมก้าวรา้ ว เสียงดัง ทำให้อารมณ์ สร้างความรนุ แรง ทำร้ายผูอ้ ่นื
8. การเปลีย่ นแปลงทางวัฒนธรรม กระตนุ้ ให้เกดิ ค่านิยมในความรนุ แรง ไมเ่ คารพสทิ ธใิ นความสงบสุข
ของผู้อ่นื และสงั คมโดยรวม และการขาดมารยาทสงั คมท่ีดีงาม
การปอ้ งกนั มลพิษทางเสียง
1. หมน่ั สงั เกตสงิ่ รอบตัวเปน็ ประจำ หากไมส่ ามารถพดู คยุ ดว้ ยระดับเสียงปกติในระยะห่าง 1 ช่วงแขนได้
แสดงว่าเสียงในสถานทน่ี นั้ ดังเกนิ ไป
2. ควบคุมระดับเสียงโทรทัศน์ เครอ่ื งเสยี ง และโทรศัพทไ์ มใ่ ห้ดงั เกินไป
3. ไม่พูดโทรศัพท์ หรอื สง่ เสียงดงั รบกวน ความสงบของผู้อน่ื ทง้ั ในบ้าน และในทีส่ าธารณะ
4. ตรวจสภาพเครอ่ื งยนตข์ องยานพาหนะใหอ้ ยู่ในสภาพดอี ยู่เสมอ ไม่ปรับแต่งท่อไอเสยี ใหเ้ กดิ เสยี งดังกด
แตรเมื่อฉกุ เฉนิ และจำเป็นเท่าน้นั และลดความเร็วเมื่อขบั ข่ยี านพาหนะผา่ นยา่ นท่ีพักอาศัย โรงเรยี น ศาสนสถาน
โรงพยาบาล สวนสาธารณะ หรอื ชมุ ชน
5. หลีกเลี่ยงสถานที่ท่ีมีเสียงดัง
6. ชว่ ยกนั ดูแลโรงเรียน ใหค้ วบคมุ ระดับเสียง ไม่ให้ดงั เกนิ ควร
7. ตรวจความสามารถการได้ยินเปน็ ประจำทุกปี
8. แพรค่ วามรู้เกี่ยวกบั การตา้ นภยั เสียงแก่ เพื่อน และญาติ
9. ร้องเรียนเสยี งดังที่ โทร. 1555 (กทม.) หรอื โทร.1650
1.4 มลพิษที่เกิดจากขยะมลู ฝอย และสง่ิ ปฏกิ ูล (Refuse and contaminate Pollution)
ขยะมูลฝอย (Solid Waste) หมายถงึ เศษสิ่งเหลือใช้ และสงิ่ ปฏกิ ลู ต่างๆ ซงึ่ เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์
และสัตว์ รวมถึงสิ่งอน่ื ใด ทเ่ี ก็บกวาดจากถนน ตลาด หรือที่อืน่ ๆ ทัง้ จากการผลิต การบริโภค การขับถ่าย
การดำรงชีวิต และอ่ืน ๆ
ประเภทของขยะ
1. ขยะเปยี ก หมายถึง ขยะที่ยอ่ ยสลาย เช่น เศษอาหาร พืชผัก เปลอื กผลไม้ เปน็ ต้น
2. ขยะแหง้ หมายถึง ขยะทย่ี ่อยสลายได้ยาก เช่น กระดาษ พลาสตกิ แกว้ โลหะ เศษผ้า ไมย้ าง เป็นตน้
3. ขยะอนั ตรายไดแ้ ก่ สารเคมี วัตถมุ พี ิษจากถา่ นไฟฉาย หลอดไฟ และขยะตดิ เชื้อจากสถานพยาบาล

๔๘

แนวทางในการปอ้ งกัน
1. สรา้ งจติ สำนึก และสร้างความตระหนัก เร่ืองปญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม การป้องกนั และแก้ไขปัญหา ได้แก่ครู

นกั เรยี น ผู้ปกครอง และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
2. สถานศึกษากำหนดนโยบายทเี่ กี่ยวข้องกบั มลพิษจากขยะมูลฝอย และสง่ิ ปฏกิ ูลอยา่ งถูกตอ้ งและ

เครง่ ครดั

• แยกขยะเปียกจำพวกเศษอาหาร และขยะแหง้ จำพวกเศษกระดาษ ถุงพลาสติก ออกจากกันโดย
จดั หาภาชนะรองรบั ขยะท่ีแยกจากกนั

• ทิ้งขยะในท่ีทจ่ี ัดเตรยี มไว้ เพ่อื รอการขน และควรจัดหาฝาปิดถงั ขยะให้เรยี บร้อย ป้องกนั การค้ยุ
ของสุนัข หรือสตั ว์เลี้ยง

3. ใหค้ วามรู้แกค่ รู นกั เรียน ผู้ปกครอง และผูท้ ีเ่ กยี่ วข้องในเรื่องการป้องกันแก้ไข และจัดการขยะมูลฝอย
และสิ่งปฏิกูลอยา่ งถูกวิธี

สเี ขยี ว รองรบั ขยะท่เี นา่ เสยี และยอ่ ยสลายไดเ้ ร็ว สามารถนำมาหมักทำปุ๋ยได้ เช่น ผกั ผลไม้ เศษอาหาร
ใบไม้

สีเหลอื ง รองรับขยะท่สี ามารถนำมารไี ซเคลิ หรือขายได้ เช่น แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ
สเี ทาฝาสสี ม้ รองรับขยะทีม่ ีอันตรายตอ่ ชีวติ และสิ่งแวดล้อม เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ ขวดยา
ถ่านไฟฉาย กระป๋อง สีสเปรย์ กระปอ๋ ง ยาฆ่าแมลง ภาชนะบรรจุสารอันตรายต่างๆ
สฟี า้ รองรบั ขยะยอ่ ยสลายไม่ได้ ไมเ่ ป็นพษิ และไมค่ ุ้มคา่ การรีไซเคลิ เสน้ พลาสติก หอ่ ลูกอม ซองบะหม่ี
สำเรจ็ รปู ถงุ พลาสตกิ โฟม และฟอยล์ทเี่ ปือ้ นอาหาร
นอกจากนีย้ ังมีถุงพลาสติก สำหรับรองรับขยะมูลฝอยในแต่ละถงั โดยมัดปากถุงสเี ดยี วกับถัง ทรี่ องรบั ขยะ
มลู ฝอยตามประเภทดงั กล่าว ข้างตน้
4. รณรงค์ และประชาสมั พันธ์ เพ่ือสรา้ งจติ สำนึกให้ครู นกั เรียน ผปู้ กครองเขา้ ใจ และยอมรบั ว่าเป็น
ภาระหน้าทีข่ องตนเองในการร่วมมอื กันจดั การขยะมูลฝอยทเ่ี กิดขน้ึ ในโรงเรยี น และชมุ ชน และมีส่วนร่วมในการ
ลดขยะมูลฝอยในแต่ละวัน ได้แก่

4.1 ลดการทิ้งบรรจภุ ณั ฑ์ โดยการใช้สินคา้ ชนดิ เตมิ ใหม่ เชน่ ผงซกั ฟอก น้ำยาลา้ งจาน น้ำยาทำ
ความสะอาด และถ่านไฟฉายชนิดประจไุ ฟใหม่ เป็นตน้

4.2 เลือกใช้สินค้าทม่ี ีห่อบรรจุภณั ฑ์นอ้ ย อายกุ ารใชง้ านยาวนาน และตวั สินคา้ ไม่เปน็ มลพิษ
4.3 ลดการใชว้ สั ดุกำจดั ยาก เชน่ โฟมบรรจุอาหาร และถุงพลาสติก
5. สถานศึกษากำหนดนโยบายท่เี ก่ยี วข้องกบั มลพษิ จากขยะมูลฝอย และสิ่งปฏิกลู อยา่ งถูกต้อง
และเคร่งครัด

• ควรมีการคดั แยกขยะ และท้ิงลงในถงั กองแยกขยะเปยี กจำพวกเศษอาหาร และขยะแหง้ จำพวก
เศษกระดาษ ถงุ พลาสตกิ ออกจากกนั โดยจัดหาภาชนะรองรบั ขยะท่ีแยกจากกัน

๔๙

• ท้งิ ขยะในท่ที ่จี ัดเตรียมไว้เพื่อรอการขน และควรจัดหาฝาปิดถังขยะให้เรยี บร้อย ปอ้ งกันการค้ยุ
ของสุนัขหรือสตั ว์เลี้ยง

6. จัดกลุม่ อาสาสมคั ร หรอื ชมรม หรอื นักเรียน ให้มกี จิ กรรม/โครงการนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ใหม่ เช่น
6.1 โครงการขยะรไี ซเคลิ แลกสิ่งของ เช่น ตน้ ไม้ไข่
6.2 โครงการทำปุ๋ยนำ้ ปุ๋ยอเี อม็ ขยะหอม ปุ๋ยหมัก
6.3 โครงการตลาดนดั ขยะรีไซเคิล
6.4 โครงการธนาคารวสั ดเุ หลือใช้
6.5 โครงการร้านคา้ สินคา้ รีไซเคลิ

7. ดำเนนิ การจดั การขยะโดยใช้หลัก 5R ดงั นี้
1) REDUCE เป็นการลดปริมาณขยะมูลฝอยท่ีอาจจะเกิดขึ้น เชน่ การนำตะกร้าใส่ของแทน

ถงุ พลาสติก หรอื การรายงานผลทางราชการ ด้วยระบบ ICT แทนกระดาษ (PAPERLESS)
2) REUSE เป็นการนำของเสยี มาใช้ใหม่ หรือเป็นการใช้นำ้ เชน่ ขวดนำ้ หวานนำมาบรรจุนำ้ ด่มื

หรือนำกระดาษที่ใชแ้ ลว้ มาพับเปน็ ถุง
3) REPAIR เป็นการนำวสั ดุอปุ กรณ์ท่ชี ำรุดเสียหายมาซ่อมแซมใชใ้ หม่ เช่น เกา้ อี้ โต๊ะ วทิ ยุ ยาง

รถยนต์
4) RECYCLE เปน็ การนำของเสยี มาแปรรปู โดยผ่านกระบวนการแปรรูป แลว้ นำ กลบั มาใช้

ประโยชนใ์ หม่ เชน่ พลาสตกิ ขวด โลหะ กระดาษ
5) REJECT เป็นการหลกี เลี่ยงการใช้ทตี่ ดิ วตั ถปุ ระสงค์ เชน่ กระปอ๋ ง หรือขวดใสส่ ารเคมตี ้อง

หลกี เล่ยี งนำมาใส่อาหาร นอกจากนี้ยังรวมถงึ การหลีกเลีย่ งการใชว้ สั ดุท่ที ำลายยาก หรอื วัสดุทใี่ ชค้ ร้งั เดยี วแลว้ ทิ้ง
เช่น โฟม

2. ด้านการอปุ โภค บริโภค
ในการดำรงชีวติ ของมนุษยเ์ พื่อการอยู่รอด หรือการอุปโภค บริโภคซ่ึงจะสามารถดำรงชวี ติ อยู่อยา่ ง

ปลอดภยั สถานศึกษาเปน็ สถาบนั ที่ผู้ปกครองนำบตุ รหลานมาศกึ ษาหาความรู้ จำเปน็ ต้องให้ความสำคัญตอ่ การ
บริหารจดั การด้านอปุ โภค บริโภคของนกั เรียน ให้ไดม้ าตรฐาน สรา้ งความเชอื่ ม่นั แก่ผูป้ กครอง ในขณะท่ี
ผปู้ ระกอบการภายในโรงเรียน พยายามทุกวิถีทางท่จี ะแสวงหาผลประโยชนส์ งู สดุ โดยการลดตน้ ทุนการผลิตด้าน
การใช้วสั ดุคุณภาพต่ำ มสี ารเคมปี นเป้ือนจำหน่ายวัสดุอุปกรณ์ โดยไมค่ ำนงึ ถงึ สวัสดภิ าพของผู้ใชจ้ ากการรวบรวม
ข้อมลู เกีย่ วกับปัญหาการอุปโภค บริโภคสามารถสรปุ สาเหตุของปัญหาได้ ดังน้ี

1) นักเรียน บริโภคอาหาร น้ำ นม ท่ไี ม่ได้คุณภาพตามมาตรฐานจะเป็นอันตรายต่อรา่ งกาย และการ
บริโภคอาหารท่ไี ม่ถูกสขุ ลกั ษณะ อาจเป็นสาเหตขุ องการเกิดโรคตดิ ตอ่ ในโรงเรยี นไดง้ ่าย

2) ขาดการตรวจสอบคณุ ภาพ และสารปนเปื้อนในอาหาร และนำ้ ด่มื ในสถานศึกษา

๕๐

3) ในกรณที ี่ประสบเหตจุ ากการอปุ โภค บรโิ ภคของนักเรยี น ภายในสถานศึกษาใหด้ ำเนินการปฐม
พยาบาลเบ้ืองตน้ ก่อนสง่ ต่อสถานพยาบาลที่ใกล้เคียงจากครู พยาบาล หรือครูอนามยั โรงเรียน อำนวยความสะดวก
ในการดูแลรักษาพยาบาลร่วมกบั ผู้ปกครอง เพ่ือรับทราบข้อมลู ของนักเรียน

4) ประสานงานแจง้ ผ้ปู กครองนกั เรยี นรับทราบ เมื่อเกิดเหตุ เพือ่ ความร่วมมือในการดูแลรักษาอยา่ งไร
รายงานเหตกุ ารณใ์ ห้ผู้บงั คบั บัญชาทราบตามลำดบั ช้นั

5) ตดิ ต่อประสานงานบรษิ ัทผรู้ บั ประกนั อุบตั ิเหตใุ ห้กบั บคุ ลากร และนกั เรยี น เพื่อขอรับสินไหมทดแทน
(ถ้ามี)
แนวทางการดำเนินงานแกไ้ ขปญั หา

1. แตง่ ตง้ั คณะกรรมการโภชนาการสถานศึกษา เพ่ือกำกบั ติดตาม ดแู ลการควบคุมคณุ ภาพอาหาร และ
เครอ่ื งด่ืมในสถานศึกษาตามมาตรฐานที่กำหนด

2. จัดให้มีชมรมคมุ้ ครองผบู้ ริโภคในสถานศึกษา เพื่อตรวจสอบคุณภาพ และสารปนเป้ือนในอาหารและ
ประชาสัมพันธ์ข้อมลู ข่าวสาร

3. จัดระบบมาตรฐานสุขาภบิ าล โรงอาหาร อาคารโรงเรียน อาคารประกอบ
4. จดั ทําป้ายนเิ ทศ ให้ความรู้เก่ียวกับสอ่ื โฆษณา ในการใช้เครอ่ื งอปุ โภค และบริโภค
5. จัดใหม้ เี จา้ หน้าท่ที ำความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อยภายในโรงอาหารของโรงเรยี น
6. จัดให้มรี ะบบกำจดั ขยะ การบำบดั นำ้ เสยี และจัดสร้างบ่อดักไขมนั
7. จัดให้มรี ะบบประกนั อุบัติเหตใุ หก้ บั บุคลากร และนักเรยี น
8. จดั กจิ กรรมรณรงค์ให้ความรู้แก่นกั เรียน ครู และบุคลากร ในการรูจ้ กั วิธีใช้ และการเก็บรักษาเครื่องมือ
เครอ่ื งใช้ที่ถกู สุขอนามัย
9. จัดทําป้ายนเิ ทศ รณรงค์ให้ความรู้เก่ียวกับการอุปโภค และบริโภค และอนั ตรายอนั เกิดจากการใช้
เครือ่ งอปุ โภคและบริโภค หอ้ งน้ำ ห้องส้วม และเคร่อื งใชต้ า่ ง ๆ รวมถึงอาหาร
10. จดั บรู ณาการความรูท้ างด้านโภชนาการเขา้ กับหลกั สูตรสถานศึกษา

3. ด้านโรคติดตอ่
โรคตดิ ตอ่ คือโรคที่สามารถถ่ายทอดติดต่อถึงกนั ได้ระหว่างบุคคล โดยมีเช้ือจุลินทรยี ์ต่างๆ เป็นสาเหตุของ

โรค และถึงแมว้ า่ เชอื้ โรคจะเปน็ ตวั ก่อเหตแุ ต่พฤติกรรมท่ไี มเ่ หมาะสมของมนุษยก์ ็เปน็ ปัจจยั ร่วมท่สี ำคญั
ท่จี ะทำใหเ้ กดิ โรคตดิ ต่อน้นั ๆ ข้นึ

โรคตดิ ต่อในประเทศไทย
สำหรับในประเทศไทยเป็นบริเวณรอ้ นชื้น จึงทำใหเ้ ช้ือโรค และแมลงทเ่ี ปน็ พาหะนำโรคเจรญิ เติบโตและ
แพรพ่ ันธ์ุได้ง่าย ประเทศเขตร้อนจงึ พบโรคติดตอ่ ชนิดต่างๆ มากกวา่ ประเทศทม่ี ีอากาศหนาวโดยโรคทพ่ี บบอ่ ยใน

๕๑

แถบเขตร้อนจะเรียกรวมว่า “โรคเขตรอ้ น” (Tropical Diseases) ซง่ึ อาจเกดิ จากเชื้อได้มากมายหลายชนิด
นบั ต้งั แตเ่ ช้อื ไวรัสซง่ึ มขี นาดเล็กมากลงไปจนถึงสตั ว์เซลลเ์ ดียว และหนอน พยาธติ า่ งๆ

ในปี พ.ศ. 2523 ประเทศไทยได้ประกาศใช้พระราชบญั ญัตโิ รคติดตอ่ พ. ศ. 2523 โดยได้มปี ระกาศ
รฐั มนตรี เรือ่ ง โรคตดิ ต่ออนั ตราย โรคติดตอ่ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข และโรคติดตอ่ ทต่ี ้องแจง้ ความ
เรยี งตามลำดบั ดังน้ี

1. โรคตดิ ตอ่ อันตรายมีอยู่ 4 โรค ไดแ้ ก่ โรคอหวิ าตกโรค โรคไข้ทรพิษ ไข้เหลือง และกาฬโรค
2. โรคติดต่อตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ในวันท่ี 18 ธนั วาคม พ.ศ. 2524 มอี ยู่ 44 โรค คอื
อหวิ าตกโรค กาฬโรค ไข้ทรพิษ ไข้เหลืองไขก้ าฬหลังแอน่ คอตบี ไอกรนโรคบาดทะยัก โปลโิ อ ไข้หัด
ไขห้ ดั เยอรมนั โรคคางทูม ไข้อสี กุ อีใส ไข้หวัดใหญ่ ไขส้ มองอกั เสบ ไขเ้ ลือดออก โรคพิษสุนัขบ้า โรคตับอักเสบ โรค
ตาแดงจากไวรสั อาหารเปน็ พิษ โรคบดิ บะซลิ ลารี (bacillary dysentery)โรคบิดอะมบี า (amoebic dysentery)
ไขร้ ากสาดนอ้ ย ไข้รากสาดเทียม ไขร้ ากสาดใหญ่ สครับไทฟัส มูรีนไทฟัส วณั โรค โรคเร้อื น ไข้จับสน่ั แอนแท็กซ์
โรคทริคโิ นซสิ โรคคุดทะราด โรคเลปโตสไปโรซสิ (โรคฉหี่ น)ู ซิฟิลสิ หนองใน หนองในเทียม กามโรคของต่อม และ
ทอ่ น้ำาเหลือง แผลริมอ่อน แผลกามโรคเรื้อรังทขี่ าหนบี โรคไข้กลับซำ้ โรคอจุ จาระร่วง โรคแผลเรื้อรัง และโรค
เท้าช้าง
3. โรคติดตอ่ ทตี่ ้องแจ้งความมีอยู่ 15 โรค ได้แก่ อหวิ าตกโรค โรคกาฬโรค ไขท้ รพิษ ไข้เหลอื ง คอตบี
บาดทะยักในเด็กเกิดใหม่ โปลโิ อไข้สมองอักเสบ ไข้พิษสุนัข บา้ ไขร้ ากสาดใหญ่ แอนแทรก โรคทรคิ ิโนซสิ
ไขก้ าฬหลังแอ่น โรคคุดทะราดระยะติดตอ่ โรคเอดส์ (AIDS) หรือกล่มุ อาการภมู ิคมุ้ กันโรคเส่อื ม
ปัจจุบันโรคตดิ ตอ่ ทีเ่ ปน็ อนั ตรายหลายชนดิ ถกู ควบคุม และกำจดั ไปหมดแลว้ แต่อาการโรคไข้ทรพิษสว่ นโรคติดต่อ
ปัจจบุ นั โรคตดิ ตอ่ ทเ่ี ป็นอนั ตรายหลายชนดิ ถูกควบคุม และกำจัดไปหมดแล้ว เช่น โรคไข้ทรพิษ
สว่ นโรคติดต่อบางชนดิ ยงั คงพบอยู่บา้ ง แต่ลดความรุนแรงลง เช่น อหวิ าตกโรค แตก่ ็ยงั คงมโี รคตดิ ต่อหลายชนดิ
ปรากฏอยู่ และยังพบโรคตดิ ต่อชนดิ ใหม่เกิดขึ้นอยู่

อหิวาตกโรค (Cholera)
อหวิ าตกโรค แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ อหิวาตกโรคชนดิ แท้ เกดิ จากเชื้อแบคทีเรยี วบิ รโิ อคอดลอเร

ส่วนอิหวาตกโรคชนดิ เทยี มเกิดจากเช้ือแบคทเี รยี เอลเทอร์วิบรโิ อ ซง่ึ อยใู่ นอุจจาระหรืออาเจียนของผูป้ ่วยและ
แพรก่ ระจายอยู่ในอาหาร และน้ำดม่ื ได้โดยมแี มลงวนั เปน็ ตัวพาหะผู้ปว่ ยอหิวาตกโรค อาจไมม่ ีอาการ มอี าการ
อยา่ งอนื่ เชน่ ปวดทอ้ ง ท้องเสีย ทอ้ งรว่ ง วันละหลายหลายคร้ังแต่ 1 ถึง 2 วันกห็ ายเป็นปกติ หรอื ผ้ปู ว่ ยบางคน
อาจมีอาการรุนแรงมาก ถึงถ่ายอจุ จาระเหลว คลา้ ยนำ้ ซาวข้าวมีกลน่ิ คาว อาเจยี น ซึง่ การถา่ ยบ่อยทำให้รา่ งกาย
สญู เสยี นำ้ และเกลอื แร่จนเกิดอาการอ่อนเพลยี ชีพจรเตน้ เบาลงและเสยี ชีวติ ในทสี่ ุด

๕๒

การปอ้ งกนั ทำได้โดยการรับประทานอาหารท่ปี รงุ สกุ ใหม่ๆ รอ้ นๆ ใช้ชอ้ นกลาง และหม่ันล้างมือบ่อยๆ
ดม่ื และใช้นำ้ ท่สี ะอาด ทำลายขยะแหลง่ แพรเ่ ชอ้ื โรค และใชส้ ว้ มทถ่ี กู สขุ ลักษณะ จะชว่ ยลดความเส่ียงจากการ
ป่วยด้วยโรคดงั กล่าวได้

ไขห้ วดั และไข้หวดั ใหญ่ (influenza)
ไข้หวัด ไข้หวดั ใหญ่ เปน็ โรคทีเ่ กิดจากเชือ้ ไวรสั สามารถเกดิ ได้กบั ทุกคนทุกเพศทุกวยั และติดต่อกันง่าย
มากตลอดทงั้ ปีแตม่ ักเกิดในช่วงท่อี ากาศเปลีย่ นแปลง เช่น ฤดูฝนตอ่ กับฤดหู นาว
โรคตาแดง (Conjunctiva)
เป็นโรคตดิ ตอ่ ที่แพรร่ ะบาดได้เร็ว ผา่ นการสัมผัสสงิ่ ของเครื่องใชข้ องผปู้ ว่ ยตาแดง และมักระบาดในชว่ ง
หนา้ ฝนกับเด็กๆ ท้ังน้โี รคตาแดงไมเ่ ปน็ อนั ตรายถงึ ชีวิต แต่ต้องรีบรกั ษา
โรคไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal Meningitis)
เป็นโรคติดเชอื้ แบคทีเรยี เฉียบพลนั พืน้ ทท่ี ี่มีอุบตั กิ ารณข์ องโรคสงู ตดิ ตอ่ กนั หลายปี ได้แก่แอฟริกากลาง
แถบทะเลทรายสะฮารา สามารถแพร่จากคนสูค่ น ผา่ นละอองน้ำมกู นำ้ ลายจากปาก จมกู ของผทู้ ี่เป็นพาหะ ผู้ตดิ
เช้ือ แต่ยังไมม่ ีอาการป่วยแสดงออกมา
อาการของผเู้ ป็นไข้กาฬหลงั แอน่ จะปวดศรี ษะมาก ออ่ นเพลยี คลืน่ ไส้ อาเจียน เจ็บคอแขง็ ปวดเมอื่ ย
กล้ามเนือ้ ปวดข้อ มักมผี น่ื เลือดออกใต้ผิวหนังร่วมกับจ้ำเลือดขน้ึ ตามตัวแขนขาอาจมอี าการของเยือ่ หุ้มสมอง
อกั เสบรว่ มด้วย ในรายทเ่ี ปน็ รุนแรง ผปู้ ว่ ยซึมชัก และชอ็ กเสียชีวติ ไดภ้ ายใน 24 ชัว่ โมง หลงั เร่ิมมอี าการการ
ยืนยนั การวินจิ ฉยั โรคทำได้โดยการเจาะนำ้ ไขสนั หลงั ส่งตรวจหาเช้อื meningococcal
ไขส้ มองอักเสบ (Encephalitis)
โรคไข้สมองอักเสบ เกิดจากเช้อื ไวรสั หลายชนิด แต่ในประเทศไทยมักพบจากเชอื้ ไวรสั Japanese
encephalitis หรอื เรยี กว่าเจอี (JE) ทำให้เกดิ อนั ตรายถึงชีวิตได้ อัตราการป่วย ตาย อยู่ระหว่างร้อยละ 20-30
ผู้ป่วยสว่ นใหญ่ คือ เด็กอายุ ตั้งแต่ 5 - 10 ปี และพบโรคนไี้ ด้ทกุ ชมุ ในฤดฝู นในประเทศไทยพบโรคนี้ ในภาคเหนือ
มากกว่าภาคอ่ืนๆ
ผู้ตดิ เชือ้ ไขส้ มองอักเสบจะไม่แสดงอาการ โดยมีเพยี ง 1 ใน 300 ถงึ 500 คนเทา่ นัน้ ท่ีจะมีอาการ คือ
เป็นไข้ ปวดเมื่อย อ่อนเพลยี ต่อไปอาการปวดศีรษะจะมากขน้ึ อาเจยี น ง่วง ซึม จนไมร่ สู้ ึกตวั บางรายอาจมี
อาการเกร็งชกั กระตุกดว้ ย อาจมีอาการหายใจไม่สมำ่ เสมอ ในรายทเ่ี ป็นรนุ แรงมากจะถงึ แก่กรรมประมาณวนั ท่ี
7-9 ของโรค ถา้ พน้ ระยะนี้แลว้ จะผ่านเขา้ ระยะฟ้ืนตัว ระยะเวลาของโลกทง้ั หมดประมาณ 4 ถึง 7 สปั ดาห์ เม่อื
หายแล้วประมาณร้อยละ 60 ของผู้ปว่ ย จะมีความพิการเหลืออยู่ เชน่ อมั พาตแบบแขง็ เกร็งของแขนขา มี
พฤติกรรมเปลีย่ นแปลง มสี ติปัญญาเสื่อม ปจั จุบนั โรคไขส้ มองอักเสบยงั รักษาไม่ได้ แต่ป้องกันไดด้ ว้ ยการฉีดวคั ซีน
2 คร้ังหา่ งกัน 1 เดือนแลว้ ฉดี เพิม่ อกี 1 ครั้งหลงั จากฉดี เข็มท่ี 2 ได้ 1 ปี ควรจะเริม่ ให้วัคซนี นเี้ มื่ออายุ 1 ปีคร่งึ
พรอ้ มกบั การให้ Booster dose DTP และ OPV รวมท้ังหลีกเล่ยี งไม่ใหถ้ กู ยุงกดั อนั เป็นพาหะของโรค

๕๓

ไขเ้ หลือง (Yellow Fever)
ไขเ้ หลือง เปน็ โรคติดเช้อื ไวรสั ทีท่ ำให้เกดิ การระบาดใหญใ่ นทวีปแอฟริกา และอเมริกามาต้ังแต่ 400 ปี
กอ่ น คำว่าเหลืองมาจากอาการตัวเหลืองหรือดซี า่ น (Jaundice) ทมี่ ักพบในผูป้ ว่ ย และยังมีอาการไข้สูงร่วมกับชีพ
จรเตน้ ช้าผดิ ปกติ ปวดกล้ามเน้อื ร่วมกบั ปวดหลงั ปวดศีรษะหนาวส่ันเบ่ืออาหาร ระยะต่อมาจะมีเลอื ดออกจาก
ปาก จมกู ตา กระเพาะอาหาร ทำให้อาเจียน และถ่ายเปน็ เลอื ด จนถงึ ไตวาย มีปัสสาวะ และปัสสาวะไมอ่ อก
ครงึ่ หนง่ึ ของผปู้ ว่ ยระยะโลหติ เป็นพษิ จะเสยี ชวี ิตภายใน 10 ถงึ 14 วัน ท่เี หลอื จะหายเป็นปกตโิ ดยเร็ว และ
อวยั วะต่างๆไม่ถูกทำลาย
ไข้เหลอื ง มียงุ ลายเป็นพาหะนำโรค และไม่มที างรักษาจำเพาะ เน้นการรักษาตามอาการ และฉีดวัคซีน
เพอ่ื ป้องกนั โรค
ไขร้ ากสาดใหญ่ (Typhus)หรือไข้ไทฟัส (Typhus) เกดิ จากเชื้อแบคทเี รียกลุ่มริกเกต็ เซีย โดยมีแมลงปรสติ
เป็นพาหะ โรคไข้รากสาดใหญ่ มี 3 ชนิด คอื
1. ไข้รากสาดใหญ่ชนิดระบาด มักระบาดหลงั สงคราม หรือภยั พบิ ตั ิ จะมีอาการปวดศีรษะรุนแรง
มีผื่นตามลำตวั แขนขา ปวดกล้ามเน้อื ความดันโลหติ ตก ซึม ไวตอ่ แสง และเพอ้ ไข้สงู สามารถรักษาไดโ้ ดยให้ยา
ปฏิชีวนะ
2. ไข้รากสาดใหญ่ประจำถ่นิ ตดิ ต่อผา่ น หนู อาการปวดศรี ษะ เปน็ ไข้ หนาวสน่ั คลนื่ ไส้อาเจียน รักษาให้
หายได้ แต่ในผสู้ ูงอายุ หรือผู้มีภมู คิ ุ้มกนั บกพร่องอาจเสียชวี ิตได้
3. ไขร้ ากสาดใหญจ่ ากปา่ ละเมาะ เกิดจากเชอ้ื แบคทีเรยี มีไรอ่อนซึง่ พบมากตามป่าละเมาะเป็นพาหะ
ภาษาญป่ี ุ่นเรียกว่าโรค ชาบชู ิ
โรคไขเ้ ลือดออก (Acute Hemorrhagic Fever)
ไขเ้ ลือดออก เป็นโรคท่เี กิดจากยุงลายเป็นพาหะจึงมักระบาดในประเทศเขตร้อนช้นื โดยผปู้ ่วยจะมีไขส้ งู ถงึ
39 ถึง 45 องศาเซลเซียส หนา้ แดง มเี ลอื ดออก เป็นจุดตามตวั กบั ตบั โต อาจมีอาการปวดท้อง และช็อกได้ จึง
ตอ้ งรีบรักษาโดยเรว็ โดยการเฝา้ ระวังภาวะช็อก และเลือดออก
ตามมติคณะรัฐมนตรเี มื่อวนั ท่ี 28 พฤษภาคม 2556 ตามรายงานการประชุมทแี่ นบ โดยท่ีประชมุ เหน็ วา่
การดำเนนิ การควบคมุ โรคไขเ้ ลอื ดออก ในโรงเรยี นทั้งในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และมหาวทิ ยาลัย
จะสามารถลดความรนุ แรงของการระบาดของโรคไข้เลอื ดออกได้ สำหรบั กระทรวงศึกษาธิการ สามารถดำเนนิ
กิจกรรมท่ีเป็นประโยชน์ และสามารถดำเนนิ การได้เองในทุกสถานศึกษา ดังน้ี
1. ดำเนินการรณรงค์กำจัดยุงลายในสถานศกึ ษาพร้อมกัน ในวันท่ี 15 มิถุนายน 2556 (ASIAN
DENGUE DAY)
2. ขอใหส้ ถานศึกษาจดั กิจกรรมรณรงค์ ปรบั ปรงุ ส่งิ แวดลอ้ ม และกำจดั แหล่งเพาะพนั ธ์ุ ลกู น้ำ
ให้สถานศกึ ษาเป็นเขตปลอดลูกน้ำ
3. จดั กจิ กรรมให้นักเรยี นสำรวจ และกำจดั ลกู น้ำ ในโรงเรยี นทุกวันศกุ ร์

๕๔

4. ขอให้ครอู าจารย์ มอบหมายให้นักเรยี นทำการกำจดั ลูกน้ำในบา้ นทกุ สปั ดาห์
5. ขอให้มกี จิ กรรมให้ความรู้ เร่ืองไข้เลอื ดออก หนา้ เสาธง โดยขอรับการสนบั สนุนวทิ ยากรจากหน่วยงาน
สาธารณสุข หรอื พฒั นาวิทยากร จากบุคลากรของโรงเรยี นเอง
6. ขอให้นกั เรียน คัดเลือกประเด็นปัญหาไข้เลือดออกในการดำเนนิ งานบรรลผุ ล โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
7. ขอให้มกี ารเฝา้ ระวงั นักเรยี นทม่ี ีไข้ หากสงสัยเป็นโรคไข้เลือดออก แนะนำให้ไปพบแพทย์
คอตบี (Diphtheria)
โรคคอตีบ หรอื ดิพทเี รยี เปน็ โรคตดิ เชื้อเฉยี บพลนั ของระบบทางเดินหายใจ เกิดจากเช้อื แบคทีเรียซง่ึ ทำให้
เกิดการอกั เสบ มีแผ่นเยื่อเกิดขึ้นในลำคอ ในรายทร่ี นุ แรง จะมกี ารตีบตนั ของทางเดนิ หายใจ จึงได้ช่ือว่าโรคคอตบี
และอาจทำใหถ้ ึงตายได้ นอกจากนี้ จากพิษ (exotoxin) ของเช้ือจะทำให้มีอันตรายต่อกลา้ มเน้อื หัวใจ และ
เส้นประสาทสว่ นปลาย
อาการโรคคอตบี คอื จะเริม่ จากมีไข้ต่ำๆ คล้ายหวดั มอี าการไอ เสยี งกอ้ ง เจ็บคอ เบ่ืออาหาร ใน เดก็ โต
อาจจะบน่ เจ็บคอคล้ายกับคออักเสบ บางรายอาจจะพบต่อมน้ำเหลืองท่ีคอโตด้วย เมื่อตรวจดใู นคอ พบแผ่นเยื่อ
สีขาวปนเทาติดแนน่ อยู่บริเวณทอนซิล และบรเิ วณลิ้นปี่
คอตบี สามารถติดต่อกนั ง่าย ผ่านการไอ จาม ลดการพดู คยุ ระยะใกล้ชิด รวมท้ังการใช้ภาชนะร่วมกนั ส่วน
ใหญม่ กั พบผปู้ ่วยโรคคอตบี ในชมุ ชนแออดั หรือในชนบทท่ีไม่ได้รับวัคซนี ในประเทศไทยมักพบผ้ตู ิดเชอ้ื คอตดิ เป็น
เดก็ อายุ 1 - 6 ปี
ทรคิ ซิ สิ (Trichinosis)
โรคทริคิโนซสิ หรอื โรคทริคเิ นลโลวิส เปน็ โรคพยาธทิ ต่ี ิดตอ่ ถงึ คนโดยการบริโภคเน้อื สัตวด์ บิ หรือสกุ ๆ
ดบิ ๆ ในประเทศไทย พบการระบาดในผู้ใหญ่มากกว่าเดก็ โดยการบรโิ ภคเนื้อสกุ ร และสัตวป์ ่าอ่ืนๆ เขา้ ไป อาการ
ท่สี ำคัญของผ้ปู ่วย คอื ปวดกลา้ มเนื้อ หนังตาบนบวม ตาแดงอกั เสบ มีไขห้ นาวสั่นอ่อนเพลยี มาก ผู้ป่วยมักปว่ ยอยู่
นานหลายเดอื น หรืออาจเป็นทุนแรงจนถงึ ชวี ติ ได้ การป้องกนั คือรบั ประทานอาหารทปี่ รุงใหส้ ุกแลว้
บาดทะยกั (Tetannus)
เปน็ โรคตดิ เชื้อท่จี ัดอยู่ในกลมุ่ ของโรคทางประสาท และกล้ามเนอื้ เกิดจากเชอ้ื แบคทีเรยี Clostidium
tetani ซ่งึ ผลติ exotoxin ทีม่ ีพิษต่อเส้นประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเน้ือ เมอื่ เชื้อเขา้ ไปทางบาดแผลจะ
ทำใหม้ กี ารหดเกรง็ ตวั อยตู่ ลอดเวลา ผทู้ เ่ี ป็นบาดทะยักกล้ามเนอ้ื ขากรรไกรจะเกร็ง ทำให้อา้ ปากไม่ไดโ้ รคนี้จงึ มชี ่ือ
เรียกอีกชื่อหน่ึงวา่ โรคขากรรไกรแขง็ (Lockjaw) จากนน้ั ผู้ปว่ ยจะคอแขง็ หลงั แขง็ ตอ่ ไปจะมีอาการเกรง็ ของ
กล้ามเนือ้ ทั่วตัวทำให้ชกั ได้ การปอ้ งกันคอื ให้วคั ซนี ป้องกนั บาดทะยัก ตั้งแตเ่ ด็กและเมื่อมบี าดแผลตอ้ งทำให้
สะอาดทนั ที โดยการฟอกด้วยสบู่ ล้างด้วยน้ำสะอาด เชด็ ด้วยยาฆา่ เชื้อและแอลกอฮอล์ 70% หรือทิงเจอร์ใสแ่ ผล
สด พรอ้ มทั้งใหย้ ารักษาอาการติดเชือ้ ทนั ที

๕๕

โปลิโอ (Poliomylitis)
เปน็ โรคท่เี กิดจากเช้ือไวรัส ทำให้เกดิ การอักเสบของไขสันหลงั สง่ ผลให้เปน็ อัมพาตชว่ งกลา้ มเนอื้ แขนและ
ขา ในรายท่ีอาการรนุ แรงจะส่งผลใหพ้ ิการตลอดชีวิต และอาจถงึ ขั้นเสียชวี ติ ได้อาการทเ่ี กิดจากการติดเช้ือไวรัส
โปลโิ อ แตกต่างกนั ได้มากประมาณร้อยละ 90 จะไม่มีอาการแสดงใด ๆ ประมาณร้อยละ 4 - 8 จะมีอาการไม่
รุนแรง ไม่มีอมั พาต และประมาณร้อยละ 1 จะมีอาการเย่ือหุ้มสมองอักเสบ ไมม่ อี ัมพาต โดยประมาณร้อยละ 1-2
เท่านน้ั ที่จะมอี าการอมั พาตเกิดขน้ึ การป้องกนั โปลิโองา่ ยที่สุด คอื การให้วัคซนี OPV ต้ังแตเ่ ดก็ รวมท้งั ป้องกนั
การติดเชอื้ และการแพร่กระจายของเชื้อโปลโิ อด้วย การรบั ประทานอาหารและด่ืมนำ้ สะอาดถูกสุขลักษณะ รวมทัง้
การถ่ายอุจจาระลงส้วมที่ถกู สุขลักษณะทุกครั้ง
โรคพษิ สุนขั บา้ (Rabies)
โรคพิษสุนขั บ้าเป็นโรคตดิ ต่อจากสตั ว์มาสู่คนท่ีมคี วามรนุ แรงมาก โดยผู้ป่วยที่รับพิษสนุ ัขบา้ จากทาง
บาดแผลทส่ี ัตว์กัดหรอื ข่วน ไม่ว่าจะมาจากสุนัข แมว สนุ ัขจิง้ จอก พังพอน และสัตวเ์ ลีย้ งลูกดว้ ยนมอนื่ ๆ จะมีไข้
ปวดเม่ือยตามเนือ้ ตวั คนั หรือปวดบรเิ วณรอยแผลท่ถี ูกสตั ว์กัด ต่อมาจะหงดุ หงดิ ต่ืนเต้นไวตอ่ สิง่ เร้า แสง เสียง ลม
มา่ นตาขยายนำ้ ลายไหลมาก กล้ามเน้ือคอกระตุกเกร็ง ขณะทีผ่ ูป้ ่วยพยายามกลืนอาหารหรือน้ำ จะทำให้เกดิ อาการ
กลัวน้ำเพ้อคลัง่ สลับกับอาการสงบชัดผู้ป่วยบางราย อาจแสดงอาการแบบอัมพาต โดยมีอาการแขนขาอ่อนแรง
กรณีไมไ่ ด้รบั การรกั ษาประคับประคองมักปว่ ยอย่ปู ระมาณ 2 ถงึ 6 วนั และเสยี ชวี ติ เนือ่ งจากสภาพของกลา้ มเน้ือ
ระบบทางเดนิ หายใจ หากใครถูกสุนัขกัดหรือข่วน ตอ้ งล้างบาดแผลด้วยสบู่และนำ้ สะอาดให้ลกึ ถงึ กน้ แผล และใช้ยา
รักษาแผลสดเพ่ือกำจัดเช้ือไวรัสที่แพร่โดยเรว็ แล้วไปพบแพทย์พรอ้ มท้ังตดิ ตามดูอาการสกั พิกดั เพ่ือเฝ้าระวงั โรคพิษ
สนุ ขั บา้
โรคมือ เท้า ปาก (Hand foot mouth disease)
โรคมอื ปาก เท้า เกิดจากเชอื้ ไวรสั ลำไส้หรือเอนเทอโรไวรสั หลายชนดิ พบไดบ้ ่อยในกลุม่ เดก็ ทารกและ
เดก็ เลก็ อายตุ ่ำกว่า 5 ปี เป็นโรคเกิดประปรายตลอดปี แตจ่ ะเพิ่มมากขนึ้ ในหนา้ ฝนซึ่งอากาศมักเย็นและชืน้
โดยทว่ั ไปโลกนีม้ ีอาการไมร่ นุ แรง แต่ตดิ ต่อกันได้ผา่ นเขา้ สู่ปากโดยตรง ซึง่ มาจากการสมั ผสั สง่ิ ของทมี่ ีเชื้อไวรสั ติด
และไอจามรดกนั ผู้ป่วยจะมีไข้ตำ่ ๆ อ่อนเพลียมาอีก 1-2 วัน มีเจ็บปาก และไมย่ อมทานอาหารเนือ่ งจากมตี ่มุ แดง
ที่ลิ้น เหงือก และกระพุ้งแก้ม ตุ่มนจ้ี ะกลายเป็นตมุ่ พองใสซงึ่ บริเวณรอบ ๆ จะอักเสบและแดง ต่อมาถงึ จะแตก
ออกเปน็ แผลหลมุ ตืน้ ๆ จะพบต่มุ หรือผืน่ ไมค่ นั ที่ฝ่ามือ นิว้ มือ ฝา่ เทา้ และอาจพบท่ีกน้ ด้วย อาการจะทุเลาและ
หายเปน็ ปกติภายใน 7-10 วนั การรกั ษาทำได้ตามอาการ เพราะไมม่ วี คั ซีนปอ้ งกนั โดยตรง และควรรกั ษาความ
สะอาดลา้ งมือบ่อย ๆ หลกี เล่ียงการใช้สิ่งของรว่ มกัน

๕๖

เลปโตสไปโรซสิ (Leptos) หรือโรคฉห่ี นู
พบได้ทวั่ โลกยกเวน้ ขว้ั โลก ผู้ป่วยมักเปน็ คนที่ประกอบอาชีพเกษตรกร คนเล้ียงสัตว์ รวมทง้ั ผทู้ ่ชี อบเดินป่า
ทอ่ งเทีย่ วแม่นำ้ น้ำตก และผู้ท่ีมีประวตั แิ ช่ในน้ำทว่ มขัง โดยโรคฉ่หี นเู กดิ จากเช้ือแบคทเี รยี ชอื่ (Leptospira) มสี ัตว์
เป็นพาหนะเช่น หนู สุกรโคกระบอื สุนัข แรคคูน
เชือ้ โรคสามารถเขา้ สูร่ ่างกายทางผิวหนังทม่ี แี ผล หรือรอยขดี ข่วน รวมทัง้ ผิวหนังทเ่ี ป่ือย เน่ืองจากแช่อยู่ใน
นำ้ นานๆ และเย่ือบทุ ี่ออ่ นนุ่ม เชน่ ตา จมกู ปาก โดยมกั พบเช้อื ในน้ำ ดินทรายเปยี กช้นื หรือผกั ทป่ี นเป้ือนของ
สารพิษตดิ เช้อื ผู้ปว่ ยจะมีอาการไข้สูงปวดศรี ษะกล้ามเนื้อมาก อาจพบอาการคอแข็ง ความดันโลหิตต่ำ ผนื่ แดง
ต่อมน้ำเหลืองโต ตบั ม้ามโต
การป้องกนั โรคฉี่หนู ทำได้โดยหลีกเลีย่ งการแชน่ ้ำหรือลยุ น้ำ ถา้ จำเป็นควรสวมรองเท้าบูท ถุงมือยาง
นอกจากน้ยี งั ควรกำจัดหนใู นท่อี ยู่อาศัยของคน ฉดี วคั ซีนป้องกันโรคแก่ปศุสัตว์ เช่น โคกระบอื และสตั วเ์ ล้ยี ง เช่น
สนุ ัข จะช่วยป้องกันโรคได้

4. ดา้ นโรคตดิ เชอ้ื อบุ ตั ใิ หมแ่ ละโรคติดตอ่ อุบตั ิซำ้
โรคตดิ เชื้ออุบตั ิใหม่ (Emerging Infectious Diseases) หมายถึง โรคตดิ เชื้อชนิดใหมท่ ่ีมีรายงานผู้ป่วย

เพ่มิ ขน้ึ ในระยะประมาณ 20 ปีท่ีผา่ นมา หรือโรคติดเชื้อท่ีมีแนวโนม้ ทพ่ี บมากขึน้ ในอนาคตอนั ใกล้ รวมไปถึงโรคที่
เกิดข้นึ ใหม่ในท่ใี ดทหี่ น่ึง หรือโรคทีเ่ พิ่งจะแพร่ระบาดเข้าไปสอู่ ีกที่หนึ่ง และยงั รวมถึงโรคติดเชอ้ื ทเ่ี คยควบคุมได้
ด้วยยาปฏิชีวนะ แต่เกิดการดื้อยา มโี รคตดิ ต่ออุบตั ิใหม่ทส่ี ำคญั 5 โรค ได้แก่ โรคไขห้ วัดนก โรคมือ เท้า ปาก โรค
ไขห้ วัดใหญ่ โรคลเี จยี นแนร์ และโรคเมลอิ อยโดสิส ตัวอย่างโรคตดิ เชือ้ อุบัติใหม่ เช่น โรคเอดส์ ไข้หวัดใหญ่ หรือ
ไข้หวัดนก และวัณโรค ด้ือยา เป็นตน้

โรคติดเชอ้ื อบุ ัติซำ้ (Re-emerging Infectious Diseases) หมายถงึ โรคติดเชอ้ื ท่เี คยแพร่ระบาดในอดตี
และสงบไปแล้วเป็นเวลานานหลายปี แต่กลับมาระบาดขึ้นอกี ตวั อย่างโรคตดิ เช้อื อุบัติซ้ำ เชน่ วณั โรค ไข้เลอื ดออก
และมาลาเรยี เป็นต้น

องค์การอนามัยโลกได้ให้นยิ ามโรคติดต่ออบุ ตั ิใหม่ว่า เปน็ โรคตดิ ตอ่ ที่มีอบุ ตั ิการณใ์ นมนุษย์เพิ่มสูงข้ึนมาก
ในชว่ งท่ีเพง่ิ ผา่ นมา หรือมีแนวโน้มความเส่ียงท่ีเพิ่มขน้ึ ในอนาคตอันใกล้ ซ่ึงหมายความรวมถึงกลมุ่ โรค 5 กลุม่
ดว้ ยกัน คอื

1.โรคติดต่อทีเ่ กิดจากเชือ้ ใหม่ (new infectious diseases)
2 โรคติดต่อที่พบในพืน้ ทใ่ี หม่ (new geographical areas) เปน็ โรคท่มี าจากประเทศหน่ึง ไปอีกประเทศ
หน่งึ หรอื ขา้ มทวีป เช่น โรคซารส์
3. โรคตดิ ตอ่ อบุ ัตซิ ำ้ (Re-emerging infectious diseases) คอื โรคติดต่อทเ่ี คยระบาดในอดตี และสงบไป
นานแล้วแต่กลบั มาระบาดอกี เช่น กาฬโรค
4. เชอ้ื โรคดือ้ ยา (Antimicroial organism)

๕๗

5. อาวุธชีวภาพ (Deliberate use of bio-weapons) โดยใช้เช้อื โรคหลายชนดิ ผลิตเป็นอาวุธ เช่น เช้อื
แอนแทรกซ์ ไข้ทรพษิ

สาเหตุที่ทำให้เกดิ โรคตดิ เชือ้ อุบัติใหมแ่ ละโรคตดิ เช้ืออบุ ตั ิซ้ำ ไดแ้ ก่
1. การเปล่ยี นแปลงวถิ กี ารดำรงชวี ติ เช่น การท่ีผปู้ กครองนำบุตรไปฝากเลี้ยงท่สี ถานรับเลี้ยงเด็ก

ทมี่ ีเด็กอย่รู ว่ มกันเป็นจำนวนมาก ถ้าสถานรับเลี้ยงเดก็ จัดสถานที่และอาหารไม่สะอาด ไม่ถกู สุขลักษณะ หรือดูแล
เด็กไม่ดี อาจเกดิ โรคอจุ จาระร่วงและโรคตดิ เชื้อระบบทางเดินหายใจ

2. การรับประทานอาหารสุก ๆ ดบิ ๆ อาหารดิบ หรอื อาหารกระป๋องทำให้เกิดโรคอาหารเป็นพษิ
3. การมีเพศสัมพนั ธโ์ ดยไม่ป้องกัน การมีเพศสัมพนั ธ์ต้ังแต่อายุนอ้ ย ทำใหเ้ กิดการระบาดของโรค
เอดส์ และโรคตดิ ต่อทางเพศสัมพันธ์
3. การใชย้ าเสพตดิ โดยการใช้เข็มฉีดยารว่ มกนั ทำใหเ้ กดิ การระบาดของโรคเอดส์ และไวรสั ตบั
อกั เสบ
4. ความกา้ วหน้าในการรกั ษาโรคตา่ ง ๆ เชน่ การเปล่ยี นอวัยวะ ไดร้ ับยาสเตยี รอยด์ หรอื เคมี
บำบัด ทำให้เกิดการตดิ เชื้อได้งา่ ย
การปอ้ งกัน
ทุกคนสามารถท่จี ะป้องกันตนเองจากภาวะเจ็บป่วยได้ ดว้ ยการรกั ษาร่างกายใหแ้ ข็งแรง เพ่อื ใหเ้ กิดภมู ิ
ต้านทานโรค โดยการรบั ประทานอาหารทม่ี ปี ระโยชน์ การออกกำลงั กายการพักผอ่ น และผอ่ นคลายความเครยี ด
การบริหารจติ งดส่ิงเสพติด และพฤติกรรมเสยี่ งต่าง ๆ งดบุหรี่ มีสขุ ภาพอนามยั ท่ีดี รักษาส่งิ แวดล้อม ติดตาม
ข่าวสารตา่ ง ๆ เพ่ือรบั รู้ความเป็นไปของโลก เปน็ ต้น
5. ด้านความผดิ ปกตจิ ากพฤติกรรมของนกั เรยี น
บคุ คลท่ีมปี ัญหาทางพฤติกรรมและอารมณ์ หมายถงึ บุคคลทมี่ อี ารมณแ์ ละพฤตกิ รรมเบ่ียงเบนไปจากปกติ
เปน็ อยา่ งมาก และปญั หาทางพฤติกรรมนนั้ เปน็ ไปอยา่ งต่อเนอื่ ง ไม่เป็นที่ยอมรบั ทางสังคม ส่งผลกระทบต่อการ
เรยี นร้ขู องเด็กและผูอ้ ่นื เกดิ จากความขัดแย้งของเดก็ กบั สภาพแวดลอ้ ม หรือความขัดแยง้ ทเ่ี กิดข้นึ ในตัวเดก็ เองและ
สมั พันธภาพกบั เพ่ือนหรือผู้อื่น หรือเกี่ยวกบั สภาวะทางอารมณ์ จะแสดงออกทางร่างกาย ซง่ึ แบ่งออกเป็น 4 กลมุ่
1. กลุ่มความประพฤติผิดปกติ มลี กั ษณะก้าวร้าว ทำร้ายผ้อู ่ืน ตอ่ ต้าน เสยี งดัง พดู หยาบคาย
2. กลมุ่ บุคคลผิดปกติ ชอบเก็บตัว ขาดความม่ันใจ กดั เลบ็ เงยี บเฉย ไม่พดู มองโลกในแง่รา้ ย
3. กลมุ่ ขาดวุฒภิ าวะมพี ฤตกิ รรมไม่เหมาะสมกับวยั ไม่มสี มาธิ ไมส่ นใจสงิ่ รอบตวั งมุ่ งา่ ม เฉยชา สกปรก
และขาดความรบั ผิดชอบ
4. กลุ่มทม่ี ีปญั หาทางสังคม ชอบหนีโรงเรยี น หนีออกจากบ้าน เพราะเพื่อนไม่ดี ตอ่ ต้านผู้มีอำนาจ ชอบ
เทยี่ วกลางคนื

๕๘

เกณฑ์การตัดสิน
• เด็กท่แี สดงพฤติกรรมทางอารมณท์ ่ีเบีย่ งเบนไปจากเด็กทว่ั ไป ในวัยเดยี วกันถึงแม้ว่าจะได้รับ
บรกิ ารแนะแนว และบริการให้คำปรึกษาแล้วกต็ าม ก็ยังมีปัญหาทางอารมณ์อยใู่ นลักษณะเดิม
• การประเมนิ ผลทางจติ วทิ ยา และการสังเกตอยา่ งมีระบบ ระบุว่าเด็กมีปญั หาในทางพฤติกรรมมา
เป็นระยะเวลาอันยาวนาน
• มพี ฤติกรรมที่เป็นอุปสรรคต่อการเรยี นของตน การอ่านการเขียนคณิตศาสตร์ พัฒนาการทาง
สงั คม พฒั นาการทางภาษา และการควบคุมพฤติกรรมของตนเอง
• มีหลักฐานอน่ื ยนื ยนั ว่า ปญั หาของนักเรยี นไมไ่ ด้เกดิ จากความบกพร่องทางรา่ งกาย การรับรู้ และ
สติปัญญา
• ลกั ษณะของเด็กที่มปี ัญหาทางพฤติกรรม
• กา้ วรา้ วก่อกวน
• การเคลอื่ นไหวท่ผี ิดปกติ
• การปรับตวั ทางสังคม เชน่ แก๊งอันธพาล การหนโี รงเรียน
• การทำลายสาธารณสมบัติ
• การลกั ขโมย การประทุษร้ายทางเพศ

เทคนคิ การสอนเดก็ ท่มี คี วามบกพรอ่ งทางพฤตกิ รรมและอารมณ์
1. นักเรยี นทะเลาะวิวาทหรือชกตอ่ ยกนั ครจู ะต้องจบั แยกออกจากกันทันที หลังจากนน้ั ครใู ห้นักเรยี น

ศึกษาแบบอย่างพฤตกิ รรมท่ีถูกต้องจากที่อืน่ ๆ แลว้ ให้ปฏบิ ตั ิตามแบบอย่างนัน้
2. ถ้าเดก็ ปรบั ตัวในทางถดถอย ชอบอยู่คนเดยี ว ไม่รว่ มกิจกรรมกับเพอื่ น ครอู าจสั่งให้เด็กเขา้ ร่วม

กิจกรรม หรอื ส่งเดก็ ไปให้ครูแนะแนว หรืออาจใหเ้ พื่อนนกั เรยี นในห้องเดยี วกนั เขียนสว่ นดีของเด็กคนน้ันลงใน
กระดาษ แลว้ ใหน้ กั เรียนอา่ นขอ้ ความนั้นใหน้ ักเรยี นทั้งหอ้ งฟงั เพ่ือใหเ้ ด็กร้สู ึกช่นื ชมตัวเอง และมีแรงในภายในท่ี
จะพัฒนาตนเองต่อไป

3. ครูควรนำวธิ ปี รับพฤติกรรมมาใช้อย่างเปน็ ระบบ

๕๙

มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาจากสัตวแ์ ละแมลงมีพิษ
แผนการป้องกนั ดา้ นสตั วม์ ีพิษ
การจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาใหม้ คี วามปลอดภัย จากการได้รับอนั ตรายจากสตั ว์มีพษิ กดั ต่อย ถือ

ได้วา่ เป็นเหตกุ ารณท์ ี่เกดิ ข้นึ ได้ทกุ ที่ ไม่ว่าจะเป็นบรเิ วณส่วนต่าง ๆ ของสถานศึกษา สิง่ ที่ตามมาอาจส่งผลกระทบ
ตอ่ สภาพร่างกาย การเจรญิ เติบโต การเรียนรู้ และพฒั นาการดา้ นต่าง ๆ จึงต้องใหค้ วามสำคัญและตระหนักใน
เรื่อง ความปลอดภยั จากสตั ว์มีพิษ

1. จดั สภาพแวดล้อมให้สะอาดร่มรื่น ตดั แตง่ กิ่งไม้ กำจดั แหล่งทอ่ี ยู่อาศยั ของสตั วม์ ีพษิ
เพื่อให้มคี วปลอดภัยแกน่ กั เรียน

2. ใหค้ วามรแู้ ก่ครู บคุ ลากร และนักเรียน เกี่ยวกบั สัตว์มีพิษ ตลอดจนวิธีการปอ้ งกัน และปฐมพยาบาล
เบื้องต้น กรณไี ด้รบั พษิ

3. จัดทำปา้ ยเตอื นภยั จากสตั วม์ พี ิษ ในบริเวณที่เป็นจดุ เส่ียง เชน่ บรเิ วณร้ัวโรงเรียน ต้นไมใ้ หญ่ ซึ่งมักจะ
เป็นที่อยู่อาศยั ของสัตวม์ ีพิษ เป็นตน้

4. ประสานกับหน่วยงานท่เี กี่ยวขอ้ ง ในการกำจดั แหล่งเพาะพนั ธุ์ และเคล่อื นย้ายสัตว์มีพษิ เชน่ การ
กำจดั แหล่งเพาะพนั ธุ์ยงุ

5. จดั เตรียมอปุ กรณ์และเวชภณั ฑใ์ นการปฐมพยาบาล กรณที ่ไี ดร้ บั พษิ จากสัตวม์ ีพษิ
6. จัดทำแผนฉกุ เฉินและการฝึกซ้อม โดยการรว่ มมือกับหน่วยงานทเี่ กย่ี วข้อง เชน่ โรงพยาบาลใกล้เคยี ง
หนว่ ยกู้ภยั ต่าง ๆ เปน็ ตน้

มาตรการปอ้ งกนั และแก้ไขดา้ นผลกระทบจากการสูร้ บและความไมส่ งบ
1. แตง่ ตัง้ ผู้รบั ผดิ ชอบ ตดิ ตอ่ ส่วนราชการทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการสู้รบและความไม่สงบ
2. กำหนดแผนฉุกเฉินเพอ่ื ให้ครู บุคลากร และนักเรยี นทราบ
3. ซกั ซอ้ มการอพยพ จดั ทำหลุมหลบภัย และจดั หาทพ่ี ักพิงชัว่ คราว ในกรณเี กิดการสรู้ บและความไมส่ งบ
4. ประสานความร่วมมอื กับหน่วยงานด้านความมน่ั คง อาสาสมคั ร องคก์ รสาธารณกศุ ล เพื่อให้ความ

ช่วยเหลือในกรณเี กิดการสรู้ บและความไมส่ งบ การอพยพ และจัดหาเคร่ืองอุปโภคและบรโิ ภค เปน็ ตน้
5. รายงานใหห้ นว่ ยงานต้นสงั กดั ทราบ เมื่อเกิดเหตกุ ารสู้รบและความไม่สงบ

การควบคุมกำกบั ตดิ ตามและรายงาน
แผนฉุกเฉินสำหรับสถานศกึ ษา

แผนฉกุ เฉนิ คือ อบุ ัตเิ หตุอบุ ัติภยั หรอื ภยั ทางสังคมทีอ่ าจเกิดข้นึ โดยไม่คาดคิดมาก่อน ส่งผลกระทบทำให้
เกิดความเสียหายทง้ั ทางตรงและทางออ้ มแก่ชวี ิต ร่างกาย จติ ใจ และทำให้ทรัพยส์ ินเสียหาย

แผนฉกุ เฉนิ ของโรงเรียน หมายถงึ แผนตอบโต้เหตฉุ ุกเฉนิ ท่ีอาจเกิดข้นึ ในโรงเรียน เชน่ การตอบโต้เหตุ
เพลงิ ไหม้ การตอบโต้เหตนุ ้ำท่วม การตอบโต้เหตุแกส๊ รว่ั การตอบโต้เหตขุ กู่ รรโชก การตอบโตเ้ หตุแผน่ ดินไหว การ
ตอบโต้เหตเุ มื่อมผี ู้บุกรุกเขา้ มาภายในสถานศึกษา การตอบโต้เหตุผบู้ กุ รกุ อยู่ในอาคาร การตอบโตเ้ หตผุ ู้บกุ รุกอยู่

๖๐

นอกอาคาร การตอบโตเ้ หตุทำร้ายร่างกาย การตอบโตเ้ หตุนกั เรยี นหาย การตอบโตเ้ หตุนักเรยี นเสยี ชีวิตในโรงเรยี น
เปน็ ตน้

การจดั ทำแผนฉุกเฉิน เปน็ การเตรยี มการเพอื่ รบั มือกบั สถานการณ์ฉุกเฉินทเ่ี กดิ ขน้ึ ในโรงเรียน ทง้ั นี้
กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดใหส้ ถานศึกษานำยุทธศาสตร์ 4R ใชใ้ นการจัดทำแผนตอบโต้เหตุฉุกเฉนิ โดยมี
สาระสำคัญดังน้ี

• ลด Reduction จดั ใหม้ ีการป้องกันเตรยี มการ

• พร้อม Readiness จัดใหม้ กี ารฝึกความพร้อม

• ตอบโต้ Retaliate ใหร้ ถู้ งึ วธิ กี ารตอบโต้เหตุฉกุ เฉนิ ตา่ ง ๆ

• ฟน้ื ฟู Response ตรวจสอบทำตามแผนท่วี างไว้หลังจากเกิดเหตุการณ์ให้ทกุ คนมีสว่ นร่วม
แผนฉกุ เฉนิ ของโรงเรยี นประกอบด้วย 3 ส่วนคือ

สว่ นท่ี 1 การป้องกนั เตรยี มการ (Reduction) ดำเนนิ การดังนี้
1) จดั ทำแผนภมู แิ ละแผนผังพนื้ ท่ีของโรงเรียน
2) จัดทำรายชอ่ื ผมู้ หี นา้ ท่ีรบั ผิดชอบ เมอื่ เกดิ เหตุฉุกเฉนิ พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ท่ีตดิ ต่อ
3) จัดทำรายชื่อจำนวนนกั เรียน และผทู้ ี่ต้องดูแลเป็นพเิ ศษ เช่น เด็กพกิ าร
4) จัดทำรายชื่อหน่วยงานท่ีขอรับความช่วยเหลอื เช่น สถานตี ำรวจท้องที่ หนว่ ยพยาบาล หนว่ ยดบั เพลงิ
ท้องที่ เป็นต้น
สว่ นที่ 2 การจัดทำแผนฉุกเฉินและฝกึ ซ้อม (Readiness และ Retaliate) ดำเนินการดงั น้ี
1) จัดทำแผนฉกุ เฉินตามความเหมาะสมของโรงเรยี น พร้อมทั้งการบนั ทึกเหตุท่ีเกดิ ขน้ึ เชน่ การตอบโต้
เหตุเพลิงไหม้ การตอบโตเ้ หตุน้ำทว่ ม การตอบโตเ้ หตุแก๊สร่ัว การตอบโต้เหตุขู่กรรโชก การตอบโตเ้ หตแุ ผ่นดินไหว
การตอบโต้เหตุเมื่อมีผู้บกุ รกุ เขา้ มาภายในสถานศึกษา การตอบโต้เหตผุ ้บู กุ รุกอยู่ในอาคาร การตอบโต้เหตผุ ูบ้ กุ รุก
อย่นู อกอาคาร การตอบโตเ้ หตุทำร้ายร่างกาย การตอบโต้เหตุนักเรียนหาย การตอบโต้เหตุนกั เรียนเสียชวี ติ ใน
สถานศกึ ษา เปน็ ต้น
2) การจัดใหม้ ีการฝึกซ้อมเหตกุ ารณ์ตามแผนฉุกเฉนิ อย่างนอ้ ยปลี ะ 1 คร้ัง เพ่ือให้นักเรียนได้เขา้ ใจถงึ
ข้นั ตอน และวธิ ีการในการตอบโต้เหตุฉกุ เฉินตา่ ง ๆ โดยอาจจะประสานขอความร่วมมอื กับหนว่ ยงานภาครัฐต่าง ๆ
เช่น สถานีตำรวจท้องท่ี ในการฝึกซอ้ มอพยพหนีไฟ เปน็ ตน้
ส่วนที่ 3 การตรวจสอบและฟ้นื ฟภู ายหลงั การเกิดเหตุ (Recovery) ดำเนนิ การดังน้ี
1) ตรวจนบั จำนวนนกั เรยี นและผู้ท่ีตอ้ งดูแลเปน็ พิเศษ เช่น เด็กพิการวา่ มีจำนวนครบถว้ นหรือไม่ พร้อม
ทงั้ บนั ทึกจำนวน
2) ดำเนนิ การเรอื่ งการปฐมพยาบาลกบั ผทู้ ีไ่ ด้รับบาดเจ็บ

๖๑

3) กรณบี ุคคลสูญหายให้ประสานแจง้ สถานตี ำรวจท้องที่ หรือหนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้อง เช่น สำนักงานเขต

ทอ้ งท่ี เป็นต้น

4) กรณีอาคารสถานที่ไดร้ บั ความเสียหายให้เสนอขออนุมตั ิงบประมาณปรับปรุงเพอ่ื ความปลอดภยั ของ

นกั เรียน

แผนฉุกเฉนิ จำแนกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้

เหตุฉุกเฉนิ ส่วนบุคคล Personal Emergency เหตุฉุกเฉนิ ทางกาย ภาพ Physical Emergency

การคกุ คามอย่างรนุ แรง สารเคมหี กร่ัวไหล

บุกรกุ โดยคนรา้ ยทีม่ อี าวุธ แผ่นดินไหว

การขู่วางระเบดิ เพลงิ ไหม้

การบุกรุก น้ำท่วม

เหตุฉุกเฉินทางการแพทย์ ไฟฟ้าดบั

เดก็ หาย พายฝุ นฟ้าคะนอง

หน้าท่ีและความรบั ผดิ ชอบของสถานศึกษาเก่ยี วกบั แผนฉกุ เฉิน ประกอบด้วย
1. หน้าทแี่ ละความรับผดิ ชอบของผู้บริหารสถานศกึ ษา
(1) จัดใหม้ แี ผนฉุกเฉินสำหรับสถานศึกษา โดยให้ครอบคลุมทุกเหตุการณ์ท่อี าจเกดิ ข้นึ โดยมี
ข้นั ตอนการแก้ไขสถานการณ์ที่ชัดเจน
(2 ) ใหค้ วามรูก้ ับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรยี น
(3) จัดใหม้ ีการฝึกซ้อมตามแผนฉุกเฉินท่ีกำหนดข้ึน
(4) ทำการปรบั ปรุงแก้ไขแผนฉกุ เฉนิ เป็นประจำทุกปี
(5) มกี ารทดสอบการปฏบิ ัตติ ามแผนฉกุ เฉนิ สมำ่ เสมอ
(6) ดำเนนิ การติดตอ่ ประสานงานกบั หนว่ ยงานสนับสนุนอ่ืน ๆ อย่างสม่ำเสมอ
2. หนา้ ทีแ่ ละความรับผิดชอบของครแู ละบุคลากร
(1) เขา้ ร่วมในการฝึกซ้อม
(2) ดำเนนิ การปรบั ปรุงแก้ไขแผนฉกุ เฉนิ เปน็ ประจำทุกปี ตามความเหมาะสม
(3) เป็นผ้นู ำนักเรียนขณะเกดิ เหตุฉุกเฉิน
(4) แนะนำแนวทางการแก้ไขปรบั ปรุงแผนฉุกเฉนิ ใหก้ บั ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา
(5) สนบั สนนุ แนะนำแนวทางในการพัฒนาแผนตอบโต้ แผนเหตุฉกุ เฉนิ และการฝึกอบรม
(6) พฒั นาประสานงานการเตรียมการฝึกอบรมให้กับเจา้ หน้าที่ต่าง ๆ
(7) ใหค้ วามรว่ มมือในการเตรียมแผนฉกุ เฉนิ
(8) จดั ใหม้ ีการฝกึ ซ้อมแผนฉุกเฉินทบทวนแก้ไขแผนเป็นประจำทุกปี

๖๒

(9) ตรวจสอบความพรอ้ มใชง้ านของอุปกรณ์ฉุกเฉิน และอุปกรณ์อืน่ ทีจ่ ำเปน็
(10) ให้ความร่วมมือประสานงานกับเจ้าหน้าทีภ่ าครฐั อนื่ ๆ
3. หน้าทแี่ ละความรับผิดชอบของเจ้าหนา้ ท่ีอืน่ ๆ
(1) สนับสนุนในการปฏิบตั ติ ามแผนฉกุ เฉนิ
(2) เข้าร่วมในการฝกึ อบรมและฝึกซอ้ มแผนฉุกเฉนิ ของโรงเรียน
(3) เปน็ ผ้นู ำนกั เรยี นขณะเกิดเหตุฉกุ เฉนิ
(4) ใหค้ วามรกู้ ับนักเรยี น ในการป้องกันดแู ลตนเองเมือ่ เกิดเหตแุ ละหลังเกิดเหตุ
(5) เขา้ รว่ มฝกึ อบรมในเรื่องการปฐมพยาบาล
(6) จัดให้มีการดูแล บำรงุ รกั ษาอปุ กรณ์เครื่องมอื อปุ กรณ์เปดิ ปิดน้ำและไฟ โทรศัพท์ตา่ ง ๆ ให้
อยู่ในสภาพพรอ้ มใชง้ าน

ขั้นตอนการคุ้มครองและชว่ ยเหลือนักเรยี นกรณีอืน่ ๆ
ภยั พบิ ตั ิ

– ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ภยั พบิ ตั ิ

ผอ.สพป.กส.1 ปฏบิ ตั ิตามแผน

แจง้ เหตุเร่งด่วน
โทรศพั ท์/หรอื โทร. 1669 ,

1680 , 191
ทมี ฉก.ชน.สพป.กส.1

เลขาธิการ กพฐ. ติดตามชว่ ยเหลือ

๖๓

ข้นั ตอนการคุ้มครองและชว่ ยเหลือนกั เรียนกรณีอน่ื ๆ
อบุ ัติเหตใุ นสถานศกึ ษา

เกดิ อบุ ตั เิ หตใุ นสถานศกึ ษา

การชว่ ยเหลือ การรายงานแจง้ ทนั ที
เจา้ หนา้ ท่/ี ครูผปู้ ระสบเหตุ
เจา้ หนา้ ท่/ี ครูผปู้ ระสบเหตุ
ปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
ผอ.สพป.กส.1
สง่ ต่อสถานพยาบาล
ไม่รุนแรง รุนแรง/เสียชวี ิต
ติดตามผลช่วยเหลอื เยยี วยา ศนุ ยค์ มุ้ ครองและชว่ ยเหลือเดก็ นกั เรยี น
นกั จติ วิทยาเขต/รร.ทีมสหวชิ าชพี /

หนว่ ยงานท่เี ก่ียวขอ้ ง

ตดิ ตาม/รวบรวม/รายงานผล เลขาธิการ กพฐ.

๖๔

ขน้ั ตอนการคุ้มครองและช่วยเหลอื นักเรียนกรณีอ่นื ๆ
อบุ ัติเหตนุ อกสถานศกึ ษา

ผอ.สพป.กส.1 ฉก.ชน.สพป.กส.1 ฉก.ชน.สพป

๖๕

ขนั้ ตอนการคุ้มครองและช่วยเหลือนักเรียนกรณอี ื่น ๆ
โรคติดตอ่ ในสถานศกึ ษา

ผอ.สพป.กส.1

๖๖

ขนั้ ตอนการค้มุ ครองและชว่ ยเหลอื นักเรียนกรณอี ื่น ๆ
ยาเสพติด

ผอ.สพป.

๖๗

ข้ันตอนการคุ้มครองและช่วยเหลือนกั เรียนกรณีอ่ืน ๆ
ต้ังครรภ์ในวยั เรยี น

ฉก.01
ส่งตรวจร่างกายสถานพยาบาล

๖๘

ขนั้ ตอนการคุ้มครองและชว่ ยเหลอื นักเรยี นกรณอี ืน่ ๆ
นกั เรยี นตดิ เกม/อินเตอรเ์ น็ต

ผอ.สพป.กส.1
ทีม ฉก.ชน.สพป.

๖๙

ข้ันตอนการคมุ้ ครองและชว่ ยเหลอื นกั เรยี นกรณีอ่ืน ๆ
นกั เรียนเลน่ พนนั

เขา้ สู่กระบวนการยตุ ิธรรม

ผอ.สพป.กส.1
ทีม ฉก.ชน.สพป.กส.1

๗๐

ข้ันตอนการคุ้มครองและช่วยเหลือนักเรียนกรณีอื่น ๆ
กลน่ั แกล้งรังแก (Bully)

ผอ.สพป.กส.1
ทีม ฉก.ชน.สพป.กส.1

๗๑

SAFETY SCHOOL S P

R Key man Safety KSS PARTNERS MODEL
for all
A
KSS
E School R
Safe Zone

NT

นวตั กรรมการดำเนินงานตามมาตรฐานความปลอดภยั
โรงเรยี นกาฬสินธพุ์ ทิ ยาสยั

รปู แบบนวัตกรรมการดำเนินงานตามมาตรฐานความปลอดภัย ตามแนวคิด KSS PARTNERS

Model ท่จี ะใช้ ในการดำเนนิ การด้านความปลอดภัยของโรงเรียนกาฬสนิ ธุพ์ ิทยาสยั โดยผา่ นวงจร เดมมงิ่

(Demming cycle) ทเ่ี ป็นการพฒั นาประสิทธภิ าพและคุณภาพของการดำเนินงานดา้ นความปลอดภยั ใน

สถานศึกษา ประกอบดว้ ย Plan (วางแผน) Do (ปฏบิ ัต)ิ Check (ตรวจสอบ) Act (ดำเนินการใหเ้ หมาะสม)

KSS PARTNERS Model มอี งคป์ ระกอบแยกออกเป็น ๒ สว่ น ได้แก่

1. KSS เป็นหวั ใจหลักของการบริหาร ดังน้ี

๑.๑ KEY MAN บคุ ลากรหลักที่มีหนา้ ท่ีรบั ผิดชอบงานด้านความปลอดภยั

๑.๒ SAFETY FOR ALL ความปลอดภัยในทุกมติ ิเพ่ือทุกคน

๑.๓ SCHOOL SAFE ZONE สถานศึกษาท่ีเป็นแหล่งท่ีต้งั ของการจัดการเรียนการสอนที่

ปลอดภัย

๗๒

๒. PARTNERS เปน็ กลไกในการขบั เคลอื่ นการดำเนินตามมาตรฐานความปลอดภัย ดังนี้
๒.๑ Participation เปดิ โอกาสใหท้ ุกภาคสว่ นทเ่ี กย่ี วข้องเข้ามามบี ทบาทรว่ มในการตดั สินใจ

การดำเนนิ กจิ กรรม การติดตามตรวจสอบ และการประเมินผลรว่ มกัน นำผลทไ่ี ด้มาปรับปรุงแก้ไขพัฒนา
สถานศึกษาใหม้ ีความปลอดภัยและมีประสทิ ธภิ าพยงิ่ ๆ ขึ้น

๒.๒ Awareness สร้างความตระหนกั และการยอมรบั ของบคุ ลากรในการนำมาตรฐานด้าน
ความปลอดภยั ในสถานศึกษาในทกุ มิตมิ าใช้

๒.๓ Responsibility ความรบั ผิดชอบวางแผนงานดา้ นความปลอดภยั อยา่ งละเอยี ดรอบคอบ
เพ่อื ให้บรรลุ

เป้าหมาย ทกี่ ำหนดไว้
๒.๔ Teamwork and Corporation ระบบการทำงานเปน็ ทีม การประสานงานกนั
๒.๕ Technology and Information การใชเ้ ทคโนโลยแี ละข้อมูลขา่ วสารที่ถูกต้องช่วยในการ

บรหิ ารจดั การด้านความปลอดภยั
๒.๖ Knowledge organization สถานศึกษาเป็นองคก์ รแหง่ การเรยี นรู้อยา่ งปลอดภัยตลอด

ชีวติ
๒.๗ New normal รปู แบบวิถชี ีวิตใหมท่ ่ีประกอบด้วยวิธีคดิ วธิ เี รยี นรู้ วิธีส่ือสาร วธิ ีปฏิบตั แิ ละ

การจดั การ
๒.๘ Education Innovation สรา้ งนวัตกรรมทางด้านความปลอดภัย
๒.๙ Reasonable การบริหารจัดการบนพ้ืนฐานของการใช้เหตผุ ล เพอื่ ความปลอดภยั ของทุก

คน
๒.๑๐ Suitable Stable and Sustainable การบรหิ ารจดั การที่มีเหมาะสม ประกอบกบั มี

ความมนั่ คง ปลอดภัย และยงั่ ยืนตามบรบิ ทของสถานศึกษา

ภาพตวั อยา่ งการดำเนินการด้วยนวตั กรรมการดำเนินงานตามมาตรฐานความปลอดภัย โรงเรยี นกาฬสินธพ์ุ ิทยาสยั

“KSS PARTNERS MODEL” ทม่ี ีการปรบั ทางเดินดว้ ยอิฐตัวหนอน

๗๓


Click to View FlipBook Version