The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูลผ้าไทย 190364 ล่าสุด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by khantarak, 2021-03-18 23:27:41

ข้อมูลผ้าไทย 190364 ล่าสุด

ข้อมูลผ้าไทย 190364 ล่าสุด





คำนำ

หนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์ (EBOOK) เลม่ นี้เปน็ ส่วนหนึง่ ของการฝึกสหกจิ ศึกษา จัดทาข้นึ เพ่ือเป็น
ส่อื การเรียนรู้เกย่ี วกับผ้าซนิ่ ตีนจก ผจู้ ัดได้รวบรวมขอ้ มลู เก่ียวกบั ผา้ ซน่ิ ตนี จก ลวดลายผ้าซนิ่ ตีนจก
(ลวดลายเพยี งบางส่วน) อาเภอลอง จังหวดั แพร่ ใช้เป็นแนวทางในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง

ผจู้ ัดทาหวังเป็นอย่างยิง่ ว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (EBOOK) เร่อื ง โครงการจัดทาสอ่ื รณรงค์
สง่ เสริมการแต่งกายนงุ่ ผา้ ซ่ิน ไม่นงุ่ สน้ั (ผ้าซ่ินตีนจก) หนงั สอื อิเลก็ ทรอนิกส์ (EBOOK) เลม่ น้ี จะเปน็
ประโยชน์ต่อผู้ทส่ี นใจไดไ้ มม่ ากกน็ อ้ ย

คณะผ้จู ัดทา

สำรบญั ค

คานา หน้ำ

สารบัญ ก
สารบัญภาพ ข

สารบญั ภาพ (ตอ่ ) ง
ผ้าไทย 1
ผ้าซ่นิ ตนี จกเมืองลอง จังหวัดแพร่ ๒

กรรมวธิ กี ารทอผ้าแบบโบราณ ๔
อุปกรณ์การทาเส้นด้าย ๗
๑๒
อปุ กรณ์การทอผา้ จก 1๖
กระบวนการ/ขัน้ ตอนการทาเส้นฝา้ ย (ด้าย) 2๒
กระบวนการ/ขั้นตอนการทอผ้าจกเมอื งลอง 2๓

องค์ประกอบของผา้ ซิ่นตนี จก
ลายผ้าซ่ินตนี จก อาเภอลอง จงั หวัดแพร่

สำรบญั ภำพ ง

ภำพประกอบท่ี หน้ำ
๑. ดอกฝ้าย 3
4
๒. อีดฝ้าย 4
๓. เผยี่ น ป่นั ฝ้าย ๕
๔. กะลมุ ยงิ ฝ้าย ๕

๕. แปน้ ป่นั หางสาลี ๖
๖. ไม้เปยี่ ฝา้ ย ๗

๗. มะกวัก (หางเหน) ๘
๘. กีท่ อผา้ 8
๙. ตะกอลาย ๙

๑๐. ตะกอเหยียบ ๑๐
๑๑. ฟนั หวี (ฟมื ) ๑๐
๑๑
๑๒. กระสวยใสห่ ลอดดา้ ยพุง่ (ดา้ ยต่าหรอื ด้ายดอก) ๑๑
๑๓. ไม้ดาบ ๑๒
๑๔. ขนเม่น (ใชส้ าหรับจกเส้นดา้ ยให้เกดิ ลวดลาย) ๑๒
๑๓
๑๕. หลอดเส้นด้ายพงุ่ สีตา่ ง ๑๓
๑๖. เผีย่ น (อุปกรณ์ในกอด้าย) ๑๔
๑๔
๑๗. ผืนผา้ จกท่ที อเสรจ็ แล้ว ๑๕
๑๘. การอีดฝ้าย ๑๕
๑๙. การดดี ฝา้ ย ๑๖
๑๖
๒๐. การป่ันหางสาลี ๑๗
๒๑. การปนั่ ฝา้ ย ๑๗
๑๘
๒๒. การเปีย่ ฝ้าย ๑๘
๒๓. การกวักฝ้าย ๑๙
๒๔. การโวน้ ผูก 19
๒๐
๒๕. การทอผ้าตนี จกหรือการทอหกู ๒๑
๒๖. การกรอดา้ ย 2๒

๒๗. การโวน้
๒๘. การมดั เขาเหยียบ
๒๙. การป่วนฟนั ฟืม (การร้อยฟนั หว)ี

๓๐. การสบื เครอื
๓๑. การแกะลายหรือการเกบ็ ลาย

๓๒. การมัดเขา
๓๓. การทอผ้า
๓๔. การตรวจสอบคุณภาพ

๓๕. องค์ประกอบของผาตนี จก
๓๖. ลายขอหัวใจ

สำรบญั ภำพ จ

ภำพประกอบที่ หน้ำ

๓๗.ลายขามดสม้ ๒๓
๒๔
๓๘.ลายขอผักกูด ๒๕
๓๙. ลายงูหอ้ ยสา้ ว ๒๖
๒๗
๔๐. ลายโกง้ เก้งซอ้ นนก ๒๘
๔๑. ลายเจยี งแสน ๒๙
๔๒. ลายสาเภาลอยนา้ ๓๐
๓๑
๔๓. ลายราชบรุ ี ๓๒
๔๔. ลายสรอ้ ยกาบหมาก ๓๓
๓๔
๔๕. ลายชอ่ น้อยตุงชัย ๓๕
๔๖. ลายแมงโบง้ เลน ๓๖
๔๗. ลายเจียงแสนหงสด์ า ๓๗
๓๘
๔๘. ลายนกนอน ๓๙
๔๙. ลายหม่าขนัด ๔๐
๔๑
๕๐. ลายขันดอก ๔๒
๕๑. ลายขอล้อมนก ๔๓
๕๒. ลายขันดอกหมู่ ๔๔
๔๕
๕๓. ลายสาเภาลอยนา้ ๔๖
๕๔. ลายขอกาบ ๔๗
๔๘
๕๕. ลายหลงั เต่า ๔๙
๕๖. ลายกุหลาบเวยี งพงิ ค์ ๕๐
๕๗. ลายดอกเชยี หรอื ลายภูพิงค์ ๕๑

๕๘. ลายจีด้ อกมะโอ
๕๙. ลายดอกผกั แว่น

๖๐. ลายนกกนิ น้ารว่ มตน้
๖๑. ลายขอลอ้ มดาว
๖๒. ลายโกง้ เก้งซอ่ นนก

๖๓. ลายเจียงแสง
๖๔. ลายแมงกาป้งุ

๖๕. ลายเขาวงกรด



ผ้ำไทย

"ผา้ ไทย" เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ล้าค่าที่บรรพบุรุษได้สืบสาน
มรดก ภมู ปิ ัญญาจากรนุ่ สรู่ นุ่ จนถึงปัจจุบัน ที่แสดงถึงความเป็นตัวตนของ
ชุมชน ลวดลาย ต่าง ๆ บนผืนผ้าสื่อความหมายให้ทราบถึง
ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเชื่อ ฯลฯ ของแต่ละท้องถ่ินท่ีมีความ
แตกต่างกัน และผ้าไทยเป็นเครื่องบ่งบอกเอกลักษณ์ ความเป็นไทยด้าน
เคร่อื งนุ่งห่ม ซึ่งสามารถสะทอ้ นวถิ ชี วี ิต ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาใน
แตล่ ะภมู ิภาคได้เป็นอย่างดี ท้งั น้ี ในอดตี ทีผ่ ่านมาได้พบหลักฐาน ว่าคนใน
ยุคก่อนประวัติศาสตร์รู้จักทอผ้าใช้แล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๓,๐๐๐ ปี
ตลอดระยะเวลาอันยาวนานนี้ได้มีการค้นพบหลักฐานต่างๆ เกี่ยวกับการ
ใช้ผ้าทั้งท่ีมีการ สั่งซื้อจากต่างประเทศและท่ีมีการทอใช้เอง ซึ่งใน
สมยั ก่อนเส้อื ผา้ เคร่อื งนุ่งห่ม เป็นเครื่องบ่งบอกฐานะด้วย โดยเจ้าแผ่นดิน
เจา้ นายและขุนนาง สว่ นใหญ่ใช้ผา้ ชนิด ต่าง ๆ ที่ส่ังจากต่างประเทศ ส่วน
สามญั ชนสว่ นใหญใ่ ช้ผ้าพืน้ เมอื ง ซึง่ ทอใชก้ ัน อยูท่ ่วั ทุกภูมิภาค

เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ท่ี
ทรงเป็นผู้ริเริ่มในกรอนุรักษ์และเผยแพรผ้าไทย และตอบสนองนโยบาย
นายกรัฐมนตรีในการส่งเสริมและรณรงค์ให้ประชาชนสวมใส่ผ้าไทย ตลอดจน เป็นการสนับสนุนให้ประชาชน
สามารถสรา้ งอาชพี สร้างรายได้ใหก้ บั ตนเอง และครอบครัว จึงได้มีการจัดกิกรรมเพื่อกระตุ้นให้เกิดความสนใจ
และสรา้ งค่านิยมในการใชผ้ า้ ไทยมาอย่างตอ่ เนือ่ ง และได้มแี ผนการดาเนินงานเพื่อรณรงค์ส่งเสริม การใช้ผ้าไทย
ใหเ้ กิดกระแสการรับรแู้ ละเห็นผลอย่างเปน็ รปู ธรรม
ความสาคัญของผ้าไทย ไม่ใช่เป็นเพียงปัจจัยหนึ่งในการดารงชีวิตเท่านั้น แต่ผ้าไทยยังเป็นที่รวมของ
มรดกภูมิปัญญาซ่ึงบรรพบุรุษได้ประดิษฐ์ คิดค้นข้ึนเป็นเวลานาน หาก
ไม่มีผู้สืบทอดภูมิปัญญาต่าง ๆ ท่ีถักทอออกมา เป็นลายผ้าก็จะสูญ
หายไปอย่างไม่มีวันย้อนกลับมาได้อีก เนื่องจากปัจจุบันผู้สืบทอด และ
ถ่ายทอดองค์ความรใู้ นการทอผ้ากาลังลดนอ้ ยลง และลูกหลานหรือผู้สืบ
ทอด ต่างหันไปประกอบอาชีพอื่น อีกท้ังในยุคปัจจุบันประชาชนนิยม
สวมใสผ่ ้าทอ จากอุตสาหกรรมมากกว่าผ้าทอมือฝีมือคนไทยอันเป็นอัต
ลักษณ์แห่งความเป็นไทย และการสงวนรักษามรดกภูมิปัญญาผ้าไทย
จาเปน็ อยา่ งย่ิงที่ต้องให้ผู้ขายผ้า หรือผู้ประกอบการเกี่ยวกับผ้ามีรายได้
เพิ่มมากขึ้น ดังน้ัน จึงต้องดาเนินการ ไปพร้อม ๆ กัน ทั้งด้านการ
ส่งเสริมใหเ้ หน็ ความสาคัญของภูมิปัญญาด้านผ้าไทยและส่งเสริมให้เกิด
รายได้ ซง่ึ เปน็ การเจริญรอยตามพระยุคลบาท สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชนีนาถ ทีไ่ ดท้ รงปพู ้ืนฐานไวก้ อ่ นแล้ว

จังหวัดแพร่ เป็นแหล่งกาเนิดของผ้า มีผ้าฝ้ายที่ใหญ่และมี
ช่อื เสียงที่สุดในจังหวดั แพร่ มวี ัฒนธรรมการทอผา้ และยอ้ มสีใบห้อมย้อม
ด้วยผา้ ฝา้ ยเพอ่ื ทาใหไ้ ด้ครามสนี ้าเงนิ การย้อมสีแบบดั้งเดิม แนวคิดจาก
วัฒนธรรมและความเช่ือ นาภูมิปัญญาท้องถ่ินมาออกแบบเส้ือผ้าหม้อ
หอ้ มให้มีความสวยงามร่วมสมัย สร้างความแตกต่างจากรูปแบบดั้งเดิม



มงุ่ เนน้ ความเปน็ ธรรมชาตโิ ดยใช้สีย้อมวัสดุจากธรรมชาติ เพื่อสร้างลวดลายผ้าและพื้นผิวบนผ้าด้วยการตัดเย็บ
ปกั เพ่อื ใหม้ คี วามสวยงามและนา่ สนใจสาหรับผ้บู ริโภค"

จงั หวัดแพรม่ ีแหลง่ ผลติ ภณั ฑท์ ี่เปน็ เอกลกั ษณแ์ ละลักษณะที่โดด
เด่น คือ การทอผ้าตีนจกเมืองลอง เป็นแหล่งผลิตผ้าซ่ินตีนจกท่ีสาคัญ
ของจังหวดั แพร่ ถอื เป็นหัตถกรรมที่ลูกหลานเมืองลองมีความภาคภูมิใจ
ที่ได้เป็นผู้สืบทอดรูปแบบลวดลาย สีสันที่วิจิตรสวยงามที่ปรากฏบนผืน
ผา้ และได้มีการพัฒนาผืนผ้าใหม้ ีความหลากหลาย สวยงาม มีประโยชน์
การใช้สอยสูง ทาให้ผ้าทอตีนจกของเมืองลิงในปัจจุบันมีความ
หลากหลายแปลกตา และยงั เปน็ ทน่ี ยิ มในหมู่ใชผ้ ้าไทยในปัจจบุ ัน

ผำ้ ซน่ิ ตนี จกเมืองลอง จงั หวดั แพร่

ประวัติความเป็นมาผา้ ซ่ินตีนจกเมืองลอง

เมืองลองในอดีตเป็นเมืองหน้าด่านสาคัญเมืองหน่ึงทาง
ทศิ ใตข้ องอาณาจกั รลา้ นนา เปน็ เมอื งของชาวไทยยวนหรือชาว
ไทยโยนก ซึ่งมีเทคนิคและศิลปะในการทอผ้าในรูปแบบของ
ตนเอง ผู้หญงิ ไทยวนนยิ มแตง่ กายด้วยผา้ ซ่นิ ทอชนิดต่างๆ และ
ผ้าซ่ินตนี จกเปน็ ผา้ ซิ่นทที่ าขึ้นเพื่อใช้ในโอกาสพิเศษ โดยวัสดุที่
ใช้ในการทอมที ง้ั ทีเ่ ป็นผ้าไหม ด้ินเงิน ด้ินทอง ทอเป็นลวดลาย
สวยงาม

การทอผา้ ตีนจกของชาวเมอื งลอง เร่ิมข้นึ มานานเพียงใด
ไมป่ รากฏหลกั ฐาน แต่สนั นิษฐานว่าความรุ่งเรืองของเมืองลอง
มีมานานกว่า ๒๐๐ ปี จากหลักฐานภาพถ่ายเจ้านายฝ่ายหญิง
ของเมืองแพร่ในสมัยก่อน พ.ศ ๒๔๔๕ พบว่า ถ้าผ้าซ่ินใช้สวม
ใส่จะมีเชิงซิน่ เปน็ ตีนจก ซ่ึงน่าจะเป็นซ่ินตีนจกท่ีทอขึ้นโดยช่าง
ทอผ้าชาวเมืองลอง นอกจากนี้หลักฐานการใช้ผ้าตีนจกเมือง
ลองในการแต่งกายของชาวเมืองลองยังปรากฏมานานนับรอ้ ยปี
หลกั ฐาน คือ ภาพจติ รกรรมฝาผนงั ท่ี วัดเวียงต้า ตาบลเวียงต้า
อาเภอลอง เป็นภาพวิถีชีวิต ความเชื่อ การแต่งกายของ
ชาวบ้านเวยี งตา้ ซึง่ เปน็ คนเมืองลองในยคุ นนั้ ผู้หญิงในภาพใชส้ วมใส่เปน็ ซิ่นตนี จก
ผ้าจกเมืองลองเป็นผ้าทอที่มีลวดลายและสีท่ีสวยงาม ในอดีตส่วนใหญ่เป็นการทอเพ่ือนามาต่อกับผ้าถุง
หรือที่เรยี กว่าซน่ิ เป็นเชิงตีนซิ่น เรียกว่า ซ่ินตนี จกและมกี ารสืบทอดวัฒนธรรมการทอผ้าตีนจกมาจนถึงปัจจุบัน
ท่มี ีความสวยงามบอกถึงฐานะและสังคมของผู้สวมใส่ การแต่งกายเป็นสิ่งสาคัญส่ิงหนึ่งที่บ่งบอกเอกลักษณ์ของ
คนแต่ละพื้นถิ่น ตัวซ่ินลายทางต้ังเป็นซ่ินแบบลาวไม่ควรนามาต่อกับตีนจกไทยวน นอกจากน้ีการโพกผ้ายัง
สามารถเปน็ ตวั บ่งชี้สถานภาพของผหู้ ญิงอีกดว้ ย
ตนี จก มาจากคาว่า ตีน และ จก คาว่า ตีน มาจากคาว่าตีนซ่ิน คือชายผ้าถุง ส่วนคาว่าจก หมายถึงการ
ล้วง การทอผ้าชนดิ น้ี ของชายไทยวนจะทอลวดลายบนผืนผา้ ด้วยการใชข้ นเม่นหรือไม้แหลมจกหรือล้วงเส้นด้าย
สีต่างๆ ให้เป็นลวดลายตามท่ีกาหนดไว้ ผ้าจก ส่วนใหญ่ทอเพื่อนาไปต่อเป็นเชิงผ้าถุง ชาวบ้านจึงนิยมเรียกผ้า
ชนดิ นี้ว่าผา้ ตีนจก



การทอผ้าตีนจก ในจังหวัดแพร่มีเพียงแห่งเดียวคือ ท่ีอาเภอลองหรือเมืองลอง ผ้าตีนจกเมืองลอง
เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของคนไทยญวนหรือชาวไทยโยนกซึ่งเป็นกลุ่มใหญข่ องภาคเหนือ ในอดีตผ้าตีนจกเมือง
ลอง เป็นเครอ่ื งแสดงฐานะทางเศรษฐกจิ และสังคมของผู้สวมใส่ ผใู้ ช้ผ้าทอตีนจกจะเป็นผู้ที่มีฐานะดีหรืออาจเป็น
เชื้อสายของเจ้าเมือง เน่ืองจากเป็นผ้าที่ต้องความประณีตและใช้เวลาทานาน จึงทาให้มีราคาสูงเม่ือเทียบกับ
ผา้ ซิ่นชนิดอนื่ ผ้าตีนจกฝีมือช่างทอผ้าเมืองลองในอดีตมีความกว้างประมาณ ๑๐ น้ิว มีลายจกยาวประมาณ ๒
ใน ๓ ของตีนซิน่

ชนิดของผา้ จกเมอื งลอง มีทง้ั ตีนจก ใช้ตอ่ เชงิ ผ้าถงุ หรอื ตีนเสน้ , ผ้าสไบหรอื ผา้ สะหว้านบ่า เป็นผ้าจกหน้า
แคบนิยมใช้เมื่อแต่งกายแบบพ้ืนเมืองภาคเหนือ, ผ้าคลุมไหล่, ผ้าเทป เป็นผ้าทอจกทั้งผืนโดยใช้ลวดลายซ้ากัน
เป็นผ้าท่ีพัฒนาขึ้นมาภายหลังเพ่ือนาไปตัดเย็บตกแต่งกับผ้าพ้ืน ผ้าเทปยังสามารถนาไปเป็นผลิตภัณฑ์อื่นเช่น
กระเปา๋ ถือ ซองใสแ่ ว่น กลอ่ งใส่กระดาษชาระ เป็นตน้

ลวดลายผา้ จกที่ตกทอดถงึ ปจั จบุ นั นี้มีนบั ร้อยลาย ตวั อยา่ งลวดลายโบราณที่ยังนิยมใช้อยู่เช่นลายผักแว่น,
ลายนกกินน้ารว่ มต้น, ลายขอไล่, ลายวงน้าคุ, ลายสาเภาลอยนา้ , ลายงหู ้อยขา้ ว, ลายตอ่ มเครือ, เป็นต้น ลายส่วน
ใหญ่จะได้มาจากการสังเกตสภาพธรรมชาติแล้วนามาลอกเลียนแบบ การทอผ้าตีนจกแบบดั้งเดิมมักจะใช้ลาย
หลักประมาณ ๑ หรือ ๒ ลายในการทอผ้าแต่ละผืน ปัจจุบันช่างทอผ้าเมืองลองยังคงใช้สีย้อมจากธรรมชาติ
ทาใหผ้ า้ มคี ุณค่ามากขน้ึ ตลอดจนสามารถนาไปตกแต่งกับผา้ อื่น ๆ ไดง้ า่ ย

กรรมวธิ กี ำรทอผ้ำแบบโบรำณ

การทอผ้าแบบโบราณ แต่เดิมจะปลูกฝ้าย และนาฝ้ายมาป่ันด้วยมือ เรียกว่า ฝ้ายเข็มและย้อมสี
ธรรมชาติในการทอผ้า สีที่ใช้ในการทอผ้าส่วนมากจะเป็นสีแหล้ (สีเข้ม) ซ่ึงปัจจุบันการเข็นฝ้ายน้ันหาดูยาก
เพราะสว่ นใหญจ่ ะใชฝ้ า้ ยจากโรงงาน ทาใหก้ ระบวนการบางอย่างในการทอผ้าคอ่ ยๆหายไป ดังนั้น เป็นผู้สืบทอด
ภมู ิปญั ญา ควรจะอนุรักษไ์ ว้ซ่ึงกรรมวิธีการทอผ้าแบบเดมิ

อปุ กรณก์ ำรทำเสน้ ด้ำย

๑. ดอกฝา้ ย

รปู ภาพท่ี ๑ ดอกฝา้ ย
ทมี่ า : ศนู ย์การเรยี นรู้ผ้าจกเมอื งลอง (พิพธิ ภณั ฑบ์ า้ นศลิ ปนิ แห่งชาติ)



๒. อดี ฝ้าย

รปู ภาพท่ี ๒ อดี ฝ้าย
ท่ีมา : ศูนย์การเรียนร้ผู ้าจกเมืองลอง (พิพธิ ภัณฑบ์ า้ นศลิ ปนิ แห่งชาติ)

๓. เผี่ยน ปั่นฝา้ ย

รปู ภาพท่ี ๓ เผ่ยี น ปัน่ ฝ้าย
ท่ีมา : ศูนย์การเรียนรู้ผ้าจกเมอื งลอง (พพิ ิธภัณฑ์บ้านศิลปินแหง่ ชาติ)



๔. กะลุมยงิ ฝา้ ย

รูปภาพท่ี ๔ กะลุมยิงฝ้าย
ทม่ี า : ศนู ย์การเรียนร้ผู า้ จกเมอื งลอง (พิพธิ ภณั ฑ์บา้ นศิลปินแหง่ ชาติ)
๕. แปน้ ปั่นหางสาลี

รปู ภาพท่ี ๕ แปน้ ป่ันหางสาลี
ทม่ี า : ศูนย์การเรียนรูผ้ ้าจกเมืองลอง (พิพิธภณั ฑบ์ ้านศิลปนิ แหง่ ชาติ)



๖. ไมเ้ ปี่ยฝา้ ย

รปู ภาพที่ ๖ ไมเ้ ปย่ี ฝ้าย
ที่มา : ศนู ยก์ ารเรียนรผู้ ้าจกเมอื งลอง (พิพิธภณั ฑบ์ ้านศลิ ปนิ แห่งชาติ)

๗. มะกวัก ( หางเหน)

รูปภาพท่ี ๗ มะกวัก (หางเหน)
ที่มา : ศนู ย์การเรียนรผู้ า้ จกเมอื งลอง (พิพธิ ภณั ฑ์บ้านศิลปินแหง่ ชาติ)



อุปกรณก์ ำรทอผำ้ จก

๑. กี่ทอผ้า

รปู ภาพท่ี ๘ กีท่ อผ้า
ทม่ี า : ศูนยก์ ารเรยี นรู้ผ้าจกเมอื งลอง (พิพิธภัณฑ์บ้านศลิ ปนิ แห่งชาติ)
๒. ตะกอลาย (เขาลาย)

รปู ภาพท่ี ๙ ตะกอลาย (เขาลาย)
ทม่ี า : ศนู ย์การเรียนรผู้ ้าจกเมืองลอง (พิพธิ ภัณฑบ์ ้านศลิ ปนิ แหง่ ชาติ)



๓. ตะกอเหยียบ (เขาเหยยี บ)

รปู ภาพท่ี ๑๐ ตะกอเหยียบ (เขาเหยียบ)
ทม่ี า : ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ผ้าจกเมอื งลอง (พิพิธภัณฑบ์ ้านศลิ ปนิ แหง่ ชาติ)

๔. ฟันทวี (ฟืม)

รปู ภาพท่ี ๑๑ ฟนั หวี (ฟืม)
ท่ีมา : ศูนย์การเรยี นรู้ผ้าจกเมืองลอง (พิพธิ ภณั ฑบ์ ้านศลิ ปินแหง่ ชาติ)



๕. กระสวยใสห่ ลอดด้ายพงุ่ (ด้ายต่า หรอื ดา้ ยดอก)

รปู ภาพท่ี ๑๒ กระสวยใส่หลอดด้ายพงุ่ (ด้ายตา่ หรือดา้ ยดอก)
ทม่ี า : ศนู ยก์ ารเรียนรู้ผา้ จกเมืองลอง (พพิ ิธภณั ฑบ์ ้านศิลปินแห่งชาติ)
๖. ไมด้ าบ

รปู ภาพท่ี ๑๓ ไม้ดาบ
ทมี่ า : ศูนยก์ ารเรยี นรผู้ า้ จกเมอื งลอง (พพิ ิธภัณฑ์บ้านศิลปินแห่งชาติ)

๑๐

๗. ขนเม่น (ใชส้ าหรบั จกเสน้ ด้ายให้เกดิ ลวดลาย)

รูปภาพที่ ๑๔ ขนเม่น (ใชส้ าหรับจกเส้นด้ายให้เกิดลวดลาย)
ทม่ี า : ศูนยก์ ารเรียนรู้ผ้าจกเมืองลอง (พพิ ิธภัณฑบ์ ้านศิลปนิ แหง่ ชาติ)
๘. หลอดเส้นดา้ ยพ่งุ สตี ่างๆ

รปู ภาพท่ี ๑๕ หลอดเสน้ ด้ายพุง่ สตี ่างๆ
ทีม่ า : ศูนย์การเรียนร้ผู า้ จกเมอื งลอง (พิพิธภัณฑบ์ ้านศลิ ปินแห่งชาติ)

๑๑

๙. เผีย่ น

รปู ภาพที่ ๑๖ เผ่ยี น (อุปกรณใ์ นกอดา้ ย)
ท่ีมา : ศนู ยก์ ารเรยี นร้ผู ้าจกเมืองลอง (พิพิธภณั ฑบ์ ้านศลิ ปินแห่งชาติ)
๑๐. ผืนผา้ จกท่ีทอเสรจ็ แล้ว

รูปภาพที่ ๑๗ ผนื ผ้าจกที่ทอเสร็จแลว้
ท่ีมา : ศนู ยก์ ารเรียนรู้ผ้าจกเมืองลอง (พิพิธภณั ฑ์บ้านศลิ ปินแหง่ ชาติ)

๑๒

กระบวนกำร/ข้ันตอนกำรทำเสน้ ฝ้ำย (ดำ้ ย)

๑. การอีดฝา้ ย

รปู ภาพท่ี ๑๘ เป็นการเอาเมลด็ ฝา้ ยออกจากดอกฝา้ ย เพือ่ จะนาไปยงิ ฝา้ ยในข้นั ตอนต่อไป
ที่มา : ศนู ยก์ ารเรยี นรผู้ า้ จกเมืองลอง (พพิ ธิ ภณั ฑบ์ ้านศลิ ปนิ แห่งชาติ)

๒. การดีดฝ้าย

รปู ภาพที่ ๑๙ เปน็ การนาฝ้ายท่ีอีดแลว้ มาดีดในตะลมุ และก๋ง
ทมี่ า : ศูนย์การเรียนร้ผู ้าจกเมอื งลอง (พพิ ธิ ภัณฑ์บ้านศิลปินแห่งชาต)ิ

๑๓

๓. การปัน่ หางสาลี

รูปภาพที่ ๒๐ เปน็ การนาฝา้ ยฟมู าม้วนเป็นหางสาลี เพอ่ื จะนาไปปัน่ เปน็ เส้นฝา้ ยต่อไป
ที่มา : ศูนย์การเรียนรู้ผา้ จกเมอื งลอง (พิพิธภัณฑบ์ ้านศลิ ปินแหง่ ชาติ)

๔. การปน่ั ฝ้าย

รูปภาพท่ี ๒๑ เป็นการนาฝา้ ยท่เี ปน็ หางสาลี มาป่ันให้เปน็ เส้นดา้ ยเพอ่ื ที่จะนาไป ยอ้ มเป็นสตี า่ งๆ
ที่มา : ศูนย์การเรียนรูผ้ ้าจกเมืองลอง (พพิ ิธภณั ฑ์บ้านศลิ ปินแหง่ ชาติ)

๑๔

๕. การเป๋ยี ฝ้าย

รปู ภาพที่ ๒๒ เป็นการเอาฝ้ายที่ปนั่ แลว้ ออกจากเหล็กใน เพอื่ ใหเ้ สน้ ด้ายเป็นใจ
ทีม่ า : ศนู ยก์ ารเรียนรผู้ ้าจกเมอื งลอง (พพิ ธิ ภณั ฑ์บ้านศิลปนิ แหง่ ชาติ)
๖. การกวักฝา้ ย

รปู ภาพท่ี ๒๓ การกวักฝ้ายเปน็ การนาดา้ ยสี เคมี หรอื สธี รรมชาติ ตามท่ีต้องการ นามากวกั เพอื่ นาไป
โวน้ ต่อไป

ทม่ี า : ศูนย์การเรียนรูผ้ ้าจกเมืองลอง (พิพธิ ภณั ฑบ์ ้านศิลปินแหง่ ชาติ)

๑๕

๗. การโวน้ ผูก

รปู ภาพที่ ๒๔ การโว้นผูก เป็นการนาด้ายทก่ี วักแล้ว นาไปเครือหูกเพ่ือนาไปทอต่อไป
ท่ีมา : ศูนย์การเรียนร้ผู ้าจกเมืองลอง (พิพิธภัณฑบ์ ้านศิลปินแห่งชาติ)
๘. การทอผ้าตนี จกหรอื การทอหกู

รูปภาพที่ ๒๕ การทอผ้าตนี จกหรอื การทอหกู เป็นกระบวนการข้นั สุดท้ายของการทอผา้
ทีม่ า : ศนู ย์การเรียนรูผ้ ้าจกเมืองลอง (พพิ ธิ ภณั ฑบ์ า้ นศิลปินแห่งชาต)ิ

๑๖

กระบวนกำร/ขัน้ ตอนกำรทอผำ้ จกเมอื งลอง

๑. การกรอดา้ ย

รปู ภาพที่ ๒๖ การกรอดา้ ย เป็นการเตรียมดา้ ยสาหรบั การนาไปใช้เป็นดา้ ยยืนและดา้ ยพงุ่ โดยมี
อปุ กรณใ์ นการกรอดา้ ย คอื โกวง้ กวา้ ง มะกวกั หลอดดา้ ย

ท่มี า : ศูนยก์ ารเรยี นร้ผู า้ จกเมอื งลอง (พพิ ธิ ภัณฑบ์ า้ นศิลปินแหง่ ชาติ)
๒. การโวน้

รปู ภาพที่ ๒๗ การโวน้ เป็นการเดนิ เสน้ ด้ายเสน้ ยืน ให้ไดค้ วามยาวและกวา้ งตามจานวนทีต่ อ้ งการเพือ่ นาไปสืบ
เขา้ กับฟืมและเขาเหยียบ

ทีม่ า : ศูนยก์ ารเรียนรผู้ ้าจกเมืองลอง (พพิ ธิ ภัณฑ์บ้านศิลปินแห่งชาติ)

๑๗

๓. การมดั เขาเหยยี บ

รปู ภาพที่ ๒๘ การมัดเขาเหยียบ เปน็ การกรอด้ายโดยการโว้นให้ไดจ้ านวนที่ต้องการ เชน่ ฟืม ๘ จะ
ตอ้ งโวน้ ด้าย ๘ หลบ หน่งึ หลบมี ๑๐ หนึง่ อา่ นมี ๔ ชอ่ ง ๆ ละ ๒ เสน้ ใช้ด้าย ๘ เสน้ การเก็บเขาจะ
เก็บที่ละเสน้ ข้างบน ๑ ล่าง ๑ เส้น สลับกนั จะได้ ๔ จบั การทาเชน่ นเ้ี พ่อื ใหส้ อดด้ายพุ่งได้

ที่มา : ศูนยก์ ารเรยี นรูผ้ า้ จกเมอื งลอง (พพิ ิธภัณฑ์บ้านศิลปินแหง่ ชาติ)
๔. การปว่ นฟันฟมื (การร้อยฟนั หว)ี

รปู ภาพที่ ๒๙ การปว่ นฟันฟมื (การร้อยฟันหวี) เปน็ การนาฝา้ ยตน้ เขาเหยียบมาใสใ่ นฟนั ฟืม แลว้
นาเอาไปสืบต่อเขา้ กบั ด้ายยนื การสอดด้ายเข้าฟันฟืม สมยั กอ่ น ใชไ้ ม้บางๆ ในการป้อนฟมื ปัจจบุ ัน
ใชโ้ ครเช/ตะใบเล็กการสอดดา้ ยเขา้ ฟนั ฟมื ด้ายเขาช่องละ ๒ เส้น

ท่มี า : ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ผา้ จกเมอื งลอง (พพิ ธิ ภัณฑบ์ ้านศลิ ปินแห่งชาติ)

๑๘

๕. การสืบเครอื

รูปภาพที่ ๓๐ การสบื เครือ เป็นการนาดา้ ยทีโ่ วน้ ไว้มากางในกี่ เอาฟมื ทท่ี อมาสบื กันเครอื ทเี่ รากาง
ไวใ้ นก่ี ตัดด้ายแล้วมาทาบกนั และตอ่ ด้ายหมนุ เกลียวให้แนน่

ทมี่ า : ศนู ย์การเรยี นรูผ้ า้ จกเมอื งลอง (พพิ ิธภัณฑบ์ ้านศิลปนิ แหง่ ชาติ)
๖. การแกะลาย หรอื การเก็บลาย

รปู ภาพท่ี ๓๑ การแกะลาย หรอื การเก็บลาย เป็นการนาลายท่อี อกแบบไว้หรือแมล่ ายเดมิ มาจกล้วง
เสน้ ยืน เพ่ือการมัดเขาโดยการใช้ขนเม่นหรือไม้ไผ่ ปลายเหลาใหแ้ บนๆ จกเส้นด้ายใหพ้ รอ้ มทจ่ี ะสอดดา้ ยให้

พรอ้ มท่ีจะสอดด้ายใหไ้ ดต้ ามแม่ลายที่ต้องการ
ท่มี า : ศูนยก์ ารเรียนรูผ้ า้ จกเมืองลอง (พิพธิ ภณั ฑบ์ ้านศลิ ปินแห่งชาติ)

๑๙

๗. การมัดเขา ( การเกบ็ ตะกรอ)

รูปภาพท่ี ๓๒ การมัดเขา ( การเก็บตะกรอ) เป็นวิธีการทีท่ าให้การทอสะดวกและรวดเรว็ ในการสอดดา้ ย
ใหเ้ กดิ ลายจกท่กี าหนด แต่เดิมใชว้ ธิ จี กลว้ งเสน้ ทีละเส้น แตก่ ารยกเขาคร้ังเดยี วสามารถสอดด้าย ทั้งแนว การมดั
เขาจะทาไว้เพียงคร่งึ ดอก การทอผ้าจกใหเ้ กิดลวดลายต้องยกเขาเที่ยวไป เทยี่ วกลับ ๒ เทย่ี ว เกิดลวดลาย ๑ ดอก

ท่มี า : ศนู ยก์ ารเรียนร้ผู ้าจกเมอื งลอง (พิพิธภัณฑบ์ ้านศลิ ปนิ แห่งชาติ)

๘. การทอผา้

รปู ภาพท่ี ๓๓ การทอผ้า
ท่ีมา : ศนู ย์การเรยี นรูผ้ า้ จกเมอื งลอง (พิพิธภณั ฑ์บ้านศลิ ปนิ แหง่ ชาติ)

๒๐

๑. เม่ือเตรยี มดา้ ยพุ่งและยืนเรยี บร้อยแลว้ นาเอาด้ายยืนสบื ต่อในเขาและฟนั หวแี ละกางกห่ี รือหกู
เสรจ็ แลว้ ทาการพงุ่

๒. การพุง่ ขัน้ แรกเอาหลอดด้ายเข้ากระสวยโดยรอ้ ยด้ายในหลอดทางรูของกระสวย
๓. ใชเ้ ท้าเหยยี บไม้เหยยี บขา้ งใดข้างหน่งึ ผูกมันตดิ กบั ไม้เหยียบด้ายที่อยใู่ นระหว่างเขาก็จะสลับข้ึน

ลงและมชี อ่ งวา่ งตรงกลางจะกว้างหรอื แคบกแ็ ล้วแตก่ ารเหยียบไมเ้ หยยี บ
๔. ใชม้ อื ข้างใดขา้ งหนงึ่ จบั ด้ามกระสวยพร้อมทัง้ เงอื่ นด้วย สว่ นมอื อีกขา้ งหน่งึ จบั ฟืมหรอื ฟันหวใี ห้

อา้ กวา้ งออกไป แลว้ สอดกระสวยเข้าไปในช่องว่างงของเส้นดา้ ยนนั้ แต้ตอ้ งผลกั ให้พน้ ขอบด้าย
อกี ขา้ งหนึง่ ดว้ ยส่วนเง่อื นดว้ ยทจ่ี ับไวอ้ กี ข้างหนง่ึ กค็ งเชน่ เดมิ ด้ายในกระสวยกจ็ ะคลายออกมา
เองตามความกวา้ งของขอบผ้าและฟันหวี เสรจ็ แล้วจงึ ดึงกระสวยออกจากขอบผา้ นามาวางไว้
กอ่ น เอามอื ไปจับฟันหวีหรอื ฟืมตัดอัดกระแทกข้ามาหาตวั เองจนกว่าจะ เหน็ วา่ เขา้ ท่หี รือแนน่
ดแี ลว้ จงึ เปล่ยี นเท้าเหยยี บใหม่อกี ข้างหนึง่ ซงึ่ จะสลบั กบั คราวท่ีแล้ว ในขณะทีฟ่ ืมสลบั หนั นัน้ ผู้
เหยียบก็จะสอดกระสวยขา้ ไปอกี ทาดั้งน้ีไปเร่อื ยๆ จนไดข้ นาดตามทก่ี าหนด หรอื ยกขาสอดเอา
ไมด้ าบใส่แล้วเอา กระสวยพ่งุ จับขอบฟมื กระแทกให้แนน่ แลว้ ยกขาดอกเกบ็ ลายสแี ล้ว
กระแทก ใหจ้ นแนน่ ตามดว้ ยเหยียบไมเ่ หยียบแล้วเอากระสวยพุ่งตาม ทาไปเรอ่ื ยๆ จนได้
ขนาดตามท่ีต้องการ

๙. การตรวจสอบคุณภาพ

รปู ภาพที่ ๓๔ เปน็ การตรวจสอบความถกู ต้องของความประนตี ความสวยงาม รวมทงั้ คุณภาพ หากพบ
ขอ้ บกพร่องจะได้ทาการแกไ้ ขหรือปรบั ปรุงให้ได้คณุ ภาพ

ที่มา : ศนู ยก์ ารเรียนรผู้ ้าจกเมืองลอง (พพิ ิธภัณฑ์บ้านศิลปินแหง่ ชาติ)

องค์ประกอบของผ้ำซน่ิ ตีนจก ๒๑

ส่วนหัวซ่ิน

รูปภาพท่ี ๓๕ องค์ประกอบของผา้ ซน่ิ ส่วนตวั ซน่ิ
สว่ นตนี ซิ่น

รปู ภาพที่ ๓๕ องคป์ ระกอบของผา้ ซ่ินตีนจก

ลวดลายในผ้าจก
การทอผ้าจกในอดีตนิยมทอกันเพียงไมก่ ่ีลายในผ้าจกผนื เดยี วกัน อย่างมากก็มีเพียง ๔ แถวเท่าน้ัน เป็น
อยา่ งมาก การทอผา้ จกในปจั จุบนั (ข้อมูลปี พ.ศ. ๒๕๔๒) เปน็ การเอาใจตลาดหรอื กลมุ่ พ่อค้าแม่ขายผ้า พื้นเมือง
จะมีการผกู ลายขึ้นมากมายจนไมส่ ามารถท่ีจะแยกวา่ ตรงไหนเป็นลายหลักตรงไหนเป็นลายประกอบ

ลำยผำ้ ซ่นิ ตนี จก อำเภอลอง จังหวดั แพร่ ๒๒

จมุ หวั ใจ นกกินนา้ รว่ มเต้า/นกกินนา้ ร่วมตน้
ขอกญุ แจหรอื ขอปะเจ
เชิงสะเปา เครอื ขอ

รปู ภาพที่ ๓๖ ลายขอหัวใจ
ที่มา : รา้ นเวียงเหนือ ผ้าตีนจก

ขามดส้ม ๒๓
เชงิ นกคู่
นกกินนา้ รว่ มต้น
นกกินน้ารว่ มต้น

รูปภาพที่ ๓๗ ลายขามดส้ม
ทีม่ า : ร้านเวยี งเหนอื ผ้าตนี จก

โก้งเก้งซอ่ นนก ๒๔
เชิงคู่
เครอื ดอกหมาก
ขอผกั กดู

รูปภาพท่ี ๓๘ ลายขอผักกดู
ท่มี า : ร้านเวยี งเหนอื ผา้ ตีนจก

หงส์คู่ ๒๕
เถาในเลือย
งหู อ้ ยสา้ ว
นกกินน้ารว่ มตน้
เชงิ นกคู่

รปู ภาพที่ ๓๙ ลายงูหอ้ ยส้าว
ทม่ี า : ร้านเวียงเหนอื ผา้ ตนี จก

๒๖

โคมหลวง โก้งเกง้ ซอ่ นนก
เชิงสะเปา นกน้อยบนิ จร

รปู ภาพที่ ๔๐ ลายโกง้ เก้งซ้อนนก
ที่มา : รา้ นเวยี งเหนอื ผ้าตีนจก

๒๗

เขียวหมา นกซอ้ น
เชิงสะเปา หงส์คู่

รปู ภาพที่ ๔๑ ลายเจยี งแสน
ท่ีมา : รา้ นเวยี งเหนือ ผ้าตีนจก

นกกนิ นา้ รว่ มต้น ๒๘
นกคู่
สา้ เภาลอยนา้
เชิงคู่ ขอจมุ หวั ใจ
เขยี วหมา

รปู ภาพที่ ๔๒ ลายสาเภาลอยน้า
ทม่ี า : รา้ นเวยี งเหนอื ผา้ ตีนจก

ขอกาบนกคู่ ๒๙

เถาใบเลือย

ฟนั ปลา

รปู ภาพที่ ๔๓ ลายราชบุรี
ทม่ี า : รา้ นเวยี งเหนือ ผ้าตนี จก

๓๐

สะเปานกคู่ สร้อยกาบหมาก

รปู ภาพที่ ๔๔ ลายสร้อยกาบหมาก
ทมี่ า : รา้ นเวยี งเหนอื ผา้ ตีนจก

๓๑

ตงุ ไชย เครือขอดาว
นกกนิ น้ารว่ มตน้ โคมโบราณ

เชิงสะเปา

รปู ภาพท่ี ๔๕ ลายโคมช่อน้อยตงุ ชยั
ที่มา : รา้ นเวยี งเหนอื ผา้ ตีนจก

๓๒

นกกนิ นา้ รว่ มต้น
นกคู่

แมงโบ้งเลน

รปู ภาพที่ ๔๖ ลายแมงโบ้งเลน
ทม่ี า : ร้านเวียงเหนอื ผ้าตนี จก

๓๓

นกกินนา้ ร่วมต้น
หงส์ดา้

รูปภาพท่ี ๔๗ ลายเชยี งแสนหงสด์ า
ทีม่ า : รา้ นเวยี งเหนือ ผา้ ตีนจก

๓๔

ดอกผกั แวน่ มะลเิ ลือย
ขอสามเหล่ียม
นกนอน
เครือขอดาว
ดอกผกั แว่น

รปู ภาพที่ ๔๘ ลายนกนอน
ท่มี า : รา้ นเวียงเหนอื ผ้าตนี จก

๓๕

สบั ปะรด ลกู โซ่
เชงิ สะเปา
ขอสามเหล่ยี ม

รปู ภาพท่ี ๔๙ ลายหม่าขนัด
ทม่ี า : รา้ นเวยี งเหนือ ผา้ ตีนจก

นกกินน้ารว่ มตน้ ๓๖
ขนั ดอก
เถาไมเ้ ลือย
หงส์คู่

เชิงนกคู่
รปู ภาพท่ี ๕๐ ลายขนั ดอก
ทมี่ า : ร้านเวียงเหนือ ผา้ ตนี จก

๓๗

นกน้อย นกกนิ นา้ รว่ มตน้
นกกินนา้ รว่ มต้น ขอลอ้ ม
เชิงสะเปา
นกนอ้ ย

รปู ภาพท่ี ๕๑ ลายขอล้อมนก
ทม่ี า : ร้านเวยี งเหนอื ผา้ ตนี จก

๓๘

ขันดอกหมู่

นกกนิ นา้ ร่วมตน้

รปู ภาพที่ ๕๒ ลายขันดอกหมู่
ทมี่ า : ร้านเวียงเหนอื ผ้าตีนจก

สา้ เภาลอยนา้ ๓๙
สะเปา
นกกินน้ารว่ มตน้

ลายขอ
รปู ภาพที่ ๕๓ ลายสาเภาลอยน้า
ทม่ี า : รา้ นเวียงเหนอื ผ้าตนี จก

๔๐

งวงนา้ คใุ นฟันปลา นกคู่
เถาไม้เลอื ย ขอกาบ

สะเปา

รูปภาพที่ ๕๔ ลายขอกาบ
ที่มา : รา้ นเวียงเหนอื ผ้าตีนจก

หลังเต่า ๔๑
เชิงสะเปา
ดอกต่อม
พานดอก

รปู ภาพท่ี ๕๕ ลายหลงั เต่า
ท่ีมา : รา้ นเวียงเหนอื ผา้ ตีนจก

๔๒

กุหลาบเวียงพงิ ค์

ดอกไม้ ๕ หย่อม

เชิงใบสน

รูปภาพที่ ๕๖ ลายกหุ ลาบเวยี งพงิ ค์
ทม่ี า : ร้านเวียงเหนือ ผ้าตนี จก

๔๓

สะเปาลอยนา้

เครอื ขอดาว ดอกเซีย
นกกินนา้ ร่วมต้น ลูกโซ่

รูปภาพท่ี ๕๗ ลายดอกเซียหรอื ลายภูพงิ ค์
ทม่ี า : รา้ นเวยี งเหนือ ผ้าตีนจก

๔๔

จดี อกมาโอ

เชิงคู่

รปู ภาพท่ี ๕๘ ลายจีม้ ะโอ
ทีม่ า : รา้ นเวียงเหนอื ผ้าตีนจก

๔๕

ดอกผักแวน่

เชงิ ใบสน
รูปภาพที่ ๕๙ ลายดอกผกั แว่น
ทีม่ า : ร้านเวยี งเหนือ ผา้ ตนี จก


Click to View FlipBook Version