The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pawinee.1980.a7, 2022-04-20 03:45:03

คู่มือ กฎระเบียบ มาตรการและแนวทางการแก้ไขปัญหาว่าด้วยแนวทางความปลอดภัยของโรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสัย

safety school





คำนำ

การศกึ ษามีความสำคัญต่อการพฒั นาประเทศ ในฐานะทีเ่ ป็นกระบวนการหนึง่ ท่ีมีบทบาทโดยตรง ต่อการ
พฒั นาทรัพยากรมนุษยใ์ หม้ ีคุณภาพ เหมาะสม และมีคุณสมบตั สิ อดคล้องกบั ความต้องการในการใช้กำลังของ
ประเทศ การศึกษาจงึ หมายถึงการเจรญิ งอกงาม เพราะการศึกษาเป็นกระบวนการพฒั นาบคุ คลใหม้ ีความเจรญิ
งอกงามทุกดา้ น คือ สตปิ ญั ญา อารมณ์ และสังคม ถา้ ประเทศใดประชากรมีการศึกษาสูง ประเทศน้ัน กจ็ ะมีกำลงั
พลทม่ี ปี ระสิทธิภาพไปด้วย การสร้างความปลอดภัยใหแ้ ก่เดก็ นกั เรยี นเป็นส่งิ สำคัญ เพราะความปลอดภัยเปน็
ปัจจยั ทส่ี ่งผลกระทบโดยตรงตอ่ คุณภาพการเรยี นรู้ของผูเ้ รียน การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นจะประสบ
ผลสำเรจ็ หรือไม่เพียงใดข้ึนอยู่กับความสุข และการมชี ีวิตท่ีปลอดภัยทงั้ ภายใน และภายนอกสถานศกึ ษาสามารถ
ปรบั ตวั ให้ทนั กบั การเปลย่ี นแปลงของสงั คม และสภาพแวดล้อม รู้จักหลกี เลยี่ งพฤติกรรมไมพ่ ึงประสงค์ ท่ีสง่ ผล
กระทบตอ่ ตนเองและผู้อืน่ รู้จักป้องกนั ตนเองในสภาวะคับขัน และจดั การกับชีวติ ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ โดยเป็น
ภารกจิ สำคัญของสถานศกึ ษาที่จะต้องมีแนวนโยบายการรกั ษาความปลอดภยั ของสถานศึกษา โรงเรียนกาฬสินธ์ุ
พิทยาสยั จงึ กำหนดใหม้ ี คู่มอื กฎระเบียบ มาตรการและแนวทางการแก้ไขปัญหาว่าดว้ ยแนวทางความปลอดภยั
ของโรงเรียนกาฬสนิ ธ์ุพิทยาสัยข้ึนมา เพื่อใหน้ ักเรียน ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ตลอดจนผูม้ าติดต่อราชการ
ปลอดภัยจากอุบตั เิ หตุรา้ ยภัยพบิ ัติ สงิ่ ท่เี ป็นอนั ตรายท้งั ต่อจติ ใจ ชีวติ ทรพั ย์สนิ และรักษาทรัพย์สินของทาง
ราชการ ไดร้ ับทราบและปฏิบัติในทศิ ทางเพ่ือความปลอดภัยในทุกมิติ



สารบญั

หัวขอ้ หนา้

คำนำ…………………………………………………………………………………….………………………………………………………………..ก

สารบญั ………………………………………………………………………………….………………………………………………………………..ข

ประกาศโรงเรยี นกาฬสินธพุ์ ิทยาสัย เรื่อง นโยบายด้านความปลอดภยั ...................................................................ค
ประกาศโรงเรียนกาฬสนิ ธพ์ุ ทิ ยาสยั เรอ่ื งมาตรการรกั ษาความปลอดภัย ................................................................ ง
แนวนโยบายและการวางแผนรักษาความปลอดภยั ของโรงเรยี นกาฬสนิ ธ์พุ ิทยาสยั ................................................ ๑
แนวนโยบาย และการวางแผนรักษาความปลอดภยั ของโรงเรียน........................................................................... ๑
แผนรักษาความปลอดภยั ของโรงเรยี น .................................................................................................................. ๒

1. สาระสำคญั ของแผนรักษาความปลอดภัยของโรงเรยี นกาฬสนิ ธ์ุพิทยาสัย..................................................... ๓
2. รูปแบบของแผนรักษาความปลอดภัยของโรงเรยี นกาฬสินธ์พุ ทิ ยาสยั ........................................................... ๔
มาตรการป้องกนั และแก้ไขอบุ ัติเหตุอุบตั ิภยั และปญั หาทางสงั คม ....................................................................... ๔

มาตรการป้องกนั และแก้ไขอุบัติเหตุ.............................................................................................................. ๔
มาตรการป้องกนั และแก้ไขอุบตั ิภัย........................................................................................................... ๒๔
มาตรการป้องกัน และแก้ไขปัญหาทางสังคม.............................................................................................. ๓๕
มาตรการรักษาความปลอดภัยดา้ นสขุ อนามัยของนกั เรียน......................................................................... ๔๕
มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาจากสัตว์และแมลงมีพษิ .......................................................................... ๕๙
มาตรการป้องกันและแก้ไขดา้ นผลกระทบจากการส้รู บและความไมส่ งบ.................................................... ๕๙
หน้าท่ีและความรับผิดชอบของสถานศึกษาเกี่ยวกับแผนฉุกเฉิน ประกอบด้วย........................................... ๖๑
ข้ันตอนการคุ้มครองและช่วยเหลือนกั เรยี นกรณอี นื่ ๆ ............................................................................... ๖๒
นวัตกรรมการดำเนนิ งานตามมาตรฐานความปลอดภยั โรงเรียนกาฬสินธ์พุ ิทยาสยั .................................... ๗๑



ประกาศโรงเรียนกาฬสินธพุ์ ิทยาสยั

เรื่อง นโยบายด้านความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม โรงเรียนกาฬสินธพ์ุ ิทยาสยั

โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสัย มีความมุ่งมั่นและความรับผิดชอบที่จะดําเนินงานด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางาน รวมไปถึงการดแู ลคณุ ภาพสงิ่ แวดล้อม เพ่อื ให้บคุ ลากรของโรงเรียน
กาฬสินธุ์พิทยาสัย มั่นใจว่าการดําเนินงานในภารกิจใดๆ จะได้รับการคุ้มครอง ป้องกันอุบัติเหตุใดๆ ที่อาจจะ
เกิดขึ้น ตลอดจนส่งเสริมให้บุคลากรทุกระดับของโรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสัย มีจิตสํานึกและมีส่วนร่วม ในการ
สนับสนนุ รบั ผิดชอบและดําเนนิ งานให้เปน็ ไปตามนโยบายของโรงเรยี น

ดังนั้น โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสัย จึงประกาศนโยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ
สิง่ แวดล้อม โรงเรียนกาฬสินธพ์ุ ิทยาสยั ดังน้ี

1. โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสัย มีพันธสัญญาในการจัดระบบและสร้างกระบวนการบริหารความ
ปลอดภยั อาชีวอนามัย สภาพแวดลอ้ มในการทํางาน และคณุ ภาพสิ่งแวดล้อม ให้มกี ารดาํ เนินงานและมีการพัฒนา
อยา่ งตอ่ เนือ่ ง

2. โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสัย มีพันธกิจในการเสริมสร้างจิตสํานึก ให้ความรู้และสร้างความเข้าใจ
เรื่องความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม แก่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน และ
บุคคลภายนอก ที่มาปฏิบัติงานภายในโรงเรียนกาฬสินธ์ุพิทยาสัย หรือมารับบริการ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องทุกคน
มีสว่ นในการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย โดยปฏบิ ตั ิกจิ กรรมต่างๆ ให้เปน็ ไปตามมาตรฐานที่เกี่ยวขอ้ งด้านความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครดั

3. โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสัย มีพันธกิจดําเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย สภาพแวดลอ้ ม
ในการทำงานและคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้สอดคล้องกับกฎหมาย มาตรฐาน และข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง อย่าง
เคร่งครัด

4. โรงเรียนกาฬสนิ ธ์ุพิทยาสัย จะจดั ให้มีระบบการตรวจสอบ ตดิ ตามและประเมินผล การดําเนินงาน
ด้านความปลอดภยั อาชวี อนามัย สภาพแวดลอ้ มในการทํางาน และคณุ ภาพสง่ิ แวดล้อม อย่างสม่ำเสมอ

5. โรงเรียนกาฬสินธพ์ุ ิทยาสยั จะดําเนนิ งานและสง่ เสริมความร่วมมือกับชมุ ชนขา้ งเคียง เพ่อื
เสรมิ สรา้ งคุณภาพสง่ิ แวดลอ้ ม สขุ อนามยั และความปลอดภัยในชีวติ และทรพั ย์สนิ

ประกาศ ณ วนั ท่ี 4 เมษายน พ.ศ. 256๕

(นายสชุ าติ แวงโสธรณ)์

ผอู้ ำนวยการโรงเรียนกาฬสินธ์ุพิทยาสยั



ประกาศโรงเรียนกาฬสินธ์พุ ิทยาสยั
เรอ่ื ง มาตรการรักษาความปลอดภัยของโรงเรียนกาฬสินธุ์พทิ ยาลยั

ดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสงิ่ แวดล้อม

เพ่ือให้นักเรยี นครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ตลอดจนผูม้ าติดตอ่ ราชการ ปลอดภยั จากอุบัตเิ หตุรา้ ย
ภัยพิบตั ิ สิ่งท่เี ป็นอนั ตรายทง้ั ต่อจติ ใจ ชีวิต ทรพั ย์สนิ และรักษาทรัพยส์ ินของทางราชการ จึงกำหนดมาตรการ
รกั ษาความปลอดภยั ของโรงเรียนกาฬสนิ ธุ์พิทยาสยั ดงั นี้

1. ให้นกั การภารโรง สำรวจตรวจสอบหอ้ งเรยี น อาคารเรียนอาคารประกอบ หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ห้องพเิ ศษ
ห้องนำ้ ห้องสว้ ม แหลง่ เรียนรู้ อปุ กรณ์เคร่ืองเล่นกีฬา พสั ดุอปกรณอ์ ่ืนๆโดยรอบบริเวณโรงเรยี นเป็นประจำทุกวัน
ให้อยูใ่ นสภาพทมี่ ั่นคงแข็งแรง หากพบว่าวสั ดุอุปกรณ์ต่างๆ อาจเกิดอันตรายให้แจง้ ต่อครเู วรประจำวันและหรือ
ผูบ้ ริหารสถานศึกษาทราบทันที แลว้ ดำเนนิ การซ่อมแซมให้เป็นที่เรยี บรอ้ ย

2. ให้นักการภารโรงสำรวจตรวจสอบเครือ่ งตัดหญา้ รถตดั หญา้ อปุ กรณ์ตดั หญา้ ให้อยู่ในสภาพท่ีมั่นคง
แขง็ แรง ใบมีดทำดว้ ยเหล็กเหนียว หากพบว่าอุปกรณ์ดังต่างๆ ชำรดุ ใหแ้ จง้ ต่อครูเวรประจำวัน และหรือผู้บริหาร
สถานศกึ ษาทราบทันที และดำเนินการซ่อมแซมใหเ้ ปน็ ที่เรียบรอ้ ย กรณีการตัดหญ้าใหค้ วามระมัดระวงั ไม่ประมาท
เลินเล่อ ควรเลอื กเวลาทปี่ ลอดภยั เชน่ หลงั เลกิ เรียนหรือวันหยดุ เสารอ์ าทิตยเ์ พ่ือป้องกันการเกดิ อบุ ตั ิเหตุ

3. ใหน้ กั การภารโรงตรวจตรา ตรวจสอบสายไฟฟ้า สายไฟระบบไฟฟ้า เคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ ทุกชนิด ระบบ
ประปาท้งั ในอาคารเรียน นอกอาคารเรียนบริเวณโรงเรียนเป็นประจำทุกวัน หากพบขอ้ บกพร่องอุปกรณว์ ัสดชุ ำรดุ
เสียหาย ไฟฟ้ารว่ั น้ำประปาร่ัว ใหแ้ จ้งครเู วรประจำวนั หรือและหรือแจ้งผูบ้ ริหารสถานศึกษาทราบและดำเนินการ
ปรับปรุงแก้ไขให้เรยี บร้อย

4. ให้ครเู วรประจำวันเฝ้าระวัง สำรวจตรวจสอบป้องกันแก้ไขเร่ือง มลภาวะท่เี ปน็ พษิ ท่อี าจเกิดขึ้น และ
เป็นอนั ตรายต่อสุขภาพ วตั ถุท่เี ป็นอนั ตราย เชน่ ระเบิดอาวุธสารพษิ และส่ิงแปลกปลอม เศษแกว้ เศษตะปู โดย
ตดิ ต่อประสานงานผูน้ ำชมุ ชน คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ผปู้ กครองนกั เรยี นหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้องเพ่ือ
ดำเนินการแกไ้ ขใหท้ ันท่วงที และแจง้ ให้ผู้บริหารสถานศกึ ษาทราบดว้ ย



5. หากสำรวจพบวา่ อาคารสถานท่ี วสั ดุอุปกรณร์ ะบบไฟฟ้าระบบประปาชำรุดเสยี หาย และสุดวิสยั
ทไ่ี ม่สามารถดำเนินการแก้ไขไดท้ ันทว่ งที ใหน้ กั การภารโรงจัดทำแนวกั้น จดั ทำป้ายเตอื น ประสานครูเวรให้
แจง้ เตือนนักเรียนใหร้ ะมัดระวงั ไมเ่ ขา้ ใกล้ และรบี ดำเนนิ การแกไ้ ขให้แล้วเสรจ็ ในระยะเวลาที่เร็วทีส่ ดุ
และแจ้งใหผ้ บู้ ริหารทราบดว้ ย

6. ให้ครูเวรประจำวันดูแลนักเรยี นท่มี าถงึ โรงเรียนในตอนเช้า ตรวจนกั เรยี นทั้งไปและกลับ ควบคมุ การ
ทำความสะอาดห้องเรียนเขตรบั ผดิ ชอบ กจิ กรรมหนา้ เสาธง ตรวจสขุ ภาพประจำวัน การรบั ประทานอาหาร
กจิ กรรมก่อนเข้าเรียนภาคบา่ ยกิจกรรมกอ่ นปล่อยนักเรียนกลบั บา้ นโดยครอบคลมุ ตรวจตา ตรวจสอบความ
ผดิ ปกติของนกั เรียน พบปญั หาให้ประสานงานครปู ระจำชน้ั และหรือผู้ปกครองเพ่ือทำการแก้ไข และแจง้ ให้
ผ้บู ริหารสถานศึกษาทราบทันที

7. ให้ครปู ระจำช้นั ทำหนา้ ท่ีครูแนะแนว ใหค้ ำแนะนำปรึกษา จัดทำระเบยี นสะสม ระบบดูแลชว่ ยเหลือ
นักเรยี นในช้ันเรียนทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ใหค้ วามรกั ความเอาใจใสเ่ อือ้ อาทรพัฒนานกั เรยี นใหเ้ ต็มศกั ยภาพ โดยการ
สนทนาซกั ถาม ควบคุม กำกับตดิ ตามอย่เู สมอ หากพบความผดิ ปกติ หรือการเปลี่ยนแปลงของนักเรียนให้
ดำเนินการให้ความช่วยเหลือทันที พร้อมท้งั แจง้ ให้ผบู้ ริหารสถานศึกษาทราบดว้ ย

8. ให้ครูเวรประจำวัน และครูประจำช้นั ตดิ ตามดแู ลเอาใจใสต่ ่อพฤติกรรมเสีย่ งต่อยาเสพติดใหโ้ ทษ
พฤติกรรมเสีย่ งด้านการพนนั อบายมุขตา่ งๆ พฤติกรรมเสีย่ งดา้ นช้สู าว พฤตกิ รรมเสีย่ งปัญหาทางเพศ
พฤติกรรมเส่ียงการเล่นเกม และอินเทอรเ์ น็ต พฤติกรรมเส่ียงการทะเลาะววิ าท การถูกเอารัดเอาเปรยี บ
การถูกรังแก ถูกละเมดิ ทางรา่ งกาย และจิตใจ หากพบความผดิ ปกตใิ ห้ดำเนินการชว่ ยเหลอื ประสานงานผ้ทู ี่
เกยี่ วขอ้ ง และแจ้งให้ผู้บริหารทราบด้วย

9. ให้ครูเวรประจำวนั ไดต้ รวจสอบการประกอบอาหารกลางวัน การจำหนา่ ยสนิ คา้ ของร้านค้า คคู่ ้าทง้ั ใน
สถานศึกษา และโดยรอบสถานศึกษา เน้นยำ้ ใหน้ กั เรยี นได้บรโิ ภคอาหารท่ีสะอาด ปลอดภยั มปี ระโยชน์และ
ประสานงานขอความร่วมมอื ร้านค้าผู้คา้ ใหจ้ ำหน่ายสินคา้ ท่ีดี มคี ุณภาพถูกต้องตามระเบียบกฎหมาย และนโยบาย
ของโรงเรยี น

10. ใหผ้ ูท้ ไี่ ดแ้ ตง่ ตง้ั เป็นเจา้ หนา้ ทเ่ี วรรักษาความปลอดภยั สถานท่รี าชการ ตามระเบียบวา่ ด้วยการรกั ษา
ความปลอดภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2552 โดยเคร่งครัด และ

10.1 หากผู้ใดได้รบั คำส่ังจากผบู้ ังคับบญั ชาให้เดินทางไปราชการนอกท้องถิน่ อำเภอ หรือจงั หวัด
หรอื ไดร้ ับอนุญาตใหล้ า ตามระเบียบสำนกั นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ. 2555 และจะตอ้ ง
จดั หาเจา้ หน้าทใี่ นโรงเรยี นกาฬสนิ ธุพ์ ิทยาสัย ให้ปฏบิ ัตหิ นา้ ทีอ่ ยเู่ วรแทนผู้อ่นื แลว้ แจง้ ให้ผู้บงั คับบญั ชาทราบ

10.2 หากผใู้ ดท่ีปว่ ย และวนั ที่ปว่ ยตรงกบั วันทท่ี ่ีจะปฏบิ ตั ิหน้าท่รี กั ษาเวรรักษาความปลอดภยั
และการป่วยนัน้ ยังสามารถที่จะแจ้งให้ผบู้ งั คับบัญชาทราบว่า ตนได้ป่วย และไม่สามารถจะปฏิบตั หิ น้าทเี่ วรรักษา
ความปลอดภยั สถานที่ราชการได้ ใหผ้ นู้ ้นั แจ้งผู้บงั คับบัญชา หรอื ผูต้ รวจเวรทราบโดยวิธีใดวธิ ีหนง่ึ ทผี่ ู้บงั คับบญั ชา
หรือผ้ตู รวจเวรจะพึงทราบได้ เพอ่ื พิจารณาวินจิ ฉยั สัง่ การต่อไป



11. ให้หวั หนา้ กลมุ่ บริหารงานท่วั ไป ครทู ่รี ับผดิ ชอบอาคารสถานท่ี จัดทำข้อมูลสารสนเทศ ที่อยู่เบอร์
ตดิ ต่อของนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ผปู้ กครอง ผู้นำชมุ ชนสถานอี นามัย โรงพยาบาลตำรวจ
หน่วยกู้ภยั องค์การบรหิ ารสว่ นตำบล หนว่ ยงานตน้ สงั กัด อำเภอ จังหวัด และทเี่ กยี่ วข้อง เพอ่ื การติดต่อ
ประสานงานการสง่ ต่อให้ทนั ท่วงที และให้ปรากฏไดช้ ัดเจน ไว้ในทต่ี า่ งๆ ตามความเหมาะสม

12. ให้ครผู สู้ อน และหรือครูท่ไี ดร้ ับ แตง่ ตั้ง ควบคมุ นักเรยี นไปทำกิจกรรมท้ังใน และนอกสถานที่
การไปทัศนศึกษาการอยู่ค่ายพกั แรมลกู เสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด การไปเข้าค่าย การไปร่วมกจิ กรรม การไปแขง่ ขัน
จะทำประวัติป้ายชอ่ื แสดงรายละเอยี ดของนักเรยี น กำกบั ควบคมุ ดูแลเอาใจใส่รกั ษาความปลอดภัยให้แกน่ กั เรยี น
อย่างเต็มความสามารถอาจเกิดอันตราย ใหด้ ำเนินการแกไ้ ข และหรอื นำนักเรียนไปเข้ารบั การรกั ษาโดยดว่ นตลอด
ทง้ั ประสานงานใหผ้ ปู้ กครอง หรือหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วข้อง และแจง้ ให้ผบู้ รหิ ารทราบทันที

13. ให้หัวหน้ากลมุ่ บรหิ ารงานทั่วไป จดั ทำรายงานผลการดำเนนิ งานตามมาตรการรักษาความปลอดภยั
ของโรงเรียนกาฬสินธุพ์ ิทยาสัย เมอ่ื ส้นิ ปีการศึกษา เสนอต่อผู้บริหารสถานศึกษา ผ้มู สี ่วนเกี่ยวขอ้ ง และเผยแพรต่ อ่
สาธารณชน แล้วนำข้อมลู มาปรับปรุงแก้ไขพัฒนา มาตรการรักษาความปลอดภยั ในปีการศกึ ษาต่อไป
อย่างต่อเนอ่ื ง

ประกาศ ณ วันที่ 4 เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๕

(นายสุชาติ แวงโสธรณ)์
ผ้อู ำนวยการโรงเรียนกาฬสินธ์พุ ิทยาสัย



แนวนโยบายและการวางแผนรักษาความปลอดภยั ของโรงเรยี นกาฬสินธุ์พทิ ยาสัย
1. แนวนโยบาย และการวางแผนรักษาความปลอดภัยของโรงเรียน

การศกึ ษามีความสำคญั ต่อการพฒั นาประเทศ ในฐานะที่เป็นกระบวนการหน่ึงท่มี ีบทบาทโดยตรง ต่อการ
พฒั นาทรัพยากรมนุษยใ์ ห้มีคุณภาพ เหมาะสม และมคี ณุ สมบตั ิสอดคล้องกับความต้องการในการใช้กำลังของ
ประเทศ การศึกษาจึงหมายถึงการเจริญงอกงาม เพราะการศกึ ษาเป็นกระบวนการพัฒนาบคุ คลให้มีความเจริญ
งอกงามทุกด้าน คือ สติปญั ญา อารมณ์ และสงั คม ถา้ ประเทศใดประชากรมีการศึกษาสงู ประเทศนนั้ ก็จะมีกำลัง
พลท่ีมปี ระสทิ ธิภาพไปดว้ ย

การสร้างความปลอดภัยให้แก่เดก็ นักเรียน เป็นส่งิ สำคัญ เพราะความปลอดภัยเป็นปัจจยั ทีส่ ่งผลกระทบ
โดยตรงตอ่ คุณภาพการเรยี นรู้ของผู้เรยี น การพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นจะประสบผลสำเรจ็ หรอื ไมเ่ พยี งใด
ข้นึ อยกู่ ับความสขุ และการมีชีวติ ที่ปลอดภัยทง้ั ภายใน และภายนอกสถานศึกษาสามารถปรบั ตวั ใหท้ ันกับการ
เปล่ยี นแปลงของสังคม และสภาพแวดล้อม รู้จักหลีกเลย่ี งพฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงค์ ท่ีส่งผลกระทบต่อตนเองและ
ผู้อนื่ รจู้ ักปอ้ งกนั ตนเองในสภาวะคับขัน และจดั การกบั ชวี ติ ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ดังนนั้ จงึ เปน็ ภารกิจสำคัญของ
สถานศกึ ษาท่ีจะตอ้ งมีแนวนโยบายการรักษาความปลอดภัยของสถานศกึ ษา ดังน้ี

1. เป้าประสงค์
1) เพอ่ื ให้มรี ูปแบบแนวทางการรักษาความปลอดภยั ของโรงเรยี นด้านอบุ ัตเิ หตุ ด้านอุบัติภยั

และด้านปัญหาทางสงั คมโดยอาศัยแนวคิดเชงิ สร้างสรรค์ภายใต้หลักการกระจายอำนาจ การมสี ่วนรว่ มและยึด
ประโยชน์สงู สดุ ของนักเรียนเป็นสำคญั

2) เพ่ือสร้างความเข้มแข็ง ระบบการรกั ษาความปลอดภัยของโรงเรียนใหม้ คี วามพร้อม
สามารถป้องกนั และแก้ไขสถานการณ์ปญั หาของนักเรียน ท้ังด้านอบุ ัติเหตุ อบุ ตั ภิ ัย และปัญหาทางสงั คมท่ีจะเกดิ
ขึน้ กบั นักเรยี น อย่างมีประสิทธิภาพ

3) เพื่อใหน้ กั เรยี นทุกคนได้รับการปกป้อง และคมุ้ ครองความปลอดภัย ทัง้ ดา้ นร่างกายและ
จติ ใจ โดยนกั เรยี นจะได้รบั การดูแลอยา่ งใกลช้ ดิ และสามารถอยใู่ นสงั คมได้อยา่ งปลอดภัย และมีความสุข

4) เพื่อสร้างความตระหนกั ในการรกั ษาความปลอดภยั ของโรงเรียน โดยการใหค้ วามรู้ความ
เข้าใจแก่ผทู้ ีร่ ับผิดชอบ และผู้ท่ีมสี ่วนเกี่ยวข้องกบั การรกั ษาความปลอดภยั ในโรงเรยี น

2. เปา้ หมาย
1) นักเรียนทกุ คนในโรงเรียนไดร้ บั การคมุ้ ครองดูแลความปลอดภัย
2) ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา ขา้ ราชการครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ผู้ปกครองนกั เรยี น มีแนวทาง

ในการป้องกัน และรักษาความปลอดภยั นักเรียน
3) เครือข่ายหนว่ ยงานภาครัฐ และเอกชน มีสว่ นรว่ มในการดแู ลความปลอดภัยให้แกน่ ักเรียน



3. ยทุ ธศาสตร์
1) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
1. กำหนดนโยบายให้หน่วยงานทางการศึกษาและสถานศกึ ษาในสังกัดมรี ะบบการ

ดแู ลความปลอดภยั ให้แก่นักเรยี น
2. ประสานงานเครือขา่ ยองค์กรภาครฐั ภาคเอกชน และหน่วยงานทเี่ กย่ี วข้องให้มีส่วน

ร่วมในการดแู ลความปลอดภัยใหแ้ ก่นกั เรียน
3. ส่งเสรมิ และสนับสนนุ หน่วยงานทางการศึกษา และสถานศึกษาให้มีการจัดระบบ

ดูแลความปลอดภยั ให้แก่นกั เรียนทเ่ี ขม้ แขง็
4. ติดตามและประเมนิ ผลระบบการดูแลความปลอดภัยใหแ้ ก่นักเรียน

2) สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา
1. จัดระบบรักษาความปลอดภยั ให้แกน่ ักเรยี นในระดับเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาตามนโยบายของ

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
2. กำหนดใหม้ ีผู้รับผดิ ชอบในการประสานงานเครือขา่ ยท้งั ภาครฐั และเอกชนใหส้ ่วนรว่ มใน

การดูแลความปลอดภัยให้แก่นกั เรียน
3. ส่งเสริมและสนบั สนุนให้สถานศึกษาจัดระบบดูแลความปลอดภยั ใหแ้ กน่ ักเรียนท่ีเขม้ แข็ง
4. กำกบั ติดตาม และประเมินผล ระบบการดแู ลความปลอดภยั ของนักเรยี น

ในสถานศึกษา เพื่อปรับปรงุ และพัฒนา
3) ระดับสถานศกึ ษา
1. จัดระบบ การรกั ษาความปลอดภยั ของนักเรียนในสถานศึกษาโดยการมสี ่วนรว่ ม

ของครู ผู้ปกครองเครือขา่ ยทั้งภาครัฐ และเอกชนอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
2. กำหนดมาตรการการรักษาความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา
3. มกี ารกำกบั ติดตาม ประเมินผล และรายงาน

2. แผนรกั ษาความปลอดภยั ของโรงเรียน
การกำหนดแนวทาง หรอื มาตรการเกีย่ วกบั ความปลอดภยั ของสถานศกึ ษาควรมคี วามชดั เจนและ

ความเป็นไปได้ ในการปฏิบตั ิ โดยเน้นการมสี ่วนรว่ มระหว่างนกั เรยี น ครู ผปู้ กครอง ชุมชนและเครือขา่ ย
โดยรว่ มกันวางแผนปอ้ งกนั แก้ไข ควบคุม กำกับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานในการจัดทำแผนรักษา
ความปลอดภัยของสถานศกึ ษา ใหพ้ จิ ารณาองค์ประกอบท่ีสำคญั 2 ประการดังนี้



1. สาระสำคัญของแผนรกั ษาความปลอดภยั ของโรงเรยี นกาฬสนิ ธุพ์ ิทยาสยั
ในการจดั ทำแผน จำเปน็ ต้องมีมาตรการ และกจิ กรรมให้สอดคล้อง และครอบคลมุ กับ

เจตนารมณ์ของพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพิม่ เติม ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2545
มาตรา 47 กำหนดให้มีการประกันคุณภาพภายนอกโดยมาตรฐานท่ี 10 กำหนดใหผ้ ู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย
และสุขภาพจติ ท่ีดี โดยในตัวบ่งชที้ ่ี 4 กำหนดใหผ้ ูเ้ รียนรู้จักดแู ลสขุ ภาพ และป้องกนั ตัวเองไม่ให้เกิดอบุ ตั ิภัย และ
พระราชบญั ญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 หมวด 7 การส่งเสรมิ ความประพฤตินักเรยี นและนักศึกษามาตรา 63
โรงเรยี น และสถานศกึ ษา ต้องจัดให้มีระบบงาน และกจิ กรรมในการแนะแนวให้คำปรึกษา และฝกึ อบรมแก่
นกั เรียน นักศึกษา และผปู้ กครอง เพื่อสง่ เสริมความประพฤติทเ่ี หมาะสม ความรบั ผิดชอบต่อสังคม และความ
ปลอดภยั แก่ นักเรยี น และนกั ศกึ ษา ตามหลักเกณฑว์ ิธีการ และเง่ือนไขท่ีกำหนดในกฎกระทรวง ของกระทรวง
ศึกษาธิการจงึ ออกกฎกระทรวงศึกษาธิการวา่ ด้วยความประพฤตขิ องนักเรยี น และนกั ศกึ ษาพ.ศ 2548 โดยออก
ตามความในมาตรา 6 และมาตรา 64 แห่งพระราชบัญญตั ิคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 ให้สถานศึกษาตอ้ งออก
ระเบียบวา่ ด้วยความประพฤติทไี่ มเ่ หมาะสม 9 ประการคือ

1) หนีเรยี น หรอื ออกนอกสถานศึกษาโดยไม่ได้รับอนุญาต
2) เล่นการพนัน หรือจัดให้มีการเล่นการพนนั ทีผ่ ดิ กฎหมาย
3) พกพาอาวุธ หรอื วัตถซุ ่ึงใช้ประทษุ ร้าย
4) ซือ้ จำหนา่ ย แลกเปลย่ี น หรือเสพสรุ า สง่ิ มึนเมา หรอื ยาเสพติด
5) ลักทรพั ย์ กรรโชกทรัพย์ หรือบงั คบั ขืนใจ หรือรีดไถบุคคลอ่ืน
6) ก่อเหตุทะเลาะววิ าท ทำร้ายรา่ งกายผอู้ น่ื
7) แสดงพฤตกิ รรมทางชูส้ าวท่ีไมเ่ หมาะสมในทสี่ าธารณะ
8) เกย่ี วข้องกบั การคา้ ประเวณี
9) ออกนอกสถานที่พัก เวลากลางคืน เพื่อเท่ียวเตร่ หรือรวมกลุม่ กันเป็นการสร้างความเดือดร้อน
ให้แกต่ นเอง และผู้อนื่ รวมทง้ั ให้จัดทำมาตรการตามแนวนโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
ด้วยดงั น้ันจงึ เปน็ หน้าทีข่ องสถานศึกษาในการจดั ทำระบบความปลอดภยั ให้เกิดขึ้นกับผ้เู รียนการกำหนดแนวทาง
หรือมาตรการการรักษาความปลอดภยั ของสถานศึกษาควรมีการกำหนดแนวทางอย่างน้อย 5 ขั้นตอนดังนี้
ขัน้ ตอนที่ 1 การศึกษาสภาพทัว่ ไปของสถานศึกษา ชมุ ชน ความเขม้ แข็งของเครือขา่ ยเพ่ือ
วิเคราะหค์ วามเสยี่ งจากการเกดิ อุบตั เิ หตอุ ุบัตภิ ยั และภยั จากสภาพแวดล้อมทางสังคม
ขนั้ ตอนท่ี 2 การกำหนดมาตรการหลกั เพื่อป้องกนั และหรือแก้ไข
ขัน้ ตอนที่ 3 การกำหนดมาตรการเสรมิ ใหเ้ หมาะสมกับความเช่อื วัฒนธรรมประเพณีของ
ทอ้ งถ่ิน และสภาพความเส่ยี งของทอ้ งถิน่
ข้นั ตอนที่ 4 การกำหนดกิจกรรมสนับสนนุ มาตรการหลัก และมาตรการเสริม



ขั้นตอนที่ 5 การกำหนดเวลา และผู้รับ ผิดชอบอยา่ งชดั เจน และสามารถปฏบิ ตั ิได้

2. รปู แบบของแผนรักษาความปลอดภัยของโรงเรียนกาฬสินธ์ุพทิ ยาสัย
สถานศึกษาสามารถนำแนวทาง และมาตรการรกั ษาความปลอดภัยของสถานศึกษาให้

กำหนดเป็นแผนรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาไดต้ ามความเหมาะสมกบั สถานศึกษาดา้ นสภาพแวดล้อม
สภาพทางภมู ศิ าสตร์ และความต้องการของท้องถนิ่ โดยอาจกำหนดรูปแบบของแผนดงั นี้

1) แผนพัฒนาระบบความปลอดภยั ของสถานศึกษา เชน่ แผนที่ต้องมุ่งสรา้ งเสริมความ
เขม้ แข็ง ของระบบการรักษาความปลอดภัยให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา

2) มกี ารพฒั นาระบบความปลอดภัยของสถานศึกษาอย่างต่อเนือ่ ง และมีประสิทธภิ าพ
3) โครงสร้างการรกั ษาความปลอดภัยของสถานศึกษาท่ชี ัดเจน
4) มีระบบเครือข่าย เพื่อการมีส่วนรว่ มในการดแู ลรกั ษาความปลอดภยั ของสถานศึกษา
5) มรี ะบบควบคุมภายในเกยี่ วกับการรกั ษาความปลอดภัยของสถานศกึ ษา
6) มรี ะบบการส่ือสารท่ีมปี ระสิทธิภาพ
7) มีแผนการป้องกนั และแก้ไขอบุ ตั ิภยั ด้านสภาพแวดลอ้ มของสงั คมดา้ นสุขอนามยั ของ
นกั เรียนความปลอดภัยจากสัตว์ และแมลงมีพิษ และผลกระทบจากการส้รู บ และเหตุการณ์ความไม่สงบโดยกำหนด
ให้ครอบคลุมทุกภยั ที่อาจจะเกดิ ขนึ้ กับนกั เรยี น อาทิ ความบกพร่องของอาคารเรยี นบรเิ วณสถานศึกษาสภาพแวดลอ้ ม
ทีไ่ มเ่ อื้อต่อความปลอดภยั เคร่อื งมือเคร่ืองใชอ้ ุปกรณ์ในสถานศึกษาท่อี าจเปน็ อันตรายตอ่ นักเรียนการเดินทางไปกลับ
ของนักเรียนการพานกั เรียนไปศกึ ษานอกสถานศึกษา และการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน เปน็ ตน้

มาตรการปอ้ งกัน และแก้ไขอบุ ตั ิเหตุอุบตั ิภยั และปัญหาทางสังคม
มาตรการป้องกันและแกไ้ ขอุบัติเหตุ

อบุ ตั เิ หตุ หมายถึง อนั ตรายท่ีเกิดข้นึ โดยฉบั พลนั ซง่ึ ไม่ไดค้ าดคดิ มากอ่ นอนั เกิดข้ึนเองตาม
ธรรมชาตหิ รอื การกระทำของมนุษย์ ส่งผลให้เกดิ ความเสียหายท้งั ทางร่างกาย และทรัพยส์ นิ อบุ ตั เิ หตุท่ีเกิดขึ้นได้
กับทกุ คน ทุกเวลา และทกุ สถานทห่ี ากไมม่ ีการศึกษา และการป้องกนั ทด่ี ีย่อมมีโอกาสเกดิ อบุ ตั ิเหตุไดโ้ ดยง่าย
อบุ ตั ิเหตใุ นสถานศกึ ษามักมสี าเหตุมาจากความประมาท ขาดการดแู ลเอาใจใสใ่ นเรื่องอาคารสถานท่ี วสั ดุอปุ กรณ์
และสภาวะแวดล้อมของสถานศกึ ษาซ่งึ มาจากสาเหตุตา่ งๆท้ัง 7 ดา้ น คอื

1. อบุ ัตเิ หตุจากอาคารเรยี นอาคารประกอบ
2. อบุ ตั ิเหตจุ ากบรเิ วณสถานศกึ ษา
3. อุบตั ิเหตุจากสภาพแวดลอ้ มของสถานศึกษา
4. อุบตั ิเหตจุ ากเครื่องมือเคร่ืองใช้ และอปุ กรณ์ตา่ งๆ
5. อบุ ตั เิ หตุจากการเดินทางไป-กลบั สถานศกึ ษา
6. อุบตั ิเหตุจากการพานักเรยี นไปศึกษานอกสถานที่



7. อบุ ตั เิ หตจุ ากการนำนักเรียนไปรว่ มกิจกรรม
โดยมีรายละเอียดในแตล่ ะดา้ นมดี ังนี้

1. อุบัติเหตุจากอาคารเรียนอาคารประกอบ
อาคารเรยี น หรอื อาคารประกอบของสถานศกึ ษา เป็นสิง่ ก่อสรา้ งถาวร ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียน

การสอน และกจิ กรรมตา่ งๆ อาคารเหลา่ น้ยี ่อมเกดิ การชำรุด ทรุดโทรม ซง่ึ ต้องได้รบั การบำรุงรักษาอยู่ดูแลอยา่ ง
สม่ำเสมอให้อย่ใู นสภาพท่ีใช้การได้ สามารถรบั น้ำหนักของนกั เรียน และอุปกรณ์ในอาคารจงึ จะไม่เกดิ ความเสี่ยง
ต่อการเกิดอุบตั ิเหตุแก่นกั เรียน และบุคลากรในสถานศึกษาโดยท่ีเหตุจากอาคารเรียนอาคารประกอบมี เหตจุ าก
หลายๆ ส่วนของอาคารสถานทใ่ี นสถานศึกษา เชน่

1. โครงสร้างส่วนประกอบของอาคารเรยี น ฝ้าเพดาน พื้นหลงั คา เสา ราวบนั ได ประตหู น้าตา่ ง
กนั สาดรางนำ้ และทอ่ น้ำฝน

2. ครภุ ณั ฑ์ อาทิ โต๊ะ เกา้ อี้ ตู้ กระดานดำ
3. อุปกรณไ์ ฟฟ้า อาทิ สายไฟ ปลกั๊ ไฟ พดั ลม
4. ห้องเรียน และหอ้ งปฏิบตั ิการ อาทิ ห้องปฏิบัติการวทิ ยาศาสตร์ โรงฝึกงาน
5. หอ้ งน้ำ หอ้ งส้วม
1.1 มาตรการป้องกัน และแกไ้ ขอบุ ัติเหตุทเ่ี กิดจากโครงสร้างอาคารเรยี น อาคารประกอบ
ภายในสถานศกึ ษาจะตอ้ งมีความปลอดภัยทางกายภาพซึ่งรวมถึงสภาพโครงสร้างอาคาร
ท่ถี กู ต้อง และเพื่อป้องกันอุบัติเหตทุ เ่ี กิดขน้ึ กับนักเรยี น จงึ ควรกำหนดมาตรการในการป้องกันและแก้ไขอบุ ตั ิเหตุที่
เกิดจากโครงสร้างของอาคารเรียน และอาคารประกอบ
แนวทางการดำเนนิ การ
1. สรา้ งความตระหนัก และให้ความร้ใู นการรักษาความปลอดภัยแก่นักเรยี น และบุคลากร
2. แตง่ ตัง้ บคุ ลากร ดูแล และรบั ผดิ ชอบ ด้านอาคารสถานท่ี
3. ทำปา้ ยขอ้ ควรระวงั ด้านความปลอดภัยในจุดอันตราย
4. จดั ใหม้ ีแผนการป้องกนั และการเคลื่อนย้ายในกรณเี กดิ เหตฉุ กุ เฉิน
5. ตรวจสอบโครงสร้าง และส่วนประกอบอาคารตลอดจนอปุ กรณ์ทตี่ ิดต้งั ในส่วนต่างๆ
ของอาคารอย่างสม่ำเสมอ หรือตรวจสอบโดยสว่ นราชการ หรือหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง อาทิ องค์การบริหารสว่ น
ตำบลเทศบาล องคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวดั กรุงเทพมหานคร เมอื งพทั ยา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอ่ืนๆ
6. ในกรณที ี่ตรวจสอบพบความผดิ ปกติของอาคารใหส้ งั่ ผดิ อาคาร และประกาศอันตรายหา้ ม
เขา้ และรายงานผเู้ กีย่ วข้องเพ่ือดำเนินการแก้ไข
7. ซ่อมแซม ส่วนประกอบของอาคาร และอุปกรณ์ตดิ ต้ังตา่ งๆใหอ้ ยู่ในสภาพท่ีปลอดภยั
8. ในกรณีไมส่ ามารถซ่อมแซมได้ ให้ขออนุญาตร้ือถอนอาคารเรียน หรืออาคารประกอบ
ทช่ี ำรดุ หรืออยู่ในสภาพไม่ปลอดภัย



9. เม่ือเกดิ เหตุฉุกเฉินให้ดำเนินการตามแผนฉุกเฉินสำหรบั สถานศกึ ษาสว่ นท่ี 4 การควบคุม
กำกับ ตดิ ตาม และรายงาน
กรณอี าคารทรดุ เกดิ รอยรา้ วหรอื ผิดปกติ

• โรงเรยี นแจง้ หนว่ ยงานตน้ สังกัด ตรวจสอบ โครงสรา้ งอาคารเรียน

• โรงเรยี นขอรบั การสนบั สนนุ งบประมาณ เพ่ือปรบั ปรงุ ซ่อมแซม

• ดำเนินการซ่อมแซมตามระเบียบสำนักนายกรฐั มนตรีวา่ ด้วยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพมิ่ เติม
แนวทางการแก้ปญั หา

1. ปฐมพยาบาลเบื้องต้น และนำสง่ โรงพยาบาล
2. รายงานผ้บู ังคับบญั ชา และหนว่ ยงานท่ีเก่ยี วขอ้ ง
3. แจง้ ผู้ปกครองทราบ
4. โรงเรียนใหก้ ารดูแลชว่ ยเหลือตามความเหมาะสม
หน่วยงานและผเู้ ก่ยี วข้อง

• โรงพยาบาล

• องค์การบริหารสว่ นตำบล เทศบาล องค์การบริหารส่วนจงั หวัดกรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และองค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ อ่นื ๆ

• สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และสำนกั งาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

• ผู้ปกครอง
1.2 มาตรการปอ้ งกนั และแก้ไขอบุ ัตเิ หตทุ ่ีเกิดจากการใช้ครภุ ัณฑ์
ครภุ ัณฑ์ หมายถงึ ส่งิ ของทม่ี ีลกั ษณะ แบบถาวร และมอี ายุการใชง้ านในระยะเวลาประมาณ

1 ปขี นึ้ ไปมรี าคาหนว่ ยหนึง่ หรือชดุ หนึง่ เกิน 5,000 บาท ให้จัดเปน็ ครุภณั ฑ์ท่ีตอ้ งบนั ทกึ ในกองทนุ สนิ ทรัพยถ์ าวร
ได้แก่คอมพวิ เตอร์ โตะ๊ ทำงาน ตเู้ หลก็ ตเู้ กบ็ เอกสาร เคร่ืองถา่ ยเอกสาร เครือ่ งขยายเสียง เปน็ ต้น

แนวทางการดำเนินการ
1. สำรวจตรวจสอบครุภณั ฑ์อยา่ งสม่ำเสมอ
2. จัดวางครภุ ณั ฑ์ในสถานท่ีที่เหมาะสม และปลอดภยั
3. จดั ทำข้อแนะนำ และขอ้ ควรระวังในการใช้
4. ให้มกี ารจัดอบรม และจดั ทำคู่มือในการใชค้ รภุ ณั ฑ์อยา่ งถูกต้องและเหมาะสมกบั งาน
5. ผู้รบั ผดิ ชอบต้องดูแลอย่างใกล้ชิดในขณะที่มีการปฏิบัติงาน
6. ซ่อมแซมครภุ ัณฑใ์ ห้อยใู่ นสภาพพรอ้ มใชง้ านไดอ้ ย่างปลอดภยั
7. ห้ามใชค้ รุภัณฑ์ทช่ี ำรุดโดยเดด็ ขาด



8. เมอ่ื เกิดเหตฉุ ุกเฉนิ ให้ดำเนินการตามแผนฉุกเฉินสำหรับสถานศกึ ษา

แนวทางการแก้ไขปญั หา
1. เม่อื เกดิ อุบตั เิ หตุต้องมีการปฐมพยาบาล และนำส่งสถานพยาบาล
2. รายงานผูบ้ ังคับบัญชา
3. แจ้งเจ้าหน้าทีต่ ำรวจกรณีเสยี ชวี ิต และหน่วยงานท่เี กีย่ วข้อง เช่น การไฟฟา้ สว่ นภูมิภาค

สถานีดบั เพลิง
4. แจ้งผู้ปกครองทราบ
5. โรงเรยี นใหก้ ารดแู ลชว่ ยเหลอื ตามความเหมาะสม

หนว่ ยงานและผเู้ ก่ยี วขอ้ ง

• โรงพยาบาล

• องค์การบริหารส่วนตำบล เทศบาล องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั กรงุ เทพมหานคร เมืองพทั ยาและองคก์ ร
ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ อ่ืนๆ

• สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาสำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษา

• สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน และสถานีตำรวจภธู ร

• ผ้ปู กครอง

1.3 มาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ขอุบัติเหตุทีเ่ กิดจากอปุ กรณไ์ ฟฟา้
อุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ท่ีใช้ในสถานศึกษา จำเป็นจะต้องสำรวจ ตรวจสอบอยเู่ สมอ เพือ่ ให้เกดิ ความ

ปลอดภยั แก่นกั เรยี น จึงควรกำหนดมาตรการ ในการป้องกัน และแก้ไขอบุ ัติเหตุท่ีเกิดจากอปุ กรณไ์ ฟฟ้าดงั นี้
แนวทางการดำเนนิ การ
1. โรงเรยี นตรวจสอบระบบไฟฟ้าภายในโรงเรยี นให้อยใู่ นสภาพเรยี บรอ้ ยใชง้ านได้
2. ควรตดิ ต้งั ระบบปอ้ งกนั กระแสไฟฟ้าลดั วงจร หรอื อุปกรณ์ตดั กระแสไฟฟ้าอัตโนมัติ

ทกุ อาคาร และอปุ กรณท์ ่เี กย่ี วขอ้ งกบั การใช้ไฟฟา้ ในสถานศกึ ษา
3. มีการตดิ ต้ัง ตรวจสอบอุปกรณ์ และเปลี่ยนอุปกรณไ์ ฟฟ้าตามอายุการใช้งานตามมาตรฐาน

การไฟฟ้า ใหร้ ายงานผลการตรวจสอบ จดั หาช่างไฟฟา้ ท่ีชำนาญการ มาตรวจสอบ ระบบสายไฟในอาคาร และ
รายงานผู้บริหารสถานศกึ ษาอย่างน้อยปีละ 1 ครง้ั

4. ใหค้ วามรู้แกน่ ักเรียน และบุคลากรในการใชอ้ ปุ กรณ์ไฟฟา้ อย่างถูกตอ้ ง
5. กจิ กรรม Big cleaning Day เพือ่ ใหน้ ักเรียนปลอดภัยจากอบุ ัตเิ หตุทเ่ี กิดจากไฟฟ้า
6. ให้สถานศกึ ษาจัดสรรงบประมาณในด้านการตรวจสอบเคร่ืองใช้ไฟฟา้ และอปุ กรณไ์ ฟฟ้า



โดยถือเปน็ เรื่องสำคญั จำเปน็ ต้องปฏบิ ตั ิ
7. นเิ ทศ กำกบั ติดตาม ดูแลช่วยเหลือ เม่อื เกิดอบุ ตั ิเหตุเกิดขึน้
8. เมือ่ เกดิ อบุ ตั เิ หตุต้องมีการปฐมพยาบาล นำส่งสถานพยาบาล และรายงานผู้บังคบั บัญชาทราบ
9. เมือ่ เกดิ เหตุฉุกเฉินให้ดำเนินการตามแผนฉุกเฉนิ สำหรับสถานศกึ ษาสว่ นที่ 4 การควบคมุ

กำกบั ตดิ ตามและรายงาน

1.4 มาตรการป้องกนั และแก้ไขอบุ ตั ิเหตุทีเ่ กดิ จากห้องเรียน และห้องปฏิบัติการ
ห้องเรียนและห้องปฏิบตั ิการเป็นพน้ื ที่ ทีน่ ักเรยี นต้องใช้ในการเรียนทงั้ ภาคทฤษฎี และฝึกปฏิบตั ิ

ตามเนื้อหาวชิ า ดงั นน้ั จงึ ควรมมี าตรการป้องกนั และแก้ไขอบุ ัติเหตุทเ่ี กิดจากห้องเรยี นและห้องปฏิบตั ิการดังนี้
1. สำรวจสภาพของหอ้ งเรยี น และหอ้ งปฏิบตั ิการใหอ้ ยู่ในสภาพท่ีพร้อมใชง้ านได้อย่างปลอดภัย
2. กำหนดแนวทางปฏบิ ัติ หรือระเบยี บในการใช้หอ้ งปฏิบตั ิการ และใหต้ ดิ สัญลกั ษณเ์ กีย่ วกับ

อันตรายท่เี กดิ จากอปุ กรณ์ เครอื่ งมือ สารเคมี แสดงไว้อยา่ งชดั เจน
3. มีการควบคุมดแู ลอย่างใกล้ชิดกรณีเป็นสารเคมี จะต้องมีการระบุวิธใี ช้อยา่ งชดั เจน

และมกี ารจัดเก็บท่ีมดิ ชดิ
4. จัดเตรียมอุปกรณ์ป้องกนั อุบัติเหตทุ ่เี หมาะสม เชน่ เครอื่ งมอื ดบั เพลิง
5. กรณอี ปุ กรณเ์ ครื่องใช้ หรอื หอ้ งปฏบิ ัติการเกิดการชำรดุ เสียหาย ให้ดำเนินการปรับปรุง

ซอ่ มแซมให้อยู่ในสภาพพร้อมใชง้ าน
6. เมอ่ื เกดิ อุบตั เิ หตตุ ้องมีการปฐมพยาบาล ก่อนส่งสถานพยาบาล และรายงานผ้บู ังคบั บัญชาทราบ
7. เมื่อเกดิ เหตฉุ ุกเฉนิ ให้ดำเนินการตามแผนฉุกเฉนิ สำหรบั สถานศึกษาสว่ นที่ 4 การควบคมุ

กำกับ ติดตาม และรายงาน
แนวทางการแก้ปญั หา
1. ปฐมพยาบาลเบือ้ งต้น/นำส่งโรงพยาบาล
2. รายงานผบู้ งั คับบญั ชาตามลำดับ
3. แจ้งผูป้ กครองทราบ
4. โรงเรียนใหก้ ารดูแลชว่ ยเหลอื ตามความเหมาะสม

หน่วยงานและผู้เกี่ยวขอ้ ง
• โรงพยาบาล
• องค์การบริหารส่วนตำบลเทศบาลองค์การบริหารส่วนจังหวดั กรงุ เทพมหานครเมืองพัทยา

และองคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ อ่นื ๆ
• สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษาสำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษา



• สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐานและสถานีตำรวจภูธร

• ผู้ปกครอง
1.5 มาตรการป้องกนั และแก้ไขอบุ ัติเหตุท่เี กดิ จากหอ้ งน้ำห้องส้วม
แนวทางการดำเนนิ การ

1. ตรวจสอบอปุ กรณ์ให้อยใู่ นสภาพท่ใี ชง้ านได้ และปลอดภัย
2. ควรสรา้ งหอ้ งน้ำ ห้องส้วมให้เหมาะสม กับสภาพวยั และเพศของนกั เรียน เช่น อนุบาล ประถมศึกษา
มัธยมศกึ ษา และคนพิการ
3. การใชห้ อ้ งนำ้ ห้องส้วมของเด็กอนุบาล ตอ้ งมคี รูคอยดูแลอย่างใกลช้ ดิ
4. ให้มีการตดิ ตัง้ ไฟฟา้ สอ่ งสว่างอย่างเพยี งพอ
5. ควรดูแลรักษาความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ
6. สถานศึกษากำหนดแนวปฏิบตั กิ ารใชห้ อ้ งนำ้ ห้องสว้ มท่ีปลอดภัย
7. ปรับปรุงซ่อมแซมเปล่ียนแปลงอุปกรณ์ ห้องน้ำ ห้องสว้ มที่ชำรดุ ใหส้ ามารถใชง้ านได้ดี
8. เม่ือเกดิ อุบัติเหตุ ต้องมกี ารปฐมพยาบาลนำส่งสถานพยาบาล และรายงานผ้บู ังคับบัญชาทราบ
9. เมื่อเกดิ เหตุฉุกเฉนิ ให้ดำเนินการตามแผนฉกุ เฉนิ สำหรบั สถานศกึ ษาส่วนท่ี 4 การควบคุมกำกบั ติดตาม
และรายงาน
แนวทางการแกป้ ัญหา
1. ปฐมพยาบาลเบื้องตน้ นำส่งโรงพยาบาล
2. รายงานผู้บังคับบญั ชาตามลำดับ
3. แจ้งผู้ปกครองทราบ
4. โรงเรียนใหก้ ารดูแลชว่ ยเหลือตามความเหมาะสม
หน่วยงานและผเู้ กี่ยวขอ้ ง

• โรงพยาบาล

• องค์การบรหิ ารสว่ นตำบล เทศบาลองคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และ
องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ อ่ืนๆ

• สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษา สำนกั งาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสถานีตำรวจภูธร

• ผู้ปกครอง
2. อบุ ตั ิเหตจุ ากบรเิ วณสถานศกึ ษา

อุบตั เิ หตใุ นบริเวณโรงเรยี นสว่ นใหญ่ เป็นเหตกุ ารณ์ที่เกิดข้นึ โดยมิได้คาดคิด มิได้จงใจ เม่ือเกิดเหตแุ ล้วมกั
ทำความเสยี หายให้กบั บุคคล และทรัพย์สนิ ปจั จบุ ันความเจรญิ ก้าวหนา้ ดา้ นเทคโนโลยไี ด้เขา้ มามีบทบาทใน

๑๐

สงั คมไทยอยา่ งมากโดยเฉพาะโรงเรยี น เป็นผลใหค้ รู และบคุ ลากรทางการศึกษานักเรยี น ตลอดจนผูเ้ ก่ียวขอ้ งทุก
คนไดร้ บั ประโยชน์ และความสะดวกสบายเปน็ อนั มาก แต่ในขณะเดียวกันการเกิดอบุ ัตเิ หตกุ ็เพิ่มขึน้ เปน็ เงาตามตวั

ในบริเวณโรงเรียน อบุ ตั ิเหตุส่วนใหญ่ทีพ่ บมักจะเกดิ จากการพลดั ตก หกลม้ จากการวิง่ ซุกซนของนักเรียน
หรือการเล่นกีฬาทำให้เกดิ บาดแผล กระดูกหัก ข้อเคลื่อน เปน็ ต้น บางคร้ังเกิดจากบาดแผลถกู ของมีคม เชน่ ใบมีด
โกนเหลาดนิ สอ หรอื บางคร้งั เกดิ จากสิง่ ปลูกสรา้ ง และเคร่ืองใช้ของโรงเรยี นบกพร่องสกึ กรอ่ นเสียหายซ่งึ ลว้ น
แลว้ แต่เปน็ สาเหตุทีก่ ่อให้เกิดอบุ ัติเหตภุ ายในโรงเรียนได้ทัง้ สิ้น

สาเหตุของการเกดิ อบุ ตั เิ หตจุ ากบรเิ วณโรงเรยี น และสภาพแวดลอ้ มของโรงเรียน
1. ความบกพรอ่ ง เส่ือมสภาพของสิ่งปลกู สรา้ ง เครอื่ งมือ เครื่องใช้ และสภาพส่งิ แวดลอ้ ม

ภายในบริเวณโรงเรียน เชน่ ตน้ ไม้ สนามกีฬา ร้ัว และประตูโรงเรียน เป็นตน้
2. การควบคุม ดูแลของครูและบุคลากรทางการศึกษา ในการประกอบกิจกรรมของนักเรยี นใน

สถานทตี่ า่ งๆ ภายในโรงเรยี นไมร่ ดั กุมเพียงพอ
3. การเขม้ งวด กวดขนั ในมาตรการรกั ษาความปลอดภัยในสถานศกึ ษาไมม่ ีการปฏิบตั ิอย่าง

ตอ่ เน่ือง
4. ขาดการซ่อมแซม บำรงุ รักษา สิ่งปลกู สรา้ ง เครือ่ งมอื เครอ่ื งใช้ และสภาพแวดล้อมของ

ภายในโรงเรยี น
5. ความประมาทเลินเล่อ ขาดความระมดั ระวงั และการขาดทักษะของนักเรยี นในการเลน่ กีฬา

หรือการประกอบกจิ กรรมภายในบริเวณโรงเรียน
6. ไมม่ ีการฝกึ อบรมซักซอ้ ม ทำความเข้าใจเกี่ยวกบั มาตรการรักษาความปลอดภัยใน

สถานศึกษาอย่างตอ่ เนือ่ ง
บริเวณโรงเรียนเป็นสิง่ แวดลอ้ มทอี่ ยู่ใกล้ตัวนักเรียนมากท่ีสุด เปน็ สว่ นท่นี กั เรียนทกุ คนต้องใช้ประกอบ

กจิ กรรมตลอดเวลา ดงั นน้ั โรงเรียนต้องให้ความสำคัญเป็นพิเศษ ในเร่ืองของความปลอดภัย จงึ ควรกำหนด
มาตรการป้องกัน และแกไ้ ขอุบัตเิ หตุดงั น้ี

2.1 มาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ขอุบัตเิ หตุทีเ่ กดิ จากร้ัว และประตูโรงเรียน
1. จดั ให้มกี ารตดิ ต้ังร้ัว และประตโู รงเรยี นให้ได้มาตรฐานความปลอดภยั
2. จัดใหม้ ผี รู้ บั ผดิ ชอบ และหมนั่ ตรวจสอบอย่างสมำ่ เสมอ เพ่ือหลกี เลีย่ งการเกดิ อุบัตเิ หตอุ ยา่ ง

น้อยสปั ดาห์ละ 1 ครั้ง ในกรณที ่ีพบการชำรุดให้รบี ดำเนนิ การปรบั ปรุงซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพที่ใชง้ านได้
ปลอดภยั

3. จัดใหม้ ีปา้ ยคำเตอื น เพ่ือหลกี เลย่ี งความเส่ียงต่อการเกดิ อบุ ัตเิ หตุ
4. จดั ให้มีปา้ ยคำเตอื น เพื่อหลกี เล่ียงการเกิดอบุ ัตเิ หตุ และใหม้ แี นวเขตห้ามผู้ทไี่ ม่เก่ยี วข้อง
เขา้ ใกล้ระหวา่ งดำเนินการซ่อมแซม หรือรื้อถอน

๑๑

5.ในกรณเี กิดอบุ ัติเหตุต้องมีการปฐมพยาบาล นำสง่ สถานพยาบาล และรายงาน
ผบู้ งั คับบัญชาทราบ

2.2 มาตรการปอ้ งกัน และแก้ไขอบุ ตั เิ หตุท่ีเกดิ จากบอ่ น้ำ สระนำ้ และบอ่ เลี้ยงปลา
1. จัดใหม้ ีฝาปิดบอ่ นำ้ และมีการใช้เครื่องสบู นำ้ หรือคนั โยกน้ำแทนการตัก
2. ห้ามเดก็ เล็กเขา้ ใกล้บริเวณบ่อน้ำสระน้ำ บ่อเลี้ยงปลา ยกเวน้ กรณีที่มคี รูควบคุมดูแล

ในระหว่างทำกจิ กรรม
3. จดั ให้มคี รคู วบคมุ ดูแลนกั เรียนอยา่ งใกลช้ ดิ ในชว่ งทีม่ ีการทำกิจกรรมใกลบ้ ่อนำ้
4. จัดทำร้ัว หรือแนวเขตโดยรอบบอ่ นำ้ สระนำ้ บ่อเลยี้ งปลา และจดั ทำปา้ ยคำเตือนกำหนดแนว

ปฏิบตั เิ ก่ียวกับการใช้
5. ตดิ ตั้งไฟฟ้าส่องสว่างในบรเิ วณบ่อน้ำสระนำ้ หรือบ่อเล้ยี งปลา
6. จดั ให้มีการปรบั ปรงุ ซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพสมบรู ณ์
7. ส่งเสริมมกี ารสอนวา่ ยน้ำ ให้นกั เรยี นทุกคนในโรงเรียน เพื่อป้องกันอนั ตราย
8. ในกรณีเมอื่ เกดิ อบุ ตั ิเหตุแล้วต้องมีการปฐมพยาบาลนำสง่ สถานพยาบาล และรายงาน

ผ้บู งั คับบญั ชาทราบ
2.3 มาตรการป้องกัน และแก้ไขอบุ ตั ิเหตทุ ่ีเกดิ จากเขตก่อสรา้ ง และกองวสั ดชุ ำรุด
1. จดั ทำแนวเขตบริเวณก่อสรา้ งเพื่อป้องกันนกั เรียนเขา้ ไปในบริเวณดงั กล่าว
2. กำหนดให้ผู้ก่อสร้าง ตดิ ตั้งอปุ กรณ์ป้องกนั เศษวัสดตุ กหล่น นอกบริเวณการก่อสรา้ ง
3. จัดเก็บวัสดุอุปกรณใ์ นการก่อสรา้ ง ซ่งึ อาจก่อให้เกิดอันตรายให้มิดชดิ และต้องมสี ัญลักษณ์

บอกเขตใหช้ ดั เจน
4.จัดให้มกี ารตรวจสอบการ ใชอ้ ุปกรณ์การก่อสรา้ ง ใหอ้ ยู่ในสภาพทส่ี มบรู ณป์ ลอดภยั โดยมี

ระยะเวลาในการตรวจสอบชัดเจน

4. จัดใหม้ ีเจา้ หน้าที่กำกบั ดูแลการสรา้ งอยา่ งใกลช้ ดิ หากพิจารณาเห็นวา่ จะเปน็ อนั ตรายแก่
นกั เรยี นให้เลย่ี งไปปฏบิ ัติในเวลาหลงั เลิกเรียน หรือวนั หยุดราชการ

5. ในกรณเี มื่อเกิดอบุ ัตเิ หตุ ต้องมีการปฐมพยาบาล นำสง่ สถานพยาบาล และรายงาน
ผบู้ ังคบั บัญชาทราบ

2.4 มาตรการป้องกนั และแกไ้ ขอุบตั เิ หตุที่เกิดจากต้นไม้
1. จดั ใหม้ เี จา้ หน้าทต่ี ัดแตง่ กง่ิ ไม้ให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัยอย่เู สมอ หม่นั ตรวจสอบ และกำจดั

แมลงมีพษิ
2. จดั ใหม้ ผี ู้รบั ผิดชอบ หมัน่ ตรวจสอบ ต้นไม้ทีต่ ายแลว้ โดยให้เรง่ ดำเนินการตดั ทิ้ง หรือตน้ ไม้

ใหญ่ทีม่ ผี ลขนาดใหญ่ เก็บผลตามเวลาทเ่ี หมาะสม

๑๒

3. จัดใหม้ กี ารให้ความรู้ และสรา้ งความตระหนักแกน่ กั เรยี นเก่ียวกับอนั ตรายทเี่ กดิ จากต้นไม้
เชน่ พษิ ของยางไม้ พิษจากเกสร และหนาม เปน็ ต้น

4. หา้ มนกั เรียนอยู่ใตต้ ้นไม้ขณะท่ีมลี มพายพุ ัด หรือฝนตก
5. หลีกเลีย่ งการจดั กิจกรรมท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการปนี ตน้ ไม้
6. จดั แนวเขตป้องกัน และเลือกพันธ์ุไม้ท่ีจะปลกู ในบริเวณโรงเรียนใหเ้ หมาะสม
7. ในกรณีเมอื่ เกดิ อุบัติเหตตุ ้องมีการปฐมพยาบาลนำสง่ สถานพยาบาล และรายงาน
ผบู้ ังคบั บัญชาทราบ
2.5 มาตรการป้องกัน และแก้ไขอบุ ัตเิ หตุทเี่ กดิ จากสนามสนามเดก็ เล่น สนามกีฬา และ
อุปกรณก์ ีฬา

1. จดั ใหม้ ีการตรวจสอบสนาม และอุปกรณเ์ ครื่องเล่นในสนามเด็กเล่นสนามกฬี าให้
อยู่ในสภาพที่ใชง้ านโดยได้อย่างปลอดภัย เชน่ แป้นบาสเกตบอลชนดิ เคลื่อนทีไ่ ด้ เสากีฬาชนดิ หลอ่ ฐานดว้ ย
ลอ้ ยางเสาประตูฟตุ บอล เป็นต้น

2. ควรหลีกเลย่ี งการจัดซ้ืออุปกรณก์ ีฬา หรอื เครือ่ งเล่นทีอ่ าจก่อให้เกิดอนั ตรายได้ง่าย
เชน่ หว่ งหมนุ ลูกโลกหมุนเป็นตน้

3. จดั ทำป้ายข้อกำหนด และวธิ ีการใชเ้ คร่ืองเล่นทุกชนดิ ในสนาม
4. จัดใหค้ วามรู้ และแนวทางปฏิบัตแิ กน่ กั เรียนในกรณีท่ีนักเรยี นพบสงิ่ แปลกปลอม
ซง่ึ อาจเป็นวัตถุระเบดิ หรือวตั ถุอนั ตรายอนื่ ๆ
4. จดั ให้มีการบำรงุ ดแู ลรักษาความสะอาดโดยรอบเพอ่ื ให้ปราศจากเศษวัสดุทีเ่ สี่ยงต่อ
การเกิดอนั ตราย เชน่ ตะปูไมเ้ สียบลกู ชิ้น เศษแก้ว สัตวม์ พี ิษ เป็นต้น
5. จะติดต้ังอุปกรณเ์ ครื่องเลน่ ในส่วนทจ่ี ะต้องมนี อ๊ ตยึดฐาน ต้องหมัน่ ตรวจสอบให้
แข็งแรงม่นั คงอยู่เสมอ
6. ในกรณเี มือ่ เกดิ อุบตั เิ หตุ ตอ้ งมีการปฐมพยาบาลนำสง่ สถานพยาบาล และรายงาน
ผบู้ ังคบั บญั ชาทราบ
2.6 มาตรการปอ้ งกัน และแก้ไขอบุ ัตเิ หตทุ ีเ่ กิดจากโอ่งน้ำ บ่อเกรอะ บ่อซึม ถงั เก็บน้ำ

1. จัดใหม้ ีฝาปดิ มดิ ชิดทไ่ี ด้มาตรฐาน
2. จัดเจ้าหน้าทตี่ รวจสอบ โอง่ น้ำ บ่อเกรอะ บ่อซึม ถงั เก็บนำ้ ให้อยใู่ นสภาพท่ีใชก้ าร
ได้อยู่เสมอ
3. จดั เจ้าหนา้ ท่บี ำรุงดูแลทำความสะอาดห้องน้ำถังเก็บนำ้ อย่างสมำ่ เสมอ
4. จัดทำป้ายประกาศข้อควรระวังอนั ตรายทีจ่ ะเกดิ ข้นึ ปิดประกาศไว้ใหเ้ ห็นชัดเจน
5. จัดให้มีแนวเขตหา้ มนกั เรียนเขา้ ใกล้บรเิ วณโอ่งนำ้ ถงั เก็บน้ำบอ่ เกรอะ
6. จัดใหม้ ผี ้รู ับผดิ ชอบตรวจสอบความเรียบร้อยและรายงานผลทุกสัปดาห์

๑๓

7. ในกรณีเม่ือเกดิ อุบัติเหตุต้องมีการปฐมพยาบาลนำสง่ สถานพยาบาล และรายงาน
ผ้บู ังคบั บญั ชาทราบ

2.7 มาตรการปอ้ งกนั และแก้ไขอุบัตเิ หตุทเี่ กดิ จากเตาเผาขยะ และทีท่ ง้ิ ขยะ
1. จดั ใหม้ ถี งั ขยะแยกประเภทเพื่อสะดวกในการจดั เก็บ และทำลาย
2. จดั ให้มกี ารสง่ เสริมความรู้ และปลกู ฝังจิตสำนึก และสรา้ งนิสยั การทงิ้ ขยะอย่างถูกวิธี
3. การทำลาย หรอื แปรสภาพใหเ้ ลอื กใช้วธิ ีการ และเวลาอย่างเหมาะสม เชน่ การ

ทำลายสารเคมีกระป๋องสี สเปรย์ หลอดไฟฟา้ เศษแกว้ เป็นตน้
4. จดั ใหม้ ีแนวเขตห้ามนกั เรยี นเขา้ ใกลบ้ ริเวณเตาเผาขยะ และที่ทิ้งขยะ
5. ในกรณีเมือ่ เกดิ อุบตั เิ หตตุ ้องมีการปฐมพยาบาล และนำสง่ สถานพยาบาล และ

รายงานผู้บังคบั บญั ชาทราบ

3. อบุ ตั ิเหตุจากสภาพแวดล้อมของสถานศกึ ษา
สภาพแวดลอ้ มของสถานศึกษา หมายถงึ อาคารสถานที่ และบรเิ วณโรงเรียนท่ใี ชเ้ ปน็ ทจี่ ดั การเรยี นการ

สอน และกจิ กรรมต่างๆที่เกย่ี วข้องกบั นักเรียนสภาพแวดล้อมของสถานศกึ ษามีความสำคญั ต่อนักเรียน
และผ้ปู ฏบิ ตั งิ านในสถานศกึ ษามาก

การสขุ าภบิ าลสงิ่ แวดล้อมโรงเรยี น หมายถึง การจดั การควบคุมดแู ล และปรับปรงุ ภาวะต่างๆ ของ
โรงเรียน และสิ่งแวดล้อมให้ถูกต้องเหมาะสม และอย่ใู นสภาพทถ่ี ูกสุขลกั ษณะโรงเรยี นทุกแห่งมีองคป์ ระกอบท่ี
สำคัญคล้ายคลงึ กันท้งั ในดา้ นโครงสรา้ งบทบาทหนา้ ท่ีการปฏบิ ัติ และการส่งเสรมิ สภาพแวดล้อมท่ีถูกสุขลักษณะ

การสขุ าภิบาลสิ่งแวดลอ้ มจะมผี ลตอ่ สุขภาพ และลดความเสย่ี งของภาวะที่จะเกดิ อุบัติเหตขุ องนักเรยี น
ทง้ั นเ้ี พราะนักเรยี นจะใช้เวลาเรียนรู้ และอยใู่ นสภาพแวดล้อมของสถานศึกษามากกว่าครง่ึ ของเวลาชว่ งกลางวันแต่
สภาพแวดล้อมทีส่ ่งผลต่อความปลอดภัยในสถานศกึ ษานั้นมไิ ดม้ ีเฉพาะในสถานศึกษาเท่านนั้ มลภาวะของ
ส่งิ แวดล้อมภายนอกกส็ ่งผลต่อนกั เรียนเช่นกนั ซ่ึงมลภาวะส่งิ แวดลอ้ มภายนอกนี้เปน็ สิ่งท่อี ยู่นอกเหนือ และยาก
ตอ่ การควบคุมจดั การของสถานศกึ ษา เช่น ปัญหาด้านขยะมลู ฝอย มลพิษทางอากาศ นำ้ เสยี มลภาวะทางเสียง

ปญั หาเหล่านเ้ี กดิ ขึ้นเฉพาะสังคม ชุมชน สถานประกอบการ หรอื แมแ้ ตน่ ักเรยี นขาดจิตสำนึก ความ
ตระหนกั ต่อการอนุรกั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม จนส่งผลโดยรวมทั้งทางตรง และทางอ้อมแต่นักเรยี นซ่ึงได้กำหนดมาตรการ
ปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาข้างต้นไวก้ วา้ ง ๆ ดังน้ี

มาตรการปอ้ งกนั และแนวทางการแก้ไข
1. มีการสำรวจสภาพปัญหาดา้ นสิง่ แวดล้อม และมลภาวะในสถานศกึ ษา และชุมชนแล้ว

จัดลำดบั ความสำคญั ของปญั หาเพ่ือหาแนวทางแก้ไขปญั หาต่อไป
2. มีการแต่งตัง้ คณะกรรมการโดยใช้ชุมชน และองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ให้มสี ว่ นรว่ มใน

การหาแนวทางป้องกนั และแกป้ ญั หา

๑๔

3. มกี ารประสานงานกบั หน่วยงานทเี่ กยี่ วข้องใหก้ ารสนับสนุนในการปอ้ งกัน และแก้
ปญั หาด้านส่ิงแวดลอ้ ม

4. ส่งเสริมจัดกิจกรรมสร้างจิตสำนึก และความตระหนักต่อปัญหาสิง่ แวดลอ้ มให้กับนักเรยี น
บุคลากรในสถานศึกษา และชุมชนใกล้เคยี ง

5. เมือ่ เกดิ อุบตั ิเหตตุ ้องมีการปฐมพยาบาลนำส่งสถานพยาบาล และรายงานผ้บู ังคับบญั ชาทราบ

4. อบุ ตั เิ หตจุ ากเครอื่ งมือ เครือ่ งใช้ และอุปกรณต์ ่าง ๆ
เครอ่ื งมือ หมายถงึ อปุ กรณ์ประกอบการทำงานท่ีใช้มอื เช่น เลอื่ ย คอ้ น หรือไขควง เปน็ ตน้ การใช้

เคร่ืองมือไมถ่ ูกวิธี หรือไม่เหมาะสมกบั งาน ก็อาจเปน็ สาเหตุอยา่ งหน่ึงทท่ี ำให้เกิดอบุ ัติเหตุข้นึ ได้ ดังนนั้ เพ่ือลด
อบุ ัตเิ หตุจากการใช้เครื่องมือในการปฏิบัติงาน ผู้ปฏบิ ัตงิ านจะต้องเข้าใจหลักการพน้ื ฐานของการใชเ้ ครื่องมือใน
การปฏิบัติงานใหถ้ ูกต้อง

หลักพ้ืนฐานของการใชเ้ ครอื่ งมืออย่างปลอดภยั
เลือกใช้เคร่อื งมือให้เหมาะสมกบั งาน
• ใช้เครื่องมือให้ถกู วธิ ี
• รักษาเคร่ืองมือให้อยู่ในสภาพดีเสมอ
• ในการรับส่งเครื่องมือจะตอ้ งกระทำใหถ้ ูกวิธี
• เกบ็ รักษาเคร่ืองมือให้อยู่ในท่ีทีป่ ลอดภัย
• ในระหว่างการทำงานควรจะวางเคร่ืองมือใหเ้ ปน็ ระเบยี บเพ่ือความปลอดภยั
• ในการขนยา้ ยเครือ่ งมือจะต้องให้เกิดความปลอดภยั

ดังนนั้ เครื่องมอื เคร่อื งใช้ และอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ภายในสถานศึกษา จึงเปน็ เสมอื นสื่อ หรือเครื่องทนุ่ แรง
เครอ่ื งมือ เคร่ืองใช้ และอุปกรณต์ า่ ง ๆ ในสถานศึกษาท่ีอาจก่อให้เกดิ อุบัติเหตุมีหลายประเภท ไดแ้ ก่

1. เครื่องมือกล เช่น เคร่อื งตัดหญ้า เคร่ืองเช่ือมโลหะ เคร่ืองตัดโลหะ และ เครอื่ งสบู นำ้ เป็นตน้
2. เคร่ืองมอื เกษตร เช่น มดี ดายหญ้า จอบเสียม พล่ัว เคร่ืองพ่นยาฆา่ แมลง และกรรไกรตัดกง่ิ ไม้เป็นต้น
3. เคร่ืองมอื ชา่ ง เชน่ สวา่ นไฟฟา้ เลื่อยกลไฟฟ้า หัวแร้ง ไฟฟา้ กบ และ สิว เป็นต้น
4. เคร่อื งมือกลมุ่ วิชาคหกรรม เชน่ มีด ตู้อบ แก๊สหงุ ต้มน้ำมัน เครือ่ งอบไฟฟ้า เปน็ ตน้
5. เครื่องมอื ในการทดลองวิทยาศาสตร์ หลอดทดลองสารเคมี และตะเกยี งแอลกอฮอล์ เป็นต้น
6. อปุ กรณก์ ีฬา เชน่ เปตอง แหลนจากปืนปลอ่ ยตัวนกั กีฬา ลูกทมุ่ น้ำหนกั และ อุปกรณ์ว่งิ ขา้ มร้ัว เป็นต้น
แนวทางการดำเนนิ การ

1. ตรวจสอบเคร่ืองมือเครื่องใช้ และอุปกรณต์ ่างๆใหม้ ีสภาพดีรวมท้งั กำหนดระยะเวลาในการบำรงุ รักษา
ตรวจสอบซ่อมแซมให้อยูใ่ นสภาพทีพ่ ร้อมจะใช้งานอย่เู สมอ

2. ห้ามใช้เครอ่ื งมือ เคร่ืองใช้ และอปุ กรณ์ตา่ งๆ ท่ีอย่ใู นสภาพชำรดุ

๑๕

3. จัดทำค่มู ือการใชก้ ารบำรุงรักษาเคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ และอปุ กรณ์ตา่ งๆ ในแต่ละประเภท
4. ครตู อ้ งแนะนำสาธติ และควบคุมการใช้อยา่ งถูกวิธีตามประเภทของอุปกรณ์ จัดทำแนวปฏิบตั ิ และขอ้
ควรระวงั ในการใชเ้ ครอ่ื งมอื ติดไว้ในห้องปฏบิ ตั ิการตัวอยา่ ง เชน่

4.1 วธิ ีการใช้ตะไบอยา่ งปลอดภยั
1. อย่าใช้ตะไบทไ่ี ม่มดี า้ ม
2. ควรใช้แปรงลวดในการทำความสะอาดรอ่ งฟันตะไบ
3. ตะไบ เปน็ เหลก็ ท่เี ปราะอยา่ ใช้งัดสง่ิ ของ
4. อยา่ ใช้คอ้ นตอกบนตะไบ เพราะ ตะไบอาจจะแตกกระจายเปน็ อันตรายต่อรา่ งกาย
5. ควรใชผ้ ้าทำความสะอาดชิ้นงานท่ที ำการตะไบเสรจ็ แล้วไม่ควรใชม้ ือเปล่า

4.2 ค้อน วิธีการใช้คอ้ นอยา่ งปลอดภัย
1. ในขณะท่ีใชค้ อ้ นให้ระวงั ข้อมือกระแทกกบั ชน้ิ งาน
2. ค้อนทีจ่ ะนำมาใช้งานต้องตรวจสอบใหด้ วี า่ หัวค้อน และดา้ มค้อนยึดตดิ กนั แน่น
3. อยา่ ใชค้ อ้ นสองอันตีกระทบกนั เพราะเม่ือกระทบกันแรงอาจจะแตกเป็นสะเก็ด

กระเด็นออกมาได้
4. ถ้าค้อนกระทบกับชิน้ งานแล้วแฉลบอาจเปน็ อันตรายได้
5. ในการวางชอ้ นบนเกา้ อี้ หรือโตะ๊ ทำงานต้องระมดั ระวงั เพราะถา้ หลน่ ลงมาอาจทำ

ให้ได้รบั อนั ตรายได้
4.3 เลือ่ ยมอื วธิ ีการใชใ้ บเลือ่ ยอยา่ งปลอดภยั
1. ในการยึดใบเลอ่ื ยเข้ากบั โครงเลอ่ื ยจะต้องใหต้ ึงพอดี
2. อยา่ ทดสอบความคมของใบเล่อื ยโดยการลากนว้ิ มือลงบนฟันเล่ือย
3. เก็บเรอ่ื ยในลักษณะที่เอ้ือมมอื ไปหยบิ แล้วมือไม่โดนฟันเลื่อย
4. อยา่ ใช้มอื ไปบนรอยเล่ือยบนช้ินงาน เพราะ ว่ารอยเลื่อยบนช้ินงานมคี วามคมมาก
5. ใบเลื่อยมีความแข็งแต่เปราะ ดังน้ัน ถา้ ใบเลอ่ื ยหักขณะท่ีกำลงั ปฏบิ ตั งิ านอาจ

กระเด็นออกจากโรงเลื่อยจึงต้องระมัดระวงั ด้วยการสวมแว่นนริ ภัย
6. กำกับ ติดตาม ดแู ลนักเรียนในการใช้เครื่องมือเคร่ืองใช้ และอปุ กรณใ์ ห้เหมาะสม

กับประเภทของกจิ กรรม
7. จดั เกบ็ เครื่องมือ เคร่ืองใช้ และอุปกรณ์ ในที่เก็บทุกคร้ังอย่างเปน็ ระเบียบและปลอดภัย
8. แต่งต้งั คณะกรรมการตรวจสอบสภาพไว้อย่างชัดเจนเป็นระบบอยา่ งสม่ำเสมอ
9. ซอ่ มแซมเครื่องมอื เครอ่ื งใช้ และอุปกรณต์ ่างๆ ท่ชี ำรดุ ให้อยใู่ นสภาพพรอ้ มใช้งาน
10. จัดหาเคร่อื งมือ เครอื่ งใช้ และอปุ กรณต์ ่างๆ ทดแทนท่ีชำรดุ จนใช้การไม่ได้
11. เมื่อเกิดอบุ ัตเิ หตตุ ้องมีการปฐมพยาบาลนำส่งสถานพยาบาล และ

๑๖

รายงานผบู้ งั คบั บญั ชาทราบ

แนวทางการแก้ไขปัญหา
1. ปฐมพยาบาลเบื้องตน้ นำส่งโรงพยาบาล
2. รายงานผบู้ งั คบั บัญชาตามลำดบั
3. แจง้ ผ้ปู กครองทราบ
4. โรงเรียนให้การดูแลชว่ ยเหลอื ตามความเหมาะสม

หนว่ ยงานท่ีเก่ยี วขอ้ ง

• โรงพยาบาล

• สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา

• ผู้ปกครอง

5. อุบตั เิ หตุจากการเดนิ ทางไป – กลบั ระหว่างบา้ น และสถานศึกษา
รฐั บาลไดก้ ำหนดใหเ้ รื่องความปลอดภัยบนถนนเปน็ วาระแห่งชาติ และมอบหมายใหห้ น่วยงานทั้งภาครัฐ

และเอกชนรว่ มมอื การรณรงค์ปอ้ งกัน และลดอบุ ัตเิ หตทุ างถนนต่อมาคณะรฐั มนตรใี นคราวประชมุ เมอ่ื วันท่ี 29
มถิ ุนายน 2553 ได้ใหค้ วามสำคญั กับแนวทางการดำเนินการตามกรอบปฏญิ ญามอสโกกำหนดให้
ปี พ.ศ. 2554 ถึง 2563 เปน็ ทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนนโดยมเี ปา้ หมายลดอัตราการเสียชีวิตจาก
อุบัตเิ หตทุ างถนนตำ่ กวา่ ต่อประชากร 100,000 คน ในปี พ.ศ. 2563 โดยกำหนดแนวทางการดำเนินงานดา้ น
ความปลอดภัยทางถนนตามกรอบของ 5 หลักแหง่ ความปลอดภัยขององค์การสหประชาชาตซิ ึ่งประกอบด้วย

หลกั ท่ี 1 การบริหารจดั การความปลอดภยั ทางถนน
หลกั ท่ี 2 ถนน และการสญั จรอย่างปลอดภยั
หลกั ท่ี 3 ยานพาหนะท่ีปลอดภยั
หลักท่ี 4 การใช้รถใชถ้ นนอย่างปลอดภยั
หลักที่ 5 การตอบสนองหลังเกิดอุบัตเิ หตุ
ปจั จุบนั อุบัติเหตทุ างถนนท่ีเกิดขน้ึ ส่วนใหญ่กวา่ รอ้ ยละ 80 เกดิ จากพฤติกรรมของผู้ใชร้ ถใชถ้ นนท่ไี ม่
ถูกต้องทำใหค้ นไทยเสียชวี ติ ในแต่ละปีเป็นจำนวนมาก จากขอ้ มลู สำนักนโยบายและยทุ ธศาสตรก์ ระทรวง
สาธารณสุขพบว่า จำนวนผ้เู สียชวี ติ จากอุบัติเหตุทางถนนในปี พ.ศ. 2553 มจี ำนวน 13,766 คน ส่วนใหญ่เปน็
กลุม่ ผู้มีอายรุ ะหวา่ ง 15-25 ปีจำนวน 4,534 คนซงึ่ คิดเป็นร้อยละ 30 ซ่ึงเป็นกลุ่มนักเรียนนักศึกษา และคนวยั
ทำงาน ดังนน้ั กรมการขนสง่ ทางบกจงึ ได้รว่ มกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จดั ให้มีการ
ประกวดผลงานของสถานศกึ ษาทไ่ี ด้รบั ดำเนินการ และมีผลสมั ฤทธ์ิแลว้ ในเรอ่ื งการแก้ปญั หาความปลอดภัยทาง
ถนนของสถานศึกษาทั่วประเทศ

๑๗

ในระดับชน้ั มัธยมศึกษาของสถานศกึ ษาในสงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจำนวน
9,478 แหง่ และสถานศึกษาของเอกชนจำนวนประมาณ 100 แหง่ ทง้ั น้ไี ด้ตงั้ เปา้ หมายท่ีจะจดั ใหม้ ีการประกวด
สถานศกึ ษาดังกล่าวไดค้ รบถ้วนทุกแห่งภายใน 3 ปีโดยในปี พ.ศ.2556 จะจดั ใหม้ ีการประกวดในกลุ่มสถานศึกษา
ทีม่ ีความพรอ้ มก่อนจำนวน 300 แห่ง และในปี 2557 - 2558 จะดำเนนิ การจดั ประกวดสถานศึกษาทีเ่ หลือ
ตอ่ ไป นักเรียนตอ้ งเดินทางไป-กลบั ระหว่างบา้ น และสถานศกึ ษา ด้วยวธิ ีที่แตกตา่ งกันซึ่งการเดนิ ทางในบางครงั้
นกั เรียนอาจได้รับอุบัติเหตุจากการไมร่ ะมดั ระวงั เก่ียวกบั ความปลอดภัยของตนเอง อนั เป็นสาเหตสุ ำคัญท่ีทำให้
ต้องสญู เสยี ชีวิตอวัยวะ และทรัพยส์ ิน สาเหตทุ ท่ี ำใหน้ ักเรียนไดร้ บั อบุ ตั ิเหตจุ ากการเดินทางไปสถานศึกษา และ
กลบั บ้าน สว่ นใหญม่ าจากการเดนิ ทางโดยทางเท้า ยานพาหนะทางบก และยานพาหนะทางน้ำดังนัน้ เพ่ือเปน็ การ
ปอ้ งกนั การเกิดอบุ ัติเหตุสถานศกึ ษาควรดำเนินการดังน้ี

แนวทางดำเนินการ
1. การเดนิ ทางเท้าของนักเรียน
1.1 สถานศึกษา ผู้ปกครอง และชมุ ชน ตอ้ งรว่ มกนั จัดทำค่มู ือกำหนดมาตรการรักษาความ
ปลอดภยั เกีย่ วกบั สตั ว์ คนร้าย หรอื ยานยนต์ท่ีใช้เสน้ ทางรว่ มกัน
1.2 สถานศึกษาจัดระบบรกั ษาความปลอดภยั ในการเดินทางทงั้ 4 ลกั ษณะ คือ นกั เรียน
ควบคมุ กนั เอง ครู ชมุ ชน เครือขา่ ยผู้ปกครอง และเจา้ หน้าที่ตำรวจโดยกำหนดความรับผดิ ชอบอย่าง
ชดั เจน เชน่ นกั เรยี นเดินแถวไป-กลับสถานศึกษา
1.3 สถานศึกษาควรประสานงาน กับตำรวจจราจร ใหม้ าช่วยปฏิบตั ิงาน ช่วงเวลา 06.00 น.ถึง
08.00 น. และเวลา 15.30 น.ถงึ 18.00 น. ในเสน้ ทางทนี่ กั เรยี นใช้เดินทาง บริเวณหน้าสถานศกึ ษา
1.4 สรา้ งความตระหนกั ในหลกั ความปลอดภยั แก่นกั เรยี น และผปู้ กครองเพอ่ื สร้างวิถชี ีวติ ใหม่
ท่ีวา่ ปลอดภัยไว้ก่อน เพ่ือนำไปส่คู วามปลอดภัยท่ยี ง่ั ยืน เช่น จัดป้ายเอกสารจดหมายขา่ วประชาสัมพนั ธ์
เสยี งตามสายเกีย่ วกับอนั ตรายทจี่ ะเกิดขน้ึ จากการเดินทาง ไป-กลบั สถานศึกษา เปน็ ต้น
1.5 นกั เรียนทำกิจกรรมเกี่ยวกบั การ ปฏบิ ัตติ ามกฎจราจรโดยจัดในชว่ งเวลา และโอกาสท่ี
เหมาะสม เชน่ จดั ระบบการจราจรในสถานศึกษา สำหรับนักเรียนได้ฝึกปฏบิ ตั ิกับตำรวจจราจรโดยตรง
1.6 เมอื่ เกดิ อุบัตเิ หตุต้องมีการปฐมพยาบาล นำส่งสถานพยาบาล และรายงานผูบ้ งั คับบัญชา
ทราบ
2. การเดนิ ทางโดยยานพาหนะทางบก
อบุ ตั เิ หตุทางถนนนน้ั ถือเปน็ ปญั หาสำคญั ที่ทกุ ประเทศกำลงั เผชิญอยู่ และแนวโนม้

มีผเู้ สียชีวติ และบาดเจ็บสูงข้นึ โดยองค์การอนามยั โลก ระบุว่า ทุกปีมผี เู้ สยี ชีวิตจากอุบัตเิ หตทุ างถนนประมาณ
1.3 ลา้ นคน อุบตั ิเหตุทางถนนเป็นสาเหตกุ ารตายอันดบั แรกในกลุม่ อายรุ ะหว่าง 15-29 ปี และเป็นสาเหตกุ าร
ตายอันดับ 2 ในกล่มุ เดก็ อายุระหวา่ ง 5-14 ปี นอกจากนั้นมากกวา่ ร้อยละ 50 ของผู้เสียชวี ิตจากอุบตั เิ หตุทาง

๑๘

ถนนเป็นกลมุ่ คนเดินเทา้ ผู้ใช้จักรยาน และผขู้ ับขี่รถจกั รยานยนต์ ดังนนั้ หากไม่มีการวางแผนปอ้ งกัน และ
แกป้ ญั หา ดังกลา่ ว อตั ราการเสียชีวิตจากอบุ ัติเหตุทางถนนในประเทศท่ียากจนจนถึงปานกลางจะสงู ข้นึ เป็น 2 เท่า
ในปี ค.ศ. 2020 โดยองค์การอนามัยโลกได้จดั ทำรายงานสถานการณโ์ ลก เรื่อง ความปลอดภยั ทางถนนเมอื่ ปี
ค.ศ. 2004 ระบุวา่ ในปี ค.ศ. 2030 การเสยี ชวี ิตเนอ่ื งจากอบุ ัตเิ หตุทางถนนจะกลายเป็นสาเหตุหลกั ในอนั ดบั ท่ี
5 จากทีเ่ คยอยู่ในอันดับที่ 9 ในปี ค.ศ. 2004 โดยจะเป็นอันดับสูงขนึ้ กว่าสาเหตุการเสียชีวติ จากโรคเอดส์ วัณ
โรค และมะเร็งปอด ท่ใี นขณะนเ้ี ปน็ สาเหตกุ ารเสียชีวิตในอันดบั ต้น
มาตรการปอ้ งกนั และแนวทางแก้ไข

1. ให้ความรู้เกยี่ วกับพระราชบญั ญัตกิ ารจราจรทางบก และข้อปฏบิ ัตใิ นการขบั ขป่ี ลอดภัยแก่นกั เรยี น
2. กำกบั ดูแล ใหน้ ักเรียน หรือผ้ขู บั ขี่ปฏบิ ตั ติ ามพระราชบัญญตั กิ ารจราจรทางบก และขอ้ ปฏบิ ตั ิในการ
ขับขีป่ ลอดภัย เชน่ การขับขีร่ ถจกั รยานยนตข์ องนักเรยี นให้ขบั ชิดทางซ้าย ขับตามกันเป็นแถว หา้ มแซง ให้มีการ
ตรวจสอบอปุ กรณ์ตา่ งๆ ของจกั รยานยนตใ์ ห้อยู่ในสภาพท่ีสมบูรณ์ และปลอดภยั อยเู่ สมอ ผซู้ ้อนทา้ ย
รถจกั รยานยนตต์ ้องสวมหมวกนริ ภัย และซอ้ นท้ายเพียง 1 คน เป็นตน้
3. กลุม่ พนักงานขับรถ รับ-ส่ง นักเรยี นให้มีความรู้ และปฏิบตั ิตามกฎจราจรโดยขอความร่วมมอื จาก
สำนกั งานป้องกัน และบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั สำนักงานขนส่งจังหวดั และตำรวจจราจร
4. ขอความร่วมมือจากเจา้ หน้าที่ตำรวจ ในการกวดขนั ดแู ลการขับรถ รบั -สง่ นักเรยี นอยา่ งสมำ่ เสมอ
5. จดั ครเู วรปฏิบัตหิ น้าที่ดแู ลการใช้รถ ใชถ้ นนของนักเรียน บรเิ วณหน้าสถานศึกษา
6. ประสานงานกบั สว่ นราชการทเี่ ก่ียวข้อง และองค์กรเอกชนในการรว่ มมอื ป้องกัน และแกไ้ ขปญั หาดา้ น
การจราจร
7. จดั ทำทะเบียนรถทกุ ชนดิ ทุกประเภทที่ รับ-สง่ นักเรียนโดยมบี ัญชีชอื่ เจา้ ของรถช่ือนักเรยี นที่ใช้บริการ
ประจำ และเส้นทางวงิ่
8. แนะนำผปู้ กครองให้เลือกใชร้ ถ ที่ผา่ นการตรวจสภาพ แลว้ รวมถงึ การเลอื กใชร้ ถท่ีมี
9. ขอความรว่ มมือเจา้ หน้าที่ตำรวจ ควบคมุ อย่างเขม้ งวด สำหรบั รถดดั แปลงเปน็ รถ รับ-สง่ นกั เรยี นหรือ
รถจักรยานยนตร์ บั จา้ งใหม้ ีความปลอดภัย
10. ในกรณีที่เส้นทางรถมอี บุ ัตเิ หตบุ อ่ ยครง้ั ใหข้ อความรว่ มมอื เจ้าหน้าทต่ี ำรวจในพ้ืนที่มมี าตรการในการ
ปอ้ งปรามโดยตงั้ จุดตรวจเป็นระยะ
11. เมือ่ เกดิ อบุ ัติเหตตุ ้องมีการปฐมพยาบาล นำส่งสถานพยาบาล และรายงานผู้บังคับบัญชาทราบ
แนวทางแกไ้ ขปญั หา
1. ปฐมพยาบาลเบื้องต้น และนำส่งโรงพยาบาล
2. รายงานผู้บังคบั บัญชาตามลำดบั
3. แจง้ ผูป้ กครองทราบ
4. โรงเรียนใหก้ ารดูแลชว่ ยเหลือตามสมควร

๑๙

หนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้อง
• โรงพยาบาล
• สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา
• ผู้ปกครอง

6. อุบัตเิ หตจุ ากการพานกั เรยี นไปศึกษานอกสถานศึกษา
ตามเจตนารมณ์ของการปฏริ ูปการศึกษา ได้กำหนดให้มกี ารพัฒนาผู้เรียนอยา่ งเตม็ ศักยภาพด้วยวธิ กี ารสรา้ ง

องค์ความรู้ท่หี ลากหลาย จึงถือเป็นหน้าท่ีของสถานศึกษา และครูผสู้ อนในรายวิชาต่างๆ ทุกกล่มุ สาระทีจ่ ะ ต้อง
ดำเนนิ การ ใหม้ ีประสิทธิผล การพานักเรยี นไปศกึ ษานอกสถานทจี่ ึงเป็นอกี กระบวนการหน่งึ ทส่ี ามารถส่งเสริมให้
ผูเ้ รยี นได้รับประสบการณต์ รง ไดเ้ ปลย่ี นบรรยากาศนอกหอ้ งเรยี นปจั จุบนั การจดั กิจกรรม หรือโครงการพานักเรยี น
ไปศึกษานอกสถานท่ี จงึ เปน็ ที่นิยม และแพร่หลายมากข้ึนเปน็ ลำดบั และบางครั้งอาจมีอบุ ตั ิเหตุเกิดขึ้น ดังนนั้
เพอื่ ให้เกิดความปลอดภัยในการทำจัดกิจกรรมดังกล่าวจึงกำหนดมาตรการในการป้องกนั และแนวทางแก้ไขดังน้ี

การพานักเรียนไปศกึ ษานอกสถานท่ี หมายถึงการที่ครูหรือผูท้ ่ีเปน็ หัวหนา้ สถานศกึ ษาพานกั เรยี นไปเปน็
หม่คู ณะ จะเป็นเวลาเปดิ ทำการสอน หรอื ไม่ก็ตาม ซึ่งการเดินทางไปนน้ั อาจไปและกลบั ในวนั เดยี วกนั หรือไปพัก
คา้ งคนื เหตทุ ่เี กดิ ขึ้นกบั นักเรียนระหวา่ งเดนิ ทางไปศึกษานอกสถานที่ อาจเกดิ จากหลายกรณี เช่น
อบุ ตั ิเหตุจากยานพาหนะ การทำกจิ กรรม และความเจบ็ ป่วย เป็นต้น
แนวทางการดำเนนิ การ

1. ศกึ ษา และปฏิบตั ิตามระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ว่าด้วยเรื่องการพานกั เรยี นไปศึกษานอกสถานที่
โดยเคร่งครัด

2. เตรียมการ และวางแผนการดำเนนิ การ
• กำหนดครรู บั ผิดชอบในดา้ นต่างๆ เช่น ฝา่ ยเส้นทาง และยานพาหนะฝ่ายพยาบาลฝ่ายดูแล

นกั เรยี น เป็นตน้
• ศกึ ษารายละเอียดสถานที่ ทีจ่ ะไปศึกษาโดยชัดเจน
• ศึกษา และกำหนดเสน้ ทางการเดินทาง
• ใหม้ กี ารตรวจสอบสภาพยานพาหนะ และผขู้ บั ขี่
• ทำหนังสอื ขออนญุ าตผคู้ ับบัญชา และผ้ปู กครองนกั เรียน
• จัดทำประวัตินกั เรียนที่ร่วมเดินทาง เชน่ โรคประจำตวั กรุป๊ เลือด เป็นต้น
• ประกนั อุบตั ิเหตใุ ห้กับนักเรียน และครทู ุกคนที่เดนิ ทาง
• จัดให้มกี ารปฐมนเิ ทศครู และนกั เรียนก่อนเดนิ ทาง
• ประสาน หน่วยงานทเี่ กี่ยวข้องในการดูแลความปลอดภยั อาทิ ตำรวจทางหลวงสถานตี ำรวจ

ในพืน้ ที่ ท่ีพักคา้ งคนื และระหว่างเส้นทาง รวมทง้ั สถานีอนามยั โรงพยาบาล

๒๐

• จดั คคู่ วบคุมดูแลนกั เรยี นโดยแบง่ กลุม่ นักเรียนดูแลรับผดิ ชอบซ่งึ กนั และกนั จดั ให้ มีป้ายหรือ
ธงสัญลกั ษณ์ที่สามารถมองเห็นไดแ้ ต่ไกล เพื่อการนัดหมาย และป้องกนั การพลัดหลง

• จดั ให้มีปา้ ยชื่อประจำตัวนักเรียน และรายละเอียดชอ่ื นักเรียน โรงเรียน หมายเลขโทรศัพท์
ท่จี ำเป็นเพื่อการตดิ ต่อในกรณีพลดั หลง หรือเกิดเหตุฉุกเฉิน

3. ในระหว่างการนำนกั เรียน ออกนอกสถานที่ โดยใชย้ านพาหนะ ครผู ู้ควบคมุ ดูแลนกั เรยี นใหอ้ ยูใ่ น
ระเบยี บวนิ ัย และใช้ความระมัดระวงั เป็นอยา่ งดีให้การเดนิ ทางเป็นไปอย่างมีระเบยี บ และเหมาะสมแก่กาลเทศะ
และยานพาหนะต้องมีสภาพสมบูรณท์ ้ังนี้เพื่อความปลอดภัย

4. ควบคมุ ดแู ลในเรอื่ งอาหารที่นกั เรยี นนำไปรบั ประทาน รวมทัง้ ทซี่ ้ือรับประทานดว้ ย
5. จัดเตรยี มอปุ กรณ์ท่ีจำเป็น เชน่ ยาเวชภณั ฑ์ อปุ กรณป์ ฐมพยาบาล เปน็ ตน้
6. หากมกี ารเกิดอบุ ตั ิเหตุใหด้ ำเนนิ การตามแนวปฏบิ ัติสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
7. เม่ือเกิดอบุ ัตเิ หตตุ ้องมีการปฐมพยาบาล และสง่ สถานพยาบาล และรายงานผูบ้ ังคบั บัญชาทราบ
แนวทางแก้ปัญหา
• ปฐมพยาบาลเบื้องต้น/นำส่งโรงพยาบาล
• รายงานผบู้ งั คบั บัญชาตามลำดบั
• แจง้ ผู้ปกครองทราบ
• โรงเรียนใหก้ ารดูแลชว่ ยเหลือตามความสมควร

7. อบุ ตั ิเหตุการนำนกั เรียนไปร่วมกิจกรรมสำคญั
การรว่ มกจิ กรรมสำคญั เปน็ กิจกรรมทีท่ างโรงเรียนจัดให้มขี ึ้น เพอื่ สง่ เสรมิ เร่ืองคุณธรรมจริยธรรมทกั ษะ

ความสามารถในด้านตา่ งๆ ของนักเรียน และเป็นการสนองความต้องการของชมุ ชนซ่ึงชมุ ชนมักจะขอความร่วมมือ
จากสถานศึกษาอยูเ่ ป็นประจำ เช่น กจิ กรรมการแสดงของนักเรียนกิจกรรมเข้าคา่ ยพักแรมลูกเสอื เนตรนารี และ
ยวุ กาชาด เปน็ ต้น กจิ กรรมต่างๆ เหลา่ น้หี ากครูผคู้ วบคมุ ไม่วางแผนการทำกิจกรรมตา่ งๆ เหล่าน้ี หากครูผ้คู วบคมุ
ไมว่ างแผนการทำกจิ กรรมต่างๆ ให้รอบคอบ นกั เรยี นขาดความระมัดระวังในการทำกจิ กรรม ข้นั ตอนทถี่ ูกต้อง
สถานทใี่ ช้ทำกิจกรรมมลี กั ษณะท่ีอาจก่อใหเ้ กิดอันตรายได้โดยง่าย หรอื อุปกรณ์ที่ใชอ้ ยู่ในสภาพชำรุด อบุ ัตเิ หตุก็
อาจเกดิ ข้ึนกับนักเรยี น การร่วมกิจกรรมสำคัญตา่ งๆ จึงต้องมีมาตรการป้องกนั ทีด่ ี
การแสดงของนกั เรียนบนเวทหี รอื กลางแจง้

การจัดกิจกรรมการแสดงของนกั เรยี นบนเวที หรือการแสดงกลางแจ้ง เฉพาะพบเห็นไดใ้ นโรงเรยี น
ทกุ ระดับ เชน่ เนื่องในโอกาสวันสำคญั สำคัญของทางราชการ และของโรงเรียน มอี งคป์ ระกอบหรือปจั จัยหลาย
ประการทส่ี ง่ ผลให้เกดิ อบุ ตั เิ หตุในระหว่างการจัดกจิ กรรมได้ ดว้ ยความห่วงใยสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา
ขั้นพื้นฐานจึงกำหนดมาตรการป้องกัน และแนวทางแก้ไขไว้ดังน้ี

๒๑

1. ตอ้ งตรวจสอบความม่นั คง แขง็ แรงของเวทบี นั ได และอุปกรณป์ ระกอบ ใหม้ ีความปลอดภัย
2. ตรวจสอบระบบกระแสไฟฟ้าทปี่ ระดบั ตกแตง่ บนเวที และบริเวณงานใหม้ ีความปลอดภยั
3. ควรหลกี เลี่ยงการแสดงทเี่ ส่ยี งตอ่ การเกิดอนั ตราย เชน่ มกี ารต่อตัวกันหลายๆชน้ั การแสดงที่
ผาดโผน การแสดงท่ีตอ้ งใช้ของมีคม หรอื อุปกรณ์ท่กี ่อใหเ้ กิดอันตราย
4. จัดระบบรักษาความปลอดภัยในการแสดงแต่ละประเภทให้ถกู ต้อง
5. เมอื่ เกดิ อบุ ัติเหตตุ ้องมีการปฐมพยาบาล นำส่งสถานพยาบาล และรายงานผู้บังคบั บัญชาทราบ
การเดนิ รณรงค์ลักษณะต่างๆ
การเดินรณรงค์ ในโอกาสตา่ งๆ ของสถานศกึ ษาจะมีประจำ เช่น ในโอกาสวันสำคญั ๆ อาทิ

• การเดินเทดิ พระเกียรตวิ ันเฉลิมพระชนม์พรรษา

• การเดินรณรงคเ์ ชญิ ชวนให้ไปใช้สิทธเิ์ ลอื กตัง้

• การเดนิ รณรงค์ตอ่ ตา้ นยาเสพติด

• การจดั ขบวนแหเ่ ทยี นพรรษา

• ฯลฯ
จากข้อมลู ทผี่ ่านมา พบว่า การเดนิ รณรงค์ในลักษณะดังกล่าวข้างต้น จะมีอบุ ัติเหตุเกดิ ข้ึนเสมอสำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐานจึงกำหนดมาตรการป้องกัน และแนวทางแก้ไขใหส้ ถานศึกษา
ถอื ปฏบิ ตั ิดงั น้ี
1. ต้องประสานงานกับตำรวจจราจรในเร่ืองการเดนิ รณรงคบ์ นถนน
2. ต้องมคี รผู ูค้ วบคุมนกั เรยี นในการทำกิจกรรมทกุ ครัง้
3. ต้องมีหนว่ ยปฐมพยาบาลจากหน่วยงานสาธารณสขุ หรอื เจา้ หนา้ ทีพ่ ยาบาลทว่ั ไปในกระบวน
4. กำหนดระยะทางท่เี หมาะสมกบั อายุของนักเรียน
5. ต้องมกี ารสำรวจสขุ ภาพ และความพร้อมของนักเรียนก่อนเข้ารว่ มกิจกรรม
6. เมือ่ เกิดอุบตั เิ หตตุ ้องมีการปฐมพยาบาล นำสง่ สถานพยาบาล และรายงานผบู้ งั คบั บัญชาทราบ
การเล่นกฬี าและการแข่งขนั กีฬา
สถานศกึ ษาควรส่งเสริมใหน้ ักเรยี นทุกคนเลน่ กฬี าตามความถนัด จดั ให้มคี วามหลากหลายในประเภทของ
กีฬา เพื่อเป็นการส่งเสริมพัฒนาการดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ สงั คม และสตปิ ญั ญาแก่เดก็
มาตรการการป้องกนั และแนวทางแก้ไข
1. จดั หรือเลอื กประเภทกีฬา ให้เหมาะสมกับอายุ เพศ และสภาพรา่ งกายของนกั เรยี น
2. ตรวจตราดูแลสถานท่ี และอุปกรณส์ นาม ให้มีความพร้อมสมบรู ณ์ มน่ั คง แขง็ แรง และปลอดภยั ก่อน
การใช้ประกอบกิจกรรมทกุ ครง้ั
3. ตรวจสอบอปุ กรณก์ ีฬาต่างๆใหไ้ ดม้ าตรฐาน

๒๒

4. ให้ความรูน้ ักเรียนในด้านวิธีใชอ้ ปุ กรณ์ การดูแลรกั ษา และปฏิบัติตามข้อกำหนดโดยเคร่งครดั
เมอื่ เล่นกีฬาฝึกซ้อม หรือแข่งขนั ควรจดั ทำแนวปฏิบัตแิ ละข้อควรระวังในการใช้สนาม ตดิ ไวบ้ ริเวณสนาม

5. ต้องมีครผู รู้ บั ผดิ ชอบในระหว่างการเล่นฝึกซอ้ มแข่งขันกีฬา
6. ต้องจดั ให้มรี ะบบรักษาความปลอดภยั และการรักษาพยาบาลในการจัดกจิ กรรมการแข่งขันทกุ คร้ัง
7. เม่ือเกิดอุบัติเหตุต้องมีการปฐมพยาบาลนำส่งสถานพยาบาล และรายงานผ้บู งั คบั บญั ชาทราบ
กิจกรรมเขา้ คา่ ยพักแรมลกู เสือ เนตรนารี และยวุ กาชาด กจิ กรรมเข้าคา่ ยคณุ ธรรมจริยธรรม
กิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ เนตรนารีและยุวกาชาด ถือเปน็ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นท่ีทางสถานศึกษาจดั
ให้กบั ผูเ้ รยี น เพื่อพฒั นาความมรี ะเบียบวินยั และเสรมิ สร้างคณุ ธรรมจรยิ ธรรมในทุกๆ ปเี มือ่ สิน้ สดุ ฤดฝู นอยู่ในชว่ ง
ภาคเรยี นที่ 2 จะเปน็ ช่วงเวลาทส่ี ถานศึกษาจัดกจิ กรรมเข้าค่ายพักแรมของนักเรียนทเ่ี รียนกจิ กรรมลูกเสือเนตร
นารี และยุวกาชาดซง่ึ การจัดกิจกรรมดังกล่าวจะจำแนกได้ 2 ลกั ษณะ คือ

1. การจัดกิจกรรมภายในสถานศึกษา
2. การจัดกิจกรรมภายนอกสถานศกึ ษาสถานท่ีค่ายลูกเสอื ท้งั ของภาครฐั และเอกชน การเกดิ
อบุ ตั เิ หตรุ ะหวา่ งการอยคู่ า่ ยพักแรม จะเกิดขึ้นเป็นประจำ ในบางครง้ั อาจรุนแรงถึงมผี ู้เสียชวี ิต สำนกั งาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานจงึ กำหนดมาตรการปอ้ งกันและแนวทางแกไ้ ขไว้ดงั ต่อไปน้ี

1. การเตรียมสถานท่ี ต้องแน่ใจว่าเปน็ สถานทเี่ หมาะสม และปลอดภัย
2. การตรวจสอบเส้นทางการเดนิ ทาง และยานพาหนะใหม้ ีความปลอดภัย
3. ดำเนนิ การขออนุญาตตามระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ ารว่าด้วยการพานักเรยี น
ไปศึกษานอกสถานท่ี
4. กำหนดบุคลากรในการควบคมุ ดูแลลูกเสือ เนตรนารี ให้เพยี งพอเหมาะสมกับนักเรียน
5. ประสานงานกบั ผ้เู ก่ียวข้องในพนื้ ท่เี พ่อื การดแู ลรักษาความปลอดภัยใน
การอยู่ค่ายพักแรม
6. จดั เวรยามในการป้องกันเหตรุ ้ายต่าง
7. จัดใหม้ ีเจา้ หนา้ ทพ่ี ยาบาล และเคร่ืองเวชภัณฑใ์ นการปฐมพยาบาล
8. เตรียมอาหาร และน้ำด่ืมท่ีสะอาด ถูกสุขอนามัย
9. ตรวจสอบอปุ กรณก์ ารอยู่ค่ายพักแรมให้อยใู่ นสภาพที่พรอ้ มใช้งาน เช่น เตน็ ท์ เคร่ือง
นอน หมอน มุ้ง ไฟฉาย ไม้ขดี ไฟ เป็นตน้
10. จดั ท่ีพักลกู เสอื เนตรนารี ให้แยกเป็นสดั ส่วน
11. จดั ให้มกี ารประกันอบุ ตั ิเหตหุ มู่ นกั เรียน และบุคลากร
12. กรณีทนี่ ักเรียนเกิดพลัดหลง หรือหายจากการไปศึกษานอกสถานที่ หรืออยู่ค่ายพักแรม
ให้แจง้ และประสานงานกับผ้ดู ูแลสถานที่บุคคลในท้องท่ี หรือเจา้ หน้าทที่ ่ีเก่ียวข้องเพือ่ วางแผน คน้ หา ตดิ ตาม
และแจง้ ใหผ้ ปู้ กครอง ผู้บังคับบัญชาทราบโดยทันที

๒๓

13. เมื่อเกิดอบุ ัตเิ หตตุ ้องมีการปฐมพยาบาล นำสง่ สถานพยาบาลและรายงาน
ผบู้ งั คับบัญชาทราบ
การเข้าร่วมพฒั นาชุมชน

การพฒั นาด้านจิตสาธารณะ (Public Mind) เป็นหนึ่งในคุณลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องนักเรียนตาม
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พ. ศ. 2551 ทตี่ ้องการเสริมสร้างให้ผู้เรียนเป็นผู้มจี ติ อาสา ร้จู ักการ
บำเพญ็ ประโยชน์ เสยี สละ เพื่อประโยชน์ของสว่ นรวม

สถานศกึ ษาสังกดั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานกวา่ ร้อยละ 95 ตัง้ อยู่ในเขตพื้นทชี่ มุ ชน
การช่วยเหลอื เก้ือกูล ซง่ึ กันและกัน จึงเป็นกิจกรรมท่จี ำเป็น การนำนักเรียนเข้ารว่ มพฒั นาชมุ ชน จึงเป็นอีกภารกิจ
หน่ึงของสถานศึกษา ดังนัน้ เพอื่ เป็นการป้องกนั การเกิดอุบัติเหตุในระหวา่ งการเขา้ ร่วมกิจกรรมจึงกำหนด
มาตรการป้องกัน และแนวทางแก้ไขดงั น้ี

1. หลีกเลีย่ งกิจกรรมท่ีอาจเกิดอันตราย หรือไมเ่ หมาะสมกับนกั เรยี น
2. จดั ครูคอยควบคุมดูแลนักเรยี นอย่างใกล้ชดิ
3. แบ่งหน้าทใี่ ห้เหมาะสมกบั ความสามารถของนักเรียนแต่ละคน
4. ตรวจสอบอปุ กรณ์ เชน่ มีดจอบเสียม เป็นต้น เพอื่ ให้อยูใ่ นสภาพพร้อมใชง้ าน
5. การใชเ้ ครื่องมือโดยเฉพาะของมคี มต้องระมดั ระวงั โดยคำนงึ ถึงความปลอดภัยเป็นหลกั
6. เมือ่ เกดิ อุบัตเิ หตตุ ้องมีการปฐมพยาบาล นำส่งสถานพยาบาล และรายงานผบู้ งั คับบัญชา

การใช้ลูกโปง่ อดั แก๊สในการเปดิ งานพธิ ีตา่ งๆ
จากการเก็บข้อมูล พบวา่ สถานศกึ ษานยิ มใช้ลูกโปง่ อดั แก๊สเป็นอปุ กรณป์ ระกอบในกิจกรรมพธิ เี ปิดอาทิ

กจิ กรรมการแขง่ ขันกีฬาภายใน หรอื กีฬาระหว่างสถาบัน เปน็ ตน้ ซ่งึ สถานศึกษาจะม่งุ เน้น ทค่ี วามสวยงามความ
ยงิ่ ใหญ่อลงั การของกจิ กรรมเป็นสำคญั โดยลมื คำนึงถึงความปลอดภยั หรืออบุ ัติเหตุทีเ่ กิดขึน้ ได้ตลอดเวลาจึง
กำหนดมาตรการปอ้ งกนั และแนวทางแก้ไขสำหรับสถานศึกษาไวด้ งั นี้

1. ควรหลกี เลย่ี งการใชล้ ูกโป่งอดั แกส๊
2. ในกรณีท่ีมีความจำเป็นต้องใช้ควรระมัดระวังไม่ให้ลกู โป่งอัดแก๊สถกู ความรอ้ น เช่นประกายไฟ
จากการสูบบุหร่ี หรือประทดั เป็นตน้
3. เม่ือเกดิ อุบตั ิเหตุ ตอ้ งมีการปฐมพยาบาล นำส่งสถานพยาบาล และรายงานผู้บังคบั บัญชาทราบ
แนวทาง แก้ไขปัญหา
1. ปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ และนำส่งโรงพยาบาล
2. รายงานผูบ้ ังคับบัญชาตามลำดบั
3. แจง้ ผปู้ กครองทราบ
4. โรงเรียนให้การดูแลช่วยเหลอื ตาม ความเหมาะสม

๒๔

หน่วยงานท่ีเกีย่ วขอ้ ง

• โรงพยาบาล

• สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา

• ผู้ปกครอง

มาตรการป้องกนั และแก้ไขอบุ ัติภัย
อบุ ตั ิภัย (Accident) หมายถงึ เหตกุ ารณซ์ ึง่ เกิดขึน้ โดยไม่คาดคดิ มากอ่ น โดยไมต่ ้งั ใจ ให้เกดิ ข้ึนเป็นผลทำให้

เกิดความเสียหาย แก่ทรัพยส์ นิ อนั เป็นอันตรายต่อรา่ งกาย และจติ ใจ และอาจทำใหเ้ สยี ชีวติ ไดด้ ้วยในประเทศไทย
ไดก้ ำหนดการเกิด ภัยพบิ ัติ เป็นสาธารณภยั ซ่ึงบัญญตั ิไวใ้ นพระราชบัญญัติปอ้ งกัน และบรรเทาสาธารณภัย พ. ศ.
2550 มาตรา 4 วา่ สาธารณภัย หมายความวา่ อัคคภี ยั วาตภยั อทุ กภัยภัยแลง้ โรคระบาดในมนษุ ย์โรคระบาดสัตว์
โรคระบาดสัตวน์ ้ำการระบาดของศตั รูพชื ตลอดจนภยั อ่นื ๆอนั มผี ลกระทบต่อสาธารณะจึงไม่วา่ เกิดจากธรรมชาติหรอื
ผูท้ ำให้เกดิ ข้ึนอุบัตเิ หตหุ รือเหตุอันใดซ่ึงก่อให้เกดิ อนั ตรายแก่ชวี ิตร่างกายของประชาชน หรอื ความเสยี หายแก่ทรัพย์
สนิ ของประชาชน หรือของรัฐ และให้หมายความรวมถงึ ภัยทางอากาศ และการก่อวินาศกรรมด้วย
ประเภทของภยั พิบตั ิ แบง่ ไดเ้ ปน็

1. ภยั พบิ ัติที่เกดิ จากธรรมชาติ (natural disaster) เป็นภัยพิบตั ทิ ่เี กิดขนึ้ เองตามธรรมชาตทิ ่กี ่อใหเ้ กิด
ความเสยี หายแก่ชวี ติ ร่างกาย จติ ใจ และทรัพย์สนิ

1.1 ภยั ธรรมชาตทิ ีม่ ีลกั ษณะการเกิดฉับพลนั เชน่ น้ำท่วม ลม พายุ แผน่ ดนิ ไหว แผ่นดนิ ถล่มโรคระบาดรนุ แรง
1.2 ภยั ธรรมชาตทิ ่มี ีลกั ษณะการเกิด แบบค่อยเป็นค่อยไป เชน่ ภาวะแห้งแล้ง ภาวะหนาว
2. ภยั ทีเ่ กิดจากมนษุ ย์ (Human assistance)
2.1 ภยั ท่ีเกิดขนึ้ อยา่ งจงใจ เชน่ การก่อการรา้ ยในรูปแบบตา่ งๆ สงคราม อาวุธชีวภาพ
2.2 ภยั ที่เกดิ ขึน้ อย่างไม่ตงั้ ใจ เช่นไฟไหม้ ตึกถล่ม อุบัตภิ ัยจากการขนส่งด้านต่างๆ
ภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ (Natural Disaster) ภยั พบิ ตั ิที่เกิดข้ึนในประเทศไทยตงั้ แต่อดีตจนถงึ ปัจจบุ นั ทเ่ี กิดข้ึนบ่อยๆ
และควรรจู้ กั มดี ังนี้

1. อคั คีภยั (Fires)
2. วาตภยั (Storm)
3. อุทกภยั (Flood)
4.แผน่ ดนิ ไหว (Earthquakes)
5. คล่นื สึนามิ (Tsunami)
6. แผน่ ดินถลม่ (Landslides)
7. หลุมยบุ (Sinkhole)
8. ภาวะโลกร้อน (Global Warming)

๒๕

1. อคั คภี ยั (Fires)
อคั คีภยั คือ ภยั ท่เี กิดขึน้ จากเพลงิ ไหม้ เป็นสาธารณะภยั ประเภทหน่ึง ท่มี โี อกาสเกิดขึ้นไดต้ ลอดเวลา

ก่อใหเ้ กิดความสูญเสยี ตอ่ ชวี ติ และทรัพยส์ ิน อกี ทั้งยังสง่ ผลต่อเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ สาเหตุทส่ี ำคัญทสี่ ุด
ของการเกิดอัคคภี ัย คือ ความประมาท ความรู้เท่าไม่ถงึ การณ์ การขาดความรู้ความเขา้ ใจในการปอ้ งกนั และระงบั
อัคคภี ัยเบื้องต้น ดงั นัน้ การป้องกัน และการระงับอัคคีภยั จึงมคี วามสำคัญอยา่ งยิ่งในชว่ งลดความสูญเสยี ตอ่ ชวี ติ
และทรัพย์สนิ ซ่ึงภารกิจเกย่ี วกับการป้องกนั แก้ไข และฟื้นฟู เปน็ ความรับผดิ ชอบของทุกภาคส่วนในสงั คมท่ี
จะตอ้ งรว่ มมือกนั
มาตรการป้องกัน

1. ใหค้ วามรู้ และฝึกซ้อมครบู ุคลากร และนักเรียนในเร่ืองการดับไฟ การหนไี ฟ การเคลอื่ นย้ายผบู้ าดเจบ็
การซอ้ มหนีไฟในสถานศึกษา

2. จัดทำแผนงาน โครงการ แต่งต้งั คณะกรรมการรับผดิ ชอบการเตรียมพรอ้ มรับสถานการณ์เกิดอคั คภี ัย
ไว้ลว่ งหนา้ โดยประสานงานกับหน่วยดับเพลงิ ขององค์กรป้องกันสว่ นท้องถนิ่ สำนักงานป้องกันและบรรเทาสา
ธารณภยั ต่างๆ และประชาสัมพันธใ์ ห้ครบู ุคลากร และนักเรียนไดร้ ับทราบ เพอ่ื จะได้ทำงานประสานกันไดถ้ ูกตอ้ ง
ทุกฝ่ายมีแหลง่ ขอ้ มลู ท่ีสามารถตดิ ตอ่ ขอความช่วยเหลือได้ทนั ทีเม่ือเกดิ อัคคีภยั

3. ให้มีการอยู่เวรรักษาความปลอดภยั อยา่ งเครง่ ครัด
4. ตรวจสอบอปุ กรณท์ ่ีก่อใหเ้ กิดอัคคภี ัยอย่างสม่ำเสมอ
5. สง่ เสรมิ ใหม้ ีการประกันชวี ิต แก่ครู บุคลากร และนักเรยี นทุกคน
6. ในกรณีทสี่ ถานศึกษาตอ้ งจัดเก็บวัสดเุ ชือ้ เพลงิ และสารเคมีไวไฟไวต้ ามจำนวนท่ตี ้องการใช้ควรจัดเก็บ
ไว้ในท่ีที่หา่ งไกลจากแหล่งพลังงานความร้อน และพลังงานไฟฟา้
7. กำจัดส่ิงรกรงุ รังภายในอาคาร หอ้ งเรยี น หอ้ งพักครู หอ้ งเก็บของ ให้เป็นสดั ส่วน
8. ควรปิดไฟ ปิดพัดลม และถอดปล๊ักไฟทุกคร้งั เม่ือออกนอกห้องเรยี น หรือพักกลางวัน
9. ตดิ ตั้งอุปกรณ์ป้องกนั ไฟฟ้าลดั วงจร และตรวจตราซอ่ มบำรุงสิง่ ท่นี ำมาใช้ในการใช้งานใหไ้ ดม้ าตรฐาน
เช่น สายไฟฟ้า อปุ กรณ์ไฟฟ้า เป็นต้น
10. ติดตัง้ ระบบสัญญาณเตือนภัย พร้อมแผนผังการหนีไฟ และประชาสมั พันธ์ให้นักเรยี นครู และ
บุคลากรทุกคนทราบโดยท่ัวถึง
11. จดั ตงั้ เครอื่ งดับเพลงิ และอุปกรณ์การดับเพลิงอยา่ งเพียงพอ และบำรงุ รักษาให้พร้อมทีจ่ ะทำงานได้ทนั ที
12. ประสานกับชุมชนหรอื ผู้นำท้องถ่นิ ในการจัดเวรยามหมู่บ้าน เพื่อระวังภัยร่วมกัน ตลอดจนปลกู
จติ สำนกึ ในความเปน็ เจ้าของทรัพย์สินของทางราชการ
การปฏบิ ัตกิ ารเมือ่ เกิดอัคคภี ัย
1. ในกรณีทเี่ กดิ เหตแุ ลว้ ให้ดำเนินการตามแผนทกี่ ำหนดไว้ โดยระงบั และควบคุมสถานการณ์เบ้ืองต้น
เคลอ่ื นยา้ ยผปู้ ระสบภัย และเอกสารสำคญั กำหนดเขตหา้ มเข้าในบรเิ วณทเ่ี กดิ อคั คีภัย

๒๖

2. ประสานงานขอรบั ความช่วยเหลือจากหนว่ ยงานทเี่ กีย่ วขอ้ ง เช่น สำนักงานป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยจงั หวัด โรงพยาบาล การไฟฟา้ หน่วยบรรเทาสาธารณภยั สถานีตำรวจ และฝ่ายปกครอง เป็นต้น

3. รายงานผบู้ ังคับบัญชา และหนว่ ยงานตน้ สงั กัด
การฟืน้ ฟูหลงั การเกดิ อัคคีภัย

1. ให้ความช่วยเหลือดา้ นเคร่อื งอุปโภคบริโภค แกผ่ ปู้ ระสบภยั ในเบ้ืองตน้
2. ประสานงานสว่ นราชการและหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้อง
3. สำรวจ และประมาณการความเสียหาย พร้อมรายงานขอรับการสนับสนนุ งบประมาณจากหนว่ ยงาน
ตน้ สังกดั
4. ซ่อมแซมอปุ กรณ์ และสถานทีท่ ยี่ ังสามารถใช้งานได้
2. วาตภยั (Storm)
วาตภยั หมายถงึ ภยั ที่เกิดขึ้นจากพายุรุนแรง จนทำใหเ้ กดิ ความเสยี หายแก่อาคารบา้ นเรือนต้นไม้
และส่งิ ก่อสรา้ งสำหรบั ในประเทศไทยวาตภัย หรือพายุ ลมแรง มสี าเหตมุ าจากปรากฏการณท์ างธรรมชาติ
1. พายุหมุนเขตร้อน (Tropical Cyclone) เกดิ ในชว่ งฤดรู ้อน และพายุฤดูร้อนก่อตวั ขึน้ เหนอื ทะเล
ท่มี ีอุณหภมู ิสูงกวา่ 27 องศาเซลเซยี สเล็กนอ้ ย แนวละตจิ ดู ประมาณ 5 ถึง 20 องศาเหนอื และใต้ และมคี าบเวลา
เกิดค่อนขา้ งแน่นอนของแตล่ ะปี ด้านการกอ่ ตวั ของพายุหมุนเขตร้อน จะเร่มิ จากหย่อมความกดอากาศต่ำเหนอื
ทะเลหรือมหาสมทุ ร มีการพัฒนาจนกลายเป็นพายุไตฝ้ นุ่ และจะออ่ นกำลงั จนสลายตวั ในทสี่ ุดขนาดของพายหุ มนุ
เขตรอ้ นแบ่งขนาดความรุนแรงของพายุตามความเร็วลมสงู สดุ รอบศูนย์กลางดังนี้

1. พายุดเี ปรสชนั่ (Depression) เป็นพายุหมุนเขตร้อน กำลงั ออ่ น ความเรว็ สูงสุดไมเ่ กิน 61
กิโลเมตรต่อชั่วโมง

2. พายโุ ซนร้อน (Tropical Storm) เป็นพายุที่มีความรุนแรงปานกลาง ความเร็วสูงสุดตัง้ แต่
62 ถงึ 117 กโิ ลเมตรต่อช่ัวโมง

3 พายุไต้ฝุ่น (Typhoon) เป็นระดบั ของพายุหมนุ เขตร้อนท่ีมคี วามรนุ แรงมากที่สุด ความเรว็ ลม
เกิน 118 กโิ ลเมตรตอ่ ชัว่ โมงขึ้นไป

พายหุ มุนเขตรอ้ นทเ่ี คล่อื นเข้าส่ปู ระเทศไทย เกิดจากมหาสมุทรแปซิฟกิ ทะเลจีนใต้ มนี ้อยครัง้ ท่ีเกิดจาก
มหาสมทุ รอนิ เดีย และเขณะท่ีพายุอยู่ในทะเลจะมีกำลงั แรงมากเป็นพายุหมุนเขตรอ้ นขนาดใหญ่ แต่เมื่อเคลื่อนตัว
ขน้ึ ฝั่งเข้าส่ปู ระเทศไทยจะอ่อนกำลังลงเนือ่ งจากมีแรงลดกำลงั ลงจนกลายเปน็ ดีเปรสชนั ทที่ ำใหเ้ กิดฝนตกหนัก
ติดต่อกนั ทำให้เกิดนำ้ ท่วมได้
การปฏบิ ัตติ น

1. รบั ฟงั ข่าวเตือนภัยเก่ียวกับ การเกิด และเสน้ ทางการเคลื่อนท่ีของพายหุ มนุ เขตร้อน จากกรม
อุตนุ ิยมวทิ ยาท่มี ีการกระจาย คำเตือนภยั อยา่ งรวดเรว็ ใหแ้ ก่ประชาชนในพ้นื ทเี่ ส่ียงภัย

๒๗

2. ชุมชน และภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ควรร่วมกันสำรวจพนื้ ที่ตา่ งๆ ใกล้ชายฝ่งั ทะเล เพ่ือก่อสรา้ งอาคารหลบ
ภยั ในพน้ื ท่ีเสยี่ งภัย และกำหนดเสน้ ทางหนภี ัยพ้นื ทีห่ ลบภัยอยา่ งชัดเจน แผนฉกุ เฉินตลอดจนฝกึ ซ้อมการอพยพ
หลบภัยตามแผนทกี่ ำหนด เพื่อลดความตน่ื ตระหนก เมอื่ เกิดเหตกุ ารณจ์ ริง

3. อย่ใู นที่ท่มี ีความมน่ั คง ตัดต้นไม้สูงท่ีไมแ่ ขง็ แรง และอาจลม้ ทบั บา้ นได้ และติดตั้งอุปกรณเ์ สรมิ ความ
แขง็ แรงของหน้าตา่ ง

4. เตรียมเติมนำ้ มันรถ และสำรองอาหารถา่ นไฟฉาย อปุ กรณย์ ังชพี และเบอร์ติดต่อเจา้ หนา้ ทเี่ พราะ
อาจมนี ำ้ ทว่ มฉับพลนั

2. พายุฤดูร้อนหรือพายุฟ้าคะนอง (Thunder Storms) เกิดขนึ้ ในช่วงเดือนเมษายนหรือชว่ ง ก่อนเร่ิมตน้
ฤดูฝนขณะที่อณุ หภมู ใิ นภาคต่างๆเรมิ่ สูงขนึ้ เนื่องจากแกนของโลก เร่ิมเอียงเข้าหาดวงอาทติ ย์ และดวงอาทิตย์จะ
เคลอ่ื นมาอยทู่ ี่บริเวณเสน้ ศนู ย์สูตร ทำใหอ้ ากาศร้อนอบอ้าว และชน้ื ในภาคเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือและ
ตอนบนของภาคกลางอากาศท่ีอยใู่ กล้ผวิ พ้ืน จะมีอุณหภมู ิสูงชว่ งทีม่ ีลักษณะอากาศร้อนอบอา้ วตดิ ต่อกนั หลายวนั
แล้วมกี ระแสอากาศเย็นจากความกดอากาศสงู ในประเทศจีนพัดมาปะทะกนั ทำใหเ้ กิดฝนฟ้าคะนองมีพายลุ มแรง
และอาจมลี ูกเห็บตกได้ จะทำความเสยี หายในบริเวณที่ไม่กว้างนักประมาณ 20-30 ตารางกิโลเมตร

2.1 พายุงวงช้างหรอื พายทุ อร์นาโด (Tonado) เป็นอากาศได้แรงทสี่ ุดซึ่งเกิดจากพายุฝน
ฟ้าคะนองมลี กั ษณะเป็นลำ เหมือนงวงช้าง ยื่นออกมาจากฐานเมฆ เมอื่ พายุฟา้ คะนอง ดูดเอาอากาศจากภายนอก
เข้าไปทฐ่ี านเซลล์ ดว้ ยพลังมหาศาล และถา้ มีการหมุนวน จะหมนุ และบดิ เปน็ เกลียว มเี สน้ ผ่าศนู ยก์ ลางของลำพายุ
เล็กมาก คือ มักเห็นเปน็ ลกั ษณะเป็นลำพุ่งข้ึนสู่บรรยากาศดคู ลา้ ยกบั งวงหรือท่อหรอื ปล่องย่ืนออกมา

2.2 อากาศปนั่ ป่วน อากาศและลมกรรโชกแรง ก่อให้เกดิ ความเสียหายตอ่ สิ่งปลูกสร้าง
บนพ้ืนดนิ อากาศป่นั ปว่ นเกิดขึ้นท้ังในพายุฝนฟ้าคะนอง และภายนอก ภายในตวั พายอุ ากาศปั่นป่วนรนุ แรงเกิด
จากกระแสอากาศเคลื่อนทีข่ ึ้นและกระแสอากาศเคลือ่ นท่ีลงสวนกนั ภายนอก พายุฝนฟ้าคะนองอากาศตำ่ ส่วนที่
เกดิ ข้ึนบางคร้งั สามารถออกไปไกลกว่า 30 กโิ ลเมตรจากตัวพายุฝนฟ้าคะนองอากาศต่ำกวา่ รุนแรงสามารถทำลาย
สิง่ ตา่ งๆ บนพืน้ ดินได้โดยเฉพาะสง่ิ ก่อสรา้ งท่ีไม่แข็งแรง

2.3 ลกู เห็บมักเกิดขึน้ พร้อมกับความกดอากาศต่ำ ความรุนแรงกระแสอากาศเคล่ือนท่ีข้นึ
ทำใหห้ ยดน้ำถูกพัดพาไปสูร่ ะดับสงู มาก และ เม่ือหยดนำ้ เร่ิมแขง็ ตวั กลายเปน็ นำ้ แข็ง จะมีหยด นำ้ อ่ืนๆ เข้ามารวม
ด้วย ดงั นน้ั ขนาดของนำ้ แข็งจะเพิ่มขนึ้ เร่ือยๆ และในท่สี ดุ ก็ตกลงมาเป็นลกู เห็บลกู เหบ็ ขนาดใหญ่ มักเกดิ ขึ้นจาก
พายุฝนฟา้ คะนองรุนแรงและมเี มฆยอดสงู มาก

2.4 ฟา้ แลบ และฟ้าผา่ เปน็ ภัยธรรมชาติทฆ่ี ่าชวี ิตมนุษย์มากท่ีสดุ ฟ้าแลบ ฟ้าผา่ เกิดจาก
ไฟฟ้าของการปลอ่ ยประจุอเิ ล็กตรอน เมื่อเกิดความตา่ งศักยไ์ ฟฟา้ ระหว่างตำแหนง่ 2 ตำแหน่งท่ีระดบั คา่ ความ
ต่างศกั ย์ทำใหเ้ กดิ แรงดันและการไหลของประจุไฟฟา้ ค่าความตา่ งศกั ย์ไฟฟา้ ระหว่าง 2 ตำแหน่งเปน็ ไปตาม
สภาวะอากาศท่ีเป็นสื่อนำ

๒๘

มาตรการการป้องกนั ฟ้าผา่
1. ใหค้ วามรเู้ ก่ียวกบั ปฏิบตั ติ นเกยี่ วกับฟา้ ผา่
2. จดั ทำแผนงานโครงการ แตง่ ต้งั ผรู้ บั ผดิ ชอบตดิ ตามข่าวพยากรณ์อากาศ และสถานการณต์ า่ งๆจาก
กรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยาพรอ้ มทัง้ วางแผนปอ้ งกนั ภัยลว่ งหนา้
3. ตดิ ตามขา่ วการเคล่ือนไหวของลมพายุตลอดเวลาการ พยากรณ์อากาศ และปฏบิ ตั ิตามคำแนะนำโดย
เคร่งครัด
4. ตดิ ตง้ั สายลอ่ ฟ้าสำหรบั อาคารสงู บริเวณต้นไมส้ งู ๆ
การปฏิบัตกิ ารเมอ่ื เกิดฟ้าผ่า
1. เมอื่ เกิดพายุฝนฟา้ คะนอง ให้อยู่ใกล้อาคาร หรือบา้ นเรอื นท่แี ขง็ แรง และปลอดภยั
จากนำ้ ท่วมควรอยแู่ ตภ่ ายในอาคารจนกวา่ พายฝุ นจะยตุ ิลง
2. ถ้าอยูภ่ ายในรถยนต์ ควรจอดรถให้หา่ งไกลจากตน้ ไม้ และแหล่งน้ำ
3. อย่าอยูบ่ ริเวณทีเ่ ปน็ นำ้ เม่ือปรากฏพายุฝน เพื่อหลีกเลยี่ งอนั ตรายจากน้ำท่วม และฟา้ ผ่า

2.5 ฝนตกหนัก พายุฝนฟ้าคะนอง สามารถก่อให้เกิดฝนตกหนัก และนำ้ ทว่ มฉับพลันไดใ้ นพ้ืนท่ี
ซึง่ เป็นท่ีราบลุม่ หรือที่ตำ่ และพน้ื ทตี่ ามบริเวณเชิงเขา โดยเฉพาะพายฝุ นฟ้าคะนองซงึ่ สามารถคงอยู่ไดน้ านหลาย
ชั่วโมง ปริมาณฝนจำนวนมาก ก่อใหเ้ กิดนำ้ ท่วม เฉพาะพื้นที่เนือ่ งจากพายุฟา้ คะนองเกดิ ครอบคลุมพน้ื ที่บริเวณน้ัน

มาตรการการป้องกันก่อนเกิดวาตภัย
1. ใหค้ วามรู้ในการปฏบิ ัติตนแก่ครู บุคลากร และนักเรยี นใหพ้ ้นจากอันตรายจดั ให้มกี ารฝึกซอ้ ม

การหลบภัยเปน็ ประจำ
2. จดั ทำแผนงานโครงการแต่งตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบ ติดตามข่าวพยากรณอ์ ากาศ และ

สถานการณ์ต่างๆจากกรมอุตุนิยมวทิ ยาพร้อมทั้งวางแผนป้องกนั ภัยลว่ งหนา้
3. ใหม้ กี ารอยูเ่ วรยามรักษาความปลอดภัยอย่างเครง่ ครัด
4. ส่งเสริมใหม้ ีการประกันชวี ติ แกค่ รู บุคลากร และนักเรยี นทกุ คน
5. ใหม้ ีการจัดสรา้ งเครือขา่ ยองค์กรทง้ั ภาครฐั และเอกชนทีเ่ ก่ียวข้องเพ่ือให้สามารถตดิ ตอ่ ขอ

ความช่วยเหลอื ไดท้ ันทเี มื่อเกิดวาตภยั
การปฏิบัติการเมือ่ เกดิ วาตภัย
1. ในกรณที เ่ี กดิ เหตุแล้วใหด้ ำเนินการตามแผนทก่ี ำหนดไวโ้ ดยระงบั และควบคุมสถานการณ์

เบ้อื งต้นเคลื่อนยา้ ยผปู้ ระสบภยั และเอกสารสำคัญ
2. ประสานงานในการให้ความร่วมชว่ ยเหลอื แก่ผปู้ ระสบวาตภัยจากหน่วยงานที่เกยี่ วข้อง และ

องค์กรสาธารณกุศลต่างๆ
3. รายงานผบู้ ังคับบัญชา และหนว่ ยงานต้นสังกดั

๒๙

การฟน้ื ฟูหลังการเกดิ วาตภยั
1. ให้ความช่วยเหลือประสานกับสว่ นราชการองค์กรแกผ่ ู้ประสบภัยเบ้ืองตน้
2. สำรวจ และประเมินความเสยี หายพร้อมรายงานขอรบั การสนับสนนุ งบประมาณจาก

หน่วยงานตน้ สังกดั
3. ซ่อมแซมอุปกรณส์ ถานที่ที่ยงั สามารถใชง้ านได้ปรับสภาพให้สามารถจัดการเรยี นการสอนได้

ตามปกตเิ ร็วๆ
4. หากอยู่ในทโ่ี ล่งควรคุกเขา่ และโนม้ ตัวไปข้างหน้าแต่ไม่ควรนอนราบกบั พนื้ เน่ืองจากพื้นเปยี ก

หรือเปน็ สอื่ ไฟฟ้า และไม่ควรอยู่ในทต่ี ่ำซึง่ อาจเกดิ น้ำท่วมฉับพลันได้ไม่ควรอยใู่ นท่ีโดดเดี่ยว หรืออยู่สูงกว่าสภาพ
สง่ิ แวดล้อม

5. ออกหา่ งจากวัตถทุ เ่ี ป็นส่ือไฟฟ้า เชน่ ลวดโลหะ ทอ่ น้ำ แนวรวั้ บ้าน รถแทรกเตอร์
จักรยานยนต์ เครอ่ื งมืออุปกรณ์ทำสวนทกุ ชนดิ ทางรถไฟ ต้นไม้สงู ต้นไมโ้ ดดเดี่ยวในทแี่ จง้ เปน็ ต้น

6. ไมค่ วรใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า เช่นโทรทัศน์เคร่ืองปรับอากาศ และไม่ควรใช้โทรศพั ท์เคล่ือนท่ี
7. ไมค่ วรใชเ้ คร่อื งประดบั โลหะ เชน่ เงนิ ทองแดง ทองโรเดียม ทองแดง ทองเหลืองในท่ีแจง้ หรือ
ถือวตั ถุโลหะ ในขณะ ปรากฏพายฝุ นฟา้ คะนอง
การฟ้นื ฟูหลงั การเกิดฟา้ ผ่า
1. ตรวจสอบความเสียหาย ซอ่ มแซม แก้ไขอาคารเรยี น อาคารประกอบ และสิ่งแวดล้อม และ
ปรบั สภาพใหส้ ามารถจัดการเรยี นการสอนไดต้ ามปกตโิ ดยเรว็
2. ประมาณการความเสยี หาย พร้อมรายงานขอความช่วยเหลือจากหนว่ ยงานต้นสังกดั โดยดว่ น
3. อุทกภยั (Flood)
อุทกภยั คือ ภยั หรอื อนั ตรายท่ีเกิดจากน้ำทว่ ม หรืออันตรายอนั เกดิ จากสภาวะท่นี ำ้ ไหลเออ่ ล้นฝ่ังแมน่ ้ำลำ
ธาร หรือทางน้ำเข้าท่วมพื้นท่ีซึ่งโดยปกตแิ ล้วไม่ได้อย่ใู ตร้ ะดับน้ำหรือเกิดจากการผสมนำ้ บนพ้นื ท่ีซง่ึ ระบายออกไม่
ทนั ทำให้พน้ื ท่ีน้ัน ปกคลมุ ไปด้วยน้ำ โดยทวั่ ไปแล้ว อทุ กภยั มกั เกดิ จากนำ้ ท่วมซึง่ สามารถแบง่ เป็นลกั ษณะใหญ่ๆได้
2 ลกั ษณะ คือ
1. นำ้ ทว่ มขงั นำ้ ล้นตล่ิง เป็นสภาวะนำ้ ท่วมทเี่ กิดขนึ้ เน่ืองจากระบบระบายน้ำ
ไม่มปี ระสทิ ธภิ าพ มักเกิดขึน้ ในบรเิ วณทีร่ าบลุม่ แมน่ ้ำ และบริเวณชมุ ชนเมืองใหญ่ๆ มีลกั ษณะค่อยเปน็ ค่อยไปซึ่ง
เกดิ จากฝนตกหนกั บรเิ วณนนั้ ๆ ตดิ ตอ่ กนั เป็นเวลาหลายวนั หรือเกดิ จากสภาวะน้ำล้นตลงิ่ นำ้ ท่วม
2. ขังส่วนใหญจ่ ะเกิดบรเิ วณทา้ ยนำ้ และมีลักษณะเป็นบริเวณกวา้ งเนอ่ื งจาก
ไม่สามารถระบายน้ำได้ทนั ความเสียหายจะเกิดกับพชื ผลทางการเกษตร และอสังหาริมทรพั ย์เปน็ สว่ นใหญ่สำหรับ
ความเสยี หายอ่ืนๆ มีไม่มากนัก เพราะสามารถเคลอ่ื นย้ายอยู่ในทที่ ีป่ ลอดภยั
3. น้ำท่วมฉบั พลนั เป็นภาวะน้ำทว่ มท่ีเกดิ ขึน้ อย่างฉบั พลนั ในพื้นท่ีเนื่องจากฝนตกหนัก

๓๐

ในบริเวณพื้นที่ซึ่งมีความชันมาก และมีคณุ สมบัติในการกักเกบ็ น้ำ หรอื การต้านน้ำน้อย เชน่ บริเวณต้นนำ้ ซง่ึ มคี วาม
ชนั ของพนื้ ทมี่ าก พน้ื ที่ปา่ ถูกทำลายไป ทำใหก้ ารกักเก็บหรือการตา้ นนำ้ ลดลงบริเวณพ้ืนทีถ่ นนและสนามบนิ เป็น
ต้น หรือเกิดจากสาเหตุอน่ื ๆ เชน่ เขื่อน หรืออ่างเกบ็ นำ้ พงั ทลาย น้ำท่วมฉบั พลนั มักเกิดขน้ึ หลังจากฝนตกหนักไม่
เกนิ 6 ชวั่ โมง และมกั เกดิ ข้นึ ในบริเวณทีร่ าบระหว่างหบุ เขาซง่ึ อาจจะไมฝ่ นตกหนัก ในบริเวณนนั้ มาก่อนเลย แต่มี
ฝนตกหนกั มากบรเิ วณตน้ น้ำทอี่ ยูห่ า่ งออกไปเนือ่ งจากนำ้ ท่วมฉับพลนั มีความรนุ แรง และเคลอ่ื นทด่ี ว้ ยความ
รวดเรว็ มาก โอกาสทีจ่ ะปอ้ งกันและหลบหนีจึงมนี ้อย ดงั นั้น ความเสยี หายจากน้ำทว่ มฉับพลัน จึงมีมาท้ังแก่ชีวิต
และทรัพย์สิน

มาตรการปอ้ งกนั
1. ใหค้ วามรใู้ นการปฏิบัตติ นแก่นกั เรียน ครู และบคุ ลากร ให้พน้ จากอันตราย
2. วางแผนโครงการแต่งตง้ั ผ้รู ับผดิ ชอบ ติดตามข่าวพยากรณ์อากาศ และสถานการณต์ ่างๆจาก

กรมอตุ ุนยิ มวิทยา พร้อมทัง้ วางแผนป้องกนั ภัยลว่ งหน้า
3. จดั ใหม้ ีการฝกึ ซ้อมการหลุดพ้นภัยแก่นักเรียน ครู และบุคลากรอยู่เป็นประจำ
4. จัดเวรยามรกั ษาความปลอดภยั อย่างเคร่งครัด
5. สง่ เสรมิ ใหม้ ีการประกนั ชีวิตแก่นกั เรยี น ครู และบคุ ลากรทุกคน
6. ดูแลทรพั ย์สนิ ของทางราชการ มกี ารจัดเก็บสัมภาระ วสั ดุอปุ กรณ์ เอกสารสำคญั พรอ้ มขนย้าย

ไดท้ ันทเี มื่อเกดิ อทุ กภัย
7. สถานศึกษากำหนดแผนฉุกเฉนิ สำหรับสถานศึกษา
8. สถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในพน้ื ทเ่ี สย่ี งภัยให้มกี ารวางผังการก่อสรา้ งอาคารให้เหมาะสมกบั สภาพ

พื้นที่พรอ้ มทัง้ วางระบบการระบายน้ำ และแนวปอ้ งกนั อุทกภยั
9. มแี หลง่ ข้อมูลหน่วยงานทเี่ ก่ยี วข้อง ท่ีสามารถติดตอ่ ขอความช่วยเหลอื ได้ทนั ที เมื่อเกิด

อุทกภัย และประสานขอความช่วยเหลือไดท้ ันที
การปฏบิ ตั กิ ารเมอ่ื เกิดอุทกภยั
1. สัง่ ปิดสถานศกึ ษา เมื่อประเมินสถานการณ์ แลว้ วา่ อาจก่อให้เกิดอันตราย
2. ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ หรือผู้ท่เี ก่ียวข้องในการเคลื่อนยา้ ยสิ่งของ
3. ประสานงานขอความชว่ ยเหลอื เมอื่ ประสบอุทกภยั จากหน่วยงานที่เกยี่ วข้อง และองคก์ ร

สาธารณกศุ ลตา่ งๆ
4. รายงานผ้บู งั คับบัญชา และหนว่ ยงานตน้ สงั กัด
5. ประมาณการความเสียหาย รายงานของบประมาณจากหนว่ ยงานต้นสังกดั โดยดว่ น

การฟืน้ ฟูหลงั การเกดิ อุทกภยั
ตรวจสอบซ่อมแซม ปรบั ปรุง และแก้ไขความเสยี หายตา่ งๆ ทเี่ กิดขนึ้ จากอุทกภยั ให้สามารถ

จดั การเรียนการสอนได้ตามปกติ โดยเร็ว

๓๑

4. แผ่นดินไหว
แผ่นดนิ ไหว หมายถึง การสั่นสะเทือนของพืน้ ดิน อนั เนือ่ งมาจากปล่อยพลังงานใตด้ ิน ทีส่ ะสมออกมา

อยา่ งเฉยี บพลัน เพ่ือปรับสมดุลของเปลือกโลกให้คงท่ี การเกิดแผน่ ดนิ ไหว แบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ชนดิ คือ
1. เกิดจากการกระทำของมนษุ ย์ ไดแ้ ก่ การทดลองระเบิดปรมาณู แรงระเบิดการทำเหมืองแร่

เปน็ ตน้
2. เกิดจากการสน่ั สะเทือนอันเปน็ สาเหตมุ าจากการเคล่ือนตวั ของรอยเล่อื น
ที่ผ่านมาทางภาคใตข้ องประเทศ ประสบภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ คือ แผน่ ดินไหวหลายคร้ัง แม้

ไมไ่ ดส้ ร้างความเสยี หายแก่ชวี ิต และทรพั ยส์ ิน มากมาย แต่ควรศกึ ษาวธิ ีการเตรียมการป้องกนั และมีการปฏิบัติตวั
กรณีเกิดแผ่นดนิ ไหว เพ่ือลดความสูญเสียต่าง ๆ ทจ่ี ะเกิดข้นึ ดงั นี้

1. ให้ความร้ใู นการปฏิบัตติ น และแนะนำใหพ้ น้ จากอันตราย และฝกึ ทักษะการปฐมพยาบาลแก่
นกั เรียนครู และบุคลากร

2. จัดทำแผนงานโครงการ ปอ้ งกันติดตามขอ้ มลู ขา่ วสารเก่ยี วกบั โอกาสการเกดิ แผน่ ดนิ ไหว
แต่งตง้ั ผ้รู บั ผดิ ชอบติดตามข่าวพยากรณ์อากาศและสถานการณ์ตา่ ง ๆ จากกรมอุตนุ ยิ มวิทยาพร้อมทั้งวางแผน
ป้องกนั ภยั ล่วงหนา้

3. จัดให้มีการฝึกซ้อมการหลบภยั จากแผน่ ดนิ ไหว แก่ นกั เรียน ครู และบคุ ลากร
4. ตรวจสอบอาคารเรยี น อาคารประกอบ ปรับปรุง ซ่อมแซม ให้อยใู่ นสภาพมัน่ คงแขง็ แรง
การปฏิบตั ิตวั กรณีเกิดแผ่นดินไหว
กอ่ นอ่นื อยา่ ตกใจ และพยายามหลอกคนขา้ งเคียงให้อยู่ในความสงบ และช่วยคิดถงึ วธิ ีการท่ีจะกู้
สถานการณ์ และผลทคี่ าดว่าจะไดร้ ับ
1. ถ้าอย่ใู นอาคารควรระวงั สิ่งของท่ีอยบู่ นท่สี ูงตกลงมา เชน่ โคมไฟ ชนิ้ สว่ นอาคาร ตหู้ นงั สือ
ชั้นวางของ ให้ออกห่างจากประตหู น้าตา่ ง และกระจกอาการส่นั ไหวรุนแรง ให้หลบอย่ใู ต้โตะ๊ ใตเ้ ตียง หรือมุมห้อง
อย่าวง่ิ ออกมานอกอาคาร
2. ถา้ อยู่ในอาคารสงู ให้หลบอยูใ่ ต้โต๊ะ อยา่ ใช้ลฟิ ท์
3. ถ้าอยนู่ อกอาคาร ใหอ้ อกห่างอาคารสูง กำแพง เสาไฟฟา้ และสิง่ ก่อสร้างอื่นๆ
4. ถา้ อยใู่ นรถ ให้หยดุ รถ และอยู่ในรถจนกระท่ัง แรงสนั่ สะเทือนสงบ จะปลอดภัยทส่ี ุด
5. หากอยชู่ ายฝง่ั ให้อยู่ห่างจากชายฝ่ัง เพราะอาจเกิดคลื่นขนาดใหญ่ซัดเขา้ หาฝั่ง
6. หา้ มใชเ้ ทียนไข ไม้ขดี ไฟ หรอื สิง่ ของ ทีท่ ำให้เกดิ เปลวไฟ เพราะอาจก่อเกิดอนั ตรายจากก๊าซรวั่ ได้
หลังเกิดแผน่ ดินไหว
1. ควรสำรวจตวั เอง คนรอบข้างวา่ ไดร้ บั บาดเจ็บ หรือไม่ ใหท้ ำการปฐมพยาบาลชั้นตน้ ก่อน
2. ควรรีบออกจากอาคารท่ีเสียหายทันที เพราะหากเกดิ แผ่นดนิ ไหวตามอาคารอาจพังทลายได้
3. ใสร่ องเทา้ หมุ้ ส้นเสมอปอ้ งกันเศษแก้ว หรอื วัสดแุ หลมคมอื่นๆ และสิง่ หกั แทง
4. ตรวจสายไฟท่อน้ำ ถา้ แก๊สร่วั ใหป้ ดิ วาล์วถงั แก๊ส ยกสะพานไฟ จนกว่าจะแนใ่ จวา่ ไม่มีแกส๊ รว่ั
5. ตรวจสอบ แก๊สรั่วดว้ ยการดมกลน่ิ เท่านัน้ ถ้าได้กล่ินใหเ้ ปดิ ประตู หนา้ ตา่ ง ทุกบาน

๓๒

6. ให้ออกจากบริเวณสายไฟขาด และวสั ดุสายไฟพาดถงึ
7. เปิดวทิ ยุฟังคำแนะนำ อยา่ ใชโ้ ทรศัพท์นอกจากจำเปน็ จริงๆ
8. สำรวจดูความเสยี หายของท่อสว้ ม และท่อนำ้ ทงิ้ ก่อนใช้
9. จะเปน็ ไทยมุง หรือเขา้ ในเขตทีม่ ีความเสยี หายสงู หรอื อาคารพัง
10. อย่าแพร่ขา่ วลอื
11. หลังจากจบเหตุการณ์ ควรมีการซักซ้อม และเตรียมตัวการรับมือในครัง้ ต่อๆไป

5. คล่นื สนึ ามิ
สนึ ามิ เป็นภาษาญี่ปุน่ แปลวา่ คลนื่ ท่าเรอื หรือเรียกอีกช่ือหน่ึงวา่ คลนื่ ทะเลท่ีเกิดจากแผ่นดนิ ไหวพดั จาก

ทะเลเข้าสู่ฝั่งอยา่ งรวดเร็ว และรุนแรงเกินกวา่ คนจะวง่ิ หนีได้ทัน จำนวนพน้ื ทีเ่ กดิ มีหลายลูก และมีขนาดไม่เท่ากนั
คลน่ื สนึ ามิจะมีความยาวคลนื่ เกนิ กว่า 100 กโิ ลเมตร และชว่ งระยะเวลาของระลอกคล่ืนยาวนานกว่า 1 ช่ัวโมง
เกิดขึน้ ในมหาสมทุ รแปซฟิ ิก ซึ่งเป็นแนวของการเกิดเคล่ือนแผนดินไหว และภูเขาไฟใต้มหาสมทุ รอยู่มากเกิดข้ึนได้
ทั้งในเวลากลางวนั และกลางคืน สามารถเคลื่อนตัวสแู่ ม่นำ้ ทเี่ ชอื่ มทะเล และมหาสมทุ รไดส้ าเหตุหลกั ของการเกดิ
เน่ืองจากมกี ารเปลย่ี นแปลงของเปลอื กโลกเกิดแผน่ ดนิ ไหวภูเขาไฟระเบดิ แผ่นดนิ ถลม่ และอกุ กาบาตพงุ่ ชนโลก
คลนื่ สึนามิ เปน็ ภัยธรรมชาตทิ ่กี ่อใหเ้ กดิ ความเสียหายอยา่ งมหาศาล
มาตรการปอ้ งกนั

1. ให้ความรู้ในการปฏิบตั ติ น และแนะนำให้พ้นจากอนั ตราย
2. จดั ทำแผนงานโครงการ และ แต่งต้งั คณะกรรมการผู้รับผิดชอบ
3. จัดให้มกี ารฝึกซ้อม จากการเกดิ ภัยสนึ ามิแกน่ ักเรียน ครู และบคุ ลากร อยา่ งต่อเน่ือง
4. จดั ทำมาตรการเตรยี มรบั มือจากสนึ ามิ
5. ในกรณีทสี่ ถานศึกษาอยใู่ นพนื้ ทเ่ี สย่ี งภัย ควรตดิ ตั้งสัญญาณเตอื นภัยในสถานศึกษาเตรียมพรอ้ มแผน
ฉกุ เฉนิ การหนภี ัย และประชาสัมพนั ธ์ใหน้ ักเรียน ครู และบุคลากร ทกุ คนทราบโดยท่วั ถึง
6. จดั ทำขอ้ มลู ท่ีใช้ในการติดต่อส่ือสารกับหนว่ ยงาน หรอื องค์กรท่ีเก่ยี วขอ้ ง เพ่ือขอความช่วยเหลือ
เมื่อเกิดเหตุ
7. จัดให้มกี ารอยเู่ วรยามรักษาความปลอดภยั อยา่ งเคร่งครัด

การปฏบิ ัตกิ ารเมื่อเกิดสนึ ามิ
1. กรณที สี่ ถานศึกษาอยู่ใกลก้ ับบริเวณชายฝง่ั ทะเล หรอื ใกล้มหาสมุทร เม่ือได้รบั สญั ญาณเตือนภัยให้

ปฏิบตั ิตามมาตรการของสถานศึกษา และปฏบิ ตั ติ ามประกาศภาวะฉุกเฉินในท้องถ่นิ
2. ใหม้ กี ารปฐมพยาบาล และเคลอ่ื นย้ายผปู้ ระสบภยั และประสานขอรบั ความชว่ ยเหลอื จากหน่วยงานที่

เก่ียวขอ้ ง เชน่ โรงพยาบาล ฝ่ายปกครอง หนว่ ยงานบรรเทาสาธารณภัย และองคก์ รการกศุ ล
3. รายงานผ้บู งั คบั บญั ชา และหน่วยงานต้นสังกัด

๓๓

การฟ้นื ฟูหลังเกิดสนึ ามิ
1. ประสานงานขอรบั ความชว่ ยเหลอื จากหนว่ ยงานที่เกีย่ วขอ้ ง
2. ประมาณการความเสียหาย แรงงานขอความช่วยเหลือจากหนว่ ยงานตน้ สังกดั พรอ้ มท้ังขอรบั การ

สนบั สนนุ งบประมาณจากหน่วยงานต้นสงั กดั

6. แผน่ ดินถล่ม
แผ่นดนิ ถลม่ เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติของการณห์ น่ึงท่ีก่อใหเ้ กิดความเสียหายต่อบริเวณพืน้ ท่ีทเ่ี ปน็ เนนิ

สูง หรอื ภเู ขาท่มี ีความลาดชนั มาก เนือ่ งจากการขาดความสมดลุ ในการทรงตัวบรเิ วณดังกลา่ ว ทำใหเ้ กิดการปรับตัว
ของพ้นื ดินต่อแรงดึงดดู ของโลก และเกิดการเคล่ือนตวั ขององค์ประกอบธรณวี ทิ ยาบริเวณน้นั จากทส่ี ูงลงสู่ท่ีตำ่
แผน่ ดนิ ถลม่ มกั เกดิ ในกรณที ี่มฝี นตกหนกั มาก บริเวณภเู ขา และภเู ขาน้นั อุ้มนำ้ ไวจ้ นเกิดการอิ่มตวั จนทำให้เกิด
การพังทลาย

แผน่ ดนิ ถล่มในประเทศไทย ส่วนใหญ่มักเกิดภายหลงั ฝนตกหนกั มาก บริเวณภูเขาซึง่ เป็นต้นนำ้ ลำธาร
บรเิ วณตอนบนของประเทศโดยเฉพาะในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉยี งเหนือมีโอกาสเกิดแผน่ ดนิ ถลม่
เนือ่ งมาจากพายุหมนุ เขตร้อน เคลอื่ นผา่ น ในระหวา่ ง เดือนกรกฎาคม ถึง สิงหาคม ในขณะที่ภาคใตจ้ ะเกดิ ในชว่ ง
ฤดูมรสุมตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ระหวา่ ง เดือน พฤศจิกายน ถึง เดอื น ธนั วาคม
ประเภทของแผน่ ดินถลม่ แบ่งตามลักษณะการเคล่ือนตัวได้ 3 ชนดิ คอื

1. แผน่ ดนิ ถลม่ ท่ีเคล่ือนตวั อย่างช้า ๆ เรยี กวา่ Creep เช่น Surficial Creep
2. แผ่นดินถลม่ ทีเ่ คลอ่ื นตัวอยา่ งรวดเร็ว เรยี กว่า Slide หรือ Flow เชน่ Surficial Slide
3. แผ่นดินถล่มท่ีเคลอื่ นตัวอย่างฉับพลัน เรียกว่า Rock Fall
ปจั จัยสำคัญทเี่ ปน็ สาเหตุของการเกดิ แผน่ ดินถลม่
• ลักษณะของดนิ ทีเ่ กิดจากการผพุ งั ของหินบนลาดเขา

• ลาดเขามคี วามลาดชันมากมากกวา่ 30%

• มีการเปล่ยี นแปลงสภาพป่า
มาตรการป้องกนั

1. ให้ความรู้ในการปฏิบตั ติ น และแนะนำให้พน้ จากอันตราย
2. จดั ทำแผนงาน โครงการ แตง่ ตง้ั คณะกรรมการผ้รู ับผดิ ชอบ
3. จดั ใหม้ กี ารฝกึ ซ้อมการหลบภยั จากแผน่ ดินถลม่ แก่นกั เรียน ครู และบุคลากร
4. จดั ทำมาตรการเตรยี มรับมือจากดนิ ถลม่
5. มกี ารตดิ ตั้งสญั ญาณเตอื นภยั ภายในสถานศกึ ษา
6. มขี ้อมูลหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้องเพื่อประสานขอรบั ความช่วยเหลอื

๓๔

7. หลุมยบุ
หลุมยุบ เกิดจากมีโพรงใตด้ นิ ในบรเิ วณนัน้ ต่อมาเพดานโครงยบุ ตวั ลงอาจเนื่องจากการสูบน้ำใต้ดินทำให้

ขาดแรงพยุง เพดานโปร่ง หรอื แรงสน่ั สะเทือน จากการท่ีมียานพาหนะสัญจรไปมาในบริเวณใกลเ้ คียง
แรงสน่ั สะเทือนจากแผน่ ดนิ ไหว จงึ ทำให้เพดานโพรงพังทลายลงเกดิ เปน็ หลมุ ยบุ ขึ้น
มาตรการปอ้ งกัน

1. ให้ความรู้ในการปฏบิ ตั ติ น และแนะนำให้พ้นจากอันตราย
2. จัดทำแผนงาน โครงการ แตง่ ต้ังคณะกรรมการผู้รบั ผิดชอบ
3. จดั ใหม้ กี ารฝึกอบรมการหลบภัยจากหลมุ ยบุ แกน่ ักเรยี น ครู และบุคลากร
4. จดั ทำมาตรการเตรียมรับมือจากหลมุ ยุบ
5. มีการติดตั้งสญั ญาณเตือนภัยภายในสถานศกึ ษา
6. มีข้อมลู หน่วยงานท่เี กี่ยวข้องเพ่ือประสานขอรับความช่วยเหลือ

8. ภาวะโลกรอ้ น
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรอื ภาวะภมู ิอากาศเปล่ยี นแปลง (Climate Change) คือ การท่ี

อุณหภูมเิ ฉล่ยี ของโลกเพมิ่ ข้ึนจากผลของภาวะเรือนกระจก หรอื ที่เรารู้จกั กันดใี นชอ่ื ว่า Greenhouse Effect โดย
ภาวะโลกรอ้ นซ่งึ มตี น้ เหตจุ ากการทมี่ นุษย์ไดเ้ พิ่มปริมาณก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์จากการเผาไหมเ้ ช้อื เพลงิ ตา่ งๆ
การขนสง่ และการผลิตในโรงงานอตุ สาหกรรม

นอกจากนน้ั มนษุ ย์เรายังไดเ้ พิ่มกา๊ ซกลุม่ ไนตรัสออกไซดแ์ ละคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC) เขา้ ไปอีกด้วย
พร้อม ๆ กบั การท่เี ราตดั และทำลายป่าไม้จำนวนมหาศาล เพื่อสรา้ งส่งิ อำนวยความสะดวกให้แก่มนุษยท์ ำใหก้ ลไก
ในการดึงเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกไปจากระบบบรรยากาศถกู ลดทอนประสิทธภิ าพลง และในทส่ี ดุ ส่งิ ตา่ งๆ
ท่เี ราได้กระทำตอ่ โลกไดห้ วนกลบั มาสู่เราในลักษณะของภาวะโลกรอ้ น

ปรากฏการณ์ทัง้ หลายเกดิ จากภาวะโลกรอ้ นขนึ้ ท่มี ีมลู เหตุมาจาก การปล่อยกา๊ ซพิษตา่ งๆ จากโรงงาน
อุตสาหกรรม ทำให้แสงอาทิตยส์ ่องทะลผุ า่ นชนั้ บรรยากาศมาส่พู ้ืนโลกได้มากข้ึน ซ่ึงนน่ั เปน็ ทรี่ ูจ้ ักกนั โดยเรียกว่า
สภาวะเรือนกระจก

จากรายงานฉบับล่าสุดของคณะกรรมการระหว่างประเทศว่าด้วย การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศหรือ
ไอพพี ีซี (Intergovernment Panal on Climate :IPCC) ซง่ึ เปน็ รายงานที่รวบรวมงานวิจยั ของนักวิทยาศาสตร์
2,500 คน จากกว่า 30 ประเทศ และใชเ้ วลาในการวจิ ัยถึง 6 ปี ระบไุ ว้วา่ มคี วามเปน็ ไปได้อยา่ งน้อย 90% ท่ี
การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศเกดิ จากกิจกรรมของมนษุ ย์ และมนุษย์ถือไดว้ ่าเป็นตวั การสำคัญของปัญหาโลก
รอ้ นในคร้ังน้ี กรมสง่ เสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม และกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ มจึงไดจ้ ัดทำค่มู ือ
80 วธิ ีหยุดโลกร้อนขึน้ มาเพ่ือแจกจา่ ยให้กบั ประชาชนทั่วไปสถานศึกษา จำเป็นต้องมีการสรา้ งความรู้ความเขา้ ใจ
เรอ่ื งดงั กลา่ ว ดังนี้

๓๕

มาตรการปอ้ งกัน และแกไ้ ขปญั หาทางสงั คม
1. การลว่ งละเมิดทางรา่ งกาย และจิตใจ

จากสถานการณ์ทางสภาพแวดล้อมของสังคมไทยในปจั จบุ ันทมี่ ีการเปลย่ี นแปลงอยตู่ ลอดเวลา
ได้สง่ ผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของคนในสังคมอย่างย่ิงโดยเฉพาะความเสื่อมโทรมทางด้านคณุ ธรรมจริยธรรมของ
คนในสงั คมอกี ครง้ั ภาวะการบีบค้ันทางดา้ นเศรษฐกจิ ได้กลายเปน็ ตวั กระตนุ้ ทีส่ ำคัญท่ีก่อให้เกดิ ปญั หาความรุนแรง
การเอารดั เอาเปรียบ รวมไปถึงการกดข่ีข่มเหง ของคนในสงั คมซ่งึ ปัญหาตา่ งๆเหล่านี้ได้ลุกลามเข้าสู่สถานศึกษา
อยา่ งต่อเนอื่ ง

1) จดั ให้มคี ณะกรรมการ เฝ้าระวงั ปอ้ งปรามนักเรียนที่มพี ฤตกิ รรมทไี่ ม่พงึ ประสงค์ และสถานท่ที ีเ่ สี่ยง
โดยเฉพาะห้องเรยี นห้องนำ้

2) จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่ ครู นักเรยี น ผู้ปกครอง และชมุ ชน
3) จัดบรกิ ารใหค้ ำปรึกษา เช่น เพ่อื นวัยใส
4) จดั ทำเป็นหลักสตู รบูรณาการในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
5) ใชร้ ะบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นอย่างจริงจงั และต่อเนือ่ ง
6) จัดบรรยากาศภายในห้องเรียน และสภาพแวดล้อมในโรงเรียนใหม้ คี วามปลอดภยั ในชุมชน
7) จะอาสาสมัครเครือข่ายนักเรียน ผู้ปกครอง และชมุ ชน
8) ให้มผี ู้รบั ผดิ ชอบรายงานหัวหนา้ สถานศกึ ษาทราบ และรายงานตามลำดับชน้ั
9) นำนักเรียนเข้าสู่การชว่ ยเหลอื บำบัดรกั ษาโดยแต่งตง้ั คณะกรรมการ เพ่อื ดูแลติดตามอย่างใกล้ชดิ และ
ต่อเนอื่ ง
10) ประสานงานผูป้ กครองเพือ่ ให้ความช่วยเหลอื ในการดูแล
11) ประสานงานหน่วยงานที่เกยี่ วข้อง เช่น สถานตี ำรวจ กองคุ้มครองสวัสดภิ าพเดก็ และเยาวชน
บ้านพกั เด็ก และครอบครัวมูลนธิ อิ งค์กรต่าง ๆ เป็นต้น
12) จดั ช่องทางการรบั แจ้งข้อมลู เช่น ตู้จดหมาย อีเมล หรอื เว็บท่ไี มเ่ ปน็ ทางการ
แนวทางการดำเนินงานแกไ้ ขปัญหา
1. เชิญเดก็ มาพบครูอาจารย์ทีป่ รึกษาอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ
2. เชิญเพอ่ื นทสี่ นทิ กับเด็กมาพดู คยุ สอบถามข้อมลู ข้อเท็จจรงิ และผทู้ ่ีเกี่ยวข้องกบั ปญั หา
3. แจง้ ผบู้ รหิ ารหรอื จัดประชมุ ครผู ้เู ก่ยี วข้อง เพ่ือประเมินข้อเทจ็ จรงิ และผู้ท่เี ก่ียวข้องกับปัญหา
4. เชญิ ผปู้ กครองมาพบ แจง้ ขอ้ มูล ข้อสงสยั เก่ยี วกบั สถานการณข์ องเด็กกรณผี ู้ปกครองไมม่ สี ่วน
เกย่ี วขอ้ ง
5. เชิญนักสังคมสงเคราะห์ นักจิตวทิ ยามาพูดคุยกับเด็ก เพื่อปรบั สภาพจิตใจ กรณีไม่มีอาการบาดเจ็บ
6. ส่งเดก็ เข้ารับการตรวจรกั ษา และใหย้ าป้องกนั การตั้งครรภ์ หรอื การตดิ เช้ือกรณตี ้องไดร้ บั ความ
ยนิ ยอมต้องได้รับอนญุ าตก่อน
7. ใหผ้ ้ปู กครองแจ้งความ ดำเนินคดี และให้คำแนะนำผ้ปู กครองในการปรึกษา กบั นักสงั คมสงเคราะห์
เพ่อื พัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษยจ์ งั หวัด สำนกั งานอัยการคดีเยาวชน และครอบครัว

๓๖

8. ดำเนินการปกปิดข้อมลู สถานการณ์ของเด็กเป็นความลบั กรณจี ำเปน็ ต้องไดร้ บั การฟื้นฟสู ภาพจิตใจ
ควรใหพ้ ักการเรียนก่อนระยะสั้นๆ

2. การทำร้ายตัวเองและการฆา่ ตวั ตาย
แขง่ ขนั กบั ตัวเอง และผู้อน่ื การแข่งขนั เพ่ือให้ได้มาซง่ึ การยอมรับของสงั คม ทำใหน้ ักเรยี นเกิดความวติ ก

กังวล และมีภาวะกดดันที่รุนแรง ซงึ่ ความเครยี ดท่ีเกิดขนึ้ ส่งผลให้นักเรยี นหาทางออก ด้วยการกระทำตวั เองและ
คลปิ สัน้ เพอ่ื หนปี ัญหาทกี่ ำลังเผชญิ อยู่

ปญั หาการทำร้ายตวั เอง และการฆา่ ตวั ตาย มีสถิตสิ งู กวา่ เดิมมาก และเปน็ ปัญหาท่ีหาข้อมูลค่อนขา้ งยาก
เพราะยังไม่มีการรายงานข้อมูลความจริง แตจ่ ากการศึกษาข้อมลู ท่ีมอี ยู่ พบวา่ การท่บี ุคคลจะกระทำสิ่งใดทีเ่ ปน็
อนั ตรายต่อตนเองอาจมสี าเหตตุ อ่ ไปนี้

1) เกดิ จากความสัมพันธภาพในครอบครัวไม่ดี แตกแยก ทะเลาะววิ าท ไมส่ ามารถสรา้ งสมั พันธก์ ับผู้อนื่ ได้
รสู้ กึ โดดเดี่ยว ไม่มผี ู้เขา้ ใจตนเอง

2) การสญู เสียบคุ คลอันเป็นที่รกั ขาดที่พ่งึ ขาดการให้คำปรึกษา ไมม่ ที างเลือก และทางออกในการ
แกป้ ัญหา

3) การไม่มเี ป้าหมายในชีวิต ไม่เห็นคณุ คา่ แห่งตน คิดว่าตนเองไม่มีความสามารถ มีปมด้อย ไม่เปน็ ท่ี
ยอมรับ ไม่ได้รบั ความยุติธรรม ไมส่ ามารถปรับตัวเองเข้ากับผูอ้ ่นื ได้

4) การผดิ ปกติทางชีวเคมขี องสมองในส่วนที่มีความควบคุมอารมณ์ หรือโรคทางรา่ งกาย เช่น ต่อมไรท้ ่อ
หรอื การไดร้ ับยารกั ษาโรคบางชนดิ มอี าการเจ็บป่วยเรอ้ื รัง

5) ลักษณะบคุ ลกิ ภาพอารมณเ์ ปลีย่ นแปลงงา่ ย กา้ วร้าว ไม่สามารถแสดงออกไดโ้ ดยตรง แตช่ อบใชว้ ธิ ีการ
รนุ แรง สุดท้ายจึงทำร้ายตวั เอง

6) เกดิ จากความกดดันทางด้านปัญหา เศรษฐกิจ สังคม ระบบการจัดการศกึ ษา ขาดผู้ช่วยเหลือหา
ทางออกในการแก้ปัญหาไม่ได้

7) จากการติดสารเสพติด มีอาการทางประสาทอย่างรนุ แรง
8) ถูกละเมิด ถกู ทำรา้ ย ถูกกล่ันแกล้ง

แนวทางการดำเนินงานแก้ไขปญั หา
1. ใหก้ ารช่วยเหลอื ส่งโรงพยาบาลทใ่ี กลท้ ส่ี ุดโดยด่วนท่ีสุด
2. แจ้งผบู้ ริหารสถานศึกษา
3. แจง้ ผปู้ กครอง
4. แจ้งศูนยเ์ ฉพาะกจิ คุ้มครอง และชว่ ยเหลือนกั เรยี น
5. กรณพี น้ อนั ตราย ควรดำเนินการดงั น้ี
1. จัดให้มีเพื่อนสนทิ คอยอยูใ่ กล้ๆ
2. จดั ใหม้ ีครทู ่ีปรกึ ษาคอยตดิ ตามเดก็ อยา่ งใกล้ชิด

๓๗

3. พูดคุยบำบัดฟ้นื ฟโู ดยนกั จิตวทิ ยา
4. แนะนำผูป้ กครอง ใหค้ อยติดตาม ดูแลเด็กอยา่ งใกลช้ ดิ
5. ส่งเสริมให้ทำกจิ กรรมตา่ งๆ ท้ังในสถานศกึ ษา และนอกสถานศกึ ษา รว่ มกับเพือ่ นๆ ครู อาจารย์
และผู้ปกครอง
6. กรณที ราบสาเหตุ ควรดำเนนิ การดังน้ี
1. ถา้ เป็นเพ่ือนนักเรยี น ใหเ้ รียกนักเรยี นท่ีเกย่ี วข้อง และเชิญผปู้ กครองมารับรู้ดว้ ย
2. เป็นเหตุภายนอก เช่น บุคคลอน่ื ๆ ให้แจ้งผปู้ กครอง ให้ปรกึ ษา กับนักสังคมสงเคราะห์ บา้ นพกั
ฉกุ เฉนิ อัยการจงั หวดั แผนกคดีเด็ก เยาวชน และครอบครัว และตำรวจ ดำเนนิ การ
7. ปกปดิ สถานการณ์ของเด็กเปน็ ความลบั เพื่อปอ้ งกันการถูกลอ้ เลยี น หรอื ถูกกระทำซำ้

3. สารเสพติด
ปัจจุบนั ปญั หาการแพรก่ ระจายของสารเสพตดิ นับไดว้ า่ เป็นปัญหาท่สี ำคัญของทุกประเทศ เพราะเป็น

ตวั การบ่อนทำลายความเจริญของทรพั ยากรมนษุ ย์อนั เป็นปัจจยั สำคัญในการพฒั นาเยาวชน และนับวนั จะทวี
จำนวนเพ่ิมขน้ึ อย่างรวดเร็วเป็นผลมาจากปัจจัยทีส่ ำคัญหลายประการพอสรปุ ได้ ดงั น้ี

1) เดด็ ขาดความมั่นใจ และไมเ่ ห็นคุณค่าของตนเอง ทำให้ไปทดลอง และแก้ปญั หาโดยพ่ึงยาเสพติด
2) ปัญหาครอบครวั ขาดความอบอนุ่ มุ่งเนน้ การทำมาหากนิ เพอื่ ประโยชน์ทางเศรษฐกจิ ทำให้ขาดการเอา
ใจใส่ในการอบรมดแู ลบตุ ร
3) ระบบการศกึ ษาทเี่ นน้ การแขง่ ขัน ทำให้เยาวชนเกดิ ความเครยี ด จึงไปพึ่งยาเสพตดิ
4) ต้องการการยอมรับในสังคมโดยเฉพาะเยาวชน ต้องการการยอมรับในกลุ่มเพ่ือนใน ทางที่ผดิ
5) สภาพแวดลอ้ มในปจั จบุ ัน ยาเสพตดิ แพร่กระจายไปในที่ตา่ งๆอย่างรวดเรว็ สามารถหามาเสพได้
โดยง่าย
6) เจ้าหนา้ ท่ผี ู้รักษากฎหมาย ไมส่ ามารถปฏบิ ตั ิหน้าที่ได้ตามที่กฎหมายกำหนด รวมทงั้ ช่องวา่ งของ
กฎหมายท่ีทำให้เจา้ หน้าที่ไม่สามารถดำเนนิ คดีกับผกู้ ระทำความผดิ ได้
7) สื่อมวลชนเผยแพรข่ ้อมูลข่าวสารท่ลี อ่ แหลม ทำใหเ้ ยาวชนเรียนแบบในทางทผี่ ดิ ศลี ธรรม
แนวทางการดำเนินงานแก้ไขปญั หา
1. แตง่ ตั้งคณะกรรมการ รบั ผดิ ชอบแก้ไขปัญหา นักเรียนติดยาเสพตดิ ตามกระบวนการ ดงั ตอ่ ไปนี้

(1) จดั ทำระเบยี นผูต้ ดิ ยาเสพตดิ
(2) ประสานงานขอความรว่ มมอื ผู้ปกครอง และหนว่ ยงานที่เก่ยี วข้องเพื่อตรวจสุขภาพ
บำบดั รกั ษา และฟ้ืนฟใู ห้กับนักเรยี นทีต่ ิดยา
(3) จดั กจิ กรรมคนื คนดีสสู่ งั คม
(4) จดั กิจกรรมคนื ใครติดยายกมอื ขนึ้
2. จดั กจิ กรรมเสรมิ ทกั ษะชวี ิต โดยสร้างความตระหนัก เพื่อให้เห็นคุณคา่ แห่งตน เชน่ กิจกรรมพัฒนา
ผเู้ รยี น กิจกรรมเพื่อนเตือนเพื่อน

๓๘

3. จัดโครงการครอบครวั เข้มแขง็ โรงเรยี นอบอุ่นเพ่ือเช่ือม และหลอมรวมพลังระหวา่ งบ้าน และโรงเรียน
ใหเ้ ปน็ ท่ีพงึ่ แกเ่ ด็ก และเยาวชนอย่างแท้จรงิ

4. จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ พัฒนาศกั ยภาพนักเรียนได้แสดงออกตามความสามารถทถี่ ูกตอ้ ง เช่น ศลิ ปะดนตรี
กีฬา เปน็ ตน้

5. จัดกิจกรรมเสริมสร้าง การยอมรับทางสงั คม เชน่ โครงการทูบนี มั เบอร์วัน เวทคี นเกง่ เป็นต้น
6. จัดตงั้ กลมุ่ เฝา้ ระวงั โดยอาศัยกระบวนการเครือข่าย ท้ังภายใน และภายนอกสถานศึกษา
7. การให้ขอ้ มลู ขา่ วสาร ร่วมมอื ประสานงาน กบั เจา้ หน้าที่ตำรวจ
8. นำศาสนธรรมสู่เด็ก และเยาวชนเพือ่ เปน็ หลักในการดำรงชีวติ ด้วยการร่วมมอื ระหว่างสถาบันทาง
ศาสนา และสถานศึกษา
9. ใหค้ วามร้แู กน่ ักเรยี นในการใช้วจิ ารณญาณเลอื กชมสอื่ ในดา้ นตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสม เช่น การจดั
แผนการเรยี นรแู้ บบบูรณาการทเี่ น้นผ้เู รยี นการคิดวเิ คราะห์ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
10. จดั บรรยากาศสิง่ แวดลอ้ มภายในสถานศึกษา สะอาด ร่มร่ืน สวยงาม ตอ่ การจดั การเรยี นรู้
11. เฝ้าระวงั ในทล่ี บั ตา ในบรเิ วณจดุ ที่เป็นอนั ตราย และเสีย่ งตอ่ การกระทำความผดิ เช่น ห้องน้ำ ห้อง
ส้วม โดยกำหนดให้ครู และนักเรยี นเปน็ แกนนำ นักเรยี นเ ครือขา่ ยตรวจสอบ สอดส่องดูแลอยเู่ สมอ
12. ใชม้ าตรการ ระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น อยา่ งต่อเน่ือง และสม่ำเสมอ

4. การทะเลาะวิวาท
จากสภาพการณป์ ัจจุบันทีเ่ กดิ ขึ้น เหตกุ ารณ์นักเรยี นทม่ี ีพฤตกิ รรมเบย่ี งเบน โดยใชค้ วามรนุ แรงในการ

ตดั สินปญั หา ก่อการทะเลาะวิวาทใ ช้อาวธุ ทำรา้ ยรา่ งกายผฝ่ายตรงกนั ข้ามท่ีไมใ่ ชส่ ถาบนั ของตน ส่งผลให้ตนเอง
และผอู้ นื่ ได้รับบาดเจบ็ หรือเสยี ชวี ิต พฤตกิ รรมดังกล่าว เป็นอันตรายต่อคน สวัสดภิ าพ และอนาคตของนักเรียน
ตลอดจนประชาชนทั่วไป เป็นการบัน่ ทอนขวญั และกำลังใจ บรรยากาศการเรยี นรู้ของนักเรียนเป็นอย่างยิง่ ปัญหา
ดังกล่าวทวคี วามรนุ แรงย่ิงขึน้ จนเป็นความวิตกของสงั คมอาจมีเหตุ ดงั น้ี

1) คณุ ลักษณะความคิดของตัวนักเรียน ซึง่ มาจากพ้นื ฐานการอบรมเล้ียงดู และกระบวนการเขา้ สู่สังคม
ทัศนคตติ ่อความรนุ แรง โดยจำแนกได้ดังนี้

(1) การคบเพ่ือนเกิดจากสภาวะช่วงวัยรนุ่ ซึง่ เป็นชว่ งที่ใหค้ วามสำคญั ต่อเพื่อนเป็นพเิ ศษ
วยั คึกคะนอง เพราะ เช่อื เพ่ือน มพี ลังฮึกเหิม กลา้ ทำผดิ อยากเดน่ ดงั ต้องการการยอมรับในกลุ่มเพ่อื น

(2) มคี า่ นิยมในทางที่ผิด รักเพ่อื น รักสถาบนั เปน็ พฤตกิ รรมของวยั รุ่น ชอบทำในสงิ่ ที่
ทา้ ทาย ตอ้ งการให้เพ่ือนยอมรบั เพือ่ ศักด์ิศรปี ระเพณี ค่านิยม ในระบบรุ่นพีร่ นุ่ น้อง ต้องการแสดงความเกง่ อยู่
เหนอื กลมุ่ อื่น การถกู ท้าทายโดยเขียนข้อความเหยยี ดหยามฝ่ายตรงขา้ ม

2) สภาพการเลี้ยงดจู ากครอบครวั ทีแ่ ตกต่าง
(1) ครอบครวั แตกแยก และชีวติ อิสระ มีสงิ่ ย่วั ยุ นำไปสปู่ ัญหาพฤติกรรมเบี่ยงเบน

ประกอบกับการอยู่ในสภาพแวดลอ้ มทีไ่ มเ่ หมาะสม ทำใหเ้ ดก็ หนั เหชีวติ ไปในทางเสื่อม เด็กจะเหน็ ความรุนแรงจาก
ครอบครัวเป็นเรื่องธรรมดา

๓๙

(2) ผใู้ หญ่ไม่ใหค้ วามสนใจเท่าทีค่ วร ทำใหเ้ กิดชอ่ งว่างระหวา่ งความรัก ความเข้าใจ
ท่เี ดก็ ควรจะไดร้ บั จากพ่อ แม่ ผู้ปกครอง เมื่อมีปัญหาถงึ ไม่กลา้ พดู คยุ หรอื ปรกึ ษาหารือกับพ่อแม่ แต่จะไปปรึกษา
กับเพื่อน

(3) วธิ กี ารเล้ียงดทู ี่แตกตา่ งกัน บางครอบครวั เล้ียงดอู ย่างประคบประหงม บางครอบครัว
เลยี้ งดูดว้ ยการ ให้ช่วยเหลอื ตัวเอง ตดั สนิ ใจเอง ขาดความใกลช้ ิดกบั พ่อแม่ เด็กบางคนกลวั พอ่ แม่

(4) พฤติกรรมเลียนแบบทไ่ี ม่เหมาะสม จากส่ือประเภทต่างๆ เช่น การโฆษณา ละคร
ภาพยนตร์ทส่ี ่งเสรมิ ความรุนแรง

แนวทางการดำเนินงานแกไ้ ขปญั หา
1. แตง่ ตั้งคณะกรรมการรับผดิ ชอบ และแกป้ ญั หาทีเ่ กยี่ วข้องกับการทะเลาะวิวาทของนักเรยี น

ทง้ั ภายใน และภายนอกสถานศึกษา
2. ดำเนินการ ตามระบบ การดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพโดยการจดั ทำข้อมูลด้าน

พฤติกรรมของนักเรียนเป็นรายบุคคล
3. จดั ทำระบบเครือข่ายระหวา่ งผูป้ กครอง ชมุ ชน สถานศึกษา เพื่อการส่ือสาร และประสานสมั พันธ์

ร่วมมือ ป้องกนั แกไ้ ขปญั หาเกีย่ วกบั พฤติกรรมนักเรียน
4. จัดกจิ กรรมสรา้ งความสามัคคีปรองดองระหว่าง สถานศึกษา หรอื ภายในสถานศึกษาเก่ียวกับการสรา้ ง

คา่ นยิ มการแสดงออก เช่น โครงการสานสายใยสายสัมพันธ์เพ่ือนรว่ มทางต่างโรงเรยี น กิจกรรมเพื่อชวี ติ
ที่ดแี ก่นักเรยี น กจิ กรรมอาสาพฒั นาชมุ ชน เปน็ ต้น

5. สถานศกึ ษาจัดทำแผนวิธปี ้องกนั และซกั ซ้อมแผนการป้องกนั และแก้ไขปัญหาทะเลาะววิ าทของ
นักเรียนโดยบูรณาการรว่ มกันระหว่างองค์กรหนว่ ยงานทุกภาคสว่ นที่เกีย่ วข้อง

6. ควบคมุ การเข้า – ออก สถานศึกษาของนักเรียน และบุคคลภายนอก ในชว่ งเวลาท่มี ีการเรยี นการ
สอนอยา่ งเขม้ งวด

7. สถานศกึ ษาจดั อบรมการพัฒนาศักยภาพของนกั เรยี น ที่เปน็ กลมุ่ เสีย่ งตอ่ การกระทำผิดแก่ผ้ปู กครอง
และนกั เรียน

8. จัดให้มชี ่องทางการสือ่ สารทางสถานศึกษา ผูป้ กครอง กลุ่มเครอื ข่าย และหนว่ ยงานที่เกี่ยวขอ้ ง
เพ่อื สามารถแกไ้ ขปัญหาการทะเลาะววิ าทของนักเรียนได้ทันต่อสถานการณ์ เชน่ สายด่วน 1579 มขี ้อความทาง
โทรศพั ท์ SMS และเวบ็ ไซต์แจ้งขา่ ว กรณนี ักเรยี นขาดเรยี นกจิ กรรมของสถานศึกษา เป็นตน้

5. การถกู ลอ่ ลวง และลักพา
โรงเรยี นเป็นหน่วยงานทางการศกึ ษาท่ีทำหน้าท่ีในการจัดการศึกษาให้แก่นักเรียน ซ่งึ นอกจากจะทำหน้าที่

ในการจัดการศกึ ษาแลว้ โรงเรียนยังมหี น้าท่ใี นการดแู ลนักเรียนท่ีอยู่ในความปกครอง ให้ได้รบั ความปลอดภัยจาก
การล่อลวง และลักพา จากสภาพสังคมปจั จุบันครอบครัว สงั คม คุณธรรมจริยธรรม กระแสวิถีชวี ติ แบบตะวันตก
ความยากจน มีผลต่อแนวโนม้ ท่มี ีความเส่ียงต่อปญั หา การรวบรวม และราคาเพิ่มขนึ้ และการที่โรงเรียนจะ

๔๐

สามารถใหค้ วามดแู ลคุ้มครองนกั เรยี นให้ปลอดภัยได้ จำเป็นตอ้ งศึกษาถึงสาเหตุของปัญหาดงั กลา่ วสามารถสรุปได้
ดังนี้

1) นักเรียน หรอื เยาวชนขาดทกั ษะในการตดั สินใจ การคิดวเิ คราะห์ตดั สนิ ใจ และแกป้ ัญหาเฉพาะหน้า
2) เกิดการแสวงหาผลประโยชนจ์ ากเด็ก ในแต่ละชว่ งวัย เช่น การค้าประเวณี ขอทาน เปน็ ตน้
3) ความบกพร่องในมาตรการดูแล คุ้มครองนักเรียนของสถานศกึ ษา
4) เจา้ หนา้ ทีผ่ ูร้ ับผิดชอบ หรือผเู้ กย่ี วข้อง ละเลย หรือขาดการดแู ลเอาใจใส่อย่างทัว่ ถึง
5) บริเวณสถานศกึ ษา และเส้นทางการเดินทางมาสถานศึกษา มจี ุดล่อแหลม และเสี่ยงภัยตอ่ การเกิด
ปัญหา และการล่อลวง เช่น เส้นทางการเดนิ ทางมาสถานศึกษาค่อนข้างเปลย่ี ว และมีผูส้ ัญจรนอ้ ยทำให้ไม่
ปลอดภัย และเปิดโอกาสให้มิจฉาชพี ดำเนนิ การได้ ปญั หาครอบครวั ความแตกแยกภายในครอบครวั
ขาดการดูแลเอาใจใส่ ใหค้ วามรู้ ความรกั และความอบอ่นุ อยา่ งเพียงพอ
6) ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยที าง การสอื่ สารที่ถูกใชเ้ ป็นชอ่ งทางในการแสวงหาผลประโยชน์
จากการรวบรวม และลักพา เชน่ Facebook LINE และ Tango เปน็ ต้น
แนวทางการดำเนินงานแก้ไขปญั หา
1. แจ้งความ ลงบันทกึ ประจำวนั
2. ครูตอ้ งเชิญเพื่อนทีใ่ กล้ชิดกับเดก็ มาใหข้ ้อมลู
3. ใชข้ อ้ มูลจากคอมพวิ เตอร์ หรือสื่อ หรือโทรศัพท์ทเ่ี ด็กเก่ียวข้อง ใช้เป็นประจำท้งั จากที่บา้ น
และที่อ่นื ๆ
4. ประสานกบั เจ้าหนา้ ที่ผปู้ กครอง หรือองค์กร และหนว่ ยงานท่มี หี น้าที่ตดิ ตามการสญู หาย
ทง้ั ของภาครฐั และเอกชน
5. คอยตดิ ตามการดำเนนิ การของผเู้ กีย่ วข้องอย่างใกล้ชิด และให้ข้อมลู เพ่ิมเติมใหก้ ับผูเ้ ก่ียวข้อง
เช่น การใหโ้ ทรกลบั มา หรอื การสง่ ข้อความผา่ นคอมพิวเตอรถ์ ึงเพื่อน เป็นตน้

6. ส่ือลามก อนาจาร
สภาพสังคมปจั จุบนั อาจกลา่ วไดว้ ่า สังคมไทย กำลังเปล่ียนแปลงไปสู่ยคุ โลกาภวิ ัฒน์ การรับรู้ข้อมูล

ขา่ วสาร สอ่ื สิง่ พิมพ์ ลามก อนาจาร ทุกรปู แบบ มีอทิ ธิพลตอ่ พฤตกิ รรมทางเพศที่ไม่เหมาะสมของเด็กวัยรุ่น
ก่อให้เกดิ ปัญหาทางเพศ และอาชญากรรมในท่สี ดุ ซึง่ ทางโรงเรียน ไมม่ ีวิธีป้องกันดแู ลอย่างท่ัวถงึ ยอ่ มส่งผลกระทบ
โดยตรงต่อสภาพครอบครัว สังคม และประเทศชาติ โดยเฉพาะในเรอ่ื งสื่อลามก อนาจาร เปน็ ปัญหาของโรงเรียน
ในปัจจุบันซึ่งสามารถ จำแนกสาเหตุได้ พอสังเขป ดงั นี้

1) การแสวงหาผลประโยชน์ทางธรุ กจิ ของกลุ่มบคุ คล ท่ีขาดคุณธรรมจรยิ ธรรมในสังคม ในการผลิตและ
จำหน่ายสือ่ ลามก อนาจาร ซ่ึงมจี ำหน่ายแพรห่ ลายในท้องตลาด โดยขาดการควบคมุ และบังคับใช้กฎหมาย

2) เด็ก และเยาวชนขาดจิตสำนกึ และวจิ ารณญาณท่ีดีในการเลอื กเคร่ืองมือสื่อสารบรโิ ภคขอ้ มลู ขา่ วสาร
และสือ่ บันเทงิ ตา่ งๆ ท่เี หมาะสมกบั วยั

๔๑

3) กล่มุ เด็ก และเยาวชนผู้บรโิ ภคสือ่ ลามก อนาจาร ไม่ได้รับการเลย้ี งดูอบรมเอาใจใส่ ชแี้ นะ
ในการเลอื กบรโิ ภค ทเี่ หมาะสมจากผปู้ กครอง ครู ญาตพิ น่ี ้อง

4) การบงั คบั ใช้กฎหมาย ไม่เขม้ งวดเพียงพอ โดยเฉพาะตามแหล่งม่วั สมุ สถานบันเทิงตา่ งๆ
โดยเจา้ หนา้ ท่ที เ่ี กย่ี วข้อง ปล่อยปละละเลย ในการควบคมุ เผยแพรส่ อื่ ลามก

5) เด็กสามารถเขา้ ถึงส่ือ เกยี่ วกบั เร่ืองเพศ และส่ือลามก อนาจาร และการแสดงออกด้านความรักอย่าง
เปดิ เผยท่สี ่งผลต่อพฤตกิ รรมทไี่ มเ่ หมาะสม

6) ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีทางการสอื่ สารทีถ่ ูกใชเ้ ป็นชอ่ งทางในการแสวงหาประโยชน์จากการ
ล่อลวง และลกั พา
แนวทางการดำเนินงานแกไ้ ขปัญหา

1. สถานศึกษาดำเนนิ การควบคุม การดู และการนำข้อมูลขา่ วสาร หรอื ส่ือบันเทงิ ตา่ งๆ
ที่เกย่ี วข้องกบั เร่ืองเพศไม่ใหเ้ ขา้ มาเผยแพรใ่ นสถานศึกษา เช่น แตง่ ต้ังคณะกรรมการนักเรยี นในการเฝ้าระวงั
พฤติกรรมกลุ่มเสย่ี ง การตรวจค้นกลมุ่ เป้าหมาย

2. สถานศกึ ษาจดั ทำหลักสตู รบูรณาการการสอนในเรื่อง เพศศกึ ษา ศีลธรรมคุณธรรมจรยิ ธรรมทีด่ ี และ
เหมาะสมในทางสงั คมให้กับนักเรียน

3. จัดกจิ กรรม และเสริมสร้างค่านยิ ม ปลูกฝังคณุ ธรรมจรยิ ธรรมทด่ี งี าม ใหก้ ับนักเรยี นเพอื่ การ
ปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมที่ไมเ่ หมาะสม

4. จดั กจิ กรรมส่งเสริมพัฒนาศักยภาพ
5. นักเรยี นทม่ี คี วามสามารถทางด้าน ICT ได้มกี ารแข่งขนั และแสดงออกในทางทถ่ี ูกต้อง และเหมาะสม
6. ประสานความรว่ มมอื กับเจ้าหนา้ ท่ี และผูท้ ่เี ก่ียวขอ้ งในการตรวจตรา ควบคมุ ดูแล ตามแหลง่ จำหน่าย
และเผยแพร่ เช่น หา้ งสรรพสินคา้ รา้ นเกม internet Cafe เปน็ ตน้
7. ดำเนินการตรวจคน้ ยึดส่ิงของ และลงโทษ หากพบนักเรียนนำส่ือเข้ามาสู่ สถานศึกษา ติดต่อ
ประสานงานผู้ปกครองเพื่อหาแนวทางแก้ไขปรับเปล่ียนพฤตกิ รรม
8. ตัง้ กรรมการสบื หาแหล่งที่มา เพ่ือตดั วงจรการแพร่ระบาดในโรงเรียน
9. ประสานขอ้ มลู และหลักฐานเพอื่ ส่งใหผ้ ้เู กย่ี วขอ้ งหรือหนว่ ยงานทีร่ บั ผดิ ชอบดำเนินการตามกฎหมาย
ต่อไป
10. มอบหมายหวั หนา้ ระดับช้ัน หรอื ครทู ่ีปรกึ ษา ตดิ ตาม และเฝ้าระวังภายหลัง ดำเนนิ การแก้ไขแลว้ เพ่อื
เปน็ การแก้ไขปัญหาในระยะต่อไปนใี้ ห้เกิดข้นึ
11. จัดรวบรวมสภาพปญั หาที่เกดิ ขึน้ แล้วนำมาจัดเป็นกิจกรรมพัฒนา และส่งเสรมิ เพอื่ แกป้ ญั หา

๔๒

7. อบายมุข
สภาพสงั คม และส่งิ แวดลอ้ มในปจั จุบนั ได้เปลยี่ นแปลงไปอย่างรวดเรว็ ทำใหบ้ คุ คล ตา่ งจำเปน็ ต้อง

ปรับตัวเพอื่ การดำรงชวี ิตให้อยู่รอด และแสวงหาความสขุ ตามความต้องการจากแหล่งม่วั สมุ ประเภทต่างๆ
หากบคุ คลใด ครอบครวั ใด ไม่สามารถปรับตัวให้ทันกบั ความเปล่ียนแปลงของสังคมปจั จุบันได้ ซงึ่ อาจทำให้เกิด
ปญั หาภายในครอบครัว และในท่สี ุดจะมีผลกระทบถึงบตุ รหลานขาดการอบรมดูแลให้คำแนะนำอยา่ งใกล้ชดิ เด็ก
จะแสวงหากิจกรรมนันทนาการ ตามแหลง่ ม่วั สมุ ตามความพอใจของตนเอง ทำให้พฤติกรรมเปล่ียนไปในทางทผ่ี ดิ
ทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรม ทีม่ ผี ลต่อความประพฤติการเรยี นของนักเรยี นดอ้ ยลงขาดความเช่ือม่ันจากเพ่ือนร่วมชั้น
เรยี น

ดังน้นั ในการควบคุมนกั เรียน ให้มคี วามประพฤตขิ องนกั เรียนดีขนึ้ จากการศึกษารวบรวมขอ้ มลู พอสรุป
เป็นสาเหตุของปัญหาได้ดงั นี้

1) สภาพสังคมทเ่ี ปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ ส่งผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงของขนบธรรมเนียมประเพณี
และวัฒนธรรมอนั ดีงามของสังคมไทย และการเพมิ่ จำนวนของสถานบันเทงิ แหลง่ อบายมุข

2) ปญั หาทางดา้ นเศรษฐกิจ และสงั คมของครอบครัว ซง่ึ ส่งผลตอ่ การเปลีย่ นแปลงทางด้านพฤติกรรมของ
นักเรียนไปในทางที่ไมเ่ หมาะสม

3) ปัญหาดา้ นการเรยี นของนักเรยี น ขาดความสนใจดา้ นการเรยี น ระดับสติปัญญาของนักเรยี น การหนี
เรียน หนอี อกนอกโรงเรียนเพื่อไปมัว่ สุมตามแหลง่ อบายมุข

4) ปญั หาการคบเพ่ือน หรือกลุม่ เพ่อื นทม่ี ีพฤติกรรมไม่เหมาะสม ไม่สนใจเรยี น เกิดการลอกเลยี นแบบ
ตามแบบอยา่ งทผี่ ิด หลงใหลในสิ่งย่วั ยุท่ีผดิ

5) การเผยแพร่ ข้อมูล ข่าวสาร จากสื่อเทคโนโลยี โดยสารการควบคุม จนส่งผลกระทบต่อการรับรู้
การใช้วิจารณญาณในการรับฟงั รบั ชม จนส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมของนักเรียนในทางที่ไมเ่ หมาะสม

6) จดั ทำทะเบยี นข้อมูลนกั เรียนท่ีอยู่ในกลมุ่ เส่ยี งโดยการสืบหาขอ้ เทจ็ จรงิ ทันที เพ่อื ทราบสาเหตขุ อง
ปัญหาในการทจ่ี ะนำไปวางแผนแก้ไข

7) เชิญประชมุ ผูป้ กครอง เพ่ือหาแนวทางแก้ไขปัญหา และใหค้ วามช่วยเหลอื อย่างจริงจงั ร่วมกนั
8) จัดกิจกรรมค่ายพัฒนาคณุ ธรรมชีวติ สำหรับนกั เรยี นท่ีมีปัญหาพฤติกรรมดังกลา่ ว เพ่ือปรบั เปลย่ี น
พฤติกรรมให้ไปในแนวทางท่ีเหมาะสม
9) ใชส้ อ่ื หรอื บุคคล หรือกลุ่มบุคคล ท่เี ยาวชนใหก้ ารยอมรับมาเปน็ แบบอย่างในการปรับเปล่ยี น
พฤติกรรมเพ่ือแสดงออกในทางท่ีเหมาะสมถูกต้อง
10) จัดเจา้ หนา้ ท่ี ผู้รับผดิ ชอบในการออกตรวจตรา ตามแหลง่ อบายมขุ ต่างๆ โดยการประสานความ
ร่วมมอื กบั เจ้าหน้าที่ และหนว่ ยงานทีร่ ับผดิ ชอบ หรือระหว่างสถานศึกษาดว้ ยกัน
แนวทางการดำเนินงานแกไ้ ขปัญหา
1. กำหนดใหส้ ถานศึกษาเป็นเขตปลอดอบายมุข ทุกประเภท
2. จดั ระบบการตรวจสอบรายงานการสถานศึกษาของนักเรยี น ให้เปน็ ปัจจบุ ัน เพอ่ื ป้องกันการหนเี รยี น

๔๓

3. จัดกจิ กรรมเสรมิ สรา้ งความรู้ และความตระหนัก ในโทษภยั และปัญหาแหลง่ อบายมุขทผี่ ลกระทบต่อ
การเรยี น และความเป็นอยู่ของนักเรยี น

4. มอบหมายหน้าที่ครทู ปี่ รึกษา ตดิ ตามสอดสอ่ งดูแลพฤติกรรมของนกั เรยี นในกลุ่มท่มี ีปญั หา และกลุ่ม
เสย่ี ง ต้องรบี ดำเนินการปรับเปล่ียนพฤตกิ รรมในเบ้ืองต้น

5. จดั กิจกรรมเพ่ือสง่ เสริมพัฒนาศักยภาพนักเรียน ตามความสนใจ โดยบรู ณาการกับกิจกรรมทุกกลมุ่
สาระการเรยี นรู้

6. จัดทำทะเบยี นข้อมูลนักเรียนทอ่ี ยู่ในกลมุ่ เสยี่ งโดยการสืบหาข้อเท็จจรงิ ทนั ทเี พ่ือทราบสาเหตขุ อง
ปญั หาในการท่จี ะนำไปวางแผนแกไ้ ข

7. เชญิ ประชมุ ผปู้ กครอง เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหา และให้ความชว่ ยเหลอื อย่างจรงิ จงั ร่วมกัน
8. จดั กจิ กรรมคา่ ยพัฒนาคุณภาพชวี ิต สำหรบั กลมุ่ นกั เรยี นทม่ี ีปัญหาพฤติกรรม ดงั กลา่ ว
เพอ่ื ปรับเปล่ียนพฤติกรรมให้ไปใน แนวทาง ท่เี หมาะสม
9. ใชส้ อ่ื หรอื บคุ คล หรอื กลุ่มบคุ คลท่เี ยาวชนใหก้ ารยอมรับมาเปน็ แบบอยา่ งในการปรบั เปลยี่ น
พฤติกรรมเพื่อแสดงออกในทางที่เหมาะสมถูกต้อง
10. จัดเจา้ หนา้ ท่ผี ูร้ บั ผิดชอบในการออกตรวจตราตามแหล่งอบายมุขตา่ งๆ โดยการประสานความร่วมมอื
กับเจ้าหนา้ ที่ และหนว่ ยงานท่ีรับผดิ ชอบเหลือระหว่างสถานศึกษาดว้ ยกนั
11. จัดทำการสำรวจแหล่งอบายมขุ หรือแหล่งม่วั สุม โดยจดั ทำเป็นข้อมูลแผนทต่ี ้ังเพ่ือการประสานงาน
กับครูผู้รบั ผิดชอบ ผู้ปกครอง และเจา้ หน้าท่ีตำรวจ
12. ขอความร่วมมือจากผ้ปู กครอง ช่วยกรวดขนั ดแู ลบตุ รหลานอย่างใกลช้ ิด ทั้งการเรยี นการใชจ้ ่ายเงนิ
ให้รดั กมุ การใชโ้ ทรศพั ท์ การออกเทย่ี วเตรห่ รือการทำกิจกรรมนอกบ้าน รวมท้งั การใชเ้ ทคโนโลยีในครอบครัวไป
ในทางที่ไม่เหมาะสม
13. จัดตั้งกลุ่มเครือขา่ ยความร่วมมือระหว่างโรงเรยี น ผ้ปู กครอง ชุมชน ในการให้ข้อมูลขา่ วสาร และ
ติดตามสอดคล้องดูแลปอ้ งกันไมใ่ ห้นักเรียนไปมัว่ สมุ ในแหล่งอบายมุขตา่ งๆ
14. จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนทสี่ ร้างแรงจงู ใจใหก้ บั นักเรยี นปลอดจากอบายมุข

8. พฤติกรรมช้สู าว
จากสภาพปจั จบุ ัน โดยเฉพาะกล่มุ วัยรุ่น ด้านนกั เรยี นมีการลอกเลียนแบบพฤติกรรมจากสงั คมตะวันตกที่

มกี ารแสดงออกทางชูส้ าวอยา่ งเปดิ เผย กล้าแสดงออกในส่งิ ทว่ี ัฒนธรรมและประเพณีไทยไมย่ อมรบั
เป็นพฤติกรรมทีเ่ กิดขึน้ อย่างต่อเนอื่ ง และมีความรุนแรงมากขึน้ ทุกที อนั จะก่อให้เกิดปัญหาอ่นื ๆ ตามมามากมาย
ซง่ึ เป็นพิษภยั ต่อตนเอง ครอบครัว จากการศึกษาข้อมลู เก่ยี วกับการมีพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสมของวยั รนุ่ เชน่
พฤติกรรมทางชูส้ าว การมีเพศสมั พนั ธก์ ่อนวยั อันควร การค้าประเวณเี ป็นต้น โดยสามารถจำแนกสาเหตุของปัญหา
ได้ ดงั นี้

1) สภาพครอบครวั ของนักเรียนทขี่ าดการเอาใจใสด่ ูแล ขาดความรักความอบอุ่นจากครอบครัวจน เป็นผล
ให้นักเรียนขาดที่พ่ึง


Click to View FlipBook Version